Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินงานเชียงของ2566ไตรมาส2

สรุปผลการดำเนินงานเชียงของ2566ไตรมาส2

Published by maefa.nfe, 2023-07-11 08:52:03

Description: สรุปผลการดำเนินงาน กศน.อำเภอเชียงของ ปีงบประมาณ 2566 ไตรมาส 2

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาํ เนินงาน กศน.อาํ เภอเชียงของ ไตรมาสท่ี 2 ประจําปก ารศกึ ษา 2566 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอเชียงของ สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชยี งราย

คำนำ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงของ สังกัดสำนักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั เชียงราย ในฐานะหนวยงานราชการได จดั ทำรายงานผลการดำเนิน ไตรมาส 2 ประจำปงบประมาณ 2566 ทส่ี อดคลองกบั จุดเนน และนโยบาย ของสำนักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และความตอ งการของชมุ ชน โดย รายงานผลการดำเนินงานประกอบดว ยสาระสำคญั ทง้ั ส้ิน 3 สว น ไดแ ก สว นท่ี 1 ขอ มูลพ้นื ฐานสถานศึกษา สวนที่ 2 ทิศทางของสถานศกึ ษา สวนที่ 3 รายงานผลการดำเนนิ งานปฏิบัติงาน ไตรมาส 2 ประจำป 2566 รายงานผลการดำเนินงาน กศน.อำเภอเชียงของ ไตรมาส 2 ปงบประมาณ 2566 ฉบับน้ี เปนการรายงานผลการดำเนินงานปงบประมาณ 2566 ที่ผานมา จัดทำเพื่อเผยแพรการดำเนินงานและ เสนอตอ ผบู งั คบั บญั ชา และเพือ่ การพัฒนาการดำเนินงานในอนาคต ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเชียงของ 31 มีนาคม 2566

สารบัญ สว นที่ 1 ขอมูลพ้นื ฐานสถานศึกษา หนา สว นท่ี 2 ทศิ ทางของสถานศกึ ษา 1 สว นท่ี 3 รายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษา 17 35

1 สว นท่ี 1 ขอ มลู ทั่วไปของสถานศึกษา 1. ขอ มลู ทว่ั ไปของอำเภอ ประวตั อิ ำเภอเชียงของ เชียงของเปนอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงราย มีลักษณะภูมปิ ระเทศเปนที่ราบสลับกับเทือกเขา มีพื้นที่ดานทิศ ตะวนั ออกบางสวนติดกบั แมน้ำโขงซ่ึงฝงตรงขาม คอื เมอื งหว ยทราย แขวงบอ แกว สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชน ลาว มีประชากรหลายเชื้อชาติทัง้ ไทลื้อ ขมุ มูเซอ ทำใหมีอารยะธรรมท่ีหลากหลายโดยความเปน นามวา “เชียงของ” มาจากคำวา“เชียง”ที่หมายถึงเมือง และ “ของ” ที่เพี้ยนจาก “ขร” ใน “ขรราช”ที่แปลวา แมน้ำโขง เชียงของ จึง หมายถงึ เมอื งลมุ แมน้ำโขง เชียงของมีฐานะเปน เมือง มาแตเดิม และมีฐานะอำเภอในปจจุบันสืบเนื่องมาจากในรัชสมัยรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมกลาเจาอยูหัวไดทรงรวบรวมหัวเมืองของอาณาจักรลานนาเปนมณฑลพายพั โดยเมืองเชียง ของไดถูกจัดใหขึ้นกับพายัพภาคเหนือ และ พ.ศ. 2459 กระทรวงมหาดไทยไดมีประกาศเปลี่ยน “เมืองเชียงของ” เปลี่ยนเปน “อำเภอเชยี งของ” และขึน้ กับจงั หวัดเชยี งราย นบั ตงั้ แตน ้นั เปนตน มาและไดมีการแตง ต้ังพระยาจติ วงษรังษี (นอย จติ ตางกรู )เปน ในอำเภอคนแรกของอำเภอเชยี งของ อำเภอเชยี งของมชี ือ่ เสียงในเรื่องประเพณีการจับปลาบึก อยูหางจากจังหวัดเชียงรายประมาณ 137 กิโลเมตร เปนที่รูจักของนกั ทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางประเทศ เน่ืองจากเปนจุดผานแดนไปสูเสน ทางการทองเที่ยวทางเรือ และบกที่สำคัญ และมีเสนทางเชื่อมโยงออกไปสูกลุมประเทศอนุภาคลุม น้ำโขงคือ ลาว เวียดนาม และกัมพูชาและจีน ตอนใตสงลใหอำเภอเชียงของเปนสวนหนึง่ ของเศรษฐกิจพเิ ศษชายแดนเชียงของ อนั คลอบคลมุ พนื้ ที 3 อำเภอ คือ แม สาย เชียงแสน เชียงของ และยังเปนเมือรองรับยุทธศาสตรระดับอนุภูมิภาคลุมน้ำโขงที่เชื่อมโยงเสนทางการคาการ ลงทุนและการทองเที่ยวเขาดวยกัน ซึ่งเสนทางที่รูจ ักกันแพรหลายคือ เชียงของ-หวยทราย-หลวงพระบาง-เวยี งจันทร และ เชียงของ – หวยทราย – หลวงน้ำทา – บอหาน (จีน) – เชียงรุง (เมืองเอกแหงแควนสิบสองปนนา) – คุนหมงิ (เมอื งหลวงของมณฑลยูนนาน) ดา นภมู ิศาสตร อำเภอเชียงของ มลี ักษณะภูมิประเทศเปนภูเขา โดยมีพื้นท่ีราบลุมอยูตอนกลาง ความสูงจากระดับน้ำทะเล ประมาณ 1,000 ฟตุ พน้ื ท่ปี า ไมร อ ยละ 61 ของพ้นื ทท่ี ้งั หมด หรอื ประมาณ 510 กโิ ลเมตร ทต่ี งั้ อำเภอเชียงของตัง้ อยูทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือของจังหวดั เชียงราย มพี รมแดนตดิ กบั ประเทศลาว เปนพ้ืนที่สำคญั ทางเศรษฐกิจ เปนเมืองหนาดานในการขนสง สินคา จากจีน ลาว และพมา โดยมีเสนทาง R3Aเชื่อมตอ ระหวา งประเทศ มีสะพานมิตรภาพไทย-ลาวเชอ่ื มโยงระหวางไทยและลาว ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

2 อาณาเขตติดตอ  ทศิ เหนือ ติดตอ กับแขวงบอ แกว (ประเทศลาว)  ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ กับแขวงบอแกว (ประเทศลาว) และอำเภอเวยี งแกน  ทศิ ใต ตดิ ตอกับอำเภอเวยี งแกน อำเภอขุนตาล อำเภอพญาเม็งราย และอำเภอเวียงเชียงรงุ  ทิศตะวันตก ติดตอกบั อำเภอดอยหลวงและอำเภอเชียงแสน การปกครอง อำเภอเชยี งของแบงเขตการปกครองออกเปน 7 ตำบล 102หมูบาน 1. เวยี ง (Wiang) 14 หมบู าน 2. สถาน (Sathan) 16 หมบู า น 3. ครง่ึ (Khrueng) 11 หมบู าน 4. บุญเรือง (Bun Rueang) 10 หมบู าน 5. หวยซอ (Huai So) 23 หมบู า น 6. ศรีดอนชัย (Si Don Chai) 18 หมบู า น 7. ริมโขง (Rim Khong) 10 หมบู าน ทอ งทอี่ ำเภอประกอบดว ยองคกรปกครองสวนทองถ่นิ 8 แหง ไดแ ก 1. เทศบาลตำบลบญุ เรือง ครอบคลุมพืน้ ที่ตำบลบญุ เรืองทง้ั ตำบล 2. เทศบาลตำบลเวยี งเชยี งของ ครอบคลุมพื้นที่บางสว นของตำบลเวยี ง 3. เทศบาลตำบลเวยี ง ครอบคลุมพนื้ ท่ีตำบลเวยี ง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลเวียงเชียงของ) 4. เทศบาลตำบลคร่ึง ครอบคลุมพื้นทตี่ ำบลครึ่งทัง้ ตำบล 5. เทศบาลตำบลตำบลสถาน ครอบคลมุ พ้ืนทีต่ ำบลสถานทง้ั ตำบล 6. เทศบาลตำบลหวยซอ ครอบคลมุ พ้ืนท่ีตำบลหว ยซอท้ังตำบล 7. เทศบาลตำบลตำบลศรีดอนชัย ครอบคลมุ พน้ื ทีต่ ำบลศรดี อนชยั ทง้ั ตำบล 8. องคก ารบรหิ ารสวนตำบลรมิ โขง ครอบคลุมพนื้ ท่ตี ำบลริมโขงท้ังตำบล ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

3 จำนวนประชากร ตำบล ชาย จำนวนประชากร รวม จำนวนครัวเรยี น 4384 หญิง 9,083 สถาน 4356 4,699 8734 4389 ศรีดอนชยั 3540 4378 7176 3738 ริมโขง 6528 3639 13461 2651 เวียง 3128 6933 6288 6766 ครึ่ง 2869 3160 5894 2738 บญุ เรอื ง 6121 3025 12272 2552 หว ยซอ 6151 5321 30926 62,908 28155 รวม 31,985 *ขอ มลู ณ วนั ที่ 23 ก.พ. 2566 ดา นการศกึ ษาในระบบโรงเรยี นโดยรวม การศกึ ษา 1. โรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา โรงเรยี นสงั กัดสพฐ.จำนวน 24 แหง - โรงเรียนบานหว ยเม็งประสาทวทิ ย - โรงเรียนบานหวั เวียงโกศัยวทิ ย - โรงเรียนอนุบาลทงุ ทรายพัฒนา - โรงเรยี นบานทุงนานอย - โรงเรยี นบา นดอนมหาวนั - โรงเรยี นบานทงุ งิว้ (ประชาสงเคราะห 2) - โรงเรยี นบา นทงุ อาง - โรงเรียนบานเชยี งคาน (ราษฎประสานมิตร) - โรงเรียนบา นนำ้ มา - โรงเรยี นบานปากองิ - โรงเรยี นบานทงุ ซาง ดงหลวง - โรงเรียนบา นลงุ -ทา เจริญ - โรงเรยี นบานเข๊ยี ะ - โรงเรียนบา นตอง-มว งชุม - โรงเรยี นบา นศรลี านนา - โรงเรียนบา นหลวง - โรงเรียนบานครงึ่ ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

4 - โรงเรียนบา นคร่งึ ใต - โรงเรียนบานสา น - โรงเรียนบา นบญุ เรือง - โรงเรียนบานตน ปลอ ง-แดนเมอื ง - โรงเรยี นบานหว ยซอ - โรงเรยี นบานเก๋ยี ง - โรงเรียนบานแกน วิทยา โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษาจำนวน 8 แหง - โรงเรยี นรมิ โขงวทิ ยา - โรงเรยี นบานเมืองกาญจน - โรงเรียนชุมชนสถาน(ราษฎรดรุณวทิ ย) - โรงเรยี นชมุ ชนบา นศรีดอนชัย - โรงเรยี นบา นหวาย - โรงเรียนบา นสองพน่ี อง - โรงเรียนบา นเวยี งหมอก - โรงเรยี นอนบุ าลเชยี งของ 2. โรงเรียนระดบั มัธยมศกึ ษา มี 3 แหงประกอบดว ย - โรงเรียนเชยี งของวิทยาคม - โรงเรยี นบญุ เรอื งวิทยาคม - โรงเรียนหว ยซอวิทยาคมรชั มังคลาภิเษก 3. โรงเรียนเอกชน มี 3 แหง - โรงเรียนลกู รักเชียงของ, โรงเรยี นพระกมุ ารเยซ,ู โรงเรยี นคริสเตยี นแสงประทีป 4. โรงเรียน ตชด. มี 1 แหง - โรงเรยี น ตชด.บานกว่ิ กาญจน 5. โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม มี 2 แหง - โรงเรยี นวัดครึ่งใตว ิทยา - โรงเรียนโสภณจริยธรรมวิทยา 6. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มี 1 แหง - ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเชยี งของ การศาสนา ประชาชนสวนใหญรอยละ 95 นบั ถือศาสนาพทุ ธอีกจำนวนรอยละ 5 นบั ถอื ศาสนาครสิ ตอิสลามและอ่ืนๆ มีศาสนาสถานดงั น้ี 1. วัด( ไดร ับพระราชทานวสิ งุ คามสมี า ) จำนวน 42 วัด 2. สำนักสงฆจ ำนวน5แหง 3. โบสถคริสตจ ำนวน 47 แหง ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

5 แหลง เรียนรแู ละภาคีเครอื ขา ย ช่อื กศน.ตำบล ท่ตี ้งั ผูร บั ผิดชอบ กศน.ตำบลรมิ โขง 298 หมู 8 บานหาดทรายทอง ต.รมิ นายอดลุ ย อินนนั ใจ โขง อ.เชยี งของ จ.เชียงราย กศน.ตำบลเวยี ง 122 ม.12 ต.เวยี ง อ.เชียงของ จ. นายทวีศกั ดิ์ ชอบจติ ต เชียงราย กศน.ตำบลสถาน บรเิ วณวดั ทุงง้วิ ม.2 ต.สถาน อ.เชยี ง นางพชั รนิ ทร ศรีสขุ ของ จ.เชยี งราย กศน.ตำบลศรดี อนชยั 202 ม.10 บ.ทา เจรญิ อ.เชยี งของ นางสาวศวิ าลักษณ คำปา จ.เชียงราย กศน.ตำบลครง่ึ บริเวณวดั บา นหลวง ม.8 บ.หลวงใหม นางสาวนันทพร บุดดี พัฒนา อ.เชียงของ จ.เชียงราย กศน.ตำบลบญุ เรือง บา นบุญเรอื งเหนอื ม.1 ต.บญุ เรือง นางรำไพพรรณ ยอดสวุ รรณ อ.เชียงของ จ.เชยี งราย กศน.ตำบลหวยซอ บา นแกน นคร ม.20 ต.หวยซอ อ.เชียง นายเจษฎา จันทมิ า ของ จ.เชียงราย รวมจำนวน 7 แหง 7 คน ศนู ยก ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา” ทต่ี ั้ง ผรู ับผิดชอบ แมฟ า หลวง” ชือ่ ศูนยก ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา บา นสองพ่ีนอ ง ม.5 ต.รมิ โขง อ.เชียง นายกบลิ ชวยไว “แมฟ า หลวง”บา นสองพน่ี อ ง (หว ยตุ) ของ จ.เชียงราย ช่ือ ศูนยการเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา บา นสองพนี่ อง ม.5 ต.รมิ โขง อ.เชียง นายนวิ ฒั น โนวชิ ัย “แมฟา หลวง”บา นสองพน่ี อง(หว ย ของ จ.เชยี งราย สา) ชื่อ ศนู ยก ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา บา นหวยกอก ม.14 ต.เวียง อ.เชยี งของ นายเจษฎา ธำรงคประดิษฐ “แมฟ า หลวง”บา นหว ยกอก จ.เชียงราย ช่ือ ศูนยการเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา บา นเวียงหมอก ม.10 ต.หวยซอ อ. นางสาวกาญจนา วงศชยั “แมฟา หลวง”บานเวียงหมอก เชียงของ จ.เชียงราย รวมจำนวน 4 แหง 4 คน ชือ่ แหลง เรียนรู ประเภทแหลงเรยี นรู ท่ตี งั้ อุทยานหวยนำ้ ชา ง แหลง เรียนรูระบบนเิ วศและสงิ่ แวดลอม บา นแฟน หมู 5 ต.สถาน อ.เชียงของ จ. วัดพระธาตบุ า นใหมธาตุทอง เชียงราย เปน ศนู ยรวมจิตใจในการมานงั่ สมาธิ บา นใหมธ าตทุ อง หมู 16 ปฏบิ ัตธิ รรม ต.สถาน อ.เชียงของ จ.เชียงราย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

6 จดุ ชมววิ หว ยทรายมาน แหลง เรียนรูระบบนิเวศและสงิ่ แวดลอ ม บา นหวยเยน็ ต.รมิ โขง อ.เชียงของ จ. ทา เรือบานหาดบาย เชยี งราย บา นชาวไทยภเู ขา เผา มเู ซอ บา นชาวไทยภเู ขา เผา มง แหลง เรียนรรู ะบบนิเวศและสงิ่ แวดลอ ม หมทู ี่ 1 ต.ริมโขง อ.เชียงของ จ. บา นชาวไทยภูเขา เผาขมุ และการคมนาคม เชยี งราย ท่ที ำการ อบต.ริมโขง เศรษฐกิจพอเพียง วฒั นธรรมประเพณี บา นสองพน่ี อ งหมทู ่ี 5 ต.ริมโขง พระธาตุภเู ขาเขียว วัดใหมศรรี มเย็น อ.เชยี งของ จ.เชียงราย วดั ดอยโตน กลมุ สตรที อผา บานศรีดอนชยั วฒั นธรรมประเพณี บา นกว่ิ กาญจน หมทู ่ี 6 ต.รมิ โขง อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย วัดครงึ่ ใต พิพธิ ภณั ฑปลาบึกและปลานำ้ จดื วฒั นธรรมประเพณี บา นหวยเยน็ หมทู ่ี 7 ต.รมิ โขง หองสมดุ ประชาชนอำเภอเชยี งของ อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย วดั หลวงไชยสถาน ครสิ ตจักรความหวงั เชียงของ ตดิ ตอประสานงาน บา นเมอื งกาญจน หมูท่ี 2 ต.รมิ โขง อ. วัดหาดไคร เชยี งของ จ.เชียงราย การทำการเกษตรปลอดสารพิษ บา นศรมี งคล หมทู ี่ 14 ต.ศรีดอนชัย อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย ระบบนิเวศ, วปิ ส สนากรรมฐาน บา นใหมดอนแกว ม.9 ต.ศรดี อนชัย อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย ปฏิบตั ธิ รรม บา นใหมศ รีรมเยน็ ม.21 ต.ศรีดอนชยั อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย ปฏิบตั ิธรรม บา นชยั พฒั นา ม.16 ต.ศรีดอนชยั อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย ใหค วามรูเ ก่ียวกบั การทอผา ในแบบ บา นศรดี อนชยั หมู 8 ต. ศรีดอนชัย อ. พน้ื เมอื งผาทอไทยลอ้ื การจดั การและ เชยี งของ จ.เชียงราย การบรหิ ารกลมุ อาชพี โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม บา นคร่งึ ใต หมทู ี่ 3 ต.คร่งึ อ.เชยี งของ จ.เชียงราย - ทรพั ยากรสตั วน ำ้ บา นหาดไคร หมู 3 ต.เวยี ง อ.เชยี งของจ. - ภูมิปญ ญาการจบั ปลานำ้ โขง เชยี งราย - สาระความรทู กุ หมวดการเรยี นรแู ละ บรเิ วณดา นหนา ที่วา การอำเภอเชยี งของ เอกสารอา งองิ 122 ต.เวียง อ.เชียงของ จ.เชยี งราย - ใหค วามรูขอมลู ประวตั ิศาสตรท องถ่นิ 65 หมู 2 ต.เวยี งอ.เชียงของ และวัฒนธรรมเกาแก จ.เชยี งราย - บรกิ ารเกีย่ วกบั การใหค วามรทู าง บา นโจโกต .เวยี งอ.เชยี งของ ศาสนาครสิ ต จ.เชียงราย - บริการสถานทจ่ี ดั พิธบี วงสรวงปลาบึก บา นหาดไครห มู 3 ต.เวียง ซึ่งเปน ประเพณเี กา แกข องอำเภอทุกป อ.เชยี งของจ.เชยี งราย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

7 และดา นหลงั ของวัดยงั เปนแหลง เพาะพนั ธปุ ลาบกึ วนอทุ ยานหว ยทรายมาน - ใหค วามรูเกยี่ วกบั ธรรมชาติ บา นสองพ่นี องต.รมิ โขงอ.เชยี งของจ. ส่ิงแวดลอ มพน้ื ทอ่ี นรุ ักษ เชียงราย สวนสาธารณะดอยแสลง -ใหค วามรูเ กยี่ วกับธรรมชาติ บา นโจโ กต .เวยี งอ.เชยี งของ สง่ิ แวดลอ มพ้นื ทอ่ี นรุ ักษปาสงวน จ.เชียงราย ธรรมชาตแิ ละพนั ธุพ ชื โครงการสวนปา สมุนไพรตาม ใหค วามรูเกย่ี วกบั สมุนไพรการใชและ บา นกว่ิ กาญจนต .รมิ โขง โครงการพระราชดำรจิ งั หวดั เชยี งราย การจำแนกสายพนั ธุ อ.เชียงของ จ.เชยี งราย กลมุ จกั สานบานหลวง -ใหความรูเกี่ยวกบั การจักสานหวาย บา นหลวงหมู 4 ต.คร่งึ และผลิตภณั ฑเก่ียวกบั หวาย อ.เชยี งของจ.เชยี งราย - ภูมิปญญาการจัดการเครอ่ื งจักสาน บา นครึง่ ใต - ความรูเรอ่ื งการดำเนินชีวติ ตามหลัก บา นครึ่งใต หมทู ่ี 3 ต.ครง่ึ อ.เชียงของ จ. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เชยี งราย -การจดั การชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง พพิ ธิ ภัณฑลื้อลายคำ -ความรูเ รอื่ งภมู ิปญ ญาไทลอื้ เรื่องการ บา นศรีมงคล ต.ศรดี อนชัย อ.เชยี งของ ทอผาไทลอ้ื และวถิ ีชวี ิตความเปนอยู ของชาติพันธไุ ทลอ้ื พิพธิ ภัณฑภ าพเกาเลา เร่อื งเมอื งเชยี ง - ความรูเร่อื งประวตั ิความเปนมาของ ทา เรอื บัค๊ ต.เวยี ง อ.เชยี งของ จ. ของ เมอื งเชียงของ วิถีชีวิตของคนเชียง เชยี งราย ของ ภาพประวัตศิ าสตรเมืองเชยี ง ของ ภูปญญาทองถนิ่ ความรูความสามารถ ท่อี ยู นายประจันทร กนั ทะสอน เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎี บา นคร่ึงใต หมู 3 ต.ครงึ่ อ.เชยี งของ จ. ใหม เชยี งราย นายสมบูรณ มินทะบดั ปน อฐิ มอญ 125 หมู 5 ต.สถาน อ.เชยี งของ จ. เชียงราย นางสุขาวดี ติยะธะ ผาทอไทลื้อ บา นหาดบา ย หมูท ่ี 1 ต.ริมโขง อ.เชยี ง ของ จ.เชียงราย นายผล ธรรมวงค จกั สาน บา นหาดบา ย หมทู ่ี 1 ต.ริมโขง อ. เชยี งของ จ.เชียงราย นางนวล ธรรมวงค บายศรสี ขู วญั บา นหาดทรายทอง หมูท่ี 8 ต.รมิ โขง อ. เชียงของ จ.เชยี งราย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

8 นางแวน แกว ภริ มยพลัด ผา ทอไทลอื้ บา นศรีมงคล หมทู ่ี 14 ต.ศรีดอนชยั อ.เชยี งของ นางตา นาระถี ดานครัวขวัญ จ.เชยี งราย นางอัมพร บุญเกษม เย็บปก ถกั รอ ย นายสม ไชยราช ดา นจักสาน บา นบญุ เรือง ต.บุญเรอื ง อ.เชยี งของ จ. นายบุญนกั จนิ ะพรม ชางไม ทำบานประตหู นา ตา ง เชยี งราย นายสวุ ทิ ย การะหนั ชา งไมท ำโตะ แกะสลัก นางคำ ไชยเสน ชา งทอผา บา นชาววา ต.บญุ เรอื ง อ.เชยี งของ จ. นางใจคิด ลำเปงมี ทำตุงผา เชียงราย นายรตั น กนั ทะวงศ ชางทำไมกวาดแสม ะพรา ว นายมงิ่ สีออน ชา งตัดผมชาย บา นปาเคาะ ต.บุญเรือง อ.เชยี งของ จ. นางสี คำเรือง เชยี งราย นางปน เทพวงศ ประดิษฐดอกไมจ ากเศษผา นายสวัสด์ิ พรมนอ ย ยาสมุนไพร บา นหก ต.บญุ เรือง อ.เชียงของ จ. นายสุรยิ า วงศช ยั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เชียงราย นายประเสรฐิ สมทะนะ ผา ทอไทลือ้ ความรูเร่อื งการดำเนินชีวติ ตามหลกั บา นภแู กง ต.บุญเรอื ง อ.เชยี งของ จ. ภาคีเครอื ขา ย ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เชยี งราย เทศบาลตำบลบุญเรือง เทศบาลตำบลครึ่ง ทอ่ี ยู/ทต่ี ้ัง บา นตน ปลอ ง ต.บุญเรือง อ.เชียงของ บา นตน ปลอ ง ต.บญุ เรอื ง อ.เชียงของ จ.เชยี งราย จ.เชียงราย บา นคร่งึ เหนือ ต.คร่ึง อ.เชียงของ จ. บา นหก ต.บญุ เรอื ง อ.เชียงของ จ. เชยี งราย เชียงราย บา นตน ปลอ ง ต.บุญเรอื ง อ.เชียงของ จ. เชียงราย บา นปาเคาะ ต.บญุ เรอื ง อ.เชยี งของ จ. เชียงราย บา นเก๋ยี ง ม.17 ต.หว ยซอ อ.เชียงของ จ.เชียงราย บา นเก๋ยี ง ม.17 ต.หวยซอ อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย บา นครงึ่ ใต หมู 4 ต.ครงึ่ อ.เชยี งของ จ.เชียงราย พพิ ธิ ภัณฑลือ้ ลายคำ ม.14 ต.ศรดี อนชยั อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย ฟารม พอ เรา บานทุงอา ง ต.สถาน อ. เชยี งของ จ.เชยี งราย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

9 เทศบาลตำบลเวียงเชยี งของ บา นเวยี งดอนชัย ต.เวียง อ.เชยี งของ จ. เชยี งราย เทศบาลตำบลเวียง บา นสบสม ต.เวียง อ.เชยี งของ เทศบาลตำบลสถาน จ.เชยี งราย เทศบาลตำบลศรดี อนชยั บา นแฟน ต.สถาน อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย องคก ารบรหิ ารสว นตำบลรมิ โขง บา นชยั มงคล ต.ศรีดอนชัย อ.เชียงของ เทศบาลตำบลหวยซอ จ.เชียงราย โรงพยาบาลสมเด็จพระยพุ ราชเชียง บา นเมอื งกาญจน ต.ริมโขง อ.เชยี งของ ของ จ.เชยี งราย โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพชุมชน ตำบลสถาน บา นหว ยซอ ต.หวยซอ อ.เชยี งของ จ. โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพชุมชน เชียงราย ตำบลครงึ่ โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพชุมชน บา นโจโก ต.เวียง อ.เชียงของ ตำบลศรดี อนชยั จ.เชียงราย โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพชุมชน ตำบลริมโขง บา นสถาน ต.สถาน อ.เชียงของ โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพชุมชน จ.เชยี งราย ตำบลบุญเรือง โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพชุมชน บา นครง่ึ เหนือ ต.ครึ่ง อ.เชยี งของ ตำบลหวยซอ จ.เชียงราย วดั ทุงงิ้ว บา นศรมี งคล ต.ศรีดอนชัย อ.เชียงของ วดั คร่งึ ใตวิทยา จ.เชยี งราย วดั บา นดงหลวง บา นสองพนี่ อง(หว ยต)ุ ต.รมิ โขง อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย วัดทาขามศรดี อนชัย บา นหก ต.บญุ เรอื ง อ.เชียงของ จ.เชยี งราย โรงเรียนโสภณจริยธรรม บา นหวยซอ ต.หวยซอ อ.เชียงของ จ. เชยี งราย บา นทงุ งิว้ ต.สถาน อ.เชียงของ จ. เชียงราย บา นครึ่งใต ต.ครงึ่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย บา นหลวง ต.ศรีดอนชัย อ.เชียงของ จ. เชียงราย บา นศรีดอนชัย ต.ศรีดอนชยั อ.เชียง ของ จ.เชียงราย บา นเวียงดอนชัย ต.วียง อ.เชียงของ จ. เชียงราย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

10 โรงเรยี นเชียงของวทิ ยาคม บา นโจโ ก ต.เวียง อ.เชยี งของ จ. โรงเรียนบญุ เรอื งวทิ ยาคม เชียงราย โรงเรียนอนุบาลเชียงของ โรงเรียนหว ยซอวิทยาคมรชั มงั คลา บา นบุญเรือง ต.บญุ เรือง อ.เชยี งของ จ. ภิเษก เชียงราย บา นสบสม ต.เวยี ง อ.เชียงของ จ.เชียงราย บา นใหมด อนแกว ต.หวยซอ อ.เชยี ง ของ จ.เชยี งราย แหลงทองเที่ยว - ทา ปลาบกึ หาดไคร บา นหาดไคร เปนหมูบา น ซ่งึ ตง้ั อยูในเขตเทศบาลตำบลเวยี งเชยี งของ ม.7 ท่มี ีชือ่ เสยี ง ทางดานการจบั ปลาบกึ ซง่ึ เปนปลาน้ำจดื ท่ใี หญที่สดุ ในโลก มีการจบั ปลาบึกทุกป ชวงระหวางเดอื นเมษายน – พฤษภาคม ซ่งึ เปนชวงทป่ี ลาบกึ จะวา งขน้ึ เหนอื เพ่ือไปวางไข กอนการจับปลาบึก จะมพี ิธีการสำคัญอีกอยางหนึ่งตอง ทำทุกปกอ นการจับ นน่ั คือพิธบี วงสรวงเจา พอปลาบกึ ทำพิธีในวันท่ี 18 เมษายนของทกุ ป ในพธิ กี ารก็จะมกี ารเซนไหว อาหาร เครื่องดืม่ เพ่ือสักการะสง่ิ ศักดส์ิ ิทธิ์ หลังจากนั้นกจ็ ะเรมิ่ ลงมือจบั ปลา โดยเครื่องมือจบั ปลาบกึ ของทน่ี ่ี เรียกวา “มอง” ซงึ่ เปนอวนขนาดใหญพิเศษ เฉพาะจับปลาบึกเทา นั้น - ทา เรอื บัค๊ ทาเรอื บ๊ัก เปน จดุ ผา นแดนถาวรระหวา งไทย - ลาวอยู รมิ ฝงแมน้ำโขง สามารถมองเหน็ ทิวทศั นของ เมืองหวยทราย แขวงบอแกว สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาวได นักทองเท่ยี วชาวไทยสามารถขา มไปฝงลาวได โดยตดิ ตอ ท่ีวา การอำเภอเชยี งของ โดยเตรยี มรปู ถา ย 1 น้วิ 2 รูป และสำเนาบตั รประจำตัวประชาชน 1 ชดุ พรอ มเงิน คาธรรมเนยี ม 30 บาท - จดุ ชมววิ หว ยทรายมาน ต้งั อยบู า นเมืองกาญจนห มทู ่ี 2 ตำบลรมิ โขงริมเสน ทางหลวงหมายเลข 1129 ( ถนน สายเชยี งแสน – เชยี งของ ) ชมภาพทิวทศั นขุนเขาและแมนำ้ โขงซ่งึ เปนพรมแดนระหวางไทย – ลาวดานอำเภอเชียง ของมองเหน็ หาดสาวลาวอาบน้ำยามเยน็ ไดดีแกงไกน้ำไสไหลกระเซนเปน สถานที่พกั ผอ นหยอนใจอีกจุดหนงึ่ ฯลฯ - ศนู ยสตรที อผา บา นศรีดอนชยั ตงั้ อยูบา นศรีดอนชยั หมูที่ 7 ตำบลศรีดอนชยั เย่ียมชมการทอผาพนื้ เมือง จำหนายผลิตภณั ฑจากผา ทอและของทร่ี ะลึกตา ง ๆ - วดั ครง่ึ ใต วัดคร่ึงใตเ ปน วดั ท่ีมีความนาสนใจตรงทเ่ี ปน วัดบานเกดิ ของ พระมหาวฒุ ิชยั วชิรเมธี (ว.วชริ เมธ)ี และยังมสี ถาปต ยกรรมนา สนใจหลายอยาง เชนหอไตร ทีเ่ ปนลักษณะเสาเดยี ว หาดไู ดยาก และยงั เปนที่ตั้งของ โรงเรียนเตรียมสามเณร สนองราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ อกี ดว ย - ทาผาถา น ทา ผาถา นอยูบริเวณสดุ ซอยเทศบาลซอย7 เปนทาเรือขนสง สินคาเล็กๆ แตโ ดยรอบบริเวณเปน ลานกวา งมาก นักทองเท่ยี วสามารถหาเรือโดยสารทอ งเทย่ี วแบบเหมาไดท่ีบริเวณนี้ มีเจาของเรือหลายลำพรอม ใหบริการ - วดั ศรีดอนชัย เดมิ ชอ่ื “วัดตงุ คำ” ต้ังอยบู ริเวณสถานีตำรวจภธู รอำเภอเชยี งของปจจุบนั ตอมาประมาณป พ.ศ. 2400 ไดย ายมาสรา งวัดใหมทางทิศตะวันตก ตดิ กับประตชู ัย (ทต่ี งั้ วดั ปจ จุบนั ) และไดเ ปลีย่ นชอื่ วดั ใหมวา “วัด ศรดี อนชยั ” มีปชู นยี วตั ถทุ ี่สำคัญอนั เปน ทีส่ กั การะบูชาของพุทธศาสนานกิ ชน คือ \"หลวงพอเพชร\" ซึ่งเปน พระ คูบานคูเ มืองเชยี งของ และพระธาตุศรเี วยี งดอนชยั มปี ระเพณสี ักการะบชู าเปนประจำทุกปในวนั มาฆบชู า ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

11 - ชมุ ชนไทลื้อศรดี อนชยั เปนชมุ ชนไทลอ้ื เกา แกทยี่ ังคงอนรุ ักษว ัฒนธรรมอันดีงามไว โดยเฉพาะประเพณีจลุ กฐนิ ทจ่ี ะจัดขึ้นในชว งเดือนตุลาคม – เดอื นพฤศจิกายน ของทุกป - ชุมชนไทล้อื หาดบาย-หาดทรายทอง เปน ชมุ ชนไทลอื้ ที่มคี วามโดดเดน ในงานหตั ถกรรมการทอผา ไทล้ือ ซึ่ง เปน ภมู ปิ ญ ญาทส่ี ืบทอดกนั มาตัง้ แตบ รรพบุรุษ - วัดพระแกว วดั พระแกว ตัง้ อยู หมทู ่ี 13 ตำบลเวียง อำเภอเชยี งของ จงั หวดั เชยี งราย สังกดั คณะสงฆ มหานิกาย เปน อกี วดั หนง่ี ในเชียงของท่ีตง้ั อยกู ลางเมือง ต้ังอยูห า งท่วี า การอำเภอฯประมาณ 400 เมตร บนถนนสาย หลักเชียงของ-เชยี งแสน (ติดกบั ทท่ี ำการไปรษณยี ) ทางเขาวดั จะตดิ ถนนสายหลักแตอีกดา นหนึ่งจะตดิ แมน ำ้ โขง ดงั น้ัน บริเวณวัดจงึ สามารถมองเห็นววิ นำ้ โขงสวยงามมาก รวมทัง้ มองเห็นฝง ลาวไดชดั เจนอกี ดวย ภายในวัดมีพระพุทธรปู เกา แกมากมาย โดยเฉพาะพระพุทธรูปทีท่ ำจากหินนำ้ โขงท่ีงดงามมาก บรเิ วณดา นตดิ แมน้ำโขงมีมา นัง่ หนิ ออนใหท า น น่ังชมทัศนยี ภาพน้ำโขงและฝงลาวตลอดแนววดั -วัดหลวงหรือวัดไชยสถาน เปนอกี วดั หน่ึงทด่ี านหนาตดิ ถนนสายหลักเชียงของ-เชียงแสน และอีกดา นอยูติดกบั แมน้ำโขง วดั หลวงอยูหางจากวดั พระแกวไมเ กิน 100 เมตร ตัววิหารหันหนา ไปทางทิศตะวนั ออก(ทางแมน ำ้ โขงและ เมืองหวยทราย สปป.ลาว) ดงั นน้ั อยบู นบรเิ วณวัดจงึ มองเห็นทัศนียภาพน้ำโขงและเมอื งลาวไดอ ยา งชัดเจน ถัดจากชัน้ บริเวณวัดมบี รเิ วณใหอีกชั้นหน่ึงทส่ี ำหรบั จอดรถและนงั่ ชมวิวกอนทจ่ี ะถงึ ชน้ั ถนนตัวหนอนเลยี บน้ำโขง ชวงเยน็ ๆ อากาศเย็นสบายและทวิ ทศั นส วยงามมาก - วัดหาดไคร สังกัดคณะสงฆม หานกิ าย ที่ เดน ๆ ในวัดจะมีเพียงพระประธานและพญานาคหนาวดั แมนำ้ โขง ชว งผา นหนา วดั หาดไครน เ้ี ปนวงั น้ำลึก และเปนชองแคบกวาแมน ้ำโขงชว งอื่น เปนจบั ปลาบกึ เพยี งแหงเดยี วของ ประเทศไทยการจับปลาบกึ ที่บานหาดไคร มักจะทำพิธอี ยทู ล่ี านหนา วัดไคร ดำเนินการโดยชมรมจับปลาบึก อำเภอ เชยี งของ โดยมกี ารจับฉลากระหวางเรอื จากฝงไทยและลาวสลับกนั กอนเปด ฤดูจบั ปลาจะมีพธิ บี วงสรวงเจาพอ ปลาบึก ในวนั ที่ 18 เม.ย. ทลี่ านจับปลาบกึ ริมแมน้ำโขง ดา นหลงั วดั หาดไคร ปลาบึกท่จี ะจบั ขายไดคอื ปลาบึกตวั ผูท ่ีโตเตม็ วัย เทาน้นั หากเปน ปลาตัวเมยี จะรีดไขห รอื ขายใหก บั กรมประมงเพ่ือนำไปขยายพันธุ -พพิ ธิ ภณั ฑล้ือลายคำ แหลง รวบรวมสะสมผาทอไทลื้อและประวตั ิไทล้ือ มกี ารตกแตงพิพิธภัณฑอยา งสวยงาม ดวยวฒั นธรรมไทลอื้ เปน แหลงสบื คน ภมู ปิ ญ ญาที่สำคัญในพ้ืนทีอ่ ำเภอเชียงของ ตัง้ อยบู านศรมี งคล ม.14 ต.ศรดี อนชยั อ.เชียงของ จ.เชียงราย บนถนนสายเทงิ -เชยี งของ - ถนนคนเดนิ เชยี งของ มีอยู 2 แหง คือ วนั ศกุ รก าดกองเกา วันเสารกาดกองแกว เย็นวนั ศกุ รกาดกองเกาตั้ง บนถนนสายกลาง บานสบสม-หาดไคร ตำบล เวียง อำเภอ เชยี งของ เชยี งราย สวนเย็นวนั เสาร เปน กาดกองแกวบน ถนนสายกลาง ตั้งแตห นาวัดพระแกว จนถงึ ถงึ สำนกั งานการไฟฟาสวนภมู ภิ าคอำเภอเชยี งของ จะมถี นนคนเดินท่ีคนใน พืน้ ทีจ่ ะนำสินคาออกจำหนา ย ใหก บั นกั ทองเทีย่ วและประชาชนทส่ี นใจ มีทั้งพชื ผกั ผลไม สนิ คา ทำมือ และเส้ือผา ของใชต า ง ๆ ใหเ ลือกซอ้ื เลือกหา - พิพธิ ภัณฑภ าพเกาเลาเร่ืองเมืองเชยี งของ บริเวณ ชั้น 3 ตึกองคก ารบริหารสว นจงั หวดั เชียงราย ทาเรอื บัค๊ บา นหวั เวยี ง อำเภอเชยี งของ จังหวดั เชยี งราย โดยนายธนั วา เหล่ยี มพนั ธุ ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอเชียงของ จงั หวัดเชยี งราย มกี ารรวบรวมภาพเกา ทบ่ี งบอกถงึ อัตลักษณต วั ตนของเชียงของ สมัยการปกครองตง้ั แตย ังมเี จา เมอื ง เมื่อป 2472 จนถึง ป 2519 จำนวนกวา 2,000 ภาพ ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

12 ขอ มลู พืน้ ฐานของสถานศกึ ษา 1. ชื่อสถานศกึ ษา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเชียงของ 2. ที่ตั้ง ที่อยู 122 หมู 12 ตำบลเวียงอำเภอเชียงของ จงั หวัดเชียงราย 57140 โทรศพั ท 053-655748 โทรสาร 053-791298 เบอรโทรสาร :053-655748E-mail ตดิ ตอ : [email protected] Website : http://202.143.129.198/chaing_kong/ Fan Page : https://www.facebook.com/กศนอำเภอเชียงของ-จงั หวดั เชยี งราย 3. สงั กัด สำนกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั เชยี งราย สำนกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 4. ประวตั คิ วามเปนมาของสถานศกึ ษา 4.1 ประวตั ิสถานศกึ ษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงของ ตั้งอยูในอาคารของหองสมุด ประชาชนอำเภอเชียงของ ซึ่งหนว ยปฏบิ ัติการเฉพาะกจิ ของคายเมง็ รายมหาราช สรางไวข ณะมาปฏบิ ัติการปอ งกัน ชายแดน ชวงภัยคอมมิวนิสตคุกคาม พ.ศ.2518 และมอบอาคารใหแกหนวยงานการศึกษาผูใหญ ป พ.ศ.2519 โดย นายสมศักดิ์ ราชบัญฑิต ตำแหนงหัว กศน.อำเภอเชียงของ เปนผูรับมอบ ตัง้ แตบัดนัน้ เปนตนมาจึงไดมีเจาหนาที่ กศน. และบรรณารักษ เขามาปฏิบัติงาน อาคารดังกลาวเปนอาคารช้ันเดียวมี 1 หอ งน้ำ พื้นที่ใชสอย 63 ตารางเมตร ขนาด 7 x 9 เมตร เปน อาคารไม พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ป พ.ศ. 2537 หนังสือพิมพไทยรัฐไดบริจาคเงินตอเติมอาคารเพิ่มอีก 42 ตารางเมตร เพื่อเปนที่ทำงาน บริการ ของงานการศกึ ษานอกโรงเรียน ป พ.ศ. 2537 กรมการศกึ ษานอกโรงเรียนประกาศจัดตั้งศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียน โดยใหหองสมุด เปน ฐานในการรองรับศูนยบรกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ และใหห องสมดุ ประชาชนอำเภอเปนสถานศึกษาของ ศูนยบ ริการการศกึ ษานอกโรงเรียนอำเภอ โดยแตงต้งั นายวิทยา แสงคำมา มาทำหนา ทห่ี ัวหนา ศูนยบ รกิ ารการศึกษานอกโรงเรยี น อำเภอเชยี งของ ป พ.ศ. 2543 ไดมีการปรับปรุง ตอเติมตัวอาคารโดยขยายตัวอาคารออกไปดานขางเพื่อจัดทำหองเรียน พิมพดีด และคอมพิวเตอร จัดบริการใหก ับนักศึกษาประชาชน ตัวอาคารเปนหองกระจกมุงดวยกระเบือ้ ง ปูกระเบื้อง คอนกรตี เสรมิ เหลก็ เนอื้ ที่ 50 ตารางเมตร 3x3 เมตร โดยใชงบประมาณ กศน. ป พ.ศ. 2547 ไดปรับปรุง ตอเติมหองสมุดประชาชน โดยการสรางหองน้ำในหองสมุดสำหรับผูมาใชบริการ เปลี่ยนตู ชั้นวางหนังสือ ทำปายหองสมุด และปรับภูมิทัศนบริเวณภายใน ภายนอกใหสวยงาม เหมาะในการจัด การศกึ ษาตามอัธยาศยั โดยใชง บประมาณ กศน. ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

13 ป พ.ศ. 2551 ไดม ีคำสั่งจากสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรยี น ใหเ ปลี่ยนชือ่ สถานศกึ ษา จากศูนยบ ริการ การศึกษานอกโรงเรยี นอำเภอเชยี งของ มาเปน ศูนยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเชียงของ (ตามประกาศใช พรบ.กศน.2551) ป พ.ศ. 2552 ไดปรบั ปรงุ อาคารสำนักงาน กศน.อำเภอเชยี งของ โดยการต้งั กองผาปาและไดร ับสนับสนุนจาก ภาคเี ครือขาย 4. กศน.ตำบล ท้ังหมด 7 แหง ไดแ ก 2 กศน.ตำบลศรดี อนชยั 1. กศน.ตำบลเวียง 4. กศน.ตำบลรมิ โขง 3. กศน.ตำบลสถาน 6. กศน.ตำบลบุญเรือง 5. กศน.ตำบลหว ยซอ 7. กศน.ตำบลคร่งึ 5. ศูนยก ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟา หลวง ”4แหง ได 1. ศนู ยก ารเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟา หลวง”บา นหวยตตุ ำบลรมิ โขง 2. ศนู ยก ารเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟา หลวง”บา นเวยี งหมอกตำบลหว ยซอ 3. ศนู ยการเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟาหลวง”บา นหวยสาตำบลริมโขง 4. ศูนยการเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ าหลวง”บานหวยกอก ตำบลเวียง 6. ขอ้ มลู บคุ ลากร ตำแหนง วุฒิการศกึ ษา พ้ืนทีป่ ฏบิ ัติงาน ที่ ช่ือ - สกุล ผูบรหิ าร ผอู ำนวยการ กศม.บรหิ ารการศกึ ษา กศน.อำเภอเชียงของ 1. นายประจันทร อนิ ประสงค สถานศึกษา กศม.บริหารการศึกษา กศน.อำเภอเชยี งของ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ครูชำนาญการ ศศ.บ.บรรณารกั ษศาสตร หองสมุดประชาชน 1 นางเยาวเรศ พุทธเนตร บรรณารักษ อำเภอเชยี งของ 2. นางโสภา กายสทิ ธิ์ ปฏบิ ตั กิ าร ศลิ ปศาสตรบัณฑติ กศน.อำเภอเชยี งของ ครู ผชู ว ย (ศศ.บ.) 3. นางวารณุ ี ช่ืนตา ค.ม.วจิ ยั และการ กศน.อำเภอเชยี งของ ประเมินผล 4. นางสาวจรุ ยี พร เช้อื เมอื งพาน ครูผชู วย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

14 ที่ ชอ่ื - สกลุ ตำแหนง วุฒิการศกึ ษา พื้นท่ีปฏิบัตงิ าน พนักงานราชการ 1 นายกบลิ ชว ยไว ครู ศศบ. พฒั นาชมุ ชน ศศช.บานสองพี่นอ ง อาสาสมัครกศน. “หวยตุ” 2 นายนวิ ฒั น โนวชิ ัย ศศช.บานสองพ่ีนอง ครู คบ.การประถมศึกษา “หวยสา” 3 นายเจษฎา ธำรงคประดฐิ  อาสาสมคั รกศน. ศศช.บานหวยกอก 4 นางสาวกาญจนา วงศชัย ครู บธ.บ.การตลาด ศศช.บานเวยี งหมอก อาสาสมคั รกศน. 5 นางสาวพรรณภทั ร น้ำสา ศศ.บ.พัฒนาสงั คม กศน.อำเภอเชียงของ ครู 6 นางกาญจนา ไชยปญ ญา อาสาสมัครกศน. บธ.บ.บริหารธุรกจิ กศน.อำเภอเชยี งของ (การจัดการท่วั ไป) 7 นายทวศี ักดิ์ ชอบจิตต นกั จดั การงาน กศน.ตำบลเวยี ง ทว่ั ไป 8 นางสาวนันทพร บุดดี กศน.ตำบลครงึ่ 9 นางสาวรำไพพรรณ วิลัย ครู บธ.บ.การบัญชี กศน.ตำบลบุญเรือง 10 นายอดุลย อนิ นันใจ อาสาสมัครกศน. กสน.ตำบลรมิ โขง 11 นางพชั รินทร ศรสี ุข วท.บ.อตุ สาหกรรม กศน.ตำบลสถาน 12 นายเจษฎา จันทิมา ครกู ศน.ตำบล อเิ ลคทรอนกิ ส กศน.ตำบลหวยซอ 13 นางสาวศิวลักษณ คำปา กศน.ตำบลศรดี อนชัย จางเหมาบรกิ าร ครูกศน.ตำบล บธ.บ.คอมพวิ เตอรธ รุ กิจ 1 นางศรแี พร ยศทะ ครูกศน.ตำบล คบ.คณติ ศาสตร 2. นางสาวสวุ ิสา อนิ เทพ ครูกศน.ตำบล คบ.สังคมศกึ ษา ครกู ศน.ตำบล วทบ.วิทยาศาสตร ครกู ศน.ตำบล คบ.คณติ ศาสตร ครูกศน.ตำบล บช.บ. การบญั ชี เจา หนา ทบ่ี ันทกึ มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.อำเภอเชียงของ ขอมูล บช.บ.การบัญชี กศน.อำเภอเชียงของ เจาหนาทีบ่ นั ทึก ขอมลู ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

15 7.โครงสรางการบรหิ ารงาน ผ้อู ำนวยการศนู ย์กศน.อำเภอเชยี งของ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ฝายอำนวยการ ฝา ยสง เสริมการศึกษานอก ฝายการศึกษาตาม ระบบ อัธยาศัย -งานธุรการ งานสาร บรรณ - งานการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน - งานหองสมดุ - งานบุคลากร - องคก รนักศึกษา - งานสงเสริมการ - งานการเงินและบญั ชี - งานการศกึ ษาบนพ้นื ท่ีสูง อา น - งานพัสดุ - งานสงเสรมิ การรหู นงั สือ - แหลง เรียนรู - งานยุทธศาสตรและ - งานการศกึ ษาตอเน่อื ง แผนงาน โครงการ - งานสง เสริมการเรียนรตู าม - งานประกันคณุ ภาพ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ สถานศกึ ษา พอเพียง - งานประชาสมั พันธ -งานกศน.ตำบล - งานอาคารสถานที่ - งานดิจทิ ัลชมุ ชน - งานยานพาหนะ - งานศ.ส.ปชต. - งานภาคีเครอื ขา ย - งาน กศน. ตำบล - งานสารสนเทศและการ รายงาน - งานนเิ ทศตดิ ตามและ ประเมินผล ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

16 สว นท่ี 2 ทิศทางการดำเนนิ งานกศน.เชียงของ 1. ปรัชญา สรา งสังคมแหง การเรียนรู บนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. วสิ ยั ทศั น ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงของ มงุ จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ตามมาตรฐาน เพอ่ื สง เสริมการเรียนรตู ลอดชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยการมีสวนรวม ของชมุ ชนและภาคเี ครือขา ย 3. อัตลักษณ มีความรู คคู ุณธรรม นอมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เอกลกั ษณ คณุ ธรรมล้ำ นอมนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. พนั ธกิจ 1. จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานตามหลกั สูตร กศน.2551 2. จัดการศกึ ษาหลกั สูตรการสงเสรมิ การรูหนงั สือ 3. จดั การศกึ ษาเพ่ือชุมชนในเขตภูเขา (ศศช.) 4. จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี 5. จดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต 6. จดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน 7. จัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั และสง เสริมการอา น 8. จดั สง เสรมิ สนับสนุน และประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํารใิ นพนื้ ที่ 9. สง เสริม สนบั สนนุ และประสานภาคีเครอื ขาย เพือ่ การจัดการศึกษา กศน. 10. พัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษาในทุก ๆ ดา น 11. พัฒนาระบบการบริหารจัดการใหม ีประสทิ ธิภาพ 12. พัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 6. เปาประสงค 1.ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชียงของ มีการบริหารงาน โดยยึดหลัก ธรรมาภิบาลบนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2.ผูเรยี น ผูรบั บริการ มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน 3. บคุ ลากรในสถานศึกษาไดร บั การพฒั นา และมศี กั ยภาพในการปฏบิ ัตงิ านการจัดการศึกษาที่มคี ณุ ภาพ 4. สถานศึกษามีการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยทีม่ ีคุณภาพ ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

17 ทศิ ทางการดาํ เนินงานของ กศน.อําเภอเชยี งของ กศน.อําเภอเชียงของ ไดประชมุ บคุ ลากรเพื่อรว มกนั ประเมินสถานการณ โดยใชการวเิ คราะหส ภาพแวดลอ ม และศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกําหนดจดุ แข็งและจุดออนจากสภาพแวดลอมภายในสถานศกึ ษา รวมทงั้ โอกาสและอปุ สรรคจากสภาพแวดลอ มภายนอก อนั เปน ปจจัยตอการจดั การศึกษา เพอื่ นาํ ผลไปใชใ นการกาํ หนดทิศ ทางการดาํ เนนิ งานซ่งึ ไดผล การประเมนิ สถานการณของ กศน.อาํ เภอเชียงของ ดงั น้ี วสิ ยั ทัศนสถานศกึ ษา ภายในป พ.ศ. 2566 กศน. อําเภอเชยี งของ มุง จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตาม มาตรฐาน กศน. ใหกบั ประชาชน ในพนื้ ทอ่ี ําเภอเชยี งของ ทุกกลุม เปาหมายโดยการมีสวนรว มของชมุ ชนและภาคี เครือขาย เพอ่ื สง เสริมการเรียนรตู ลอดชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเทา ทนั กบั การเปลีย่ นแปลงของ โลกในศตวรรษที่ 21 7. กลยทุ ธ / แนวทางการดำเนนิ งาน พนั ธกจิ ที่ 1 จดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานตามหลกั สตู ร กศน.2551 สภาพแวดลอมองคกร กลยทุ ธ 1. พัฒนาผเู รียนใหม ีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ขึ้น 2. พฒั นาศกั ยภาพครู กศน. ในการจัดการศกึ ษาตามหลกั สูตร กศน.2551 3. พัฒนาหลกั สตู รรายวิชาเลือกใหสอดคลองกบั บรบิ ทชมุ ชน 4. เพม่ิ จํานวนผูเรยี น และจาํ นวนผูเขาสอบ พันธกจิ ท่ี 2. จดั การศกึ ษาหลกั สูตรการสง เสริมการรูห นงั สือไทยใหกบั ผไู มรูหนงั สือ สภาพแวดลอมองคกร กลยทุ ธ 1. พฒั นาหลักสูตร/กจิ กรรม การสง เสรมิ การรูหนังสือ ใหสอดคลองกับบริบทชุมชน 2. สํารวจความตองการการเรียนรู จัดตั้งกลุม ผูเ รยี น สง เสริมการรูหนงั สอื ใหกบั กลุมเปา หมาย ในทกุ ชุมชน พันธกจิ ที่ 3. จดั การศกึ ษาเพื่อชมุ ชนในเขตภูเขา (ศศช.) สภาพแวดลอมองคกร กลยทุ ธ 1. พฒั นาหลักสตู ร/กิจกรรม การจดั การเพื่อชมุ ชนในเขตภูเขา (ศศช.) ใหสอดคลองกบั บริบทชมุ ชน 2. สํารวจสภาพปญ หา ความตอ งการการเรยี นรู จดั ทําโครงการ ดําเนนิ การเพื่อใหส อด รบั กบั สภาพปญ หา และบรบิ ทชุมชน พนั ธกจิ ที่ 4. จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพ กลยทุ ธ สภาพแวดลอ มองคกร ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

18 1. พัฒนาหลกั สตู ร/กจิ กรรม การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี ใหส อดคลองกบั บริบทชมุ ชน 2. สํารวจสภาพปญหา ความตอ งการการเรียนรู จัดทําโครงการ ดาํ เนนิ การเพ่ือใหส อด รับกับสภาพปญหา และบริบทชุมชน พันธกจิ ท่ี 5. จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต สภาพแวดลอมองคก ร กลยุทธ 1. พัฒนาหลักสตู ร/กิจกรรม การจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชีวติ ใหส อดคลองกบั บริบทชุมชน 2. สํารวจสภาพปญหา ความตอ งการการเรียนรู จัดทําโครงการ ดําเนนิ การเพ่ือใหส อด รับกับสภาพปญหา และบรบิ ทชุมชน พนั ธกจิ ท่ี 6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน สภาพแวดลอ มองคก ร กลยุทธ 1. พฒั นาหลักสูตร/กจิ กรรม การจดั การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน ใหสอดคลองกบั บริบทชุมชน 2. สํารวจสภาพปญ หา ความตอ งการการเรยี นรู จดั ทําโครงการ ดาํ เนินการเพื่อใหส อด รับกับสภาพปญหา และบริบทชุมชน พันธกจิ ที่ 7. จดั การศึกษาตามอัธยาศยั และสง เสริมการอาน สภาพแวดลอ มองคก ร กลยทุ ธ 1. พฒั นาหองสมุดประชาชนใหเ ปน แหลง เรยี นรตู ลอดชวี ิตของประชาชนในชมุ ชนใน รูปแบบหอ งสมุดมีชีวติ 2. พัฒนาบา นหนงั สือชมุ ชน กศน.ตําบล ศรช. และศศช.เพื่อสงเสริมการอา นใหกับ ประชาชนในชุมชน 3. พัฒนาเวป็ ไซดห องสมดุ ประชาชนอาํ เภอใหเ ปน แหลงการเรยี นรอู อนไลน 4. พัฒนารูปแบบและกิจกรรมสงเสรมิ การเรียนรตู ามอธั ยาศัยและสงเสรมิ การอาน เพ่ือ เพมิ่ จํานวนผอู า น ปลูกฝงนสิ ยั รกั การอา นใหก บั ชุมชน พันธกจิ ที่ 8. จดั สง เสริม สนับสนุน และประสานงานการจัดการศกึ ษาตามโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริ ในพนื้ ที่ สภาพแวดลอ มองคกร กลยุทธ 1. พัฒนาหลักสูตร/กิจกรรม การจัดการศึกษาตามโครงการพระราชดําริ โครงการขยาย ผลโครงการหลวง และของ สว.พส. 2. สํารวจสภาพปญหา ความตอ งการการเรยี นรู จัดทาํ โครงการ ดําเนินการเพื่อใหส อด รบั กับสภาพปญหา และบรบิ ทชุมชน ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

19 พันธกจิ ท่ี 9. สงเสริม สนับสนนุ และประสานภาคเี ครอื ขาย เพ่ือการจดั การศึกษา กศน. สภาพแวดลอ มองคก ร กลยุทธ 1. รวมมอื กบั ภาคีเครือขา ยในการจดั และใหบ ริการทางการศกึ ษา ในหลากหลายรปู แบบ ใหส อดคลองกบั บรบิ ทชมุ ชน 2. จัดทาํ บันทกึ ขอ ตกลงความรว มมือในการจดั กจิ กรรมทางการศึกษารว มกัน 3. จัดทาํ ทาํ เนยี บภาคเี ครอื ขายใหเปน ปจ จบุ นั พนั ธกจิ ที่ 10. พฒั นาครู และบุคลากรของสถานศึกษาในทกุ ๆ ดาน สภาพแวดลอ มองคก ร กลยุทธ 1. พัฒนาครู และบุคลการทุกประเภท ใหมีความรคู วามสามารถในการจัดกิจกรรมและ ใหบ ริการดา นการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2. สํารวจความตอ งการการพฒั นาตนเองของครูและบุคลากร เพื่อจัดทําโครงการการ พฒั นาบคุ ลากรใหส อดคลองกับความตอ งการ พันธกจิ ที่ 11. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การใหม ปี ระสิทธภิ าพ สภาพแวดลอมองคกร กลยุทธ 1.พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ โดยยึดหลักนติ ิธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลกั ความมีสว นรว ม หลักความรบั ผิดชอบ หลกั ความคุมคา 2.เรอ่ื งที่พฒั นา -พฒั นา กศน.ตาํ บล สู กศน. 5 ดี พรีเมย่ี ม -พฒั นา ครทู ุกประเภท และบุคลากรท่ีเกยี่ วขอ ง -พฒั นาบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่เี ออ้ื ตอการเรียนรู -พฒั นาการจดั การเรยี นรูใหสอดคลองสภาพชมุ ชนทเ่ี ปลยี่ นแปลง -เสริมสรางความรว มมือภาคีเครอื ขา ยในการจัดการศึกษาใหกบั ชุมชน 3.จดั ทาํ ระบบบรหิ ารความเสย่ี งของสถานศึกษาใหครอบคลมุ ทกุ งาน พนั ธกจิ ที่ 12. พฒั นาการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา สภาพแวดลอมองคก ร กลยทุ ธ 1.พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาดว ยการทางานตามวงจร PDCA เพ่อื เตรียมความพรอ มรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายในและภายนอก 2. พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพใหส อดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั 3. พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพตามหลกั เกณฑว ิธีการที่กาํ หนดไวในกฎกระทรวงวา ดว ย ระบบ หลักเกณฑ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพการศึกษา ตามทีก่ ระทรวงศึกษาธิการ กาํ หนดให ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

20 หนาที่ความรบั ผดิ ชอบ 1. จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. สง เสริม สนบั สนุนและประสานภาคเี ครอื ขาย เพ่ือจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. จดั สงเสริม สนับสนนุ และประสานการจดั การศึกษาตามโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ งานนโยบายพเิ ศษของ รฐั บาลและงานเสริมสรา งความม่ันคงของชาติ 4. จดั สง เสริม สนับสนนุ พฒั นาแหลง เรยี นรแู ละภูมิปญ ญาทองถิ่น 5. วิจยั และพัฒนาคุณภาพหลักสตู ร สอ่ื กระบวนการเรียนรูแ ละมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 6. ดำเนินการเทยี บโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความรแู ละประสบการณ และเทยี บระดบั การศกึ ษา 7. กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดำเนินการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 8. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และภาคีเครอื ขาย 9. ระดมทรัพยากรเพ่ือใชใ นการสงเสรมิ สนบั สนุนการจัดและพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 10. ดำเนินการประกนั คณุ ภาพภายใน ใหสอดคลอ งกับระบบ หลักเกณฑแ ละวธิ กี ารที่กำหนด 11. ปฏิบัตงิ านอ่นื ๆ ตามทไ่ี ดรบั มอบหมาย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

21 ทิศทางการพฒั นาสถานศึกษา จากผลการวิเคราะห SWOTของสถานศึกษาเห็นสมควรจัดโครงการ / กิจกรรมเพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตามลำดบั ความสำคัญ ดงั นี้ 1. การพัฒนาและปรับปรุงสถานศึกษาและหลักสูตรบรู ณาการที่มีความทนั สมัย ทันตอ การเปล่ยี นแปลง ปรับเปลยี่ นและจัดวิธกี ารเรยี นการสอนโดยใชเทคโนโลยีมาชว ยในการจดั การเพื่อใหผ ูเรียนสามารถเรียนรไู ดตลอดเวลา และมที กั ษะในการใชเ ทคโนโลยีไดอ ยางเหมาะสม 2.พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู โดยสนับสนุนสงเสริมใหผูเรียนเกิดการสรางนวัตรกรรมใหมๆท้ัง นวัตรกรรมทางสงั คม นวัตรกรรมที่เปน ประโยชนต าออาชีพ นวตั รกรรมทางวิทยาศาสตร ที่มีคุณคาตอชุมชน ตอสังคม เพื่อใหผูเรียนเกิดกระบวนการคิดอยางเปนระบบและตอเนอ่ื ง 3. การดำเนินงานของสถานศึกษาควรดำเนินงานตามแผนของสถานศึกษา ที่วางไวอยา งเครงครัด และควรมี การวิเคราะหผลกระทบที่ทำใหการดำเนินงานของสถานศึกษา บรรลุ/ไมบรรลุ ตามแผนอยางชัดเจนเพื่อใหการ ดำเนินงานในปตอ ไปมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น 4. พัฒนาและปรับปรุงกลไกการดำเนินงานของการศึกษาตามอัธยาศัย ใหมีความทันสมัยเขาถึงกับ กลุมเปาหมายทุกเพศทุกวัยมากที่สุด โดยใชภูมิปญญาในชุมชน หรือผูรูในชุมชน เปนแหลงเรียนรู โดยสอดแทรก เทคโนโลยเี ขา ไปชว ยในการจดั การ เพอ่ื ใหอำเภอเชยี งของเปนอำเภอแหง การเรยี นรูอยางแทจ รงิ 5. พัฒนาหลกั สตู รวชิ าชีพ โดยการนำทรพั ยากรทมี่ ีในชมุ ชนมาใชป ระโยชนมากทสี่ ุด เชน ผลผลติ ทางการ เกษตรในชุมชนทเ่ี กินความตองการของตลาด หรือผลผลิตทม่ี รี าคาตกต่ำ ผลผลติ ทางภูมิปญญาทีไ่ มม ีการตอยอดสินคา เปน ตน รวมท้ังการพฒั นาการตลาดออนไลนใ หก บั กลมุ วชิ าชีพในพนื้ ท่ี 6. สถานศึกษามีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลกับแหลงการเรียนรูแ ละภูมิปญญาในทองถิ่น/เขตบริการ อยางทั่วถึงและพัฒนาเพ่ือเพิ่มโอกาสและชองทางการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชีวติ ท่ีมีคุณภาพและสนองตอบความ ตอ งการของประชาชน 7. สถานศกึ ษานำเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร มาใชในการบรหิ ารองคก ร และจัดบริการการเรยี นรูแ กประชาชนอยางมีประสทิ ธภิ าพ 8.การพัฒนาผูเรยี นในการสรางสรรคงานนวตั รกรรมทม่ี ีความหลากหลายและสามารถนำไปใชป ระโยชนไดจ ริง ในรูปแบบของโครงงานหรอื ผลงานทางวิชาการ 9. การสง เสริมการใชเทคโนโลยมี าประยุกตใ ชในการจัดการเรยี นการสอนอยา งมคี ุณภาพสรา งสื่อการเรียนดวย เทคโนโลยที ี่เขา ถงึ ไดง า ย 10.การจัดใหม ีการทบทวน ตรวจสอบหรือประเมินการใชหลกั สูตรการศึกษาตอเนือ่ งใหครบทุกหลักสูตร เพื่อ จะไดน ำผลการประเมินมาใชในการพฒั นาหลักสตู รหรอื กำหนดเปน แนวทางในการปรบั ปรงุ พฒั นาหลักสูตร 11.การพัฒนาวิทยากรการศึกษาตอเนือ่ งใหมีเทคนิคและวิธกี ารทหี่ ลากหลายในการเผยแพรอ งคความรู 12. การสงเสริมการใชเทคโนโลยีมาใชเพอื่ พัฒนาหลกั สูตรตอ เนื่อง สื่อภูมิปญญา แหลงเรียนรู ใหผูที่สนใจได เรียนรูดวยตนเอง 13. การมีการสงเสริมการขายออนไลนอยางเปนระบบและตอเนื่อง และมีคุณภาพเพราะอำเภอเชียงของมี สนิ คา ท่โี ดดเดน อยา งเชนผาทอไทลอ้ื เปน ตน ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

22 14. การพัฒนาหลกั สูตรท่เี กี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกจิ พ้ืนทช่ี ายแดน ใหเดน ชัดย่งิ ขึน้ 15.การพัฒนาแหลง เรยี นรใู หมคี วามทนั สมยั ใชเ ทคโนโลยีในการถายทอดขอ มลู ใหมคี วามเสมอื นจริง 16. การสงเสรมิ หอ งสมุดประชาชนอำเภอเชียงของใหม ีการจดั กจิ กรรมสง เสริมการอานทบี่ านทกุ ชวงวยั ไดท ำ กจิ กรรมรวมกนั อยา งตอเนื่อง 17.การดำเนินงานดา นการวิจยั ทีเ่ กย่ี วของกบั งานวิชาการเพอ่ื พฒั นาผูเรียนและผูรบั บรกิ าร เพ่อื แกไ ขปญ หา และพฒั นางาน และการนำผลวิจยั ไปปรบั ใชใ นการจัดการเรยี นการสอน 18.การเผยแพรงานวิจัย/เอกสารทางวิชาการตอสาธารณะไดรบั ทราบเพอ่ื จะไดมีการเสนอแนะขอคิดเห็นจาก บคุ คลทัว่ ไปตอการพัฒนางานกศน. 19.การสงเสริมใหครูมีการพัฒนางานวิชาการที่หลากหลาย ทั้งการพัฒนาหลกั สูตร การสรางนวัตรกรรมและ อ่นื ๆ ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

23 ยุทธศาสตรก์ ารดำเนินงาน นโยบายและจุดเนนการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป( พ.ศ. 2561 - 2580) ไดก ำหนดแผนแมบทประเด็นการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว ง ชวี ติ โดยมแี ผนยอ ยท่เี กี่ยวของกับการใชก ารศกึ ษาเปน เครอื่ งมือในการขบั เคล่อื นไดแกแ ผนยอยประเดน็ การพัฒนาการ เรยี นรู และแผนยอ ยประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชวงชวี ิต ท่ีมุง เนนการสรางสภาพแวดลอมทเ่ี อ้อื ตอ การพฒั นา และเสรมิ สรา งศกั ยภาพมนุษยการพัฒนาเด็กต้ังแตช วงการต้ังครรภจ นถงึ ปฐมวัย การพฒั นาชว งวยั เรียน/วัยรนุ การ พฒั นาและยกระดบั ศักยภาพวยั แรงาน รวมถงึ การสงเสรมิ ศักยภาพวยั ผสู งู อายุ ประเด็นการพฒั นาการเรียนรู ทต่ี อบสนองตอการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหปุ ญญาของมนษุ ยท ่ีหลากหลาย ประกอบกบั แผนการ ปฏิรูป ประเทศดา นการศึกษา นโยบายรฐั บาลท้ังในสวนนโยบายหลกั ดา นการปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู และการพฒั นา ศกั ยภาพ คนตลอดชว งชีวติ และนโยบายเรง ดว นเรอ่ื งการเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอน่ื ๆ ท่เี ก่ยี วของ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติ วา ดว ยความมัน่ คงแหงชาติ (พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวงั วาการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชวงชวี ติ ประชาชนจะ ไดรับ การพัฒนาการเรียนรใู หเปน คนดี คนเกง มีคณุ ภาพ และมีความพรอมรว มขับเคลอื่ นการพัฒนาประเทศสูค วาม มัน่ คง ม่ังคงั่ และย่งั ยนื และกระทรวงศึกษาธิการ ไดกำหนดนโยบายและจดุ เนน ประจำปง บประมาณพ.ศ.2565ข้ึนเพื่อ เปน เขม็ มุง ของหนว ยงานภายใตก ระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขับเคลอ่ื นการดำเนินงานใหบรรลตุ ามวตั ถุประสงคของแผนตา ง ๆ ดังกลาว สำนักงาน กศน. เปน หนวยงานท่ีมภี ารกจิ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตระหนกั ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดชว งชีวิต ไดมุงมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพฒั นาประเทศ และนโยบาย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบริหารจดั การทั้งในเร่ืองหลักธรรมาภบิ าล หลักการกระจาย อำนาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุงเนนผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการดานขอมูล ขาวสารการสรางบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู ตลอดจนการใชทรัพยากรดานการจัดการศึกษาอยางมี คุณภาพ โดยเนนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเน่อื ง และการศกึ ษา ตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวย การจัดการเรียนรูคุณภาพ การสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสูการสรางโอกาสและลด ความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพ่ิมประสิทธภิ าพการใหบ ริการสำหรับทกุ กลุมเปา หมาย และ สรางความพึงพอใจ ใหกับผูรับริการ โดยไดกำหนดนโยบายและจุดเนนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำป งบประมาณ พ.ศ.2565 ดงั น้ี หลกั การ กศน. เพ่อื ประชาชน “กาวใหม : กาวแหง คณุ ภาพ” ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

24 นโยบายและจดุ เนน การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 จดุ เนนการดําเนินงาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความปลอดภัย 1.1 สรางความปลอดภัยในหนวยงาน/สถานศึกษา และปองกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบตาง ๆ ผาน กิจกรรม “White Zone กศน. ปลอดภัย ไรสารเสพตดิ ” เนนแนวทางการปฏิบัติภายใตหลักการ 3 ป. ไดแก ปองกัน ปลูกฝง และปราบปราม โดยวางแผนและมาตรการดานความปลอดภัยจากสถานการณตาง ๆ อาทิเชน โรคระบาด เหตุการณความไมสงบ เปนตน ใหแกผูเรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบตาง ๆ อยางเขมขน รวมทั้ง ดําเนินการศึกษา วเิ คราะห วิจยั ติดตามประเมนิ ผลการดําเนินการ เพอ่ื ปรบั ปรงุ พฒั นา และขยายผลตอ ไป 1.2 ปลกู ฝงทัศนคติ พฤตกิ รรม และองคค วามรทู ่ีเกยี่ วของ โดยบูรณาการกระบวนการ จดั การเรียนรู เพือ่ สรางโอกาสในการเรียนรู และสรางภูมิคุมกันควบคูกับการใชสื่อสงั คมออนไลนในเชิงบวกและ สรางสรรค พรอมทั้งหา แนวทางวธิ ีการปกปองคมุ ครองตอ สถานการณท เี่ กิดข้ึนกบั ผเู รียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 1.3 เสริมสรางการรับรู ความเขา ใจ ความตระหนกั ดานสิ่งแวดลอมใหกบั ประชาชน และวางแผน เตรยี มความ พรอมในการปองกัน รับมือ และเยียวยา เหตุการณภัยพิบัติจากธรรมชาติ รวมทั้งการปรับตวั รองรับ การเปลี่ยนแปลง สภาพภมู ิอากาศที่จะเกดิ ขึ้นในอนาคต 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 สง เสรมิ สนบั สนุนใหส ถานศกึ ษานําหลักสตู รฐานสมรรถนะไปสกู ารปฏิบัติอยา งเต็มรูปแบบ เพ่ือสรา ง สมรรถนะท่สี าํ คัญจาํ เปน สําหรับศตวรรษที่ 21 ใหกบั ผเู รยี น 2.2 พฒั นาทักษะดิจทิ ัลสําหรบั ผเู รียนทกุ ชว งวยั เพอ่ื รองรับการเปลยี่ นแปลงสูสังคมดจิ ทิ ัลในโลกยคุ ใหม 2.3 สงเสริมการจัดการศกึ ษาเพ่อื เสริมสรางความมัน่ คง การสรางความเขาใจทีถ่ ูกตอ งในการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตย การเรียนรูที่ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม สรางวินัย จติ สาธารณะ อุดมการณค วามยึดมั่น ในสถาบันหลัก ของชาติ การเรียนรูประวัติศาสตรของชาติและทองถิ่น เสริมสรางวิถีชีวิตของความเปนพลเมือง และมีศีลธรรมท่ี เขมแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผานกิจกรรมตาง ๆ ที่เปนการเพิ่มทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวิต เชน ทักษะ ความคิดสรา งสรรค การคิดวเิ คราะห การตัดสินใจ การสื่อสารระหวางบุคคล การเตรียมพรอม รับความเปล่ยี นแปลงท่ี เหมาะสมกบั วยั ของผเู รียน ควบคไู ปกบั การเรยี นรปู ระวัตศิ าสตรข องทองถ่นิ 2.4 สง เสรมิ ใหผเู รยี นไดเรยี นรูจ ากการลงมอื ปฏิบตั จิ ริง (Active Learning) ท้ังในสถานศกึ ษา และแหลง เรยี นรู ตาง ๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของสํานักงาน กศน. ที่หลากหลายทั้งใน รูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมคี ลังสื่อการเรียนรูท่ีเปนสื่อที่ถูกตองตามกฎหมาย เขาถงึ การสืบคนไดงายและ สะดวกรวดเร็ว และนําไปใชในการจดั การเรยี นรตู อบสนองความสนใจรายบคุ คลของผเู รยี น ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

25 2.5 สงเสริมใหความรูดานการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสรางวินยั ทางการเงิน ใหก บั บุคลากรและผเู รยี น กศน. โดยบรู ณาการการทาํ งานรว มกบั หนว ยงานท่เี กี่ยวของ อาทิ กระทรวงการคลงั ธนาคาร สหกรณ ผา นกระบวนการเรียนรู โครงการ และกจิ กรรมตา ง ๆ 2.6 ปรบั โฉมศนู ยว ิทยาศาสตรเพ่อื การศึกษา ศนู ยฝ ก และพัฒนาอาชีพฯ หอ งสมดุ ประชาชน และ แหลงเรียนรู อื่น ๆ ของ กศน. ใหมีความทันสมัย สวยงาม สะอาด จูงใจผูเขารับบริการ มีฐานจัดการเรียนรูดานตาง ๆ อาทิ ดาน วทิ ยาศาสตร ดานอาชีพ มีมมุ กิจกรรมเชิงสรา งสรรค ทํากิจกรรมรวมกับครอบครัว พ้ืนที่การเรียนรู ในรูปแบบ Public Learning Space/Co - learning Space ที่ผูรับบริการสามารถรับเอกสารรับรองการเขารวม กิจกรรม เพื่อนําไปใช ประโยชนใ นสวนทีเ่ กย่ี วของหรอื สะสมหนวยการเรียนรู (Credit Bank) 2.7 จัดทํารายละเอียดการกอสรางแหลงเรียนรู กศน. เพ่ือเปนขอมูลประกอบการจัดทําคําของบประมาณใน การปรบั ปรงุ /ซอ มแซม 2.4 สง เสรมิ ใหส ถานศึกษานําผลการทดสอบการศึกษาแหง ชาติ (N-net) ไปใชว างแผนพัฒนา ประสิทธภิ าพใน การจดั การเรยี นการสอน และยกระดบั คุณภาพการศึกษาของผูเรยี น 2.9 เรง ดาํ เนนิ การเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหนว ยกติ เพ่อื การสราง โอกาสในการศกึ ษาในชมุ ชน 2.10 สรา ง อาสาสมคั ร กศน. เพือ่ เปนเครือขา ยในการสง เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษาตลอดชวี ติ 2.11 สงเสริมการมีสว นรวมของภาคีเครอื ขายทุกภาคสว น เพ่ือสรา งความพรอมในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย และการสง เสริมการเรียนรตู ลอดชีวิตสําหรับประชาชน 2.12 สง เสรมิ การจดั กิจกรรมการอา นเพ่ือปอ งกนั โรคสมองเสอ่ื มและการลืมหนังสือในผสู ูงอายุ 2.13 สง เสรมิ การนําระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในมาใชเปนแนวทางในการยกระดบั คุณภาพใหกบั ผเู รียน และผูรับบรกิ ารของสํานักงาน กศน. 3. การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทยี มทางการศกึ ษาทกุ ชวงวยั 3.1 พัฒนาขอมูลระบบสารสนเทศของผเู รียนระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐานรายบุคคล เพ่ือใชเปน ฐานขอมูล ประกอบการสงตอ ผูเรยี น และการคน หาเดก็ ตกหลนและออกกลางคนั ผานโครงการ “พานองกลบั มาเรียน” และ “กศน.ปกหมุด” 3.2 พฒั นาขอมลู และวางแผนทางเลอื กทางการศกึ ษาและการเรียนรูท ่ีหลากหลายใหกบั ผูเรยี น กลมุ เปา หมาย พเิ ศษ และกลมุ เปราะบาง ในการเขา ถึงการศกึ ษา การเรยี นรู และการฝกอาชพี อยางเทา เทยี ม 3.3 พัฒนาทักษะฝมือ พัฒนาการทางรางกายและจิตใจกลุมผูสูงอายุ ใหสามารถพึ่งพาตนเองได สามารถ ดาํ เนินชวี ิตไดเ ตม็ ตามศักยภาพ โดยเนน การดาํ เนินกจิ กรรมใน 4 มติ ิ ไดแ ก ดา นสขุ ภาพ ดา นสังคม ดานเศรษฐกิจ ดา น สภาพแวดลอ มและเทคโนโลยี ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

26 4. การศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพและเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง ขนั 4.1 พฒั นาหลกั สูตรอาชีพทเี่ นน New skill Up - skill และ Re - skill ที่สอดคลองกับมาตรฐาน อาชพี บริบท พื้นที่ และความสนใจ พรอมทั้งสรางชองทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของกลุมเปาหมาย เชน ผูพิการ ผูสูงอายุ ความตองการของตลาดแรงงาน และกลุมอาชีพใหมที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเขาสูการ รับรองสมรรถนะและไดรับคุณวุฒติ ามกรอบคุณวฒุ ิแหงชาติ รวมทั้งสามารถนําผลการเรียนรูและ ประสบการณเทียบ โอนเขา สรู ะบบการสะสมหนว ยการเรียนรู (Credit Bank) เพื่อใหก ลุม เปา หมายมีการศกึ ษา ในระดบั ทีส่ ูงขน้ึ 4.2 ประสานการทํางานรว มกบั ศนู ยใ หคาํ ปรึกษาการจัดตง้ั ธุรกิจ (ศูนย Start-up) ของอาชีวศกึ ษา 4.3 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชมุ ชน ที่เนน “สงเสริมความรู สรางอาชีพ เพม่ิ รายได และมคี ุณภาพชีวิตทด่ี ี” ใหม ีคณุ ภาพมาตรฐาน เปน ทีย่ อมรบั ของตลาด ตอ ยอดภมู ปิ ญ ญา ทองถิ่นเพ่ือสราง มลู คาเพมิ่ พัฒนาสวู สิ าหกิจชุมชน ตลอดจนเพม่ิ ชอ งทางประชาสมั พนั ธและชองทางการจําหนา ย 5. การพฒั นาบุคลากร 5.1 สงเสริม สนับสนุนการดําเนินการตามหลักเกณฑการประเมินวิทยฐานะแนวใหม (Performance Appraisal : PA) โดยใชระบบการประเมินตําแหนงและวิทยฐานะของขาราชการครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีความพรอมดา นวชิ าการและทักษะการจดั การเรียนรู การใช เทคโนโลยีและนวัตกรรมผานแพลตฟอรมออนไลนตาง ๆ รวมทั้งใหค ําปรึกษาเสนทางการเรียนรู การประกอบ อาชีพ และการดาํ เนินชีวติ ของผูเรยี นไดตามความสนใจและความถนดั ของแตละบุคคล 5.3 พัฒนาขีดความสามารถของขา ราชการพลเรือนในสังกดั ใหม สี มรรถนะท่ีสอดคลองและ เหมาะสมกบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกอนาคต 5.4 จัดกจิ กรรมเสริมสรางความสัมพนั ธของบุคลากร กศน.และกจิ กรรมเพ่ิมประสิทธภิ าพ ในการทาํ งาน รว มกันในรปู แบบตา ง ๆ อาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาประสิทธภิ าพในการทาํ งาน 5.5 เรงรัดติดตามการแกไขปญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา และจัดตั้งกองทุนสวัสดกิ ารเพื่อ ชว ยเหลอื บคุ ลากรในสงั กดั สํานกั งาน กศน. สว นกลางและสวนภมู ภิ าค 5.6 บูรณาการการทํางานรวมกันระหวา งหนวยงาน/สถานศึกษาในสังกัด กศน. เพือ่ พฒั นา บุคลากรใน ดานวชิ าการ อาทิ องคค วามรดู า นวิทยาศาสตร การจัดทาํ หลักสูตรทอ งถ่นิ หรือหลักสูตรสถานศกึ ษา 6. การพัฒนาระบบราชการ การบรหิ ารจัดการ และการบริการภาครฐั 6.1 ปรบั ปรุงระบบฐานขอมลู สารสนเทศดา นการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอยางเปน ระบบ เชน ขอมูล การรายงานผลการดําเนนิ งาน ขอ มลู เด็กตกหลน จากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคนั เดก็ เรรอน ผพู กิ าร 6.2 สง เสรมิ การใชเทคโนโลยีดิจิทลั และนวตั กรรมเปน เครอ่ื งมอื ในการบรหิ ารจัดการ อยางเตม็ รปู แบบ รองรับการปฏิบัตริ าชการทร่ี องรับชีวติ และการทาํ งานวิถใี หม และนําไปปรบั ใชไ ดก บั สถานการณ ใน ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

27 ภาวะปกตแิ ละไมป กติ อาทิ การแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื หรือภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ โดยใหพ จิ ารณาภารกจิ และ ลกั ษณะ งาน รปู แบบ ขน้ั ตอนวธิ ีการทํางาน รปู แบบการใหบ รกิ ารประชาชน และเทคโนโลยที ่ีใชสนบั สนุน การปฏบิ ัตงิ าน ใหม ี ความเหมาะสม 6.3 สงเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐสูระบบราชการ 4.0 และการประเมนิ คุณภาพและ ความโปรง ใสการดาํ เนินงานของภาครัฐ (ITA) 6.4 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง และขอบังคับตาง ๆ ใหมีความทันสมัย เอื้อตอการบริหารจัดการ และการจดั การเรียนรู 6.5 เรงจดั ทาํ กฎหมายลาํ ดบั รองเพื่อรองรับพระราชบัญญตั ิสงเสริมการเรยี นรู พ.ศ. .... ควบคกู ับการ เตรียมความพรอ มในการสรา งการรับรูใหกบั ประชาชนไดร ับทราบอยา งทัว่ ถงึ การนาํ ไปสูการปฏิบตั แิ ละการตดิ ตามผล 1. สอ่ื สาร ถายทอด และสรางความเขา ใจในแนวนโยบาย จุดเนน และทิศทางการดําเนินงานใหก ับ บคุ ลากร ทกุ ระดบั ทกุ ประเภทในหนวยงาน/สถานศกึ ษาในสังกัด 2. วางแผนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติการ แผนพัฒนา และแผนการใชจาย ของ หนว ยงานและสถานศึกษา ใหมคี วามชัดเจน 3. กํากับ และติดตามการปฏิบัติงานในพื้นที่อยางใกลชิด โดยเฉพาะการสรางความรวมมือกับเครือขายใน ระดับชมุ ชน 4. สรปุ และรายงานผลการดําเนินงานเปนระยะ และนําผลการดาํ เนินงานมาวเิ คราะหเ พ่ือวางแผน ปรบั ปรงุ และแกไขแผนการดาํ เนนิ งาน เพื่อใหการขบั เคลอื่ นคณุ ภาพทางการศึกษาเกดิ ประสทิ ธิภาพ ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

28 สว นท่ี 3 รายงานผลการดำเนินงานสถานศึกษา 1. ชื่อหนวยงาน ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเชยี งของ 2. รายงานประจำปงบประมาณ 2566 ตลุ าคม 2565 - มนี าคม 2566 3. ชอื่ โครงการ การจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานพุทธศกั ราช 2551 4. สอดคลองกับนโยบายและจดุ เนนการดำเนนิ งาน กศน. ปงบประมาณ 2566 4.1 นโยบายและจุดเนน สำนักงาน กศน. ประเด็นยุทธศาสตรท ี/่ กลยุทธท ่ี ภารกิจตอ เนอ่ื ง 1.ดา นการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.1การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 1) สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานโดยดำเนินการ ใหผ เู รียนไดรับการสนับสนนุ คา จดั ซื้อหนังสอื เรียน คา จัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียน และคา จัดการเรียน การสอน อยา งท่วั ถงึ และเพียงพอ เพอื่ เพ่มิ โอกาสในการเขา ถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพโดยไมเสยี คา ใชจ า ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปา หมายผูดอย พลาด และขาดโอกาสทาง การศึกษา ทั้งระบบการใหบริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผานการเรียนแบบ เรียนรดู วยตนเอง การพบกลมุ การเรียนแบบชั้นเรยี น และการจดั การศกึ ษาทางไกล 5. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญตั ิสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย หรือเรียกชื่อยอวา กศน. กำหนดให ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีหนาที่ในการจัดกิจกรรมทางการศึกษา เพื่อใหบริการกับ กลุมเปาหมายที่อยูนอกระบบโรงเรียน โดยเฉพาะผูดอยโอกาสทางการศึกษา ขาดโอกาส และพลาดโอกาสทาง การศึกษาตลอดจนผูสนใจทั่วไป โดยยึดสาระและมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ 2551: 32) ในดานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปาหมายสำคัญของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย คือใหผ ูเรียนสามารถพฒั นาตนเองและพึ่งตนเอง ได โดยใชกระบวนการการศึกษาที่บูรณาการการเรียนรูเขากบั ชีวิต สอดคลองกับความตองการของประชาชน (กอง พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น. 2547: 54) ดังน้ันศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจึงไดจัดทำโครงการจัดการศึกษานอกระบบ เพื่อจัด การศึกษากศน.ใหกับประชาชนในพื้นที่อำเภอเชียงของอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สนองความตองการ ประชาชนในพ้ืนที่เพอื่ พฒั นาการศกึ ษาในพืน้ ทใี่ หเ กดิ การเรยี นรูตลอดชีวติ 6. วัตถปุ ระสงค เพอ่ื จดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหก บั ประชาชนในพื้นท่ีอยา งทว่ั ถงึ ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

29 7. เปาหมาย 7.1 เชิงปรมิ าณ จำนวนนกั ศึกษาลงทะเบยี น ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2565 ระดับช้นั จำนวนนักศึกษา (คน) ชาย หญงิ รวม 127 ประถมศกึ ษา 33 94 132 350 มธั ยมศกึ ษาตอนตน 90 132 609 มัธยมศึกษาตอนปลาย 155 195 รวม 278 421 7.2 เชงิ คณุ ภาพ นักศึกษาผา นเกณฑการประเมิน รอ ยละ 80 ตามเกณฑการประเมนิ ของหลกั สูตร 8. ระยะเวลาการดำเนนิ งาน /เร่มิ ตนและส้นิ สดุ โครงการ ภาคเรยี นที่ 2/2565 เดอื น พฤศจกิ ายน 2565 - มนี าคม 2566 ภาคเรยี นที่ 1/2566 เดอื น พฤษภาคม 2566 - กนั ยายน 2566 9. ผลการดำเนนิ งาน จำนวนนักศกึ ษาลงทะเบียน ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2565 รวม จำนวนนกั ศกึ ษา (คน) 127 ระดับชั้น 132 ชาย หญงิ 350 ประถมศกึ ษา 33 94 609 มธั ยมศกึ ษาตอนตน 90 132 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 155 195 278 421 รวม 10. งบประมาณ 10.1 งบประมาณที่ไดรับ - งบจัดการเรยี นการสอน ป 66 จำนวนเงิน 504,643 บาท - งบคา หนงั สอื เรยี น ป 66 จำนวนเงิน 153,120 บาท 10.2 งบประมาณท่ใี ช -งบจดั การเรียนการสอน ป 66 จำนวนเงนิ 497,492.72 บาท (อพั เดต 18/4/2566) - งบคา หนงั สือเรยี น ป 66 จำนวนเงนิ 153,120 บาท - 10.3 แหลง งบประมาณ ไดร บั จดั สรรจากสำนกั งาน กศน. ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

30 11. ปญ หาอปุ สรรค/ ปจจยั หรือสาเหตุที่ทำใหงาน/โครงการลา ชา /ลำบาก/ไมประสบความสำเร็จตามเปาหมายท่ีตั้ง ไว - การเปลี่ยนแปลงถิ่นฐานของประชากรวยั แรงงาน ทำใหม นี ักศกึ ษาบางสว นทขี่ าดสอบ - คะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผเู รยี นภาพรวม อยใู นระดับพอใช - อยใู นชว งสถานการณโ ควิค ทำใหนกั ศึกเดนิ ทางมาสอบไมไ ด และเสยี่ งตอการตดิ ตอ 12. ขอ เสนอแนะ/ท่จี ะใหหนวยเหนอื ใหความชว ยเหลอื /หรือใชเ ปน แนวทางในการปฏิบตั ติ ิงานตอไป - การจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการท่ีเกย่ี วขอ งกับวิถชี ีวติ ความเปนอยู - การตดิ ตามผเู รียนโดยใชส ือ่ โซเชย่ี ลมีเดียร - การจัดการเรียนการสอนออนไลน โดยใช Google Classroom ในการสรางหอ งเรยี นออนไลนใ หก ับผูเรยี น เพื่อให ผเู รียนไดก ลับไปทบทวนความรู 13. ประโยชนที่สาธารณชนไดรับ/หรือผลที่คาดวาจะเกิดขึ้น (outcome) ตอผูเรียน/ประชาชน/สังคม เม่ือ ดำเนนิ การแลวเสร็จ -ประชาชนไดรับความรูในเรื่องตาง ๆ ที่สามารถนำไปปรับใชในชีวิตประจำวัน เกิดกระบวนการคิดเปน เปน ภมู คิ ุม กนั ทางความรูใหก บั ตวั เอง 14. สิ่งที่ตอ งการดำเนนิ การตอไปในอนาคต/แนวทางหรอื ขอคิดเห็นในการพัฒนาผลักดนั ในการดำเนินงานตอไปใน อนาคต -การจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นทีใ่ หครอบคลุมท่ีกลุม เปาหมายในพ้ืนทอ่ี ำเภอเชียงของ - การพัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาเพื่อใหเขากับบริบทของผูเรียนและบริบทของชุมชน สถานการณที่เปลี่ยนแปลงใน ปจ จบุ นั 15. ผูร ายงาน นางสาวนนั ทพร บุดดี ตำแหนง ครู กศน.ตำบล 16. วันท่ีรายงาน ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2566 17. ภาคผนวก ภาพการดำเนินโครงการ การจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานพุทธศกั ราช 2551 ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

31 ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

32 1. ชอ่ื หนว ยงาน ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชยี งของ 2. รายงานประจำปง บประมาณ 2566 ตุลาคม 2565 – มีนาคม 2566 3. ชอ่ื โครงการ พัฒนาคณุ ภาพผเู รียน กศน.อำเภอเชียงของ 4. สอดคลองกบั นโยบายและจดุ เนน การดำเนินงาน กศน. ปงบประมาณ 2566 4.1 นโยบายและจุดเนนสำนักงาน กศน. ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่/ี กลยทุ ธท ี่ ภารกจิ ตอเนือ่ ง 1. ดา นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) สนับสนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบตงั้ แตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพนื้ ฐานโดยดำเนนิ การใหผูเรียนไดรับ การสนับสนุนคาจัดซื้อหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาจัดการเรียน การสอนอยางทั่วถึง และเพียงพอ เพือ่ เพม่ิ โอกาสในการเขา ถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพโดยไมเสยี คา ใชจ า ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาด และขาดโอกาสทาง การศึกษา ทั้งระบบการใหบริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผานการเรียนแบบ เรียนรดู วยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบช้นั เรยี น และการจัดการศกึ ษาทางไกล 3) จัดใหม กี ารประเมนิ เพ่ือเทยี บระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรูและประสบการณ ที่มีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความตองการ ของกลุมเปาหมายไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 4) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนที่มีคุณภาพที่ผูเรียนตองเรยี นรูและเขารวมปฏิบัติกิจกรรม เพื่อเปน สวนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับ การปองกันและแกไขปญหายา เสพติด การบำเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเนื่อง การสงเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมขุ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และยวุ กาชาด กิจกรรมจติ อาสา และการจัดตงั้ ชมรม/ชุมนุม พรอมทัง้ เปดโอกาสใหผ ูเรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชนอื่น ๆ นอกหลกั สูตร มาใชเพิ่มชัว่ โมงกิจกรรมใหผูเ รยี น จบตามหลกั สตู รได 5. หลักการและเหตผุ ล กศน.อำเภอเชียงของ จดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ.2551 ในพ้ืนท่ี อำเภอเชยี งของ เพื่อใหประชาชนในพื้นที่อำเภอเชียงของไดมีความรูขั้นพื้นฐานและในการจัดการศึกษาตองจัดใหมีกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผูเ รียนท่ีมีคุณภาพที่ผูเรียนตองเรยี นรูและเขา รวมปฏบิ ัตกิ จิ กรรม เพื่อเปนสวนหนึง่ ของการจบหลักสูตร อาทิ กจิ กรรมเสริมสรา งความสามัคคี กจิ กรรมเก่ียวกบั การปอ งกนั และแกไขปญหายาเสพติด การบำเพญ็ สาธารณประโยชน อยางตอเนื่อง การสงเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเรียนนำกิจกรรมการ บำเพญ็ ประโยชนอ ่ืน ๆ นอกหลกั สตู ร มาใชเ พมิ่ ช่วั โมงกิจกรรมใหผูเ รยี นจบตามหลกั สตู รได ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

33 สรุปผลการจดั กิจกรรม กิจกรรม/โครงการ.....การจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาผูเ รียน กศน.อำเภอเชียงของ งบประมาณทไ่ี ดร ับ กลมุ เปา หมาย ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน/ลักษณะโครงการ/ แผน ผล ผลทไี่ ดร ับจากโครงการ ไดร ับ ใชไ ป คงเหลือ ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม 1.โครงการพัฒนาคุณภาพผูเรียนดา นการ 43,040 43,040 0 85 105 190 85 105 190 สง เสรมิ สุขภาพดี ชวี ิสดใส หา งไกลยาเสพ ติด ไตรมาส 1 2.โครงการปฐมนิเทศนกั ศึกษากศน.อำเภอ - - - 85 105 190 85 105 190 เชยี งของ ไตรมาส 1 3.โครงการปจฉมิ นิเทศนกั ศกึ ษา กศน. - - - 85 105 190 85 105 190 อำเภอเชียงของ ไตรมาส 1 4.โครงการสง เสรมิ กจิ กรรมลูกเสอื จิตอาสา 4,800 4,800 0 20 20 40 20 20 40 บำเพ็ญประโยชนเ พอ่ื พฒั นาชุมชนสงั คม ไตรมาส 1 5.โครงการกีฬาสัมพันธ กศน.อำเภอเชียง 39,631 39,631 0 85 35 120 85 35 120 ของ กลมุ โซนลมุ น้ำอิง ประจำป 2566 ไตรมาส 1 6.โครงการ กีฬาสานสัมพนั ธ “กศน.เจยี ง 19,980 19,980 0 28 8 36 28 8 36 ฮาย เกมส” กศน.อำเภอเชียงของ ประจำป 2566ไตรมาส 1 7.โครงการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพ่ือถวาย 46,350 46,350 0 48 102 150 48 102 150 เปน พระราชกุศลแดส มเดจ็ พระเจา ลกู เธอฯ ไตรมาส 2 8.โครงการพฒั นาคุณภาพผเู รียนในการใช 14,400 14,400 0 50 70 120 50 70 120 แหลง เรยี นรเู พอ่ื สงเสรมิ การเรียนรูตลอด ชีวติ ไตรมาส 2 9.โครงการพฒั นาผเู รียนดานอาชพี การฝก 9,600 9,600 0 15 25 40 15 25 40 ทักษะการเพาะเห็ดฟางในตะกรา ไตรมาส 2 10.โครงการกิจกรรมกีฬา กศน.ภาคเหนอื 1,650 1,650 0 6 - 6 6 - 6 เกมส 2566 ไตรมาส 2 11.โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นดา นการ 4,800 4,800 0 14 16 30 14 16 30 สง เสรมิ สขุ ภาพอนามยั ไตรมาส 2 ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

34 12.โครงการพฒั นาผูเรียนดา นเทคโนโลยี 28,750 28,750 0 14 47 61 14 47 61 ดิจทิ ลั เพ่ือการเรียนรู ไตรมาส 2 0 535 638 1173 535 638 1173 13.โครงการคา ยบรู ณาการพัฒนาทกั ษะ 8,379 8,379 0 ผูเ รยี นสกู ารเรยี นรู รูปแบบ Active learning กศน.อำเภอเชียงของ ไตรมาส 2 รวม 184,669 184,669 6.วตั ถปุ ระสงค เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพผูเรียนท่ีมคี ณุ ภาพท่ผี ูเรยี นตองเรียนรแู ละเขา รวมปฏบิ ัติกิจกรรม เพ่อื เปนสวนหน่ึงของการ จบหลกั สูตร 7. เปา หมาย 7.1 เชงิ ปริมาณ จำนวนนักศึกษาลงทะเบียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2565 ระดับช้ัน จำนวนนกั ศึกษา (คน) ชาย หญิง รวม ประถมศึกษา 33 94 127 มัธยมศกึ ษาตอนตน 90 132 132 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 155 195 350 รวม 278 421 609 7.2 เชงิ คณุ ภาพ นกั ศกึ ษาผานเกณฑการประเมิน รอ ยละ 80 ตามเกณฑก ารประเมินของหลักสูตร 7.2 เชงิ คุณภาพ ผูเ รียนมีความรตู ามแตล ะกจิ กรรม 8. ระยะเวลาการดำเนินงาน /เรมิ่ ตนและส้นิ สดุ โครงการ เดือน ตลุ าคม 2565 – มีนาคม 2566 9. แผนงาน/กจิ กรรมท่ดี ำเนินการของโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชพี งาน/โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ จำนวนเปา หมาย หมายเหตุ คากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเรียน เปา ผล ไดรับ ใชไ ป 727 1173 185,555 184,669 ผลการดำเนนิ งาน (ผลท่ีเกิดข้นึ ในแตล ะไตรมาส) จำนวนเงนิ 185,555 บาท จำนวนเงิน 184,669บาท - 10. งบประมาณ 10.1 งบประมาณที่ไดรบั - งบคา กิจกรรมพัฒนาผูเรียนป 66 10.2 งบประมาณทใี่ ช - งบคา กิจกรรมพฒั นาผูเรียนป 66 10.3 แหลง งบประมาณ ไดรับจัดสรรจากสำนักงานกศน. ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

35 11. ปญหาอุปสรรค/ ปจ จัยหรอื สาเหตทุ ่ที ำใหงาน/โครงการลาชา/ลำบาก/ไมประสบความสำเรจ็ ตามเปาหมาย ทต่ี งั้ ไว - บางกจิ กรรมนักศึกษาไมส ามารถมารว มไดเนอ่ื งจากตอ งทำงาน 12. ขอเสนอแนะ/ทจ่ี ะใหห นว ยเหนือใหค วามชว ยเหลอื /หรือใชเ ปนแนวทางในการปฏิบตั ติ งิ านตอ ไป - เพ่มิ เติมกิจกรรมท่ีเกีย่ วขอ งกบั การใชเทคโนโลยที ี่เหมาะสม 13. ประโยชนที่สาธารณชนไดรับ/หรือผลที่คาดวาจะเกิดขึ้น (outcome) ตอผูเรียน/ประชาชน/สังคม เมื่อ ดำเนนิ การแลวเสร็จ - ผเู รียนมคี ณุ ธรรม มภี มู คิ ุม กนั ในการดำเนินชวี ิต 14. สิ่งที่ตองการดำเนินการตอไปในอนาคต/แนวทางหรือขอคิดเห็นในการพัฒนาผลักดันในการดำเนินงาน ตอไปในอนาคต - ควรมกี ารจัดกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เพ่ิมเตมิ การศึกษาดงู านเพ่อื เปด ประสบการณใหก ับผูเรยี น 15. ผรู ายงาน นางสาวนนั ทพร บุดดี ตำแหนง ครู กศน.ตำบล 16. วนั ท่ีรายงาน ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2566 17. ภาคผนวก โครงการพฒั นาคุณภาพผูเ รยี นดานการสงเสริมสุขภาพดี ชีวสิ ดใส หางไกลยาเสพตดิ วันท่ี 17 พฤศจกิ ายน 2565 ณ หองประชุมดาวเจ็ดแฉก ต.เวียง อ. เชยี งของ จ.เชียงราย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

36 โครงการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษากศน.อำเภอเชยี งของ วันที่ 18 พฤศจกิ ายน 2565 ณ หอ งประชุมดาวเจ็ดแฉก ต.เวยี ง อ. เชยี งของ จ.เชียงราย โครงการปฐมนิเทศนกั ศกึ ษากศน.อำเภอเชียงของ วนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2565 ณ หอ งประชุมดาวเจด็ แฉก ต.เวียง อ. เชียงของ จ.เชียงราย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

37 โครงการสง เสริมกจิ กรรมลูกเสอื จติ อาสาบำเพญ็ ประโยชนเพอื่ พัฒนาชุมชนสงั คม วนั ท่ี 28 พฤศจกิ ายน 2565 ณ หอ งประชุมดาวเจ็ดแฉก โครงการ กฬี าสมั พนั ธ กศน.อำเภอเชยี งของ กลุมโซนลุมนำ้ องิ ประจำป 2566 วันท่ี 12 ธันวาคม 2565 ณ โรงเรยี นเวียงแกนวิทยาคม ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

38 โครงการ กีฬาสัมพันธ กศน.เชียงรายเกมส ประจำป 2566 วันที่ 20 ธนั วาคม 2565 ณ สนามกีฬากลางจังหวัดเชียงราย ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

39 โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเรยี นดา นการสง เสริมสขุ ภาพอนามยั วันที่ 7 กุมภาพันธ 2566 ณ กศน.ตำบลครงึ่ โครงการกจิ กรรมกีฬา กศน.ภาคเหนือเกมส 2566 ณ สนามกีฬามหาวิทยาลยั การกีฬาแหงชาตวิ ทิ ยาเขตลำปาง อ.เมอื ง จ.ลำปาง โครงการพฒั นาผเู รยี นดานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ การเรียนรู ณ ศศช.บานเวียงหมอก ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

40 โครงการคา ยบูรณาการพฒั นาทกั ษะผเู รียนสูการเรยี นรู รูปแบบ Active learning กศน.อำเภอเชียงของ  วันที่ 14 กุมภาพนั ธ 2566 โครงการคา ยวชิ าการติวสอบปลายภาค ประจำป 2566 ณ กศน.ตำบลหวยซอ ตำบลหว ยซอ อำเภอเชียงของ  วันที่ 15 กุมภาพันธ 2566 โครงการคายวชิ าการตวิ สอบปลายภาค ประจำป 2566 ณ หอประชุมบาน ประชาภวิ ัฒน ตำบลครึง่  วันท่ี 16 กุมภาพนั ธ 2566 โครงการคายวิชาการตวิ สอบปลายภาค ประจำป 2566 ณ กศน.ตำบลเวียง ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

41  วันที่ 17 กุมภาพันธ 2566 โครงการคา ยวิชาการติวสอบปลายภาค ประจำป 2566 ณ กศน.ตำบลรมิ โขง  วนั ที่ 7 – 8 กมุ ภาพนั ธ 2566 โครงการพฒั นาผเู รยี นดานอาชพี การฝกทักษะการเพาะเหด็ ฟางในตะกรา ณ หอประชุมบานใหมศรรี มเย็น หมู 21 ตำบลหว ยซอ  โครงการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพอ่ื ถวายเปนพระราชกศุ ล แดสมเดจ็ พระเจาลกู เธอ เจาฟา พชั รกิตตยิ าภานเรนทริ าเทพยวดี กรมหลวงราชสารณิ สี ริ ิพัชร มหาวชั รราชธิดา ณ วดั เชยี งคาน ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

42 1. ชอ่ื หนวยงาน ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชยี งของ 2. รายงานประจำปงบประมาณ 2566 ตุลาคม 2565 – มีนาคม 2566 3. ชื่อโครงการ การจัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาอาชีพ กศน.อำเภอเชยี งของ 4. สอดคลอ งกบั นโยบายและจดุ เนน การดำเนนิ งาน กศน. ปง บประมาณ 2566 1. นโยบายและจุดเนนสำนกั งาน กศน. ประเด็นยุทธศาสตรท/่ี กลยทุ ธท่ี สอดคลองกับนโยบายเรงดวนเพอื่ รวมขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาประเทศ ยทุ ธศาสตรท่ี1 ดา นความมั่นคง 1.4 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและสรางเสรมิ โอกาสในการเขา ถึงบริการการศึกษา การพฒั นาทกั ษะ การสรางอาชีพ และการใชช ีวิตในสงั คมพหุวฒั นธรรม ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดน ภาคใต และพ้นื ท่ชี ายแดนอ่นื ๆ ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 ยทุ ธศาสตรดา นการสรางความสามารถในการแขงขัน 2.1 เรง ปรบั หลักสตู รการจดั การศกึ ษาอาชพี กศน. เพือ่ ยกระดบั ทักษะดา นอาชีพของประชาชนใหเ ปน อาชพี ที่รองรบั อุตสาหกรรมเปา หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณาการความ รว มมือในการพัฒนาและเสริมทกั ษะใหมดานอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุงเนน สรา งโอกาสในการสรา งงาน สรา งรายได และตอบสนองตอ ความตองการของตลาดแรงานท้งั ภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร โดยเฉพาะใน พ้ืนท่ีเขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพฒั นาพิเศษตามภมู ิภาคตาง ๆ ของประเทศสำหรับพื้นท่ปี กติใหพฒั นาอาชพี ท่ี เนน การตอ ยอดศักยภาพและตามบรบิ ทของพนื้ ที่ ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 ดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.4 พัฒนาหลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ใหม ีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บรบิ ทของพนื้ ท่ี และตอบสนองความตองการของประชาชนผูรบั บรกิ าร 5. หลกั การและเหตผุ ล กศน.อำเภอเชยี งของ จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำอยางยัง่ ยนื ทสี่ อดคลอ งกบั ความตอ งการขอ ชุมชนและบริบทของชุมชนอยางยั่งยืนในรูปแบบการจัดวิชาชีพชางพื้นฐาน การพัฒนาและตอยอดอาชีพเดิม เพ่อื ใหประชาชนมีรายได มอี าชพี มกี ารพัฒนาตนเอง 6. วัตถุประสงค เพอื่ จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพใหป ระชาชนในพื้นท่ี เกิดความรู ทักษะ ดา นอาชพี ตามทช่ี มุ ชนสนใจ มรี ายไดจ ากการรวมตวั ของกลุมอาชพี 7. เปาหมาย 7.1 เชงิ ปริมาณ ประชาชนพืน้ ท่อี ำเภอเชียงของ - โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน 1 อำเภอ 1 อาชีพ จำนวน 30 คน - โครงการศนู ยฝ กอาชีพชุมชน กลุมสนใจไมเ กิน 30 ชม. จำนวน 126 คน - โครงการศูนยฝ ก อาชพี ชมุ ชน ชั้นเรยี นวิชาชีพ 31 ชัว่ โมงขึน้ ไป จำนวน 39 คน 7.2 เชงิ คณุ ภาพ ผเู ขา รว มโครงการผานการประเมนิ การจบหลักสตู ร รอยละ 80 ข้ึนไป ผูเขา รวมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการรอยละ 80 ขน้ึ ไป ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

43 8. ระยะเวลาการดำเนินงาน /เรม่ิ ตน และสิน้ สุดโครงการ เดือน ตุลาคม 2565 – ธนั วาคม 2565 9. แผนงาน/กิจกรรมท่ีดำเนนิ การของโครงการ การจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี งาน/โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ จำนวนเปา หมาย หมายเหตุ ไดร ับ ใชไป เปา ผล โครงการศนู ยฝก อาชพี ชมุ ชน 1 0.- 0.- 30.- - อำเภอ 1 อาชพี โครงการศูนยฝกอาชีพชมุ ชน กลุม 88,200 88,200.- 126 134 สนใจไมเ กนิ 30 ชม. โครงการศูนยฝกอาชีพชมุ ชน ชน้ั 34,650.- 34,650.- 39 84 เรยี นวิชาชพี 31 ชัว่ โมงข้นึ ไป 10. ผลการดำเนนิ งาน (ผลท่ีเกิดข้นึ ในแตล ะไตรมาส) สรปุ ผลการจดั กิจกรรม กจิ กรรม/โครงการ.....การจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ กศน.อำเภอเชยี งของ งบประมาณท่ีไดร บั กลมุ เปา หมาย ไดร ับ ใชไป คง แผน ผล เหลอื ชา หญิ รว ชา หญิง ขัน้ ตอนการดำเนินงาน/ลักษณะโครงการ/ผลที่ ย ง มย รว ม ไดร บั จากโครงการ 1. อำเภอ 1 อาชพี 2. โครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชุมชน กลุม สนใจไมเ กนิ 30 ชม โครงการอาชีพระยะสน้ั การทำขนมไทย 1000 1000 0 0770 77 โครงการอาชีพระยะสั้นการทำขนมไทย 1000 1000 0 0770 77 โครงการอาชีพระยะส้นั การทำขนมไทย 1000 1000 0 0770 77 โครงการอาชีพระยะสนั้ การทำขนมไทย 1000 1000 0 0770 77 โครงการอาชีพระยะสั้นการทำขนมไทย 1000 1000 0 0770 77 โครงการอาชีพระยะสน้ั การทำขนมไทย 1000 1000 0 0770 77 โครงการอาชีพระยะสน้ั การทำขนมไทย 1000 1000 0 0770 77 อาชีพระยะส้นั การทำอาหารวา ง (สถาน) 5,500 5,500 0 0770 77 ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

44 อาชพี ระยะส้นั ประดิษฐจ ากผา(บุญเรือง) 5,500 5,500 0 0770 77 0 0770 77 อาชีพระยะสน้ั ทำผา ปก ลายมง(รมิ โขง) 5,500 5,500 0 0770 77 0 0770 77 อาชพี ระยะส้นั การทำขนมไทย(หว ยซอ ) 5,500 5,500 0 0770 77 0 0770 77 อาชีพระยะส้นั การทำขนมไทย(ครง่ึ ) 5,500 5,500 0 0770 77 0 0770 77 อาชีพระยะส้นั การเพาะเหด็ ฟาง (ศรดี อนชยั ) 5,500 5,500 0 0770 77 0 0 15 15 0 15 15 อาชีพระยะส้นั การเพาะเหด็ นางฟา(เวียง) 5,500 5,500 0 0 12 12 0 12 12 อาชีพระยะสน้ั การแปรรปู อาหารจากปลา(หวยต)ุ 5,500 5,500 0 0 12 12 0 12 12 0 0 12 12 0 12 12 อาชีพระยะสน้ั แปรรูบอาหารจากหม(ู ทุงนานอ ย) 5,500 5,500 0 0 12 12 0 12 12 0 0 12 12 0 12 12 อาชีพระยะส้นั การทำขนมไทย(หวยซอ) 5,500 5,500 0 0 12 12 0 12 12 0 0 12 12 0 12 12 อาชพี ระยะส้นั แปรรูบอาหารจากหม(ู หองสมดุ ) 9,700 9,700 งบประมาณ 3.โครงการศูนยฝ กอาชพี ชุมชน ชน้ั เรียนวชิ าชพี 31 ช่ัวโมงขึน้ ไป ไดร บั 0.- หลักสูตรการทำน้ำพรกิ เคร่ืองแกง ต.สถาน 4,950 4,950 88,200 34,650.- หลกั สูตรการทำนำ้ พรกิ สมนุ ไพร ต.บญุ เรอื ง 4,950 4,950 งบประมาณ หลักสตู รการทำไมกวาดดอกหญา ต.รมิ โขง 4,950 4,950 ใชไป 0.- หลักสูตรการจกั สานผลิตภัณฑจ ากหวาย ต.คร่ึง 4,950 4,950 88,200 34,650.- หลกั สตู รการแปรรปู โกโก ต.ศรีดอนชยั 4,950 4,950 หลกั สตู รการทำขนมไทยพน้ื บาน ต.เวียง 4,950 4,950 หลกั สูตรการแปรรบู อาหารจากหมตู .หว ยซอ 4,950 4,950 11. งบประมาณ 11.1 งบประมาณทไี่ ดร ับ งาน/โครงการ/กจิ กรรม โครงการศนู ยฝกอาชพี ชุมชน 1 อำเภอ 1 อาชพี โครงการศูนยฝก อาชีพชุมชน กลมุ สนใจไมเกิน 30 ชม. โครงการศูนยฝ กอาชีพชุมชน ชน้ั เรียนวิชาชีพ 31 ชว่ั โมงขน้ึ ไป 11.2 งบประมาณทีใ่ ช งาน/โครงการ/กจิ กรรม โครงการศูนยฝ กอาชพี ชมุ ชน 1 อำเภอ 1 อาชีพ โครงการศนู ยฝก อาชพี ชุมชน กลมุ สนใจไมเกิน 30 ชม. โครงการศูนยฝ กอาชพี ชมุ ชน ช้นั เรยี นวชิ าชพี 31 ช่วั โมงขน้ึ ไป ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹¹Ô §Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

45 11.3 แหลงงบประมาณ ไดรบั จัดสรรจากสำนักงานกศน. 12. ปญ หาอุปสรรค / ปจ จัยหรอื สาเหตุท่ีทำใหง าน/โครงการลา ชา /ลำบาก/ไมป ระสบความสำเร็จตามเปา หมาย ทตี่ ง้ั ไว - การจัดการศึกษาไมสามารถครอบคลุมทกุ พ้นื ท่ี - กลมุ เปาหมายในการจัดการศกึ ษาดา นอาชีพขาดทกั ษะในการใชเ ทคโนโลยเี พื่อพัฒนาดานการตลาดออนไลน 13. ขอเสนอแนะ / ที่จะใหหนวยเหนอื ใหค วามชว ยเหลอื /หรือใชเ ปนแนวทางในการปฏิบตั ติ ิงานตอ ไป - การดำเนินงานควรมีการบูรณาการทำงานทุกภาคสว น เพ่ือพฒั นาอาชพี ของประชาชนในพื้นท่ใี หเกิดความ ย่งั ยืนและเขม แข็ง 14. ประโยชนทส่ี าธารณชนไดรบั /หรอื ผลทีค่ าดวาจะเกดิ ข้ึน (outcome) ตอผูเรียน/ประชาชน/สังคม เมื่อ ดำเนนิ การแลว เสรจ็ - ผูเขารวมโครงการมที ักษะในอาชพี ตาง ๆ สามารถนำความรูไปใชใ นการลดรายจายเพม่ิ รายไดใ นครวั เรือน 15. สงิ่ ทีต่ อ งการดำเนินการตอไปในอนาคต/แนวทางหรือขอ คดิ เห็นในการพฒั นาผลักดนั ในการดำเนนิ งานตอไปใน อนาคต - การตอยอดทางธรุ กิจ - การพฒั นาตลาดการคาออนไลน การพฒั นาดา นการโฆษณาและการประชาสัมพันธ - การพัฒนาสนิ คา ใหมีคุณภาพไดม าตรฐาน 16. ผูรายงาน นางสาวนันทพร บุดดี ตำแหนง ครู กศน.ตำบล 17. วันทร่ี ายงาน ณ วนั ท่ี 24 มกราคม 2566 18. ภาคผนวก ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

46 ภาพการดำเนินโครงการ โครงการศูนยฝกอาชพี ชุมชน กลุมสนใจไมเกิน 30 ชม. การทำขนมเทียน ต.ศรีดอนชยั การทำขา วตม มดั กะทิ ต.ริมโขง การทำขนมตะโกเ ผือก ต.บุญเรือง ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »Õ§º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§

47 การทำขา วตมมดั กะทิ ต.คร่ึง การทำขนมไทย ต.หวยซอ การทำขนมไทย ต.เวียง ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »§Õ º»ÃÐÁÒ³ 2566 ¡È¹.Í.àªÂÕ §¢Í§


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook