Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือที่ระลึกในงานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแก่น

หนังสือที่ระลึกในงานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแก่น

Published by kanitta_give, 2022-10-21 07:22:33

Description: พระไม้ลายมือ บรรพชนไทยอีสาน

Keywords: พระไม้,มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Search

Read the Text Version

พระไม้้ลายมืือ บรรพชนคนไทยอีสี าน 41 ลัักษณะทางกายภาพที่�่ปรากฏให้้เห็็นแก่่ประสาทรัับรู้�ของเราและความงาม ภายใน (นามธรรม) หรือื อาจจะกล่า่ วว่า่ ความงามทางพระพุทุ ธศาสนาในประเด็น็ นี้้� คืือ ธรรมะเป็็นการเข้้าถึึงหลัักธรรมคํําสอนและมุ่�งสู่�ความจริิงและความดีีและ รวมไปถึึงความงาม เป็็นการสอดประสานกัันของแนวคิิดทางพระพุุทธศาสนา การตัดั สินิ ความงามของพระพุทุ ธศาสนาจึึงอยู่่�ในหลักั ของความจริงิ ความดีีและ ความงาม ในประเด็็นที่่�ว่่าคืือ ความดีี ความดีีที่�่รัับรู้�ในความเห็็นจริิงแท้้ของ สรรพสิ่ �ง ดัังนั้้�น ความงามในพุุทธปรััชญาเถรวาทก็็คืือ การเข้้าถึึงความจริิงโดย ผ่่านความดีีในทางจริิยศาสตร์์ และเข้้าสู่่�การรัับรู้�ความจริิงในทางอภิิปรััชญานี้้� คืือ ความงามที่�่สมบููรณ์์ที่่�สุุด ดัังนั้้�น ความงามในพระพุุทธรููปไม้้สามารถแยก ออกเป็็น ๒ ประเด็็น คืือ ความงามในฐานะวััตถุุความงามหรืือสุุนทรีียธาตุุ กัับความงามในฐานะการแสดงออกของความดีี ในรููปแบบความงามของ พุุทธปรััชญา ในประเด็็นแรก เป็็นความงามแบบอััตนััยซึ่�่งสััดส่่วนและรููปแบบ ตััดสิินจากตััวผู้้�สร้้างเป็็นผู้้�กํําหนด และเลืือกสลัักไม้้ขึ้�นมาตามความชอบและ พื้้�นฐานของความรู้� และความเชื่อ� ที่เ�่ ลือื กใช้ใ้ นการสลักั เป็น็ พระพุทุ ธรูปู ไม้อ้ ีีสาน ประเด็น็ ที่ส�่ อง ความงามมาจากพื้้น� ฐานความดีีของสังั คมที่เ�่ ชื่อ� มโยงไปสู่่�ความดีี ทางศาสนา ซึ่�่งนัับเป็็นความงามภายในที่�่ได้้สะท้้อนความคิิด ความศรััทธา ในหลักั คําํ สอนทางพระพุทุ ธศาสนาให้ถ้ ่า่ ยทอด ออกมาเป็น็ งานพุทุ ธศิลิ ป์ใ์ ห้เ้ ป็น็ รููปธรรม ซึ่่�งงามเช่่นนี้้�เป็็นความงามในเชิิงปรนััย หรืือสามารถสรุุปได้้ว่่าเป็็น ความงามแบบสััมพััทธ์์ที่�่ขึ้�นอยู่่�กัับทั้้�งอััตนััยและปรนััย ความงามที่�่เกิิดจากการ รัับรู้้�จากวััตถุุ และในตััววััตถุุเองก็็สะท้้อนความงามในแง่่พุุทธปรััชญาที่่�สะท้้อน ความดีีงามของผู้้�สร้า้ ง ไม่ว่ ่า่ จะมาจากแรงจูงู ใจใดก็ต็ าม อย่า่ งไรก็ต็ าม การตีีความ ในเรื่อ� งความงามในพุทุ ธศิลิ ป์ค์ วามงามทั้้ง� สองประเด็น็ นั้้น� ได้ส้ อดสัมั พันั ธ์ก์ ันั อยู่่�

42 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ มิิอาจขาดจากกัันได้้โดยสิ้�นเชิิง สุุนทรีียภาพที่�่เกิิดจากการรัับรู้�วััตถุุ (พระพุุทธ รูปู ไม้ใ้ นแง่ค่ วามงดงามตามยุคุ สมัยั ) อาจไม่ส่ วยงามหรือื ดึึงดูดู ใจผู้้�ที่ร่� ับั รู้� แต่เ่ มื่่อ� เรามองไปที่ค�่ วามประณีีต ความศรัทั ธา ความตั้ง� ใจที่เ่� ลื่อ� มใส ในพระพุทุ ธศาสนา รููปแบบเช่่นนี้้�ก็็ได้้สร้้างสุุนทรีียภาพให้้เกิิดขึ้�น เป็็นความรู้้�สึึกประทัับใจซึ่�่งมีี ความแปลกหูแู ปลกตาจากพื้้�นประสบการณ์เ์ ดิมิ และมีีความกลมกลืืนในความ เป็น็ ท้อ้ งถิ่น� เรียี กได้ว้ ่า่ เป็น็ งานศิลิ ปะที่ถ่� ่า่ ยทอดออกมาจากพื้้น� ฐานทางสังั คมที่่� มีีพระพุทุ ธศาสนาควบคู่�ไปกับั สังั คมอย่่างแท้้จริงิ ง. บทสรุุป การแสดงออกของการสร้า้ งพระพุทุ ธรูปู ไม้้ เพื่่อ� แสดงให้เ้ ห็น็ ถึึงความเชื่อ� ตามแนวทางพระพุทุ ธศาสนา โดยยึึดหลักั การกระทําํ หรือื เรื่อ� งกรรมเป็น็ ตัวั ตัดั สินิ การสร้้างพระพุุทธรููป คืือ การกระทํําดีีต่่อสัังคมและพระพุุทธศาสนา เพราะ สังั คมอีีสานเชื่อ� ว่า่ การสร้า้ งสิ่ง� ใดถวายต่อ่ พระพุทุ ธเจ้า้ นั้้น� เป็น็ สิ่่ง� ที่ด่� ีี หรือื กรรมดีี นั่่น� เอง ตรงตามความดีีในพระพุทุ ธศาสนาอัันมาจากคติิความเชื่อ� ในเรื่อ� งเจดีีย์์ ๔ อย่่างไรก็็ตามการสร้้างพระพุุทธรููปไม้้มีีพื้้�นฐานความเชื่�อจาก ๒ คืือ (๑) ความเชื่อ� ตามพระพุุทธศาสนา และ (๒) ความเชื่อ� ท้้องถิ่น� จากพื้้น� ฐานความเชื่อ� ทั้้ง� สองส่ว่ น สามารถแยกย่อ่ ยออกมาได้้ ๒ ประเด็น็ คือื วััสดุใุ นการสร้้างพระพุทุ ธรููปไม้้ เป้้าหมายในการสร้้างพระพุทุ ธรูปู ไม้้ และ ข้อ้ จําํ กัดั ในการสร้า้ งพระพุทุ ธรูปู ไม้ ้ ประเด็น็ แรก วัสั ดุใุ นการสร้า้ งพระพุทุ ธรูปู ไม้้ นิิยมสร้้างตามความเชื่�อจากชื่่�อที่�่เป็็นมงคล ไม้้ตามพุุทธประวััติิและตาม ความเชื่�อเรื่�องศัักดิ์์�ไม้้ของคนอีีสาน ประเด็็นที่่�สอง เป้้าหมายในการสร้้าง พระพุุทธรููปไม้้อีีสาน เป็็นความดีีในทางศาสนาและสัังคม โดยให้้ผลต่่อตนเอง

พระไม้้ลายมืือ บรรพชนคนไทยอีีสาน 43 และผู้�อื่น� รวมไปถึึงผลที่จ�่ ะได้ร้ ับั จากการทําํ ความดีี หรือื กุศุ ลในทางพระพุทุ ธศาสนา ประเด็็นสุุดท้้าย ข้้อจํํากััดในการสร้้างพระพุุทธรููปไม้้อีีสาน จากพุุทธลัักษณะ หรือื มหาปุรุ ิสิ ลักั ษณะของพระพุทุ ธเจ้า้ ทําํ ให้เ้ กิดิ ข้อ้ จําํ กัดั ในการสร้า้ งจากวัสั ดุทุ ี่�่ เป็็นไม้้ จึึงมีีข้้อจํํากััดในความหลากหลายในลัักษณะปางต่่าง ๆ โดยส่่วนใหญ่่ มักั แกะสลักั เป็น็ ปางสมาธิแิ ละปางประทับั ยืนื เพราะสะดวกในการแกะสลักั และ การจััดสััดส่่วนองค์์พระพุุทธรููป นอกจากวััสดุุแล้้ว ข้้อจํํากััดอีีกประการ คืือ ความประณีีตและละเอีียดอ่่อนในเชิิงช่่าง โดยผิิวเผิินพระพุุทธรููปไม้้อีีสาน มีีลัักษณะที่�่ปรากฏดููไม่่สมบููรณ์์ ไม่่มีีความงดงามตามกายภาพพื้้�นฐานของ พระพุุทธรููป และไม่่มีีระเบีียบแบบแผน จึึงยากต่่อการจััดประเภทของ พระพุุทธรููปไม้้ ด้้วยความเป็็นอิิสระและไร้้รููปแบบ หากมองข้้ามรููปลัักษณะ ภายนอกมุ่่�งพิจิ ารณาไปสู่่�เป้า้ หมายและคุณุ ค่า่ แล้ว้ พระพุทุ ธรูปู ไม้อ้ ีีสานสามารถ สะท้อ้ นความคิดิ ความศรัทั ธาต่อ่ ความดีี มุ่่�งประโยชน์ต์ ่อ่ ตนเองและผู้�อื่น� ขัดั เกลา จิิตวิญิ ญาณ ความประพฤติทิ ี่่�มุ่�งเน้น้ ภายในมากกว่า่ ภายนอก นอกจากนี้้ � วิถิ ีีชีีวิติ ของคนอีีสานมีีพื้้น� ฐานมาจากความเชื่อ� ท้อ้ งถิ่น� ดั้้ง� เดิมิ คือื ผีี แถน ปู่่�ตา อาฮััก หลักั บ้้าน เป็็นต้้น และประกอบกับั มีีหลัักคําํ สอนในทาง พระพุุทธศาสนาเข้้ามาเชื่�อมโยงสัังคมเข้้าด้้วยกััน ก่่อให้้เกิิดประเพณีีและ วััฒนธรรม ผสานระหว่่างพระพุุทธศาสนากัับท้้องถิ่�นให้้อยู่่�ร่่วมกัันอย่่างลงตััว เช่น่ ฮีีตสิบิ สองคองสิิบสี่� ่ สะท้้อนให้เ้ ห็น็ ถึึงกรอบของจริิยศาสตร์ใ์ นสังั คมอีีสาน ระหว่า่ งพุทุ ธปรัชั ญา และปรัชั ญาท้อ้ งถิ่น� ที่ห�่ าจุดุ ร่ว่ มกันั ในสังั คมได้อ้ ย่า่ งพอเหมาะ นอกจากกรอบของจริิยศาสตร์์และความเชื่ �อมโยงในแง่่ของความดีีแล้้วนั้้�น การสร้า้ งพระพุทุ ธรูปู ไม้อ้ ีีสานยังั สะท้อ้ นคุณุ ค่า่ ของความจริงิ และความงามด้ว้ ย ภาพสะท้อ้ นในการสร้า้ งพระพุทุ ธรูปู ไม้จ้ ึึงมีีด้ว้ ยกันั ๓ ประการ คือื ประการแรก ความดีี เป็็นความดีีในทางศาสนาที่�่ประกอบจาก กรรมดีี เจตนาดีี และผลดีี

44 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ อัันให้้ผลแก่่ผู้้�กระทํําและผู้�ที่่�อุุทิิศให้้ ในแง่่สัังคมเป็็นความดีีที่�่สืืบทอดตาม ประเพณีีและสร้้างคุุณค่่าให้้กัับตนเองเป็็นผู้้�ที่่�มีีจิิตใจดีีงามตามกรอบของสัังคม อีีสาน ประการที่�่สอง ความงามในประเด็็นนี้้� ความงามคืือความงดงามจาก ภายใน คือื ธรรมะในจิติ ใจอันั มาจากแรงศรัทั ธาที่เ�่ ป็น็ เชื้อ� ในการสร้า้ งพุทุ ธศิลิ ป์์ อันั มาจากนามธรรมสู่่�รูปู ธรรม และเป็น็ การขัดั เกลาจิติ ใจของผู้้�สร้า้ ง อย่า่ งน้อ้ ย ที่�่สุุดผู้้�สร้้างต้้องเข้้าใจในธรรมะ หรืือศึึกษาพระพุุทธศาสนาในระดัับหนึ่่�งจึึง สามารถสร้้างพระพุุทธรููปไม้้ได้้อย่่างถููกต้้องและตรงตามเป้้าหมาย ประการ สุุดท้้าย ความจริิงเป็็นการนํํานามธรรมหรืือ พระพุุทธเจ้้าในมโนคติิออกมาสู่� ความจริงิ ในแง่พ่ ุทุ ธศิลิ ป์์ และแสดงสััจธรรมถึึงความเปลี่ย�่ นแปลงของวััตถุุหรืือ กฎไตรลัักษณ์์นั่่�นเอง ไม้้ย่่อมผุุกร่่อนไปตามกาลเวลา แต่่จิิตใจที่�่ยึึดมั่่�นศรััทธา ย่่อมคงอยู่่�สืบื ต่อ่ ไป ดัังนั้้น� จะเห็็นว่า่ พระพุุทธรูปู ไม้้อีีสานได้้สะท้อ้ นความเป็็นอีีสาน วิถิ ีีชีีวิิต ภููมิปิ ัญั ญา ความสััมพัันธ์ร์ ะหว่่างพุุทธศาสนากับั สังั คม และการแสดงออกของ คนอีีสานในการเลื่อ� มใสศรััทธา และยึึดถืือเป็น็ ธรรมเนีียมปฏิบิ ััติใิ นสังั คม สร้้าง ขึ้ �นเป็็นวััฒนธรรมทางวััตถุุที่�่เด่่นชััด สะท้้อนความรู้้�สึึกนึึกคิิดของคนในสัังคมที่�่ เชื่อ� ในเรื่อ� ง ความดีี บาปบุุญคุณุ โทษ และแสดงให้้เห็็นถึึงความประณีีตในชีีวิิต ที่่�นํําพุุทธศาสนามาใช้้ในชีีวิิตประจํําวัันและสร้้างสรรค์์ขึ้ �นด้้วยปััจเจกบุุคคล เป็น็ การเคารพตััวตน เคารพหลัักคําํ สอน สะท้อ้ นให้เ้ ห็็นถึึงคุณุ ค่า่ ความดีีงาม และสุุดท้้ายแสดงให้้เห็็นถึึงจิิตวิิญญาณที่�่ต้้องการแสดงความนึึกคิิดให้้ปรากฏ ออกมาเป็็นรููปธรรม ดัังนั้้�น พระพุุทธรููปไม้้อีีสานจึึงแสดงให้้เห็็นถึึงความจริิง ความดีี และความงาม ที่�่ผสานสอดคล้้องกัันได้้อย่่างลงตััว คุุณค่่าของ พระพุทุ ธรูปู ไม้อ้ ีีสานจึึงควรค่า่ แก่่การอนุุรัักษ์ใ์ ห้ค้ งอยู่่�สืืบไป

พระไม้้ลายมือื บรรพชนคนไทยอีีสาน 45 บรรณานุุกรม นิิยม วงศ์์พงษ์์คํํา และทีีมวิิจััย. (๒๕๔๕). พระไม้้อีีสาน. ขอนแก่่น: ศิิริิภััณฑ์์ ออฟเซ็ท็ . บุุญมีี แท่น่ แก้ว้ . (๒๕๔๕). พุุทธปรัชั ญาเถรวาท. กรุงุ เทพฯ: โอ.เอส พริ้�นติ้้�ง เฮ้า้ ส์์. บุญุ ยงค์์ เกศเทศ. (๒๕๔๙). ไทแคมของ. กรุงุ เทพฯ: สําํ นักั พิมิ พ์ห์ ลักั พิมิ พ์.์ ปกรณ์ ์ คุุณารัักษ์.์ (๒๕๔๖). ธรรมทรรศน์.์ ๕(๓) ๘๐-๘๕. ประยงค์์ แสนบุุราณ. (๒๕๔๗). ปรัชั ญาอิินเดียี . กรุุงเทพฯ: โอ เอส พริ้น� ติ้้�ง เฮ้า้ ส์์. พระเทพเวทีี (ประยุุทธ์์ ปยุุตโต). พุุทธธรรม. พิิมพ์์ครั้�งที่่� ๕. กรุุงเทพฯ: มหาจุฬุ าลงกรณราชวิทิ ยาลัยั . พระราชวรมุุนีี (ประยุุทธ์ ์ ปยุุตโต). (๒๕๒๗). ธรรมนููญชีีวิติ . พิมิ พ์์ครั้ง� ที่่� ๑๑. กรุุงเทพฯ: สมาคมศิิษย์เ์ ก่า่ มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลัยั . สมภาร พรมทา. (๒๕๔๑). พุทุ ธศาสนากับั ปัญั หาจริยิ ศาสตร์์ : โสเภณี ี ทําํ แท้ง้ และการุณุ ยฆาต. กรุุงเทพฯ: จุฬุ าลงกรณ์ม์ หาวิิทยาลัยั . สุุเชาวน์์ พลอยชุุม. (๒๕๔๙). พุุทธปรััชญาในสุุตตัันตปิิฎก. กรุุงเทพฯ: มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์.์ อุดุ ม บัวั ศรี.ี (๒๕๔๐). วัฒั นธรรมอีสี าน. ขอนแก่น่ : มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ .



ประวััติวิ ััดศรีีนวล ถนนหลังั เมืือง ตำ�ำ บลในเมืือง อำำ�เภอเมืืองขอนแก่น่ จังั หวััดขอนแก่น่

48 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ ประวัตั ิิวัดั ศรีนี วล ถนนหลังั เมืือง ตำ�ำ บลในเมือื ง อำ�ำ เภอเมือื งขอนแก่น่ จัังหวัดั ขอนแก่น่ วััดศรีีนวล เป็็นวััดสัังกััดคณะสงฆ์์ ฝ่่ายมหานิิกาย ตั้้�งอยู่่�เลขที่่� ๔๔๑ บพ๑ื้้๗้า้�น๐นท ีพ่ว�่วัารัดะโคลิฉัิดบันเดปถ็ท็นนี่�่นเ๒นืห้๑้�อล๒ัทงัี่๕เ�่ปมืรเอื ละง่ม่มตทาีำ่ณ�่ บ๒ล๒๔ในห๘เนม๕้ืา้อื๙ง๒ ๕อ๑๗ำ๐เหภมอตาเยามืรเอืลางขงขทวีอ่าด�่ นินิ แห ก๔ร่ืน่ือ๖ จัห๑งั นห๒้า้วัสดั ไำขร่ร่อว–นจ แ๕๓ก่๙๔น่ ออกให้เ้ มื่ �อวันั ที่่� ๙ มีีนาคม ๒๕๐๗ นายสมชาย กลิ่่�นแก้ว้ ผู้้�ว่า่ ราชการ จัังหวััดขอนแก่น่ นายอุุดม เล็็กแข็ง็ เจ้า้ พนัักงานที่�่ดินิ วัดั ศรีีนวล ตามทะเบีียนข้อ้ มูลู อยู่่�ที่จ�่ ังั หวัดั ตั้้ง� เมื่อ� พ.ศ. ๒๓๔๕ เดิมิ เรียี ก ว่่า “วััดใน” เพราะตั้�งอยู่่�ส่่วนกลางของหมู่่�บ้้านพระลัับ เป็็นคู่่�กัับวััดศรีีจัันทร์์ ซึ่�่งเดิมิ เรีียกว่่า “วัดั นอก” เพราะตั้�งอยู่่�ส่่วนนอกของหมู่่�บ้า้ นพระลัับ ตั้้ง� ทีีหลังั วััดศรีีนวล ต่่อมาจึึงได้ช้ื่อ� เป็็นทางการว่า่ “วัดั ศรีีนวล” วัดั ศรีีนวล ได้ร้ ับั พระราชทานวิสิ ุงุ คามสีีมา อุโุ บสถหลังั เก่า่ เมื่่อ� วันั เดือื น ปีี เท่า่ ไร ไม่ส่ ามารถค้น้ หาหลักั ฐานที่เ่� ป็น็ เอกสารได้้ แต่ป่ รากฏมีีตัวั อักั ษรที่จ�่ ารึึก ไว้้หน้า้ แท่่นพระประธานว่า่ “สร้า้ งเมื่่อ� พ.ศ. ๒๔๔๐” ระหว่่าง พระญาคููผาง ผคฺฺโค เป็็นเจ้้าอาวาส ส่่วนอุุโบสถหลัังใหม่่ ได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่�อวัันที่่� ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๒

พระไม้้ลายมือื บรรพชนคนไทยอีีสาน 49 อาณาเขต ทิศิ เหนืือ ประมาณ ๔ เส้้น ๓ วา จดที่่�ดินิ โฉนดเลขที่่� ๒๙,๓๐,๓๑,๓๓,๔๕ และถนนสาธารณะส่ว่ นหนึ่�่ง ทิศิ ใต้้ ประมาณ ๔ เส้น้ ๔ วา จดถนนรอบเมือื ง ทิิศตะวัันออก ประมาณ ๒ เส้น้ ๖ วา จดที่ด่� ินิ ที่ม่� ีีการครอบครอง และ ถนนรอบเมืือง ทิิศตะวันั ตก ประมาณ ๒ เส้น้ ๔ วา จดถนนหลังั เมือื ง (เดิมิ เป็น็ ถนน ศรีีนวล) การแบ่ง่ เขตพื้้�นที่่ภ� ายในวััด เขตพุทุ ธาวาส ที่พ่� ระราชทานวิิสุุงคามสีีมา กว้้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร โรงอุโุ บสถ กว้า้ ง ๙.๒๙ เมตร ยาว ๑๙.๑๙ เมตร ส่่วนภายในกำแพงแก้ว้ กว้้าง ๒๗.๑๕ เมตร ยาว ๔๘.๒๕ เมตร เขตสัังฆาวาส ที่่พ� ักั อาศัยั ของพระภิกิ ษุสุ ามเณรและศิิษย์ว์ ัดั มีีกุุฏิิ จำนวน ๑๑ หลััง ตั้้�งเป็็นแถวเรีียงรายอย่่างเป็็น ระเบีียบด้้านทิิศเหนืือ และทิิศใต้้ของศาลาหลวงปู่� พระราชสารธรรมมุนุ ีี เขตบำเพ็็ญบุญุ กุศุ ล ศาลาหลวงปู่่� พระราชสารธรรมมุนุ ีี อาคารคอนกรีตี เสริิมเหล็็ก ๒ ชั้้�น ลัักษณะทรงไทย หลัังคามุุง

50 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ กระเบื้้อ� งสุโุ ขทัยั (ทรงใบโพธิ์)� ขนาดรวมทั้้ง� ปริมิ ณฑล กว้้าง ๒๔.๕๐ เมตร ยาว ๔๘.๕๐ เมตร เขตกรรมฐาน มีีที่�่สำหรัับฝึึกอบรมวิิปััสสนากรรมฐานโดยมีีพระ วิิปััสสนาจารย์์ของวััด ให้้การฝึึกอบรมเป็็นประจำ ทุุกวัันธรรมสวนะ วันั เสาร์์และวัันอาทิติ ย์ต์ ลอดปีี เขตสถานศึกึ ษา มีีอาคารเรียี น ๑ หลังั ขนาด กว้า้ งประมาณ ๒๕.๐๐ เมตร ยาวประมาณ ๕๙.๐๐ เมตร เขตฌาปนสถาน (เขตเมรุุ) เนื้้อ� ที่ป�่ ระมาณ ๒ ไร่่ มีีศาลาบำเพ็ญ็ กุศุ ล ศพ ๒ หลังั ศาลารับั แขก ๔ หลังั อาคารเก็็บสิ่�งของ และเครื่อ� งครุภุ ัณั ฑ์์ ๑ หลังั ห้อ้ งสุขุ า ๑ หลังั ๕ ห้อ้ ง การบริิหารและการปกครองในอดีีต วััดศรีีนวล มีีเจ้้าอาวาสปกครองดููแลสืืบทอดกัันมาเป็็นเวลายาวนาน ได้้สืบื ถามและสอบถามจากหลาย ๆ ฝ่า่ ย หลายระดับั ผู้้�ให้้ข้อ้ มููลใกล้้เคีียงกััน ที่่�น่่าเชื่อ� ถือื ได้ ้ มีี ๒ ท่า่ น คือื ๑. คุุณตาศรีีบูู โสภาราษฎร์์ ๒. คุณุ ตานาค รััตนจัันท โดยได้ข้ ้้อสรุปุ ลำดับั เจ้้าอาวาส วัดั ศรีีนวล ดัังนี้้� ๑. พระญาคููหลักั คำ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๔๕-๒๓๖๙ ๒. พระญาคููทิ ิ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๗๐-๒๓๘๕ ๓. พระญาคููพัันธ์์ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๘๖-๒๔๐๔

พระไม้้ลายมืือ บรรพชนคนไทยอีีสาน 51 ๔. พระญาคูปู าน ประมาณ พ.ศ. ๒๔๐๕-๒๔๒๐ ๕. พระญาคูลู ููกแก้ว้ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๒๑-๒๔๓๗ ๖. พระญาคูผู าง ผคฺโฺ ค ประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๘–๒๔๗๘ ๗. พระราชสารธรรมมุุนีี (กััณหา ปภัสั สโร) พ.ศ. ๒๔๗๙–๒๕๒๔ ๘. พระกิติ ติญิ าณโสภณ (บัวั ผันั ปคุณุ ธมฺโฺ ม ป.ธ.๘) พ.ศ. ๒๕๒๔–๒๕๔๕ ๙. พระครูสู ิริ ิธิ รรมนิเิ ทศก์์ (พูลู สวัสั ดิ์์ � ติสิ ฺสฺ เทโว ป.ธ.๓) พ.ศ. ๒๕๔๕–๒๕๖๕ ๑๐. พระครููปริยิ ััติิธรรมานุศุ าสก์์ (จำนงค์์ ญาณธมฺโฺ ม ป.ธ.๓) พ.ศ. ๒๕๖๕–ปัจั จุุบันั การบริิหารการปกครองในปััจจุุบันั วัดั ศรีีนวล ปัจั จุบุ ันั นี้้ม� ีีพระครูปู ริยิ ัตั ิธิ รรมานุศุ าสก์์ เป็น็ เจ้า้ อาวาส ใช้ห้ ลักั การปกครองโดยอยู่่�ร่่วมกััน แบบพ่่อลููก แบบพี่�่น้้อง ต่่างฝ่่ายต่่างปฏิิบััติิหน้้าที่�่ เกื้ �อกููลกัันตามหลัักภราดรภาพถ้้ามีีปััญหาก็็ช่่วยกัันแก้้ มีีพระภิิกษุุสามเณร และศิษิ ย์ว์ ัดั ปีลี ะไม่น่ ้อ้ ย ๑๐๐ รูปู /คน ก็อ็ ยู่่�ร่ว่ มกันั อย่า่ งมีีความสงบสุขุ ตามควร แก่่อััตภาพ โดยยึึดหลัักการกระจายอำนาจหน้้าที่�่ให้้ช่่วยกัันรัับผิิดชอบตามวิิธีี การปกครองระบอบประชาธิปิ ไตย วัดั ศรีีนวล มีีพระสัังฆาธิกิ าร ดังั นี้้� เจ้า้ อาวาส ๑ รููป รองเจ้้าอาวาส ๑ รูปู ผู้้�ช่่วยเจ้า้ อาวาส ๘ รูปู ได้แ้ บ่่ง งานให้้ช่่วยกัันบริิหารตามงานของคณะสงฆ์์ ๖ ฝ่่าย คือื ๑. ฝ่่ายปกครอง ๒. ฝ่า่ ยศาสนศึึกษา ๓. ฝ่่ายเผยแผ่่ ๔. ฝ่า่ ยสาธารณููปการ ๕. ฝ่า่ ยการศึึกษาสงเคราะห์ ์ ๖. ฝ่า่ ยสาธารณสงเคราะห์์ และการศึึกษาพระปริยิ ัตั ิธิ รรม แผนกสามััญศึึกษา (ม.๑–ม.๖)

52 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ พระภิกิ ษุ ุ ปีลี ะไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ ๒๐ รูปู มีีคณะกรรมการบริหิ ารวัดั โดยแต่ง่ ตั้ง� พระผู้�มีความรู้�คู่�คุณธรรมและมีีความสามารถ พรรษา ๕ ขึ้้น� ไปให้้เป็น็ หัวั หน้้า กุฏุ ิดิ ูแู ลรับั ผิดิ ชอบพระภิกิ ษุสุ ามเณรและศิษิ ย์ว์ ัดั ในคณะของตน และให้ม้ ีีผู้้�ช่ว่ ย หััวหน้า้ คณะทั้้�งเป็็นพระภิิกษุุและสามเณรด้ว้ ย สามเณร ปีีละไม่่น้้อยกว่า่ ๘๐ รููป มีีสภาสามเณรวััดศรีีนวลเป็น็ องค์ก์ ร ที่่�ทางวััดจััดตั้ �งขึ้ �นเพื่่�อให้้สามเณรปกครองดููแลรัับผิิดชอบกัันเอง ด้้วยความ เห็็นชอบเจ้้าอาวาสและคณะกรรมการบริิหารวััด มีีคณะกรรมการบริิหารสภา อย่่างน้้อย ๓๕ รููป อย่่างมากไม่่เกิิน ๔๕ รููป จััดให้้มีีการเลืือกตั้้�งตำแหน่่ง ประธานสภา หััวหน้้ากลุ่่�มวาทศิิลป์์ และตำแหน่่งเลขาธิิการสภา โดยวิิธีีการ เข้้าคููหากาบััตรตามระบอบประชาธิิปไตย ผู้้�มีีสิิทธิิเลืือกตั้้�ง คืือ สามเณรในวััด ศรีีนวลทั้้�งหมด ซึ่่�งเป็็นสมาชิิกของสภา คณะกรรมการบริิหารสภาจะสิ้�นสุุด หน้้าที่�ใ่ นวันั วิสิ าขบููชา ของแต่ล่ ะปีี วััดศรีีนวล ได้้ใช้้หลัักการปกครองตามนโยบาย ๔ ส. ดัังนี้้� ส่่งเสริมิ = อนุรุ ักั ษ์น์ ิิยม สร้้างสรรค์์ = ระดมพัฒั นา เสีียสละ = ประชาสงเคราะห์์ สามัคั คีี = สร้้างเกราะคุ้�มกััน โดยยึึดหลักั อุดุ มการณ์ช์ ีีวิติ ๓ ย. (เป้า้ หมายอันั สูงู ส่ง่ ของชีีวิติ ) สำหรับั ใช้้ ปลูกู ฝังั เป็น็ คุณุ ธรรม เครื่อ� งยึึดเหนี่ย่� วจิติ ใจของผู้้�อยู่่�ร่ว่ มกันั คือื (หยิ่ง� , ยิ่่ง� , เยี่ย�่ ม) หยิ่ง� ในศักั ดิ์์ศ� รีขี องความเป็น็ มนุุษย์ ์ = สีีลภาวิติ (ศีีล) ยิ่�ง ด้ว้ ยคุุณธรรม = จิติ มั่�นคง (สมาธิ)ิ เยี่�่ยม ด้้วยคุุณภาพ = ทรงวิชิ ชา (ปัญั ญา)

พระไม้ล้ ายมืือ บรรพชนคนไทยอีีสาน 53 การศาสนศึกึ ษา พ.ศ. ๒๔๗๙ เป็น็ สำนักั ศาสนศึึกษา เปิดิ สอนพระปริยิ ัตั ิธิ รรมแผนกธรรม ตั้�งแต่่นัักธรรมชั้�นตรีีถึ งนัักธรรมชั้�นเอกอย่่างเป็็นพิิธีีการเป็็นครั้�งแรก โดยมีี พระครููพิิเศษสารคุุณ ในสมัยั นั้้�น (พระราชสารธรรมมุุนีี) เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๘๔ เปิดิ สอนพระปริยิ ัตั ิธิ รรม แผนกบาลีีตั้้ง� แต่ช่ั้น� บาลีีไวยากรณ์์ ถึึง ป.ธ.๕ เป็็นพิธิ ีีการครั้�งแรก โดยมีีพระสารธรรมมุนุ ีี (พระราชสารธรรมมุนุ ีี) เป็็นเจ้า้ อาวาส ปััจจุุบัันนี้้� ทางวััดได้้เปิิดสอน แผนกธรรมทุุกชั้้�น และแผนกบาลีีถึึง ประโยค ป.ธ.๓ โดยมีี พระครูปู ริิยัตั ิิธรรมานุศุ าสก์์ เป็น็ เจ้า้ อาวาส และเป็น็ เจ้า้ สำนักั เรียี น การศึกึ ษาสงเคราะห์์ วัดั ศรีีนวล ได้จ้ ัดั ตั้ง� โรงเรียี นพุทุ ธศาสนาวันั อาทิติ ย์์ เมื่อ� พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็น็ อัันดัับที่่� ๖๑ ของประเทศ สังั กััดกรมการศาสนา กระทรวงศึึกษาธิกิ าร ต่่อมา เปลี่�่ยนชื่่�อเป็็น ศููนย์์ศึึกษาพระพุุทธศาสนาวัันอาทิิตย์์ โดยการอุุปถััมภ์์ของ สภาสัังคมสงเคราะห์์แห่่งประเทศไทย ในพระบรมราชููปถััมภ์์และพุุทธสมาคม ขอนแก่น่ เรียี นเฉพาะวัันอาทิิตย์์ (สัตั ตาหศึึกษา) รับั นักั เรียี นตั้้ง� แต่่ชั้�นประถม ศึึกษาปีีที่่� ๓ ถึึง ชั้้�นมััธยมศึึกษาปีีที่่� ๖ มีีโรงเรีียนและผู้้�ปกครองส่ง่ นักั เรีียนและ บุุตรหลานของตนเข้้าศึึกษาอบรมปีีละประมาณ ๑๐๐–๒๐๐ คน โดยเน้้น การฝึึกอบรมด้้านต่า่ ง ๆ ดัังนี้้�

54 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ ภาควิิชาการ นอกจากสอนตามหลักั สููตรของกรมการศาสนาแล้้ว ยังั ได้้ เสริมิ ทัักษะวิิชาภาษาไทย ภาษาอังั กฤษ และวิชิ าคณิติ ศาสตร์ท์ ุุกระดัับ ภาคปฏิิบััติิ ได้้ฝึึกอบรมนัักเรีียน เน้้นให้้เกิิดความรู้�ความเข้้าใจในเรื่�อง วััฒนธรรม ประเพณีีอัันดีีงามของไทย สามารถนำไปใช้้ได้้อย่่างถููกต้้อง และ ได้น้ ำนัักเรียี นฝึกึ วิธิ ีีเจริญิ สมาธิเิ ป็็นประจำเพื่่อ� ให้้ได้้ผลในทางปฏิบิ ััติเิ ป็น็ หลััก ภาคกิจิ กรรม ได้จ้ ัดั ตั้ง� กลุ่่�มวาทศิลิ ป์ข์ึ้น� เพื่่อ� ฝึกึ อบรมนักั เรียี น เสริมิ ทักั ษะ และประสบการณ์์ด้้านการใช้้วาทศิิลป์์ด้้วยวิิธีีการต่่าง ๆ โดยเน้้นการบรรยาย หััวข้อ้ ธรรมะ เป็็นสำคััญ เกียี รติปิ ระวัตั ิิของศููนย์์ ฯ พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้ร้ ับั เข็ม็ กลัดั ทองจากสภาสังั คมสงเคราะห์แ์ ห่ง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชููปถััมภ์์ พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้้รัับพระราชทานเสาเสมาธรรมจัักรและบััตรเกีียรติิคุุณ จากสมเด็็จพระกนิิษฐาธิิราชเจ้้า กรมสมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาฯ สยาม บรมราชกุุมารีี ณ ท้้องสนามหลวง ระหว่่างสััปดาห์์ส่่งเสริิมพระพุุทธศาสนา เนื่่อ� งในวัันวิสิ าขบููชา ซึ่�ง่ ทางราชการจััดขึ้�น พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้ร้ ับั โล่เ่ กีียรติคิ ุณุ จากสภาสังั คมสงเคราะห์แ์ ห่ง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชููปถััมภ์์ ในฐานะจััดงานวัันแม่่ได้้ดีีเด่่น โดยศึึกษาธิิการจัังหวััด ขอนแก่่น เป็็นผู้้�แทนประกอบพิิธีีมอบ ณ ห้้องโชว์์รููม โรงแรมโฆษะขอนแก่่น พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้ร้ ับั โล่เ่ กีียรติยิ ศ จากกรมการศาสนา กระทรวงศึึกษาธิกิ าร ในฐานะดำเนิินกิจิ การของศูนู ย์์ฯ ได้้ดีีเด่่นโดยต่อ่ เนื่่�องตลอดมา

พระไม้้ลายมือื บรรพชนคนไทยอีีสาน 55 การศึึกษาพระปริิยัตั ิธิ รรม แผนกสามัญั ศึกึ ษา วัดั ศรีีนวล นอกจากจะจัดั การด้า้ นศาสนศึึกษา และการศึึกษาสงเคราะห์์ ตามนโยบายของทางคณะสงฆ์แ์ ล้ว้ ทางคณะกรรมการการศึึกษาของวัดั ยังั เปิดิ ทางให้เ้ ยาวชน กุลุ บุตุ รในชนบทผู้้�ด้อ้ ยโอกาสทางการศึึกษา ได้บ้ วชเข้า้ มาศึึกษา เล่่าเรียี นต่อ่ ในระดัับสูงู ขึ้�นไปโดยไม่จ่ ำกััด ทั้้ง� เป็น็ การประหยััดค่่าใช้จ้ ่า่ ยได้เ้ ป็็น อย่า่ งดีีด้ว้ ย จึึงได้เ้ ปิดิ โรงเรีียนแผนกสามััญศึึกษาขึ้�นเรียี นควบคู่่�กันั ไปกับั แผนก ธรรม–บาลีี พ.ศ. ๒๕๑๔ เปิิดดำเนิินโรงเรีียนผู้้�ใหญ่ร่ ะดับั ๔ (ม.๓) สำหรัับพระภิกิ ษุุ สามเณร สัังกััดกรมการศึึกษานอกโรงเรียี น กระทรวงศึึกษาธิิการ พ.ศ. ๒๕๒๕ เปิดิ ดำเนินิ การโรงเรียี นพระปริยิ ัตั ิธิ รรม แผนกสามัญั ศึึกษา ระดัับมััธยมศึึกษาตอนต้้น สำหรัับพระภิิกษุุสามเณร สัังกััดกรมการศาสนา กระทรวงศึึกษาธิกิ าร โดยชื่อ� ว่า่ “โรงเรียี นประภััสสรวิิทยา วัดั ศรีีนวล” พ.ศ. ๒๕๒๖ ได้ร้ ับั อนุญุ าตจากกระทรวงศึึกษาธิกิ าร ให้ข้ ยายชั้น� เรียี นขึ้้น� ระดับั มัธั ยมศึึกษาตอนปลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้้รัับโล่่เกีียรติิคุุณ ในฐานะโรงเรีียนนำร่่องดีีเด่่น จาก กระทรวงศึึกษาธิกิ าร ณ วัดั บวรนิเิ วศวิหิ าร กรุงุ เทพฯ โดย สมเด็จ็ พระสังั ฆราชเจ้า้ กรมหลวงวชิิรญาณสังั วร ทรงประทานโล่่เกีียรติิคุุณ

56 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ การเผยแผ่่ พ.ศ. ๒๕๒๖ วัดั ศรีีนวล ได้จ้ ัดั ตั้ง� ศูนู ย์เ์ ผยแผ่ศ่ ีีลธรรมทางพระพุทุ ธศาสนา โดยกรมการศาสนา กระทรวงศึึกษาธิิการ ได้้จดทะเบีียนเป็็นศููนย์์เผยแผ่่ที่�่ถููก ต้้องตามระเบีียบของทางราชการ ได้้ฝึึกอบรมพระภิิกษุุสามเณรผู้้�สนใจในการเผยแผ่่ทุุกรููปแบบ ทั้้�งวิิธีี ธรรมกถึึก (พระนักั เทศน์์) การบรรยาย อภิปิ ราย ปาฐกถา และโต้ว้ าทีี เป็็นต้้น แล้้วส่่งออกไปทำการเผยแผ่่ตามโครงการธรรมถึึงคน ในพื้้�นที่�่จัังหวััดขอนแก่่น และจังั หวััดใกล้้เคีียง โดยแบ่ง่ งานออกเป็น็ ๒ ประเภท คือื ๑. หน่่วยธรรมนิเิ ทศ ดำเนิินการโดยพระภิิกษุุ กลุ่่�มเป้า้ หมาย พระภิกิ ษุุ สามเณร ข้า้ ราชการ ประชาชนทั่่ว� ไป นักั เรียี นระดับั มัธั ยมศึึกษาตอนปลาย และ นัักศึึกษาระดับั อุุดมศึึกษา ๒. กลุ่่�มวาทศิลิ ป์์ ดำเนินิ การโดยคณะสามเณรเพื่่อ� ให้ส้ ามเณรได้แ้ ข่ง่ ขันั กันั ทำความดีีจากการเผยแผ่ ่ จึึงได้แ้ บ่ง่ งานออกเป็็น ๖ คณะ คือื ๑. มธุุรพาทีี ๒. วจีีสุนุ ทร ๓. อมรสุุพจน์์ ๔. ปิยิ รสวาจา ๕. ภาษาวิริ ุฬุ หิ์์� ๖. อดุลุ ยเมธีี กลุ่่�มเป้า้ หมาย โรงเรียี นระดับั ประถมศึึกษา มัธั ยมศึึกษาตอนต้น้ เยาวชน และประชาชนทั่่�วไป ในการออกเผยแผ่่ ได้้รัับความร่่วมมืือจากทางวััด บ้้าน หน่่วยราชการ และสถาบันั การศึึกษาทุุกแห่ง่ เป็็นอย่่างดีีตลอดมา วัดั ศรีีนวลได้ร้ ับั การแต่ง่ ตั้ง� จากมติมิ หาเถรสมาคม เป็น็ สำนักั ปฏิบิ ัตั ิธิ รรม ประจำจัังหวัดั ขอนแก่่น ที่�่ ๓๖

พระไม้้ลายมืือ บรรพชนคนไทยอีสี าน 57 การสาธารณูปู การ วัดั ศรีีนวล ได้ร้ ับั การปรับั ปรุงุ และพัฒั นามาอย่า่ งสม่่ำเสมอ เนื่่อ� งจากเป็น็ วััดที่�่เคยเป็็นที่่�สถิิตอยู่่�ของอดีีตเจ้้าคณะจัังหวััดขอนแก่่น ตั้้�งอยู่่�ในย่่านชุุมชน หนาแน่่น มีีพระภิิกษุุสามเณรมาอาศััยเพื่่�อศึึกษาพระปริิยััติิธรรมเป็็นจำนวน มากกว่่าทุกุ วัดั ในจัังหวัดั ขอนแก่่น พ.ศ. ๒๕๐๗ กรมการศาสนา กระทรวงศึึกษาธิกิ าร ได้้ยกวััดศรีีนวลขึ้น� เป็น็ วัดั พัฒั นาตัวั อย่่าง โดยทางกรมการศาสนาได้้จัดั ทำแผนผังั วััดในส่่วนต่่าง ๆ ให้ส้ มบูรู ณ์ต์ ามแผนพััฒนาวัดั พ.ศ. ๒๕๕๒ สำนักั งานพระพุทุ ธศาสนาแห่ง่ ชาติิมอบรางวััล “วััดพััฒนา ตัวั อย่า่ งที่ม�่ ีีผลงานดีีเด่่น” ปููชนีียวััตถุทุ ี่่�เก่า่ แก่่และสำำ�คัญั พระพุทุ ธประธาน ในอุโุ บสถหลังั เก่า่ เจ้า้ อาวาสวัดั ศรีีนวล (พระกิติ ติญิ าณ โสภณ) ถวายนามว่่า พระพุุทธผััคครัังสยานุสุ รณ์ ์ สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๔๐ ขนาด หน้้าตักั กว้า้ ง ๑.๕๖ ซ.ม. สููง ๒.๔๐ ซ.ม. พระพุุทธสิิทธิิชััย ได้้มาจากอำเภอตาลีี จัังหวััดนครสวรรค์์ เมื่ �อ พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยมีีคฤหััสถ์์ชาย–หญิิง นำมาถวาย เป็็นพระราชสารธรรมมุุนีี อดีีตเจ้า้ อาวาสวััดศรีีนวล ถวายนามว่า่ “พระพุุทธสิิทธิชิ ััย” ขณะนี้้�ประดิิษฐาน อยู่่�บนชุุกชีีในอุุโบสถหลัังเดิิม

58 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ พระพุุทธสิิทธิิเดช ได้้จากบ้้านเมืืองเก่่าเมื่ �อเก่่า อำเภอชุุมแพ จัังหวััด ขอนแก่น่ พร้อ้ มกับั หลักั เมือื งขอนแก่น่ เมื่อ� พ.ศ. ๒๔๙๘ โดย พระราชสารธรรม มุนุ ีี เจ้า้ คณะจังั หวัดั ขอนแก่น่ ในระหว่า่ งนั้้น� ได้อ้ อกตรวจการคณะสงฆ์ ์ ร่ว่ มกับั หลวงธุุรนััยพิินิิจ ผู้้�ว่่าราชการจัังหวััดขอนแก่่น ออกตรวจราชการได้้มาเฉพาะ องค์์พระ ไม่่มีีเศีียร อดีีตเจ้้าอาวาสขอให้้นายธรรมนููญ เสนาสุุ ครููศิิลปะ โรงเรีียนกัลั ยาณวัตั ร หล่่อเศีียรถวาย ขนาดหน้า้ ตักั กว้้าง ๗๐ ซ.ม. สูงู ๙๖ ซ.ม. อดีีตเจ้า้ อาวาสวัดั ศรีีนวล ถวายพระนามว่า่ พระพุทุ ธสิทิ ธิเิ ดช ขณะนี้้ � ประดิษิ ฐาน อยู่่�บนแท่่นพระประธาน (ชุุกชีี) ในอุุโบสถหลัังเดิมิ เสนาสนะในวััด นัับแต่่วััดศรีีนวล ได้้รัับยกฐานะขึ้�นเป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่างเป็็นต้้นมา ทางวััดได้้ปรัับปรุุงเสนาสนะที่�่พอจะใช้้ประโยชน์์ได้้ให้้ดีีขึ้้�นเพื่่�อใช้้ทำประโยชน์์ ต่่อไป ส่ว่ นที่ม่� ีีสภาพชำรุดุ มากไม่ส่ ามารถจะใช้้ประโยชน์์ต่อ่ ไปได้ ้ ก็ถ็ ููกรื้้อ� ถอน แล้ว้ สร้า้ งใหม่แ่ ทน เช่น่ อุุโบสถ เป็็นต้้น อุุโบสถหลัังเก่่า ได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมาและสร้้างตั้�งแต่่เมื่่�อใด ไม่ส่ ามารถค้น้ หาหลักั ฐานที่เ�่ ป็น็ เอกสารได้้ แต่ม่ ีีหลักั ฐานที่เ�่ ป็น็ ตัวั อักั ษรปรากฏ ที่ฐ�่ านหน้้าพระประธานว่า่ สร้า้ งเมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๔๐ ระหว่่างพระญาคูผู าง ผคฺฺโค เป็็นเจ้้าอาวาส และการปรัับปรุุงแท่่นพระประธาน (ชุุกชีี) มีีข้้อความจารึึกที่่� หินิ อ่่อนหน้า้ แท่่นว่า่ พ.ศ. ๒๔๗๘ นายจ่า่ งฮ่ง่ เส็็ง นางโค้้รากุ่�ยลวง ร้า้ นเฮงเคี่่ย� งเส็็ง ได้บ้ ริิจาค ทรััพย์์สร้้างเพิ่่�มเติิมอุุโบสถวััดศรีีนวล ให้้แก่่บิิดามารดาลููกหลานเผื่�อข้้างหน้้า อายุ ุ วรรณะ สุุขะ พละ วันั ที่�่ ๑๕ เดือื นมิิถุนุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๘

พระไม้ล้ ายมือื บรรพชนคนไทยอีสี าน 59 ส่ว่ นอุโุ บสถหลังั ใหม่่ ได้ร้ ับั พระราชทานวิสิ ุงุ คามสีีมา เมื่่อ� วันั ที่่� ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๒ มีีพระประธานสำเร็จ็ ด้ว้ ยปูนู ปางมารวิชิ ัยั ขนาดหน้า้ ตักั กว้า้ ง ๑.๖๓ เมตร สููง ๒.๓๙ เมตร ประดิิษฐานอยู่่�แท่่นมีีป้้ายระบุุ สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๔๐ แต่่ โรงอุุโบสถได้ถ้ ููกรื้้อ� แล้้ว สร้้างอาคารชั่่�วคราวกั้้น� เอาไว้้แทน อุโุ บสถหลังั ใหม่่ คอนกรีตี เสริมิ เหล็ก็ สร้า้ ง ณ พื้้น� ที่ข่� ้า้ งหน้า้ (ตะวันั ออก) ของหลังั เก่่า ที่่�ได้้รับั พระราชทานวิสิ ุุงคามสีีมา กว้้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร โรงอุุโบสถ กว้า้ ง ๙.๒๙ เมตร ยาว ๑๙.๑๙ เมตร กำแพงแก้้ว กว้้าง ๒๗.๑๙ เมตร ยาว ๔๘.๒๙ เมตร สร้้างเสร็จ็ เมื่่�อ พ.ศ. ๒๕๒๐ สิ้้�นค่่าก่อ่ สร้้าง จำนวน ๒,๘๖๓,๙๙๙ บาท (สองล้้านแปดแสนหกหมื่น� สามพัันเก้า้ ร้อ้ ยเก้า้ สิบิ เก้้าบาท ถ้ว้ น) พระบาทสมเด็็จพระวชิิรเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว เสด็็จแทนพระองค์์มาเป็็น องค์ป์ ระธานตัดั ลูกู นิมิ ิติ เอก ในพิธิ ีีฉลองพัทั ธสีีมา เมื่่อ� วันั เสาร์ท์ ี่่� ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๒๑ เวลา ๑๔.๑๙ น. โดยมีีสมเด็จ็ พระสังั ฆราชเจ้า้ กรมหลวงชินิ วราลงกรณ เสด็จ็ เป็็นองค์ป์ ระธานฝ่่ายสงฆ์์ เสนาสนะภายในเขตวิสิ ุุงคามสีีมา ๑. หอกลองใหญ่่ (กลองเพล) หลัังคาทรงไทยมุุงกระเบื้้อ� งสุโุ ขทััย (ทรง ใบโพธิ์�) ๔ หลังั ขนาดกว้า้ ง ๒.๐๐ เมตร ยาว ๓.๕๐ เมตร ตั้้�งอยู่่� ณ ๔ มุมุ ข้า้ งในของกำแพงแก้ว้ ค่า่ ก่อ่ สร้า้ งหลังั ๕๕,๐๐๐ บาท (ห้า้ หมื่่น� ห้า้ พันั บาทถ้ว้ น)

60 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ กลองใหญ่่ (กลองเพล) ไม้ป้ ระดู่่� ๔ ใบ ขนาด กว้้าง ยาว ใบละ ๑.๑๒ x ๒.๑๙ เมตร ราคาใบละ ๓๐,๐๐๐ บาท (สามหมื่�นบาทถ้ว้ น) หอระฆังั คอนกรีตี เสริมิ เหล็ก็ หลังั คาทรงจตุรุ มุขุ ๑ หลังั อยู่่�นอกกำแพง แก้ว้ ด้า้ นทิศิ ตะวันั ออก มุมุ ทิศิ เหนือื ราคาก่อ่ สร้า้ งทั้้ง� สิ้น� จำนวน ๑๗๐,๐๐๐ บาท วิิหาร เป็็นอาคารชั้้น� เดีียว ๓ ห้อ้ ง ขนาดกว้้าง ๗.๐๐ เมตร ยาว ๑๒.๐๐ เมตร หลัังคาทรงไทยมุุงกระเบื้้�องสุุโขทััย (ทรงใบโพธิ์�) หน้้าบรรรณ นพมุุข ตั้�งอยู่่�ทางด้้านทิศิ ตะวัันออกของอุุโบสถ และด้้านทิิศตะวัันตกของศาลาหลวงปู่� พระราชสารธรรมมุนุ ีี เป็็นที่่ป� ระดิษิ ฐานพระพุุทธรููปขนาดต่า่ ง ๆ โดยมีีชื่่�อตาม นามของผู้�เป็็นเจ้้าภาพก่่อสร้้างว่่า “วิิหารศิิลา–หล้้าเหลืือง ดีีราษฎร์์วิิเศษ” สิ้น� ค่่าก่อ่ สร้า้ ง จำนวน ๑,๒๙๙,๗๙๙ บาท (หนึ่ง่� ล้้านสองแสนเก้้าหมื่่น� เก้้าพันั เจ็ด็ ร้อ้ ยเก้้าสิบิ เก้า้ บาทถ้ว้ น) สิ่่ง� ก่่อสร้้างนอกเขตวิิสุงุ คามสีมี า กุุฏิิสงฆ์์ สถานที่�่พัักอาศััยของพระภิิกษุุสามเณรและศิิษย์์วััด มีีกุุฏิิอยู่่� จำนวน ๑๑ หลังั ขนาด ๒ ชั้้น� ทุกุ หลััง ดังั นี้้� กุุฏิิตึึกคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก หลัังคาทรงไทยมุุงกระเบื้้�องจำนวน ๕ หลังั กุฏุ ิคิ รึ่่ง� ตึึกครึ่�่งไม้้ จำนวน ๖ หลังั ศาลาหลวงปู่�พระราชสารธรรมมุุนีี (ศาลาการเปรีียญ) เป็็นอาคาร คอนกรีีตเสริิมเหล็็ก หลัังคาทรงไทยตรีีมุุข มุุงกระเบื้้�องสุุโขทััย (ทรงใบโพธิ์�) ๒ ชั้้�น โดยชั้�นล่่าง ใช้้เป็็นที่�่บำเพ็็ญบุุญกุุศลสาธารณะ ชั้้�นบน ใช้้เป็็นสถานที่่� ประชุุมทั่่�วไป โดยชื่�อว่่า “หอประชุุมกาญจนาภิิเษก ๓๙” และใช้้เป็็นที่�่พััก

พระไม้ล้ ายมือื บรรพชนคนไทยอีสี าน 61 สำหรัับนัักจาริิกแสวงบุญุ จากภาคต่่าง ๆ ขนาดกว้า้ ง ๑๘.๐๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร มีีห้้องสุขุ าต่่ออีีก ๔ เมตร ในตััวอาคารมีีห้อ้ งต่่าง ๆ ดังั นี้้� ชั้�นล่่าง - ห้้องเสีียง ๑ ห้้อง - ห้้องพัักของผู้้�ดููแลรักั ษา ๑ ห้้อง - ห้อ้ งเก็็บเครื่�องครุภุ ัณั ฑ์์ ๒ ห้้อง - ห้อ้ งสุุขา ๙ ห้อ้ ง ชั้�นบน - ห้อ้ งเสีียงลอย ๑ ห้้อง - ห้้องพัักผู้้�ดููแลรักั ษา ๑ ห้้อง - ห้้องเก็็บเครื่อ� งครุภุ ัณั ฑ์ ์ ๑ ห้อ้ ง - ห้อ้ งสุุขา ๗ ห้้อง อาคารเรียี น สถานที่ส่� ำหรับั ใช้เ้ ป็น็ ที่ศ�่ ึึกษาเล่า่ เรียี นของพระภิกิ ษุสุ ามเณร ทั้้�งผู้�ที่่�อยู่่�ภายในวััดศรีีนวล และผู้�ที่่�มาจากวััดอื่�น ๆ รวมทั้้�งหมดไม่่น้้อยกว่่า ๑,๐๐๐ รููป มีีอาคาร ๑ หลััง เป็็นอาคารก่่อด้้วยอิิฐถืือปููน ชั้้�นเดีียว หลัังคา มุุงกระเบื้้�องลอนคู่่� ขนาด ๗ ห้้องเรีียน สร้้างเสร็็จเมื่่�อ พ.ศ. ๒๕๔๑ ภายใน อาคารมีีห้้องต่่าง ๆ ดังั นี้้� - ห้้องผู้้�อำนวยการ ๑ ห้อ้ ง - ห้อ้ งพักั ครูู ๓ ห้อ้ ง - ห้้องประชุุม ๑ ห้อ้ ง - ห้อ้ งสมุดุ ๑ ห้้อง - ห้อ้ งพยาบาล ๑ ห้้อง - ห้อ้ งคอมพิิวเตอร์ ์ ๑ ห้อ้ ง - ห้อ้ งสหกรณ์ ์ ๑ ห้อ้ ง

62 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ - ห้อ้ งสุขุ า ๗ ห้อ้ ง - ห้้องเก็็บเครื่อ� งครุภุ ัณั ฑ์์ ๑ ห้้อง ต้น้ พระศรีีมหาโพธิ์์� เมื่่อ� พ.ศ. ๒๔๙๘ ร.ท.จารุบุ ุุตร เรือื งสุวุ รรณ อดีีต ส.ส. จัังหวัดั ขอนแก่น่ และประธานรัฐั สภา พร้อ้ มกับั นายสวััสดิ์์� พึ่่ง� ตน อดีีต ส.ส. จัังหวัดั ขอนแก่่น ได้้อััญเชิิญไม้้ต้้นพระศรีีมหาโพธิ์ � จากประเทศอิินเดีียมาประกอบพิิธีีปลููกที่่�วััด ศรีีนวล ซึ่ง่� มีีพระสารธรรมมุุนีี เจ้า้ คณะจังั หวััดขอนแก่่น เป็็นเจ้้าอาวาสในสมััย นั้้�น ส่่วนฝ่่ายบ้้านเมืืองมีี หลวงธุุรนััยพิินิิจ เป็็นผู้้�ว่่าราชการจัังหวััดขอนแก่่น ได้้ร่่วมกัับคณะสงฆ์์ ข้้าราชการ และสาธุุชนทั่่�วไปมาร่่วมเป็็นเกีียรติิในพิิธีีเป็็น จำนวนมาก เสนาสนะในเขตฌาปนสถาน ศาลาบำเพ็ญ็ บุญุ กุศุ ลศพอาคาร ๑ เป็น็ อาคารไม้ห้ ลังั คามุงุ กระเบื้้อ� งลอน เล็็กพื้้�นคอนกรีตี เสริิมเหล็็ก ขนาดกว้า้ ง ๘ เมตร ยาว ๑๖ เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. ๒๕๐๓ บููรณปฏิสิ ังั ขรณ์์มา ๒ ครั้�งแล้ว้ ปัจั จุบุ ัันนี้้ � ยังั มีีสภาพใช้ก้ ารได้ด้ ีี ศาลาบำเพ็็ญบุุญกุุศลศพอาคาร ๒ เป็็นอาคารชั้้�นเดีียวก่่ออิิฐถืือปููน หลังั คามุงุ กระเบื้้อ� งลอนคู่่� พื้้น� คอนกรีตี เสริมิ เหล็ก็ ขนาดกว้า้ ง ๖ เมตร ยาว ๑๔ เมตร ศาลาคุุตตรานนท์์ ๑, ๒ เป็็นอาคารโล่ง่ หลังั คามุงุ กระเบื้้�องลอนคู่่�ทั้้�ง ๒ หลังั พื้้น� คอนกรีตี เสริิมเหล็็ก ขนาดกว้้าง ๐๕.๐๐ เมตร ยาว ๑๖ เมตร อีีกหลััง หนึ่่ง� กว้้าง ๐๕.๐๐ เมตร ยาว ๑๐.๐๐ เมตร

พระไม้ล้ ายมือื บรรพชนคนไทยอีสี าน 63 ศาลาโชติิกร เป็็นอาคารโล่่ง หลัังคามุุงกระเบื้้�องลอนเล็็ก พื้้�นคอนกรีีต เสริิมเหล็็ก กว้า้ ง ๐๖.๐๐ เมตร ยาว ๑๒.๐๐ เมตร ศาลาประเวศศึึกษากร เป็็นอาคารโล่่ง หลัังคามุุงกระเบื้้�องลอนคู่่� พื้้�น คอนกรีีตเสริิมเหล็็ก ขนาดกว้้าง ๐๕.๐๐ เมตร ยาว ๐๘.๐๐ เมตร ห้อ้ งเก็็บของ เป็็นอาคารชั้้�นเดีียวอิิฐถืือปููน หลังั คามุุงสังั กะสีี ขนาดกว้า้ ง ๐๔.๐๐ เมตร ยาว ๐๘.๐๐ เมตร ใช้ส้ ำหรัับเก็บ็ สิ่ง� ของต่่าง ๆ ที่่�ใช้ส้ ำหรับั เมรุุ ห้้องครััวเมรุุ เป็็นอาคารชั้้�นเดีียวก่่ออิิฐถืือปููน หลัังคามุุงสัังกะสีี ขนาด กว้้าง ๐๓.๐๐ เมตร ยาว ๐๕.๐๐ เมตร ห้้องสุุขา เป็น็ อาคารก่่ออิิฐถืือปููน หลัังคามุุงกระเบื้้�อง ๑ หลังั ๕ ห้อ้ ง ถนนภายในวััด ภายในวัดั ศรีีนวล มีีถนนคอนกรีีตที่่เ� ป็็นสายหลััก ๔ สาย ตััดตามแนวของทิศิ ทั้้ง� ๔ ดัังนี้้� ตก ประสิทิ ธิิสามัคั คีี ประชาสาทร ประภััสสรสถิิตย์์ ใต้้ เหนืือ ไพรีีพินิ าศ ออก

64 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ การปลูกู ต้้นไม้้ให้้เป็็นสถานที่่ร� ื่่น� รมย์์ ตามข้้างถนนสายประชาสาทร–ประภััสสรสถิิตย์์ได้้ปลููกต้้นไม้้ร่่มและ ไม้้ประดัับคนละแถวกัันตลอดสาย ที่่�ข้้างหน้้ากุุฏิิแต่่ละคณะก็็ได้้ปลููกต้้นไม้้ร่่ม และไม้้ประดับั ณ ที่่อ� ัันควรทุกุ กุฏุ ิิ วััดศรีีนวล มีีเนื้้�อที่่�ประมาณ ๑๒ ไร่่เศษ มีีกำแพงคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก เชื่อ� มโยงติดิ ต่อ่ กันั ตามแนวแผนผังั วัดั โดยรอบและมีซุ้�มประตูคู อนกรีตี เสริมิ เหล็ก็ ๔ ซุ้้�ม ใน ๔ ทิิศด้้วย การสาธารณสงเคราะห์์ วัดั ศรีีนวล ได้บ้ ำเพ็ญ็ ประโยชน์ต์ ่อ่ สังั คมเป็น็ อเนกประการ ทั้้ง� ในยามปกติิ และในยามเกิดิ อุบุ ััติภิ ัยั ต่า่ ง ๆ เช่น่ อุุทกภัยั วาตภััย และอััคคีีภัยั เป็น็ ต้้น ทั้้�งใน จังั หวััดขอนแก่่นและจังั หวััดอื่น� ๆ โดยเป็็นศูนู ย์์กลางประกาศเชิญิ ชวนสาธุุชน ให้้บริิจาคเครื่�องอุุปโภค บริิโภค และปััจจััย แล้้วรวบรวมไปช่่วยเหลืือตาม โอกาส ทั้้ง� ได้ช้ ่ว่ ยรณรงค์ใ์ นการพัฒั นา และการแก้ป้ ัญั หาสังั คม เช่น่ การปลูกู ป่า่ การแก้ป้ ัญั หายาเสพติดิ สำหรับั เด็ก็ และเยาวชน เป็น็ ต้น้ ซึ่ง่� มีีข้อ้ มูลู ที่ค่� วรทราบ ดัังนี้้� ๑. เคยเป็็นสถานที่่�ดื่ �มน้้ำพิิพััฒนสััตยาของทางราชการทุุกครั้�งที่�่มีีการ สู้้�รบ ตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๔๖๐ เป็็นต้น้ มา ๒. เป็น็ ที่พ่� ำนักั ของ พระราชสารธรรมมุนุ ีี อดีีตเจ้า้ คณะจังั หวัดั ขอนแก่น่ ตั้ง� แต่่ พ.ศ. ๒๔๗๘ ถึึง พ.ศ. ๒๕๒๔ รวมเป็น็ เวลา ๖๖ ปีี

พระไม้ล้ ายมือื บรรพชนคนไทยอีสี าน 65 ๓. เป็็นสถานที่่�สอบธรรม–บาลีีสนามหลวงของคณะสงฆ์์จัังหวััดตั้ �งแต่่ อดีีตจนถึึงปััจจุบุ ััน ๔. เป็น็ สถานที่ต�่ั้ง� สำนักั งานพุทุ ธสมาคมขอนแก่น่ ตั้้ง� แต่่ พ.ศ. ๒๔๙๙ ถึึง ปััจจุบุ ันั เป็น็ เวลา ๖๖ ปีี ๕. เป็็นสถานที่�่ตั้�งมููลนิิธิิเพื่่�อการศึึกษาพระปริิยััติิธรรมของพระภิิกษุุ สามเณร ตั้้ง� แต่่ พ.ศ. ๒๔๙๙ ถึึงปัจั จุบุ ัันเป็็นเวลา ๖๖ ปีี ๖. พ.ศ. ๒๕๐๑ เป็็นสถานที่่�พัักของคณะกรรมการพุุทธสมาคมทั่่�ว ประเทศ ในการประชุมุ พุุทธสมาคมทั่่�วประเทศครั้ง� ที่่� ๑๒ ที่จ�่ ัังหวััด ขอนแก่น่ ในฐานะพุทุ ธสมาคมขอนแก่่นเป็น็ เจ้้าภาพ ๗. พ.ศ. ๑๕๑๔ เป็น็ สถานที่ต่�ั้ง� โรงเรียี นการศึึกษาผู้�ใหญ่ร่ ะดับั ๔ สำหรับั พระภิกิ ษุุสามเณร ถึึง พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็น็ เวลา ๑๑ ปีี ๘. พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็น็ สถานที่ฝ�่ ึกึ อบรมสามเณรในภาคตะวันั ออกเฉีียงเหนือื ๑๗ จัังหวััด จำนวน ๕๐๐ รููป โดยขอความช่่วยเหลืือจาก เจ้้าคณะจัังหวััดคััดเลืือกสามเณรผู้้�มีีคุุณสมบััติิครบตามหลัักเกณฑ์์ที่�่ กำหนดไว้้ จัังหวััดละ ๑๕ รููป และในจัังหวััดขอนแก่่นทุุกอำเภอ รวมทั้้ง� หมดจำนวน ๕๐๐ รููป เข้้าฝึึกอบรมตามหลักั สูตู รในโครงการ พััฒนาและส่ง่ เสริิมบทบาทของสามเณรที่่ม� ีีต่่อสังั คม เป็น็ เวลา ๕ วันั ๙. พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็็นสถานที่่�ตั้�งศููนย์์ศึึกษาพระพุุทธศาสนาวัันอาทิิตย์์ (สัตั ตาหศึึกษา) จนถึึงปััจจุุบันั เป็็นเวลา ๒๖ ปีี ๑๐. พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็็นสถานที่�่ประชุมุ ระดัับผู้�บริิหารศูนู ย์์ศึึกษาพระพุุทธ ศาสนาวันั อาทิิตย์์ทั่่ว� ประเทศ จำนวน ๒๕๐ รููป/คน จััดโดยกรมการ ศาสนา กระทรวงศึึกษาธิกิ าร เป็น็ เวลา ๓ วััน

66 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ ๑๑. พ.ศ. ๒๕๒๒ เป็็นสถานที่่�ประชุุมระดัับผู้�บริิหารโรงเรีียนการศึึกษา ผู้�ใหญ่่สำหรัับพระภิิกษุุสามเณรทั่่�วประเทศ จำนวน ๑๕๐ รููป/คน จัดั โดยศููนย์ก์ ารศึึกษานอกโรงเรีียน เป็็นเวลา ๓ วััน ๑๒. พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็็นสถานที่่�ตั้ง� โรงเรียี นประภััสสรวิทิ ยา (ร.ร.พระปริิยััติิ ธรรม แผนกสามััญศึึกษา (ม.๓–ม.๖) สำหรัับพระภิิกษุุสามเณร เรีียนควบคู่่�กัันไปกัับแผนกธรรม-บาลีี) ถึึงปััจจุบุ ััน เป็น็ เวลา ๔๐ ปีี ๑๓. พ.ศ. ๒๕๒๕ จัดั ให้ม้ ีีพิธิ ีีบวชเนกขัมั มจารีี เนกขัมั มจารินิ ีี จำนวน ๒๙๙ คน เพื่่�อถวายเป็็นพระราชกุุศลแด่่ พระบููรพมหากษััตริิยาธิิราชเจ้้า ในพระบรมราชจัักรีีวงศ์์ เนื่่�องในอภิิลัักขิิตสมััยฉลองสมโภช กรุุงรัตั นโกสิินทร์์ครบ ๒๐๐ ปีี เป็น็ เวลา ๙ วันั ๑๔. พ.ศ. ๒๕๒๘ โรงเรียี นประภััสสรวิิทยา วััดศรีีนวล นำนัักเรียี น (พระ เณร) จำนวน ๔๐๐-๕๐๐ รููป ไปเข้้าฝึึกอบรมวิิปััสสนากรรมฐานที่่� วััดป่่าที่่�อำเภอบ้้านไผ่่ จัังหวััดขอนแก่่น ตามโครงการพััฒนาและ ปลููกฝัังคุุณธรรมแก่่นัักเรีียน และปีีต่่อ ๆ มา ได้้เปลี่�่ยนสถานที่�่ ฝึึกอบรมไปแห่ง่ ใหม่ท่ ุกุ ปีีติิดต่่อกันั มาถึึงปัจั จุุบััน เป็็นเวลา ๑๕ ปีี ๑๕. พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็็นสถานที่�่ตั้ �งสำนัักงานศููนย์์ครููพระปริิยััติินิิเทศก์์ จัังหวััดขอนแก่่น ซึ่�่งมีีพระกิิตติิญาณโสภณ เจ้้าอาวาสวััดศรีีนวล เป็็นหััวหน้า้ ศูนู ย์์ ๑๖. พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็็นสถานที่�่อุุปสมบทข้้าราชการและประชาชนทั่่�วไป จำนวน ๙๙ คน เพื่่�อถวายเป็็นพระราชกุุศลเนื่่�องในพระราชพิิธีี ถวายพระเพลิิงพระบรมศพ สมเด็็จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีี สมเด็จ็ ย่า่ จัดั โดยกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงศึึกษาธิกิ าร

พระไม้ล้ ายมือื บรรพชนคนไทยอีสี าน 67 ๑๗. พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็น็ สถานที่�ต่ั้ง� สำนัักงานสภาสงฆ์จ์ ัังหวััดขอนแก่น่ ซึ่ง่� มีี เจ้้าอาวาสวััดศรีีนวล รองเจ้้าคณะจัังหวััดขอนแก่่น เป็็นประธาน สภาสงฆ์์ ๑๘. พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็็นสถานที่่�จััดบรรพชาสามเณร (นัักศึึกษาระดัับ ป.วช.,ป.วส.) จำนวน ๘๗ คน เพื่่�อเข้้าฝึึกอบรมให้้เลิิกการเสพสาร เสพติดิ ต่า่ ง ๆ จััดโดยกรมการศึึกษานอกโรงเรีียน ตามนโยบายของ กระทรวงศึึกษาธิกิ าร ในระหว่า่ งพรรษา เป็็นเวลา ๓ เดือื น ๑๙. พ.ศ. ๒๕๔๑ กองบัญั ชาการการศึึกษาตำรวจแห่ง่ ชาติิ โดยกองกำกับั การโรงเรีียนตำรวจภููธร ๔ ขอนแก่่น ร่่วมกัับสาธุุชนชาวขอนแก่่น จััดพิธิ ีีอุปุ สมบทหมู่่�ข้้าราชการตำรวจและนักั เรีียนพลตำรวจ จำนวน ๙๔ นาย - พ.ศ. ๒๕๔๒ กองกำกับั การตำรวจภููธร ๔ นำตำรวจ จำนวน ๑๐๓ นาย อุุปสมบทน้้อมเกล้้าฯ ถวายเป็็นพระราชกุุศล เนื่่�องในวโรกาสที่่�พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััว ทรงเจริิญ พระชนมายุพุ รรษาครบ ๗๒ พระนัักษััตร - พ.ศ. ๒๕๔๓ กองกำกับั การตำรวจภููธร ๔ นำตำรวจ จำนวน ๗๖ นาย อุปุ สมบทเฉลิิมพระเกีียรติิ ๕ ธันั วามหาราช ทั้้ง� ๓ ปีีนี้้� อุุปสมบท ณ พัทั ธสีีมา วััดศรีีนวล ขอนแก่น่ โดยมีี พระกิิตติิ ญาณโสภณ เจ้้าอาวาสวััดศรีีนวล และรองเจ้า้ คณะจังั หวัดั ขอนแก่่น เป็น็ พระ อุปุ ัชั ฌาย์์ เมื่อ� อุปุ สมบทแล้ว้ ส่ง่ ไปเข้า้ ฝึกึ อบรมวิปิ ัสั สนากรรมฐาน ณ ศูนู ย์ป์ ฏิบิ ัตั ิิ ธรรมสวนเวฬุุวััน บ้้านเนิินทอง ตำบลบ้้านค้้อ อำเภอเมืืองขอนแก่่น จัังหวััด ขอนแก่่น สาขาของวััดอััมพวััน จัังหวััดสิิงห์์บุุรีี โดยมีีพระธรรมสิิงหบุุราจารย์์

68 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ (หลวงพ่่อจรััญ ฐิิตธมฺฺโม) เจ้้าคณะจัังหวััดสิิงห์์บุุรีีในขณะนั้้�น เป็็นผู้้�อุุปถััมภ์์ เป็น็ เวลา ๑๐ วันั แล้ว้ ลาสิกิ ขา ปััจจุุบัันนี้้�มีีป้้ายติิดไว้้ด้้านหน้้าวััดศรีีนวล ข้้อความว่่า “ศููนย์์บรรพชา อุปุ สมบทเฉลิมิ พระเกีียรติพิ ระบาทสมเด็จ็ พระเจ้า้ อยู่่�หัวั กองกำกับั การโรงเรียี น ตำรวจภููธร ๔ ขอนแก่่น”และเป็็นสถานที่่�ตั้�งสำนัักงานชมรมผู้�สููงอายุุ จัังหวััด ขอนแก่น่ (สอก.) ด้้วย สมเด็็จพระสังั ฆราช สมเด็็จพระสัังฆราชเจ้้า กรมหลวงชิินวราลงกรณ วััดราชบพิิธสถิิต มหาสีีมารามราชวรวิิหาร พ.ศ. ๒๕๑๘ เสด็็จมาเป็็นองค์์ประธานประกอบพิิธีียกช่่อฟ้้าอุุโบสถ วััดศรีีนวล พ.ศ. ๒๕๒๔ เสด็จ็ มาทรงตรวจการคณะสงฆ์์ ภาคตะวันั ออกเฉีียงเหนือื แล้้ว ทรงแวะเยี่่ย� มคารวะศพหลวงปู่�เจ้า้ คุณุ พระราชสารธรรมมุนุ ีี พ.ศ. ๒๕๒๕ เสด็็จมาเป็็นองค์์ประธานในงานพระราชทานเพลิิงศพ หลวงปู่�เจ้้าคุณุ พระราชสารธรรมมุนุ ีี อดีีตเจ้า้ คณะจัังหวััดขอนแก่่น

พระไม้้ลายมือื บรรพชนคนไทยอีสี าน 69

70 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕

พระไม้้ลายมือื บรรพชนคนไทยอีสี าน 71

72 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕

พระไม้้ลายมืือ บรรพชนคนไทยอีีสาน 73 ภาคผนวก

74 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ ปัักกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ วันั ที่่� ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๑๕.๐๐ น. รองศาสตราจารย์์ ดร.นิยิ ม วงศ์พ์ งษ์ค์ ำ รองอธิกิ ารบดีีฝ่า่ ยศิลิ ปวัฒั นธรรมและเศรษฐกิจิ สร้า้ งสรรค์์ พร้้อมด้้วยผู้้�ช่่วยอธิิการบดีีฝ่่ายศิิลปวััฒนธรรมและเศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ ผู้้�ช่่วยอธิิการบดีีฝ่่ายกิิจกรรมพิิเศษ และผู้้�อำนวยการศููนย์์ศิิลปวััฒนธรรม ได้เ้ ดินิ ทางไปวัดั ศรีีนวล เพื่่อ� กราบนมัสั การคณะสงฆ์ใ์ นอารามนำโดยเจ้า้ อาวาส และคณะกรรมการวััด เพื่่�อปัักกฐิินในกฐิินกาล ๒๕๖๕ โดยกำหนดทอดกฐิิน วัันเสาร์์ที่�่ ๒๒ ตุุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ในพิิธีีกรรมการทอดกฐิินมหาวิิทยาลััยขอนแก่่นปีีนี้้� เป็็นการจััดงาน ในครรลองพุทุ ธศาสนาและประเพณีีท้อ้ งถิ่น� อีีสาน

พระไม้้ลายมือื บรรพชนคนไทยอีสี าน 75

76 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ กำหนดการ การทอดกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๕ ระหว่า่ งวันั ที่่� ๒๑-๒๒ ตุลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ วัดั ศรีนี วล ตำบลในเมืือง อำเภอเมืือง จัังหวััดขอนแก่น่ ************************** วัันศุกุ ร์ท์ ี่่� ๒๑ ตุุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (แรม ๑๑ ค่่ำ เดืือน ๑๑) พิิธีีสมโภช องค์ก์ ฐิิน เวลา ๐๘.๐๐ น. ตั้�งจุุดรัับบริิจาคจตุุปััจจััย ณ วััดศรีีนวล อำเภอเมืือง จัังหวัดั ขอนแก่น่ เวลา ๑๗.๕๐ น. พระสงฆ์์จำนวน ๑๐ รููป เดิินทางมาถึึงบริเิ วณพิิธีี เวลา ๑๘.๓๐ น. เข้า้ สู่�ลำดับั พิิธีีการ - อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประธานในพิิธีี จุดุ ธูปู เทีียนบููชาพระรัตั นตรัยั - ศาสนพิิธีีกรนำกล่า่ วคำบููชาพระรััตนตรัยั - ศาสนพิิธีีกรกล่่าวคำอาราธนาพระปริติ ร - พระสงฆ์จ์ ำนวน ๑๐ รููป เจริญิ พระพุทุ ธมนต์์ - ประธานพิธิ ีีจุุดเทีียนส่่องธรรมหน้้าธรรมาสน์์ - ศาสนพิิธีีกรนำกล่่าวอาราธนาศีีล - ประธานสงฆ์ใ์ ห้ศ้ ีีล

พระไม้้ลายมือื บรรพชนคนไทยอีีสาน 77 - ศาสนพิิธีีกรกล่่าวคำอาราธนาธรรม - ประธานสงฆ์แ์ สดงพระธรรมเทศนา ๑ กััณฑ์์ - ประธานในพิิธีีถวายกัณั ฑ์์เทศน์์และผ้้าไตร - ประธานในพิธิ ีีและแขกผู้้�มีีเกีียรติถิ วาย เครื่�องจตุปุ ััจจัยั ไทยธรรม - พระสงฆ์์ถวายอนุุโมทนา ประธานในพิิธีีและแขก ผู้�มีเกีียรติกิ รวดน้้ำรัับพร - ประธานในพิธิ ีีกราบพระรัตั นตรัยั และกราบลาพระสงฆ์์ เวลา ๒๐.๐๐ น. - การแสดงวงโปงลางสินิ ไซ/ การแสดงศิลิ ปินิ แห่ง่ ชาติ/ิ การแสดงศิลิ ปิินมรดกอีีสาน วัันเสาร์์ที่่� ๒๒ ตุุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (แรม ๑๒ ค่่ำ เดืือน ๑๑) พิิธีีถวาย ผ้้ากฐินิ เวลา ๐๙.๐๐ น. ตั้ง� ขบวนแห่ก่ ฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ณ โรงเรีียนกัลั ยาณวััตร อำเภอเมืือง จังั หวััดขอนแก่่น รองศาสตราจารย์์ นพ.ชาญชััย พานทองวิิริิยะกุุล อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น นำขบวนอััญเชิิญ ผ้า้ กฐิินและเครื่อ� งบริิวารเวีียนรอบประทัักษิณิ ๓ รอบ และอััญเชิิญผ้้ากฐิินไปประดิิษฐานที่�่โต๊๊ะหมู่่�บููชา ณ ศาลาการเปรีียญ อัญั เชิญิ องค์ก์ ฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ขึ้้น� ตั้้ง� ณ ศาลา การเปรียี ญ วัดั ศรีีนวล - ประธานในพิิธีีประกอบพิิธีีทอดถวายกฐิินโดย รองศาสตราจารย์์ นพ.ชาญชััย พานทองวิิริิยะกุุล อธิิการบดีีมหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น

78 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ - พระสงฆ์์กระทำพิธิ ีีอปโลกน์์ - ประธานในพิธิ ีีนำถวายเครื่อ� งบริวิ ารกฐินิ แด่ป่ ระธาน สงฆ์์ และคณะผู้�บริิหารมหาวิิทยาลััย บุุคลากร นัักเรีียน นัักศึึกษา แขกผู้้�มีีเกีียรติิ ตลอดจน พุทุ ธศาสนิกิ ชน ร่ว่ มกันั ถวายจตุปุ ัจั จัยั ไทยธรรมและ เครื่�องบริิวารกฐิินอื่่น� ๆ แด่่พระสงฆ์์ - พระสงฆ์อ์ นุโุ มทนา ประธานในพิธิีีและแขกผู้้�มีีเกีียรติิ กรวดน้้ำ รับั พร เวลา ๑๐.๓๐ น. เป็น็ เสร็จ็ พิิธีี หมายเหตุุ การแต่่งกาย : ชุดุ สุุภาพ/ชุดุ ผ้้าไทย

พระไม้้ลายมืือ บรรพชนคนไทยอีีสาน 79 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี ๒๕๑๕-๒๕๖๔ วันั เดือื น ปีี ประเภท วััด วันั เสาร์ท์ ี่่� ๗ กฐิินมหาวิิทยาลััย วััดป่่าภููตะคาม ตำบลท่่าศิิลา พฤศจิิกายน ขอนแก่น่ อำเภอส่่องดาว จังั หวััดสกลนคร ๒๕๖๔ วัดั ไชยศรีี บ้า้ นสาวะถีี วัันเสาร์์ที่่� ๓ กฐิินมหาวิิทยาลัยั อำเภอเมือื ง จังั หวัดั ขอนแก่น่ ตุุลาคม ขอนแก่น่ ๒๕๖๓ วัดั พระธาตุุพนมวรมหาวิิหาร อำเภอธาตุุพนม วัันที่�่ ๒๖-๒๗ กฐินิ พระราชทาน จังั หวััดนครพนม ตุุลาคม วัดั สว่่างสุุทธาราม ๒๕๖๒ บ้า้ นหนองกุงุ อำเภอเมือื ง จังั หวัดั ขอนแก่่น วัันที่�่ ๒๖-๒๗ กฐินิ มหาวิิทยาลััย วัดั ป่่าอดุลุ ยาราม ตุุลาคม ขอนแก่่น อำเภอเมือื ง จังั หวััดขอนแก่น่ ๒๕๖๑ วัดั พุทุ ธคยา ตำบลพุทุ ธคยา วันั ที่่� ๖-๗ กฐินิ มหาวิิทยาลัยั อำเภอคยา จัังหวัดั มคธ ตุุลาคม ขอนแก่น่ รัฐั พิหิ าร สาธารณรัฐั อินิ เดีีย ๒๕๖๐ วันั ที่่� ๓๑ ตุลุ าคม กฐิินมหาวิิทยาลัยั -๑ พฤศจิิกายน ขอนแก่น่ ๒๕๕๙

80 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ วััน เดืือน ปีี ประเภท วัดั วันั ที่่� ๑๕ กฐินิ พระราชทาน วัดั พระธาตุพุ นมวรมหาวิหิ าร พฤศจิิกายน อำเภอธาตุุพนม จังั หวัดั นครพนม ๒๕๕๘ กฐินิ มหาวิทิ ยาลััย วันั ที่�่ ๑๙ ขอนแก่่น วััดอัมั พวัันม่่วงน้อ้ ย ตุุลาคม กฐิินมหาวิิทยาลััย อำเภอเมือื ง จังั หวัดั กาฬสินิธุ์์� ๒๕๕๗ ขอนแก่น่ วันั ที่�่ ๑๐ กฐิินมหาวิิทยาลััย วัดั ท่า่ แขก ตำบลเชีียงคาน พฤศจิิกายน ขอนแก่น่ อำเภอเชีียงคาน จัังหวัดั เลย ๒๕๕๖ กฐิินพระราชทาน วันั ที่�่ ๑๑ วััดเวฬุุวันั ตำบลนิิคม พฤศจิิกายน อำเภอสหัสั ขัันธ์์ จังั หวััดกาฬสิินธุ์์� ๒๕๕๕ วัันที่่� ๕-๖ วัดั พระธาตุหุ ลวง (เหนือื ) พฤศจิกิ ายน นครหลวงเวีียงจัันทน์์ ๒๕๕๔ สาธารณรััฐประชาธิปิ ไตย ประชาชนลาว วันั ที่�่ ๒๔ กฐินิ มหาวิทิ ยาลััย วััดเรือื งอุุทัยั ศิริ ิมิ งคล ตุุลาคม ขอนแก่น่ บ้้านหมากเลื่อ� ม ตำบลลำภูู ๒๕๕๓ อำเภอเมือื ง จัังหวััดหนองบััวลำภูู

พระไม้้ลายมืือ บรรพชนคนไทยอีสี าน 81 วััน เดืือน ปีี ประเภท วัดั วันั ที่่� ๑๔ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั วััดป่่ากมโลสานิติ ยานุสุ รณ์์ พฤศจิิกายน ขอนแก่น่ อำเภอวังั สามหมอ ๒๕๕๓ จัังหวัดั อุุดรธานีี (หมายเหตุุ กฐิินพระราชทาน ปีี ๒๕๕๓ วััดพระธาตุุพนมวรมหาวิหิ าร ทอด ๒ ครั้�ง) อำเภอธาตุพุ นม จังั หวัดั นครพนม วัันที่�่ ๒๕ ตุุลาคม วัดั ดอนสีีดาราม ๒๕๕๒ บ้า้ นนานกเค้า้ ตำบลห้้วยยาง อำเภอเมือื ง จังั หวัดั สกลนคร ปีี ๒๕๕๑ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั วัดั ป่า่ สันั ติกิ าวาส ขอนแก่่น ตำบลไชยวาน อำเภอไชยวาน จัังหวัดั อุดุ รธานีี ปีี ๒๕๕๐ กฐินิ มหาวิิทยาลััย วัดั พระธาตุุพนมวรมหาวิิหาร ปีี ๒๕๔๙ ขอนแก่น่ อำเภอธาตุพุ นม จังั หวััดนครพนม กฐินิ พระราชทาน วัดั ป่า่ อรััญบรรพต อำเภอศรีเี ชีียงใหม่่ วัันที่�่ ๙ กฐินิ มหาวิิทยาลััย จัังหวััดหนองคาย พฤศจิิกายน ขอนแก่่น ๒๕๔๘

82 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ วััน เดืือน ปีี ประเภท วััด วันั ที่�่ ๗ กฐิินมหาวิิทยาลััย วัดั ป่า่ กาญจนาภิเิ ษก พฤศจิิกายน ขอนแก่่น บ้า้ นโคกโก่ง่ ตำบลบ้า้ นเรืือ ๒๕๔๗ อำเภอภููเวีียง จังั หวััดขอนแก่่น กฐินิ พระราชทาน วััดพระธาตุุพนมวรมหาวิหิ าร ปีี ๒๕๔๖ อำเภอธาตุพุ นม จังั หวัดั นครพนม วััดมัชั ฌิิมาวาส บ้้านดงเมือื ง วันั ที่่� ๑๓ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั ตำบลลำพา อำเภอเมือื ง ตุลุ าคม ขอนแก่น่ จัังหวััดกาฬสินิ ธุ์� ๒๕๔๔ วััดผาน้้ำทิิพย์์ ตำบลผาน้ำ้ ย้้อย วัันที่่� ๑๔ กฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั อำเภอหนองพอก จัังหวััดร้อ้ ยเอ็ด็ ตุุลาคม ขอนแก่่น ๒๕๔๓ วัดั ป่า่ บ้า้ นโนนม่ว่ ง (สาขาหลวงปู่ศ�่ รีี) วัันที่่� ๖ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั อำเภอเมือื ง จัังหวััดขอนแก่่น ตุุลาคม ขอนแก่น่ ๒๕๔๒ วััดพระธาตุุอารามหลวง วันั ที่่� ๓๑ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั อำเภอเมือื ง จังั หวััดขอนแก่่น ตุุลาคม ขอนแก่่น ร่ว่ มกัับ ปีี ๒๕๔๑ กรมทางหลวง วัดั พระธาตุุพนมวรมหาวิหิ าร ปีี ๒๕๔๐ กฐินิ พระราชทาน อำเภอธาตุพุ นม จังั หวััดนครพนม

พระไม้ล้ ายมืือ บรรพชนคนไทยอีสี าน 83 วันั เดือื น ปีี ประเภท วััด วันั ที่�่ ๑๖ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั วััดหนองกุงุ อำเภอน้้ำพอง พฤศจิกิ ายน ขอนแก่น่ จัังหวััดขอนแก่น่ ๒๕๓๙ กฐิินมหาวิิทยาลัยั วัดั สระบััวแก้ว้ บ้้านวังั คูณู วัันที่�่ ๔ ขอนแก่่น ตำบลหนองเม็็ก พฤศจิกิ ายน อำเภอหนองสองห้อ้ ง ๒๕๓๘ จัังหวััดขอนแก่น่ วััดมิ่�งเมือื งพัฒั นาราม บ้า้ นภููเวีียง วัันที่่� ๑๓ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั ตำบลภููเวีียง อำเภอภูเู วีียง พฤศจิกิ ายน ขอนแก่่น จัังหวัดั ขอนแก่่น ๒๕๓๗ กฐินิ พระราชทาน วัดั หนองแวงพระอารามหลวง ปีี ๒๕๓๖ อำเภอเมืือง จัังหวัดั ขอนแก่่น วันั ที่่� ๙ กฐินิ มหาวิทิ ยาลััย วััดพระธาตุุบังั พวน พฤศจิิกายน ขอนแก่น่ จังั หวััดหนองคาย ๒๕๓๔ กฐิินมหาวิิทยาลัยั วััดเวีียงคุกุ จัังหวััดหนองคาย วัันที่�่ ๒๗ ขอนแก่น่ และวัดั ฝั่ง� สาธารณรัฐั ประชาธิปิ ไตย ตุลุ าคม ประชาชนลาว ๒๕๓๓ วัดั ป่า่ เกษตราโพธิสิ ัจั จธรรม อำเภอวารินิ ชำราบ จังั หวัดั อุบุ ลราชธานีี และวััดป่่านานาชาติิ อำเภอเมืือง จังั หวัดั อุบุ ลราชธานีี

84 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ วััน เดืือน ปีี ประเภท วัดั กฐินิ มหาวิิทยาลัยั วัดั ป่่าโนนม่ว่ ง อำเภอเมืือง วัันที่�่ ๔ ขอนแก่่น จัังหวัดั ขอนแก่น่ พฤศจิกิ ายน ๒๕๓๒ กฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั วััดป่่าอดุลุ ยาราม อำเภอเมือื ง ขอนแก่่น จัังหวัดั ขอนแก่่น วันั ที่่� ๕ พฤศจิกิ ายน กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั วัดั ป่า่ มหาวนาราม บ้า้ นโนนม่่วง ๒๕๓๒ ขอนแก่น่ อำเภอเมืือง จัังหวััดขอนแก่่น (หมายเหตุุ ปีี ๒๕๓๒ กฐิินมหาวิิทยาลัยั วัดั ป่่ามหาวนาราม บ้า้ นโนนม่่วง ทอด ๒ ครั้ง� ) ขอนแก่่น อำเภอเมืือง จัังหวััดขอนแก่่น วันั ที่�่ ๕ กฐิินมหาวิิทยาลััย วััดป่า่ อดุลุ ยาราม อำเภอเมืือง พฤศจิิกายน ขอนแก่่น จังั หวัดั ขอนแก่น่ ๒๕๓๑ กฐินิ มหาวิิทยาลัยั วัดั จุฬุ ามณีี อำเภอเมืือง วันั ที่่� ๓๑ ขอนแก่น่ จังั หวััดพิษิ ณุโุ ลก ตุุลาคม ๒๕๓๐ วันั ที่่� ๙ พฤศจิิกายน ๒๕๒๙ วัันที่�่ ๒๓-๒๔ พฤศจิิกายน ๒๕๒๘

พระไม้้ลายมืือ บรรพชนคนไทยอีสี าน 85 วันั เดือื น ปีี ประเภท วััด กฐิินพระราชทาน วัดั พระธาตุพุ นมวรมหาวิหิ าร วัันที่่� ๓ อำเภอธาตุุพนม จัังหวัดั นครพนม พฤศจิกิ ายน กฐิินมหาวิทิ ยาลััย ๒๕๒๗ ขอนแก่น่ วััดดอยเทพสมบููรณ์์ อำเภอหนองบัวั ลำภูู วัันที่�่ ๑๓ กฐินิ มหาวิิทยาลัยั จังั หวััดอุดุ รธานีี พฤศจิิกายน ขอนแก่น่ วััดป่า่ มหาวนาราม บ้า้ นโนนม่่วง ๒๕๒๖ กฐิินมหาวิทิ ยาลััย อำเภอเมืือง จังั หวัดั ขอนแก่น่ ขอนแก่น่ วััดโพธิ์ค� ำ อำเภอธาตุพุ นม ปีี ๒๕๒๕ จังั หวัดั นครพนม กฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั วันั ที่�่ ๒๐ ขอนแก่น่ วัดั สิงิ ห์ท์ อง บ้า้ นหัวั ฝาย ตุลุ าคม กิ่ง� อำเภอเปือื ยน้อ้ ย ๒๕๒๔ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั จังั หวัดั ขอนแก่น่ ขอนแก่่น วัดั โนนสีีเรืือง บ้้านโนนสีีเรืือง วันั ที่�่ ๑๕ ตำบลบ้้านค้อ้ อำเภอเมืือง พฤศจิิกายน กฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั จัังหวัดั ขอนแก่น่ ๒๕๒๓ ขอนแก่น่ วััดชััยศรีี บ้า้ นเสีียว อำเภอน้้ำพอง วันั ที่�่ ๒๘ จังั หวััดขอนแก่น่ ตุุลาคม ๒๕๒๒ วัันที่�่ ๑๑ พฤศจิิกายน ๒๕๒๑

86 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำ�ำ ปีี ๒๕๖๕ วันั เดืือน ปีี ประเภท วัดั วัันที่�่ ๒๐ กฐิินมหาวิทิ ยาลัยั วัดั ศรีีประทุุมวนาราม บ้า้ นฝาง พฤศจิกิ ายน ขอนแก่่น กิ่ง� อำเภอบ้า้ นฝาง จังั หวัดั ขอนแก่น่ ๒๕๒๐ วันั ที่่� ๒ กฐิินมหาวิทิ ยาลััย วััดพระธาตุุขามแก่่น พฤศจิิกายน ขอนแก่่น ตำบลบ้า้ นขาม อำเภอน้้ำพอง ๒๕๑๙ จังั หวัดั ขอนแก่่น วัันที่�่ ๑๖ กฐินิ มหาวิิทยาลััย วััดพระธาตุขุ ามแก่น่ พฤศจิกิ ายน ขอนแก่น่ ตำบลบ้้านขาม อำเภอน้้ำพอง ๒๕๑๘ จัังหวัดั ขอนแก่่น วันั ที่่� ๑๐ กฐิินมหาวิิทยาลัยั วัดั โพธิ์ท� อง บ้า้ นกงกลาง พฤศจิกิ ายน ขอนแก่่น ตำบลบ้้านกง อำเภอหนองเรืือ ๒๕๑๖ จัังหวัดั ขอนแก่น่ วัันที่�่ ๑๘ กฐิินพระราชทาน วัดั พระธาตุุพนมวรมหาวิิหาร พฤศจิิกายน อำเภอธาตุพุ นม จังั หวัดั นครพนม ๒๕๑๕ ไม่ท่ ราบปีี พ.ศ. ที่่�แน่ช่ ัดั วัดั บรรพตคีีรีี (วััดภูจู ้อ้ ก้อ้ ) หลวงปู่�หล้า้ เขมปััตโต จัังหวััดมุกุ ดาหาร วััดโพธิสิ มภรณ์์ ตำบลหมากแข้ง้ อำเภอเมืือง จังั หวัดั อุุดรธานีี วัดั ในอำเภอกัันทรวิิชััย จังั หวัดั มหาสารคาม วัดั ในจังั หวััดบุรุ ีีรัมั ย์์

พระไม้ล้ ายมืือ บรรพชนคนไทยอีสี าน 87 หมายเหตุ ุ ข้อ้ มููลจากหนัังสืือที่ร่� ะลึึกงานถวายผ้า้ กฐินิ พระราชทาน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๕๒ ขอบคุณุ ข้้อมููลจาก หอจดหมายเหตุมุ หาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ www.archives.kku.ac.th

88 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ รายนามผู้�บริิหาร บุุคลากร และผู้้�มีจี ิิตศรัทั ธา จองบริวิ าร กฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๕ ณ วัดั ศรีีนวล ตำบลในเมืือง อำเภอเมืือง จังั หวัดั ขอนแก่น่ ลำดับั ชื่่�อ – สกุุล ตำแหน่ง่ รายการ ที่่� ๑ รองศาสตราจารย์์ อธิิการบดีี ผ้า้ ไตรมิิสลิิน ๙ ขันั ธ์์ นพ.ชาญชััย มหาวิิทยาลัยั ๒*๓ เมตร พานทองวิิริิยะกุลุ ขอนแก่น่ ราชนิิยม ๓,๕๐๐ บาท ๒ ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีี ผ้้าไตรโทเร นพ.ธรา ธรรมโรจน์์ ฝ่่ายบริิหาร ๒*๓ เมตร ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ผ้า้ ห่ม่ นวม เนื้้อ� ละเอีียด ๑ ผืนื ๕๕๐ บาท ๓ รองศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีี ตาลปัตั รไหมไทยปััก ดร.นิิยม วงศ์์พงษ์ค์ ำ ฝ่า่ ยศิลิ ป โลโก้้ มข. ด้า้ มมุกุ วััฒนธรรมและ ๑ เล่ม่ ๑,๕๐๐ บาท เศรษฐกิจิ สร้้างสรรค์์

พระไม้้ลายมือื บรรพชนคนไทยอีีสาน 89 ลำดับั ชื่่�อ – สกุลุ ตำแหน่ง่ รายการ ที่่� ผ้า้ ไตรโทเร ๒*๓ เมตร ๑ ไตร ๑,๒๐๐ บาท ๔ ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์อ์ าวุธุ รองอธิกิ ารบดีี กระติิกน้้ำร้อ้ น ๑ ใบ ยิ้�มแต้้ ฝ่า่ ยโครงสร้้าง ๗๕๐ บาท พื้้�นฐานและ ที่่�นอนพระ สิ่ง� แวดล้้อม ยาว ๒ เมตร ๑ ชุดุ ๔๕๐ บาท ๕ ศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีี ย่า่ มไหมไทย ดร.มนต์ช์ ัยั ดวงจิินดา ฝ่่ายวิจิ ัยั และ ปัักโลโก้้ มข. ๒ ใบ บััณฑิิตศึึกษา ๑,๕๐๐บาท ๖ รองศาสตราจารย์์ รองอธิกิ ารบดีี ชุุดไทยธรรมชุดุ พิิเศษ ดร.เกรีียงไกร กิิจเจริญิ ฝ่่ายทรัพั ยากร ชุดุ ที่่� ๒ บุคุ คล ๑,๔๐๐ บาท ๗ รองศาสตราจารย์์ รองอธิิการบดีี ชุุดเครื่�องโยธา ๑ ชุดุ ดร.ไมตรีี อินิ ทร์ป์ ระสิทิ ธิ์์� ฝ่่ายการศึึกษา ๘๐๐ บาท และบริกิ าร ที่่น� อนพระ วิิชาการ ยาว ๒ เมตร ๑ ชุุด ๔๕๐ บาท

90 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ ลำดับั ชื่่อ� – สกุลุ ตำแหน่ง่ รายการ ที่่� ๘ รองศาสตราจารย์์ รองอธิิการบดีี ตาลปัตั รไหมไทย เพีียรศักั ดิ์์ � ภัักดีี ฝ่า่ ยพััฒนา ปักั โลโก้้ มข. ด้า้ มมุกุ นัักศึึกษาและ ๑ เล่่ม ๑,๕๐๐ บาท ศิษิ ย์เ์ ก่่าสัมั พัันธ์์ ๙ ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ผู้้�ช่่วยอธิกิ ารบดีี ตาลปัตั รไหมไทย ดร.พิพิ ัธั น์์ เรือื งแสง ฝ่า่ ยดิิจิทิ ัลั ปัักโลโก้้ มข. ด้า้ มมุุก ๒ เล่่ม ๓,๐๐๐ บาท ๑๐ ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ผู้้�ช่่วยอธิกิ ารบดีี ผ้้าไตรโทเร ดร.สมพงษ์์ สิิทธิพิ รหม ฝ่า่ ยรัักษา ๒*๓ เมตร ๒ ไตร ความปลอดภััย ๒,๔๐๐ บาท ๑๑ ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ผู้้�ช่่วยอธิกิ ารบดีี ผ้้าไตรโทเร นพ.ศักั ดา วราอัศั วปติิ ฝ่่ายวางแผน ๒*๓ เมตร ๑ ไตร และพััฒนา ๑,๒๐๐ บาท คุุณภาพ ร่่ม ๓๐ นิ้้�ว สีีราชนิิยม ๑ อััน ๑๒ ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ผู้้�ช่่วยอธิิการบดีี กระติิกน้้ำร้้อน ๑ ใบ ณััฐพััชญ์ ์ อนันั ต์ธ์ ีีระกุลุ ฝ่่ายการศึึกษา ๗๕๐ บาท และบริิการ วิิชาการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook