เอกสารประกอบการเรยี นปรบั พนื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ประวตั สิ ว่ นตัว ช่อื ................................................................................... สกลุ ............................................................................... วนั /เดอื น/ปีเกิด...................................................... อายุ...............................ปี บดิ าชื่อ........................................................................................อาย.ุ ..........................ปี อา ชีพ................................................ มารดาช่อื ..................................................................................อาย.ุ ..........................ปี อาชพี ................................................ ทอ่ี ยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที.่ ....................................หม่ทู ่ี.......................... บา้ น................................................................... ตาบล......................................................................อาเภอ............................................. .. จงั หวัด..................................................รหสั ไปรษณยี .์ ............................................. หมายเลขโทรศัพท.์ ..................................................................................................... มีพ่นี ้องรวมกัน................................คน เป็นผ้หู ญงิ ...........................คน เปน็ ผ้ชู าย..............................คน สีท่ีชอบ......................................เพราะ.......................................................................... ............................................. อาหารทช่ี อบ.......................................เพราะ......................................................................................................... ความสามารถพเิ ศษ............................................................................................................................................... อาชพี ในอนาคต.....................................เพราะ..................................................................................................... เอกสารปรับพนื้ ฐาน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หนา้ 1
กจิ กรรมที่ ๑ คาชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นฟงั เพอื่ นแนะนาตนเอง แลว้ เขยี นขอ้ มลู เพอ่ื นใหค้ รบถว้ น รายชอื่ เพอ่ื นในหอ้ งจานวน ๕ คน ๑.......................................................................................ชอ่ื เลน่ .......................................บ้าน............................................... ๒.......................................................................................ชอ่ื เล่น.......................................บา้ น.............................................. ๓.......................................................................................ชอื่ เลน่ .......................................บ้าน.............................................. ๔.......................................................................................ชอื่ เลน่ .......................................บา้ น.............................................. ๕......................................................................................ชือ่ เลน่ .......................................บา้ น............................................. เอกสารปรับพืน้ ฐาน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หนา้ 2
เสียงและอักษรไทย เสยี ง คอื สง่ิ ทมี่ นษุ ย์เปลง่ ออกมาเพ่ือใช้ในการสือ่ สาร หรือส่อื ความหมายระหว่าง มนษุ ยด์ ้วยกันเอง นอกจากนี้ ยงั มีเสียงทเี่ กดิ จากสัตว์ หรอื ธรรมชาติ เชน่ เสียงฟา้ ร้อง เสียง ฟ้าผา่ เสียงสนุ ัขหอน เป็นต้น เสียง มี ๓ ชนิด ไดแ้ ก่ เสียงพยญั ชนะ เสยี งสระ เสียงวรรณยุกต์ ๑. เสียงพยญั ชนะ คอื เสยี งทเี่ กดิ จากลมในปอดเม่ือเปล่งเสียงออกมาจะถูกสกดั ก้ันโดยอวัยวะต่างๆ มี ๔๔ รปู ๒๑ เสียง เสียงพยญั ชนะ มี ๒๑ เสียง ดงั น้ี ๑. /ก/ = ก ๑๒. /ป/ = ป ๒. /ข/ = ข ฃ ค ฅ ฆ ๑๓. /พ/ = พ ผ ภ ๓. /ง/ = ง ๑๔. /ฟ/ = ฟ ฝ ๔. /จ/ = จ ๑๕. /ม/ = ม ๕. /ช/ = ช ฉ ฌ ๑๖. /บ/ = บ ๖. /ซ/ = ซ ส ศ ษ ๑๗. /ร/ = ร ๗. /ย/ = ย ญ ๑๘. /ล/ = ล ฬ ๘. /ด/ = ด ฎ ฑ ๑๙. /ว/ = ว ๙. /ต/ = ฏ ต ๒๐. /อ/ = อ ๑๐. /ท/ = ฐ ฒ ถ ท ธ ๒๑. /ฮ/ = ฮ ห ๑๑. /น/ = น ณ * นอ้ ง ๆ อยา่ งง วา่ ทาไมถึงมเี สยี งพยัญชนะแค่ ๒๑ เสยี ง กด็ ้วยเหตุท่ีว่าเสียงพยัญชนะบาง ตวั น้ันออกเสียงเหมอื นกนั เช่น เสยี ง /ข/ มีพยญั ชนะทอี่ อกเสียงซา้ กัน คอื ข ฃ ค ฆ นน่ั เอง เอกสารปรับพน้ื ฐาน ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หน้า 3
เสยี งพยญั ชนะ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ๑. เสยี งพยญั ชนะตน้ คอื เสียงพยัญชนะทป่ี รากฏหนา้ พยางค์ หน้าสระ แบง่ ออกเป็น ๒ ชนดิ ๑.๑ เสยี งพยัญชนะต้นเดีย่ ว คือ เสียงพยัญชนะทอ่ี อกเสียงพยัญชนะต้น ๑ เสียง เช่น รกั เธอตลอดไป = /ร/ /ธ/ /ต/ /ล/ /ป/ ชา้ งม้าวัวควาย = /ช/ /ม/ /ว/ /ค/ ๑.๒ เสยี งพยัญชนะตน้ ประสม (ควบ) คอื เสยี งพยญั ชนะท่ีออกเสยี ง พยัญชนะตน้ เชน่ ขวนขวาย = /ขว/ /ขว/ ปลาบปล้มื = /ปล/ /ปล/ ๒. เสยี งพยัญชนะท้าย เสียงพยญั ชนะทา้ ย (ตัวสะกด) คือ พยญั ชนะที่ตามหลังสระ มี ๙ มาตรา ดงั นี้ ๑. ไมม่ ตี วั สะกด ๑ มาตรา คอื แม่ ก กา ๒. มีตัวสะกด ๘ มาตรา คอื แม่ กง กม เกย เกอว กก กด กบ กน ๒.๑ เสียง ก สะกด เรยี กว่า แมก่ ก เชน่ ปาก สุข เมฆ ๒.๒ เสยี ง ด สะกด เรยี กว่า แมก่ ด เชน่ ราด ๒.๓ เสยี ง บ สะกด เรยี กว่า แมก่ บ เชน่ บาป ภาพ โลภ ลาภ ๒.๔ เสยี ง ง สะกด เรยี กวา่ แมก่ ง เชน่ ยุง จริงจงั ๒.๕ เสียง น สะกด เรียกว่า แมก่ น เช่น ออ่ น คุณ หาญ โอฬาร ๒.๖ เสียง ม สะกด เรยี กว่า แมก่ ม เช่น สาม ตูมตาม ๒.๗ เสียง ย สะกด เรียกวา่ แมเ่ กย เชน่ ตาย เอย เคย ๒.๘ เสียง ว สะกด เรียกวา่ แม่เกอว เช่น ดาว เปรย้ี ว ราว เป็นต้น ระวงั ! (พยญั ชนะท่ีเป็นตัวสะกดไมไ่ ด้ คอื ผ ฝ ฌ อ ห ฉ ฮ = “ฮา ๆ ผฝี ากเฌอเอมให้ฉัน” เอกสารปรบั พื้นฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หน้า 4
ส่ิงทนี่ อ้ งควรระวงั ไว้ ๑. สระเกิน คือ อา ไอ ใอ เอา มีเสียงพยญั ชนะสะกดอย่ดู ว้ ยเสมอ ดังนี้ อา = อ+อะ+ม (มีเสยี ง /ม/ เปน็ ตัวสะกด) ไอ ใอ = อ+อะ+ย (มีเสยี ง /ย/ เป็นตวั สะกด) เอา = อ+อะ+ว (มเี สยี ง /ว/ เปน็ ตวั สะกด) เชน่ จา ใจ ไป เรา เปน็ ตน้ ๒. ว และ ย ทปี่ รากฏอยู่ในสระ อัว และ เอยี เปน็ รูปสระ ตัววอ และ ตวั ยอ จงึ ไม่ใช่ พยญั ชนะสะกด แม่เกอวและแมเ่ กย เชน่ เรอื เสยี เรือน กลวั ดว้ ย เสือ เป็นต้น ๓. อ เป็นรปู พยัญชนะเฉพาะเปน็ พยัญชนะตน้ และรูปสระท่เี รียกวา่ ตวั ออ ดงั น้ัน อ จงึ ไม่ใช่พยัญชนะท้ายหรอื ตวั สะกด เชน่ พอ่ คอ หมอ เธอ เปน็ ต้น เอกสารปรบั พืน้ ฐาน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วิทยา หน้า 5
พยญั ชนะไทย กขฃคฅ ฆง จฉช ซ ฌญฎ ฏ ฐ ฑฒณด ตถ ทธ น บปผฝพ ฟภ ม ย ร ล ว ศ ษส หฬ อฮ เอกสารปรบั พื้นฐาน ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หนา้ 6
แบบฝกึ ที่ ๑ (พยัญชนะ) คาช้แี จง : ใหน้ กั เรียนเขยี นพยัญชนะตามอกั ษรประที่กาหนดให้ พยญั ชนะไทย กขฃคฅ ฆง จฉช ซ ฌญฎฏ ฐ ฑฒณด ตถ ทธ น บปผฝพ ฟภม ย ร ลว ศษส หฬ อฮ เอกสารปรับพืน้ ฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วิทยา หนา้ 7
๒. เสียงสระ เสยี งสระ คอื เสียงที่เปลง่ ออกมาจากลาคอแลว้ ไม่ถูกอวัยวะในปากสกดั กัน้ เลย สระ ในภาษาไทย มี ๒๑ รูป ๒๑ เสยี ง (ปจั จุบัน) รูปสระ เป็นเคร่อื งหมายท่เี ขียนข้ึนแทนเสยี งสระ มี ๒๑ รูป ดังน้ี ๑. ะ เรียกวา่ วสิ รรชนีย์ ๑๒. ใ เรียกวา่ ไมม้ ้วน ๒. ั เรียกว่า ไมห้ นั อากาศ หรือ ไมผ้ ดั ๑๓. ไ เรยี กว่า ไม้มลาย ๓. ็ เรียกว่า ไมไ้ ตค่ ู้ ๑๔. โ เรียกว่า ไม้โอ ๔. า เรยี กวา่ ลากขา้ ง ๑๕. ฤ เรียกว่า ตวั ฤ (รึ) ๕. ิ เรียกว่า พินทุ ๑๖. ฤๅ เรยี กวา่ ตวั ฤๅ (รือ) ๖. ่ เรียกวา่ ฝนทอง ๑๗. ฦ เรียกวา่ ตวั ฦ (ล)ึ ๗. ่ ่ เรยี กว่า ฟนั หนู ๑๘. ฦๅ เรยี กวา่ ตัว ฦๅ (ลอื ) ๘. เรยี กว่า นฤคหติ หรือ หยาดน้าคา้ ง ๑๙. อ เรียกวา่ ตัวออ ๙. ุ เรยี กวา่ ตนี เหยียด ๒๐. ย เรยี กว่า ตวั ยอ ๑๐. ู เรยี กวา่ ตีนคู้ ๒๑. ว เรยี กวา่ ตวั วอ ๑๑. เ เรยี กวา่ ไม้หนา้ เอกสารปรบั พน้ื ฐาน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนพนมดงรักวทิ ยา หนา้ 8
เสยี งสระ มที ัง้ สิ้น ๒๑ เสียง แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ดังน้ี ๑. สระเดีย่ ว (สระแท้) มี ๑๘ เสยี ง แบ่งไดค้ อื สระเดย่ี วส้ัน (รัสสระ) - สระเดี่ยวยาว (ฑฆี สระ) อะ อา อิ อี อึ อื อุ อู เอะ เอ แ อะ แ อ สระเดี่ยวสั้น (รัสสระ) - สระเด่ยี วยาว (ฑีฆสระ) โ อะ โ อ เอาะ ออ เออะ เออ ๒. สระประสม (สระเล่ือน) คอื การเลื่อนเสียงจากสระหนึ่งไปยงั อกี สระหนึง่ โดยการ นาสระเดี่ยวมาประสมกันมีท้ังสิ้น ๓ เสียง ดงั นี้ สระประสมเสียงยาว อวั = อู + อา เอือ = อือ + อา เอยี = อี + อา น้องๆ ทอ่ งไว้ว่ากนั ลมื วา่ “ ผัว เบอื่ เมีย” เอกสารปรบั พืน้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หนา้ 9
แบบฝกึ ท่ี ๒ (สระ) คาชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนเขียนเสียงสระจากคาที่กาหนดให้ ตวั อย่าง ตา เสยี งสระ คือ สระอา เสือ เสยี งสระ คือ __________ มา เสียงสระ คือ __________ จะ เสยี งสระ คอื __________ ลงิ เสียงสระ คอื __________ จน เสยี งสระ คอื __________ เกาะ เสียงสระ คือ __________ เมยี เสยี งสระ คือ __________ วัว เสยี งสระ คือ __________ ปี เสียงสระ คือ __________ ดงึ เสยี งสระ คือ __________ มอื เสียงสระ คอื __________ เด็ด เสียงสระ คือ __________ กนิ เสียงสระ คอื __________ และ เสยี งสระ คือ __________ แต่ เสียงสระ คอื __________ โตะ๊ เสียงสระ คือ __________ โพธ์ิ เสยี งสระ คอื __________ เคาะ เสียงสระ คือ __________ นอน เสยี งสระ คือ __________ เท เสยี งสระ คือ __________ เปลอื ง เสียงสระ คือ __________ ขวาน เสียงสระ คอื __________ สยาม เสยี งสระ คือ __________ เบี้ย เสียงสระ คอื __________ สวย เสียงสระ คือ __________ รัก เสยี งสระ คือ __________ เขียน เสยี งสระ คือ __________ เลีย้ ว เสียงสระ คอื __________ ลิเก เสยี งสระ คอื __________ เรอื เสียงสระ คอื __________ เอกสารปรับพ้ืนฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หน้า 10
๓. เสยี งวรรณยุกต์ เสียงวรรณยกุ ต์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาพร้อมกับเสยี งสระ จะมีเสยี งสงู ต่าตามการ สัน่ สะเทอื นของเสียง จึงเรียกอกี ชอ่ื วา่ เสยี งดนตรี วรรณยุกตใ์ นภาษาไทย มี ๔ รูป ๕ เสยี ง ดังนี้ เสียง สามัญ เอก โท ตรี จตั วา รูป - ่ ้ ๊ วรรณยกุ ต์จาแนกตามลักษณะการใช้ แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ดงั นี้ ๑. วรรณยกุ ตม์ ีรูป คือ คาทป่ี รากฏรปู วรรณยุกตบ์ นคานน้ั ๆ เช่น ก่งิ บ้าน ขา้ ว เปน็ ตน้ ๒. วรรณยุกตไ์ มม่ ีรูป คือ คาทีไ่ ม่มีรูปปรากฏอยบู่ นคาน้นั ๆ เชน่ คน ขนั ดาว การใชร้ ปู และเสยี งวรรณยกุ ต์ ๑. อักษรกลางคาเป็นเท่านนั้ จึงจะมีรปู กับเสียงวรรณยกุ ตต์ รงกนั ๒. อกั ษรสูงผันรปู และเสียงได้ไมค่ รบทกุ เสียงผันไดแ้ ค่เสยี งเอกเสียงโทและเสยี งจัตวา เท่านั้น ๓. อกั ษรตา่ ให้สังเกตว่ารูปและเสยี งวรรณยกุ ต์ไมต่ รงกนั ไมใ่ ช้รปู วรรณยุกตต์ รกี ากับ เดด็ ขาด ๔. คาทบั ศัพท์ทมี่ าจากภาษาทางยโุ รป ไม่จาเปน็ ตอ้ งใชร้ ูปวรรณยุกตก์ ากับ แต่ สามารถออกเสียงตามเสียงเดมิ ได้ เอกสารปรับพ้นื ฐาน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วิทยา หน้า 11
ใบความรู้ท่ี ๑ มาตราตวั สะกดตรงมาตรา ตัวสะกด เปน็ พยัญชนะทใี่ ชบ้ ังคบั เสียงทา้ ยคา หรือ พยัญชนะท่ีประกอบอยทู่ ้ายสระ และมเี สยี งประสมเข้ากับสระ มาตราตวั สะกดมอี ยู่ ๘ แม่ ไดแ้ ก่ แม่กก แม่กง แม่กด แม่กบ แม่กน แม่กม แม่เกย และแมเ่ กอว มาตราตวั สะกดตรงมาตรา ใช้ตัวสะกดตัวเดยี ว มี ๔ มาตรา ดงั นี้ แม่กง พยัญชนะทีเ่ ปน็ ตวั สะกดในมาตราน้ี คือ ง เชน่ กางเกง กระโปรง รองเทา้ หนังสอื โรงเรียน ยางลบ เตยี ง พวงกุญแจ กลอ่ งดนิ สอ หว่ งยาง เอกสารปรับพน้ื ฐาน ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หน้า 12
แมก่ ม พยญั ชนะทีเ่ ป็นตัวสะกดในมาตราน้ี คอื ม เช่น รม่ สอ้ ม พดั ลม กระดุม แชมพู โฟมลา้ งหนา้ สนามกฬี า เข็มกลัด โคมไฟ ไอศกรมี แม่เกย พยญั ชนะทีเ่ ป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คอื ย เช่น สร้อยคอ กระเปา๋ สะพาย ทาง ม้าลาย น้อยหนา่ พลอย นักมวย รอยเท้า ไฟฉาย ถ้วยกาแฟ ปา้ ยจราจร เอกสารปรบั พืน้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนพนมดงรกั วิทยา หนา้ 13
แม่เกอว พยญั ชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตรานี้ คอื ว เชน่ คอมพิวเตอร์ แกว้ นา้ มะนาว ไข่เจยี ว กวยเตี๋ยว ทิวทัศน์ มะพร้าว ต้นข้าว ดวงดาว บา่ วสาว นิ้ว เอกสารปรับพื้นฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนพนมดงรักวทิ ยา หน้า 14
ใบความรทู้ ี่ ๒ มาตราตัวสะกดไมต่ รงมาตรา มาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา มตี ัวสะกดหลายตัวในมาตราเดยี วกัน เพราะออกเสยี งเหมอื น ตัวสะกดเดียวกัน มี ๔ มาตรา คือ แมก่ น พยญั ชนะทีเ่ ปน็ ตวั สะกดในมาตราน้ี คือ น ญ ณ ร ล ฬ เช่น ชอ้ น กรรไกร บันได ยาสีฟนั โลชน่ั ฟตุ บอล การบา้ น ตู้เยน็ ปฏทิ ิน เหรียญ แจกัน เอกสารปรบั พืน้ ฐาน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หนา้ 15
แมก่ ก พยญั ชนะท่ีเป็นตวั สะกดในมาตราน้ี คอื ก ข ค ฆ เชน่ กระจก หมวก คุกกี้ ที่พัก กอ้ นเมฆ ตุ๊กตา กระตกิ น้า เนคไท สต๊ิกเกอร์ จ๊กิ ซอว์ สนุ ัข แมก่ ด พยัญชนะที่เปน็ ตวั สะกดในมาตราน้ี คือ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด เช่น กระดาษ สมดุ โนต้ ไม้บรรทัด นติ ยสาร ไมก้ วาด คีย์บอร์ด เสื้อเชต้ิ เตารดี โทรทัศน์ โปสเตอร์ รถเมล์ เอกสารปรบั พน้ื ฐาน ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน้า 16
แมก่ บ พยญั ชนะทีเ่ ป็นตัวสะกดในมาตราน้ี คอื บ ป ภ พ ฟ เช่น โทรศพั ท์ รูปถ่าย ไมโครเวฟ ลิปสติก ธปู เทียน กรอบรูป ทพั พี ตะเกียบ ตลบั ยา แท็บเล็ต สาหรบั ข้อมูลมาตราตวั สะกดทีน่ ามาเสนอในครงั้ น้ี น่าจะทาใหห้ ลาย ๆ คน เข้าใจใน หลกั การสะกดคามากขึ้น ซ่งึ จะเหน็ ไดว้ า่ แทจ้ ริงแล้วหลกั การใช้ภาษาไทยไมไ่ ด้ยากอยา่ งที่ คิด หากเราเข้าใจในพ้ืนฐานเบ้ืองต้นก็จะสามารถสร้างสรรค์คาใหม่ขึ้นมาได้อย่างงา่ ยดาย รวมถงึ สามารถอา่ นออกเสียงคาและขอ้ ความต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนมากขึ้นด้วย เอกสารปรับพน้ื ฐาน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หน้า 17
แบบฝกึ ที่ ๓ (สะกดไมต่ รงมาตรา) คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนอา่ นคาที่กาหนดแล้วเขยี นมาตราตัวสะกดของคาทข่ี ดี เส้นใต้ ลงในชอ่ งวา่ งใตค้ าน้ัน โอรส โอสถ กาญจนบรุ ี รปู ถา่ ย ซื่อสตั ย์ สัตวป์ า่ ตรุษจนี ปราศจาก มพี ิษ บรรยาย บวชเณร อากาศ บรเิ วณ พัสดุ ศตั รู อนุญาต อัฒจันทร์ ซากศพ บนั ดาล ปรากฏ เก่งกาจ กังวล นริ าศ อาพาธ ข้เี กียจ เลขคณติ วัณโรค บรโิ ภค มารยาท อนาถ เอกสารปรบั พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หนา้ 18
พยางค์ พยางค์ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาในแต่ละคร้ัง พร้อมกนั ทงั้ เสยี งสระ เสียง พยัญชนะและเสยี งวรรณยกุ ต์ อาจมีความหมายหรือไมม่ ีความหมายก็ได้ พยางค์ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ๑. พยางค์เปดิ คอื พยางค์ทีไ่ ม่มเี สยี งพยญั ชนะสะกด เชน่ ดา มี รู้ เส โท ๒. พยางคป์ ิด คือ พยางค์ทีม่ ีเสยี งพยญั ชนะสะกด เชน่ รกั สบิ เก่ียว เดน่ เป็นต้น รวมถงึ สระ อา ไอ ใอ เอา เช่น ไม่ ไว้ ทา เลา่ เหา เป็นต้นอีกทงั้ พยางค์ลหุทล่ี งเสยี งหนัก อักษรนา อักษรนา คอื พยญั ชนะ ๒ ตวั ประสมสระเดียวกัน เช่นเดียวกับอักษรควบแต่ต่างกัน ตรงวธิ กี ารออกเสียง แบง่ ออกเป็น ๒ ลกั ษณะ ๑. อ่านออกเสยี ง ๒ พยางค์ คือ พยางค์แรกออกเสียงเป็นสระอะ (กึง่ เสียง) ส่วน พยางคห์ ลงั อ่านแบบมี ห นา โดยมีอักษรสูง อักษรกลาง หรอื อักษรต่านาอักษรเดยี่ ว เช่น สมยุ = สะ – หมุย ถลอก = ถะ – หลอก สนาม = สะ – หนาม ถนน = ถะ - หนน เป็นตน้ ๒. อ่านออกเสียง ๑ พยางค์ คือ ไมอ่ อกเสยี งตัวนาแตจ่ ะออกเสียงกลืนเปน็ เสียง เดยี วกัน มี ๒ ลกั ษณะ ๒.๑ อ นา ย เชน่ อยา่ อยู่ อย่าง อยาก ๒.๒ ห นา อกั ษรตา่ เดย่ี ว เชน่ หมอก หนอน หล่นั ไหน หงอก หยาบ เป็นต้น ระวัง! * น้องจะสงั เกตเหน็ ว่า อักษรนาแบบอา่ นออกเสยี ง ๑ พยางค์นี้ จะไมอ่ อกเสียงตวั อ และ ห ดังน้นั ตวั อ และ ห นีจ้ งึ ไมใ่ ช่ เสียงพยญั ชนะต้น เช่น หนู พยญั ชนะตน้ จะเป็นเสยี ง /น/ เปน็ ต้น เอกสารปรบั พน้ื ฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วิทยา หน้า 19
* คาต่อไปนี้ไมใ่ ช่อักษรนา แต่เพียงอา่ นเหมอื นอักษรนา (อ่านอย่างอกั ษรนา) เชน่ สริ ิ บญั ญตั ิ ศกั ราช (คอื อ่านมี ห นาเลยี บแบบนัน่ เอง) เอกสารปรับพื้นฐาน ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรักวทิ ยา หน้า 20
อักษรควบ อกั ษรควบ คอื พยัญชนะ ๒ ตวั ท่ีกลา้ อยู่ในสระเดยี วกัน แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดังน้ี ๑. อกั ษรควบแท้ คอื อักษรควบที่เกดิ จากพยัญชนะ ๒ ตวั ทีม่ ี ร ล ว ประสมอยดู่ ้วย ประสมสระเดียวกนั แล้วอา่ นออกเสยี งพรอ้ มกนั สองตวั เช่น เปลย่ี น แปลง ครบ ครนั ปรับ ปรุง กราบ กราน ควาย ความ กล้วย เปน็ ตน้ อักษรควบกลา้ แท้ แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ๑.๑ อกั ษรควบไทยแท้ คือ อักษรควบกล้าแท้ทีป่ รากฏมาแตเ่ ดิมในระบบเสียง ภาษาไทย มี ๑๑ เสียง ดงั น้ี กร คร ปร พร ตร กล คล ปล พล กว คว น้อง ๆ ทอ่ งกันลมื ไว้วา่ “ก่อนค่าไปพบเตย่ี ” เชน่ กราว กรอง กลับ ครอบ ขรขุ ระ ตริตรอง ขลิบ ผลัก ปรบั ปรงุ พราย ความ วิธกี ารจา คอื นอ้ งๆ เขียน “ก ค ป พ ต” จากนนั้ นา ร ล ว ไปเรยี งในแถวแนวตงั้ แลว้ สงั เกต วา่ ก และ ค จะมี ๓ เสียง ป และ พ จะมี ๒ เสียง ต จะมี ๑ เสยี ง เลยท่องว่า “ ๓ ๒ ๑” นนั่ เอง เอกสารปรบั พ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน้า 21
๑.๒ อักษรควบภาษาต่างประเทศ คือ อักษรควบกล้าแท้ท่ไี ดร้ ับอทิ ธพิ ลจาก ภาษาต่างประเทศ เชน่ ภาษาองั กฤษภาษาสันสกฤต ซ่ึงมี ๖ เสยี ง ดงั น้ี /บร/ = บรัน่ ดี บรอนซ์ บราวน์ /บล/ = บลู เบลอ บล็อก /ดร/ = ดรีม ดราฟต์ /ฟร/ = ฟรี ฟรักโทส /ฟล/ = ฟลูออรนี ฟลุต */ทร/ = แทรกเตอร์ นิทรา จันทรา เปน็ ต้น ๒. อักษรควบไม่แท้ คือ พยญั ชนะท่ีมีตวั ร ควบอยู่ แต่ออกเสียงเหมอื นพยญั ชนะ เด่ียว จะออกเสียงเพยี งพยัญชนะตัวหน้า เทา่ น้นั แบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ ๒.๑ ออกเสยี งพยญั ชนะตัวหนา้ (เห็นรูป ร แต่ไม่ออกเสียง /ร/) เชน่ จรงิ ศรัทธา เสริม สร้าง เศร้า เปน็ ตน้ ๒.๒ ออกเสียงพยัญชนะตน้ ท้งั ๒ รูปเปน็ พยัญชนะต้นตวั อน่ื (รูป ทร ออกเสยี ง /ซ/) เชน่ ทรวด ทรง ทราย ทราบ ทรดุ โทรม เป็นต้น เอกสารปรับพ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หน้า 22
คาเปน็ คาเป็น มหี ลักการสังเกตดังน้ี ๑. พยางคท์ ี่มตี วั สะกด แม่ กน กม เกย เกอว กง เช่น ทน โดม เคย เดยี ว ธง ๒. พยางคท์ ป่ี ระสมด้วยสระเสยี งยาว เช่น ตา มี หู ดี แย่ แน่ พา รา โซเซ ๓. พยางค์ท่ีประสมดว้ ย อา ไอ ใอ เอา จัดเปน็ คาเป็นเพราะมีตวั สะกด เช่น เหา่ ใน ขา ดา ไฟ หลักการจา “ คนเปน็ เปน็ นมยวงๆและตอ้ งยาว” คาตาย คาตาย มหี ลักการสงั เกตดังนี้ ๑. พยางค์ทมี่ ีตัวสะกด แม่ กก กบ กด เชน่ เมฆ ครบ ตก โบสถ์ บาตร ลาภ ๒. พยางคท์ ี่ประสมดว้ ยสระเสยี งส้ัน เช่น ธุระ สินะ เกะกะ เถอะ ๓. พยญั ชนะตัวเดียว เชน่ ณ, บ (บ่อท่แี ปลวา่ ไม่) ธ, ก,็ ฤ หลักการจา “คนตายอายุส้ันเพราะมันเปน็ กบด” เอกสารปรบั พ้ืนฐาน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หนา้ 23
ไตรยางศ์ ไตรยางศ์ หรอื อกั ษรสามหมู่ คอื ระบบการจัดหมวดหมอู่ กั ษรไทยเฉพาะรปู พยัญชนะ ตามลกั ษณะการผันวรรณยกุ ต์ เนอ่ื งจากพยัญชนะไทย เมื่อกากับด้วยวรรณยกุ ต์หน่ึงๆ แลว้ จะมีเสียงวรรณยุกต์ท่ีแตกต่างกัน พยัญชนะไทยแบง่ ออกเป็น ๓ หมู่โดยแบง่ พื้นเสียงท่ียังไม่ไดผ้ นั ซ่ึงมรี ะดับเสียง สูง กลาง ตา่ เรียกวา่ ไตรยางศ์ อักษรกลาง อักษรสงู อกั ษรต่าคู่ อกั ษรต่าเดีย่ ว ก ผ พภ ง จ ฝฟญ ดฎ ถฐ ทฒฑธ น ตฏ ขฃ คฅฆ ย บ สษศ ซ ณ ปหฮ ร อ ฉ ชฌ วมฬล อักษรกลาง มี ๙ ตวั ไดแ้ ก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ มหี ลักการท่องจาว่า ไกจ่ ิกเดก็ ตาย (เฎก็ ฏาย) บนปากโอง่ อกั ษรสงู มี ๑๑ ตวั ไดแ้ ก่ ผ ฝ ถ ฐ ข ส ศ ษ ห ฉ มีหลกั การท่องจาว่า ผีฝากถุงขา้ วสารใหฉ้ ัน อักษรตา่ มี ๒๔ ตวั แบ่งออกเปน็ ๒ ชนิด อกั ษรเดีย่ ว คอื อักษรต่าท่ีไมม่ ีเสยี งคู่กบั อกั ษรสูงมี ๑๐ ตวั ไดแ้ ก่ ง ญ ณ น ม ย ร ล วฬ มีหลกั การทอ่ งจาวา่ งูใหญน่ อนอยู่ ณ รมิ วดั โมฬีโลก อักษรคู่ คือ อกั ษรต่าทีม่ ีเสยี งคู่กับอักษรสูงมี ๑๔ ตวั ได้แก่ พ ภ ค ฅ ฆ ฟ ท ธ ฑ ฒ ซชฌฮ มีหลักการทอ่ งจาว่า พอ่ ค้าฟันทองซอื้ ชา้ งฮ่อ เอกสารปรับพ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หน้า 24
อักษรคู่ อักษรสูง คฅฆ ขฃ ชฌ ฉ ฑฒทธ ฐถ สศษ ซ ผ พภ ฝ ฟ ห ฮ เอกสารปรบั พน้ื ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนพนมดงรกั วทิ ยา หนา้ 25
ชนดิ ของคา คาในภาษาไทย แบง่ ออกเป็น ๗ ชนดิ คือ ๑. คานาม คานาม คือ คาทใี่ ชเ้ รยี กชื่อ คน สัตว์ ส่ิงของ สถานท่ี อาการ สภาพ และลักษณะ ท้งั สง่ิ ที่มชี ีวติ และไมม่ ชี ีวติ ทง้ั ทเี่ ป็น รูปธรรมและนามธรรม ๒. คาสรรพนาม คาสรรพนาม คอื คาทใ่ี ช้แทนนามในประโยคสอ่ื สาร เราใช้คาสรรพนามเพื่อไม่ต้อง กลา่ วคานามซ้าๆ (หัวใจของคาสรรพนาม คือ “ใช้แทน”) ๓. คากริยา คากรยิ า คือ คาท่ีแสดงอาการ สภาพ หรอื การกระทาของคานาม และคาสรรพนามใน ประโยค คากริยาบางคาอาจมี ความหมายสมบูรณ์ในตวั เอง บางคาต้องมีคาอ่ืนมาประกอบและบางคาต้องไปประกอบคา อ่นื เพ่อื ขยายความ ๔. คาวิเศษณ์ คาวเิ ศษณ์ คือ คาที่ใชข้ ยายคาอืน่ ได้แก่ คานาม คาสรรพนาม คากริยา หรือคา วเิ ศษณ์ ใหม้ ีความหมายชดั เจนขึ้น (หวั ใจของคาวเิ ศษณ์ คอื “ใชข้ ยาย”) เอกสารปรบั พนื้ ฐาน ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน้า 26
๕. คาบพุ บท คาบพุ บท คอื คาที่มหี น้าท่เี ช่อื มคา หรอื กล่มุ คาเพ่ือแสดงความสมั พันธ์กับคาอ่นื ๆ ใน ประโยค ๖. คาสันธาน คาสนั ธาน คือ คาท่ที าหน้าทเ่ี ช่อื มประโยคกบั ประโยค เชอ่ื มข้อความกบั ขอ้ ความให้ สละสลวย ๗. คาอุทาน คาอทุ าน คอื คาทเ่ี ปลง่ ออกมาเพอื่ แสดงอารมณ์หรือความรู้สกึ ของผพู้ ูด มักจะเปน็ คา ท่ไี ม่มีความหมาย แต่เนน้ ความรสู้ ึก และอารมณข์ องผพู้ ดู เอกสารปรับพน้ื ฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนพนมดงรักวทิ ยา หน้า 27
การสร้างคา กอ่ นท่นี อ้ งๆ จะนาคาทีม่ ีอยนู่ นั้ ไปสร้างให้เกิดคาใหม่ขึน้ น้นั นอ้ งๆ ตอ้ งรจู้ ักหนว่ ย ศพั ท์ทเี่ ล็กท่สี ุดของภาษาไทยก่อน นั้นก็คอื คามลู ดังนี้ คามลู คือ คาทมี่ ีความหมายสมบรู ณ์ในตวั เอง เปน็ คาดง้ั เดิมท่ีมใี นภาษาเดิม เป็นภาษาไทย หรือมาจากภาษาใดๆ กไ็ ด้ อาจมีพยางค์เดยี วหรอื หลายพยางค์กไ็ ด้ แต่ต้องไมใ่ ชค่ าท่เี กดิ จาก การประสมกับคาอน่ื ๆ เช่น คามูลพยางคเ์ ดียว = ช้าง ปา่ ม้า วัว ควาย ใจ กิน เหน็ บน ใน คามลู สองพยางค์ = ขนม ทะเล นารี กะทิ ตะกละ สะดวก คามลู สามพยางค์ = กะละแม มะละกอ นาฬิกา กะละมัง จะละเม็ด คาประสม คาประสม คอื การนาคามูลทมี่ ีความหมายไมเ่ หมอื นกนั ตง้ั แตส่ องคาขน้ึ ไปนามา รวมกนั แล้วเกดิ ความหมายใหม่แต่ยังมเี ค้าความหมายเดิม คาท่ีเกิดขน้ึ จะเรียกวา่ คาประสม คามูล ๒ คาทมี่ ารวมกนั เกดิ เปน็ คาประสม ต้องไม่มีลกั ษณะของคาซ้อนเพอ่ื ความหมาย คือต้องไม่มคี วามหมายเหมือนกนั คลา้ ยกนั หรอื ตรงกันขา้ มกนั คาซอ้ น เอกสารปรับพน้ื ฐาน ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน้า 28
คาซอ้ น คาซ้อน คอื การนาคามูลทมี่ คี วามหมายหรือเสยี งใกล้เคียงกัน หรอื เหมือนกนั มาซ้อน กนั แลว้ ทาใหเ้ กิดความหมายใหมห่ รอื ความหมายใกล้เคียงกับความหมายเดมิ คาซ้อนมี ๒ แบบ ดงั น้ี ๑. คาซอ้ นเพอื่ ความหมาย เปน็ การขยายความให้ชัดเจนย่ิงขึน้ โดยคามลู ทง้ั ๒ คาจะ มลี กั ษณะดงั นี้ ๑.๑ คาซ้อนที่มีความหมายเหมอื นกัน เชน่ บ้านเรอื น อว้ นพี จิตใจ รูปร่าง ขา้ ทาส ๑.๒ คาซ้อนที่มคี วามหมายแคบลง เจาะจง เชน่ ขดั ถู ใจคอ หูตา ญาตโิ ยม ๑.๓ คาซ้อนทม่ี ีความหมายกวา้ งกว่าเดิม เชน่ ข้าวปลา ถว้ ยชาม คัดเลือก ทุบตี ๑.๔ คาซ้อนที่มคี วามหมายเปลยี่ นไปจากเดมิ เช่น ดดู ดม่ื คบั แคบ ออ่ นหวาน อบรม ๑.๕ คาซ้อนท่ีมีความหมายตรงกันข้าม เชน่ ชัว่ ดี ผิดถูก เปน็ ตาย ร้ายดี ๒. คาซอ้ นเพอ่ื เสียง คือการนาคามูลสองคามาประกอบกัน เพื่อให้เกดิ เสียงคล้องจอง กัน อาจเป็นคาเลียนเสียงธรรมชาติก็ได้ เช่น โครมคราม เจิดจ้า โยกเยก ชิงชัง เป็นตน้ เอกสารปรบั พื้นฐาน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วิทยา หน้า 29
คาซา้ คาซ้า คือการนาคามูลคาเดียวกันมากล่าวซ้า เพือ่ เนน้ น้าหนกั ของคา เม่ือซา้ แลว้ สามารถใชไ้ ม้ยมกแทนคาซา้ นน้ั ได้ สังเกต! น้องๆ จาไวเ้ ลยวา่ คาซา้ ต้อง ๑. เขยี นเหมือนกัน ๒. เขียนตดิ กัน ๓. หนา้ ทขี่ องคาเหมือนกนั ๔. สามารถใช้ไม้ยมกแทนได้ ความหมายทเ่ี กิดจากคาซา้ ๑. พหพู จน์ เชน่ น้องๆ พ่ีๆ เด็กๆ เพื่อนๆ ๒. แยกจานวน เช่น ช้ินๆ ตๆู้ ห้องๆ ชุดๆ ถุงๆ ๓. บอกกริยาซ้าๆ เชน่ พูดๆ กินๆ ทาๆ อ่านๆ ดๆู ๔. บอกพวก กล่มุ ลกั ษณะ เช่น ขาวๆ อ้วนๆ เลก็ ๆ แบนๆ กลมๆ เหลย่ี มๆ ๕. บอกสถานท่ี ไมเ่ จาะจง เชน่ แถวๆ ข้างๆ เชา้ ๆ สายๆ ค่าๆ ใกลๆ้ ๖. ความหมายเปลย่ี นไปจากเดิม เชน่ ไปๆ มาๆ กลว้ ยๆ หมูๆ สดๆ ร้อนๆ ๗. ทานองคาสงั่ เชน่ ดๆี เบาๆ รบี ๆ ชา้ ๆ เรว็ ๆ เงยี บๆ ๘. แสดงอาการหรอื เหตุการณ์ต่อเนอ่ื ง เชน่ รา่ ๆ พรวดๆ หยมิ ๆ ปรอยๆ ๙. เน้นความรู้สกึ โดยใชเ้ สยี งสงู เน้น เชน่ ด๊าดา รว้ ยรวย ตา๊ ยตาย เกง๊ เก่ง ๑๐. เลยี นเสียงธรรมชาติ เช่น เหมยี วๆ โครมๆ โฮกๆ เปรย้ี งๆ เอกสารปรบั พนื้ ฐาน ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมดงรกั วิทยา หน้า 30
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: