โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง เ ซ ล ล์
เซลล์สัตว์ เซลล์พืช ฉันอยากให้คุณรู้จักฉัน เท่าที่ฉันอยากให้รู้จัก������
โครงสร้างและ องค์ประกอบของเซลล์
เซลล์สัตว์
เซลล์พืช
หน้าที่โครงสร้างและ องค์ประกอบของเซลล์
ผ นั ง เ ซ ล ล์ ทำหน้าที่เสริมสร้างความ แข็งแรงให้แก่เซลล์ ทำให้ เซลล์คงรูป ร่างได้ มีสมบัติ ยอมให้สารแทบทุกชนิดผ่าน เข้าออกได้ และมีเฉพาะเซลล์ พืชเท่านั้น
เ ยื่ อ หุ้ ม เ ซ ล ล์ เยื่อหุ้มมีหน้าที่ห่อหุ้มส่วน ประกอบภานใยเซลล์ให้คงรูป อยู่ได้ ควบคุมปริมาณของชนิด ของสารที่ผ่านเข้าและออกจาก เซลล์ทำให้ปริมาณของสาร ต่างๆพอเหมาะ
ไ ซ โ ท พ ล า ซึม เป็นศูนย์กลางการทำงานของเซวล์ เกี่ยวกับเมแทบบอลิซึม ทั้งกระบวนการ สร้างและสลายอินทรียสาร ประกอบด้วย ส่วนประกอบภายในที่เรียกว่า อวัยวะของ เซลล์ มีหน้าที่แตกต่างกันได้แก่ เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมแบบผิว ขรุขระ เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมแบบ ผิวเรียบ
ไ ซ โ ท พ ล า ซึม เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมแบบ ผิวขรุขระ ทำหน้าที่ในการขนส่งสารต่างๆผ่าน เซลล์ และเกี่ยวข้องกับการสัง เคราะห์สเตอรอยด์บางชนิด
ไ ซ โ ท พ ล า ซึม เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมแบบ ผิวขรุขระ ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน พบใน เซลล์สัตว์เท่านั้น
ก อ ล จิ ค อ ม เ พ ล็ ก ซ์ห รื อ ก อ ล จิ บ อ ดี ทำหน้าที่บรรจุและขนส่งสารออกนอกเซลล์ สร้างเมือกทั้งในพืชและสัตว์ ซึ่งในพืชทำหน้าที่ สร้างเมือกบริเวณหมวกราก (Root Cap) เพื่อให้รากชอนไชในดินได้สะดวกยิ่งขึ้น ส่วน ในสัตว์ททำ หน้าที่ในการสร้างเยื่อเมือกฉาบ บริเวณผิวเนื้อเยื่อบุผนังลำไส้ เยื่อบุกระเพาะ อาหาร เพื่อป้องกันการย่อยของเอนไซม์ใน กระเพาะอาหารและลำไส้ย่อยตัวกระเพาะ อาหารหรือลำไส้เอง
ไ ม โ ท ค อ น เ ด รี ย ไมโทคอนเดรียเป็นแหล่งสร้าง พลังงานของเซลล์โดยการหายใจระดับ เซลล์ เป็นออร์แกเนลล์ที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการสร้างพลังงานในพืชและสัตว์ ซึ่งสารอินทรีย์ที่ใช้ในสัตว์ได้รับมาจาก การบริโภค ส่วนสารอินทรีย์ที่ใช้ในพืชได้ รับมาจากการสังเคราะห์ด้วยแสง
ค ล อ โ ร พ ล า ส ต์ พบเฉพาะในเซลล์พืชและ สาหร่ายเกือบทุกชนิดมีหน้าที่ดูด พลังงานแสงเพื่อใช้ในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)
แ ว คิ ว โ อ ล โดยทั่วไปจะพบในเซลล์พืชและ สัตว์ชั้นต่ำ ในสัตว์ชั้นสูงมักไม่ค่อย พบ แวคิวโอลทำหน้าที่ช่วยให้เซลล์ พืชดำรงความมีชีวิตและยังทำหน้าที่ เก็บสะสมสารที่เป็นอันตรายต่อไซโท พลาซึมของเซลล์
ไลโซโซม มีหน้าที่สำคัญ คือ ย่อยสลายอนุภาค และโมเลกุลของสารอาหารภายใน เซลล์ย่อย หรือทำลายเชื้อโรคและ สิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย หรือเซลล์ เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาว และย่อยสลายเซลล์แบคทีเรีย ทำลายเซลล์ที่ตายแล้วหรือเซลล์ที่ มีอายุมาก
ไลโบโซม ไรโบโซมมีหน้าที่สำคัญในการสังเคราะห์ โปรตีน โดยจะอ่านรหัสจากยีนในนิวเคลียสที่ ถูกส่งออกมาในรูปแบบของ mRNA นอกจากนี้ ไรโบโซมยังทำหน้าที่ในการต่อกรดอะมิโน เดี่ยวให้เป็นพอลิเพปไทด์ (Polypeptide) โดยผ่านการทำงานของ tRNA ที่จับอยู่กับ โมเลกุลของกรดอะมิโนอยู่ก่อนแล้ว เพื่อที่จะ นำโมเลกุลของกรดอะมิโนเข้ามาต่อกันเพื่อ สร้างเป็นโปรตีน
เ ซ น ท ริ โ อ ล ช่วยในการเคลื่อนที่ของ โครโมโซมในขณะที่มีการแบ่ง เซลล์ ช่วยในการเคลื่อนที่ของ เซลล์บางชนิด
นิ ว เ ค ลี ย ส เป็นโครงสร้างที่สำคัญที่สุดของเซลล์ เป็นที่ อยู่ของสารพันธุกรรม มีลักษณะเป็นรูปกลม หรือรูปไข่ ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุม กิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ เซลล์ทั่วไปจะมี 1 นิวเคลียส แต่สัตว์ชั้นต่ำบางชนิดจะมี 2 นิวเคลียส เซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนน้ำนมเมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มี นิวเคลียส นิวเคลียสประกอบด้วย 3 ส่วน คือ เยื่อหุ้มนิวเคลียส โครมาทินและนิวคลีโอลัส
นิ ว เ ค ลี ย ส ������เยื่อหุ้มนิวเคลียส ทำหน้าที่เป็นทางผ่าน ของสารต่างๆ ระหว่างไซโทพลาซึมและ นิวเคลียส ������โครมาทิน มีหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์และควบคุมการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ทั่วไป ������นิวคลีโอลัส นิวคลีโอลัสมีหน้าที่ในการ สังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: