มผช.๗๑๙/๒๕๔๗ มาตรฐานผลิตภณั ฑช มุ ชน ขนมจบี ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลติ ภณั ฑช มุ ชนนคี้ รอบคลมุ เฉพาะขนมจบี ทเ่ี กบ็ รกั ษาโดยการแชแ ขง็ หรอื แชเ ยน็ บรรจใุ นภาชนะ บรรจุ และขนสง โดยภาชนะทเี่ กบ็ รกั ษาอณุ หภมู ิ ๒. บทนยิ าม ความหมายของคาํ ที่ใชใ นมาตรฐานผลติ ภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอ ไปนี้ ๒.๑ ขนมจีบ หมายถงึ ผลติ ภณั ฑท ไี่ ดจ ากการนาํ แผน เกย๊ี วหรอื แผน แปง มาหอ ไสท ท่ี าํ จากเนอ้ื หมบู ดหยาบผสม กบั มนั หมู เนอ้ื กงุ หรอื เนอ้ื ปู อยา งใดอยา งหนง่ึ หรอื ผสมกนั อาจผสมแปง บรโิ ภค มนั แกว ไข ดว ยกไ็ ด ปรงุ รสดว ยเครอื่ งปรงุ รส เชน เกลอื นาํ้ ซอี วิ๊ พรกิ ไทย นา้ํ มนั งา อาจตกแตง ดว ยสว นประกอบอนื่ ๆ เชน ไข เคม็ หน่ั เปน ชน้ิ เลก็ เนอ้ื ปู เนอื้ กงุ อาจนาํ ไปนงึ่ ใหส กุ บรรจใุ นภาชนะบรรจุ แลว นาํ ไปแชแ ขง็ หรอื แชเ ยน็ กอ นบรโิ ภคตอ งนาํ ไปใหค วามรอ นใหส กุ ๓. คุณลักษณะท่ตี อ งการ ๓.๑ ลักษณะทวั่ ไป แผนเกย๊ี วหรอื แผน แปง ทห่ี อ ตองไมหลุดหรอื ฉีกขาด ตอ งมรี ูปทรงทด่ี ี ในภาชนะบรรจเุ ดยี วกันตองมีขนาด ใกลเคยี งกนั และไสตอ งเปนไปตามทร่ี ะบไุ วที่ฉลาก ๓.๒ สี ตองมีสที ่ดี ตี ามธรรมชาติของสวนประกอบท่ีใช ๓.๓ กลิน่ รส ตองมีกล่ินรสทีด่ ตี ามธรรมชาตขิ องสว นประกอบท่ีใช ปราศจากกลิ่นรสอน่ื ทไี่ มพึงประสงค เชน กลน่ิ หืน กลนิ่ เหม็นบดู รสเปรยี้ ว ๓.๔ ลกั ษณะเนอ้ื สัมผสั สว นที่เปน แผน เก๊ยี วหรือแผนแปงตองนมุ ไมแข็งกระดา งหรอื เละ ไสต อ งเกาะตัวกันอยางเหมาะสม เมื่อตรวจสอบโดยวิธใี หคะแนนตามขอ ๘.๑ แลว ตองไดคะแนนเฉล่ยี ของแตละลกั ษณะจากผตู รวจสอบทุกคน ไมนอ ยกวา ๓ คะแนน และไมม ลี กั ษณะใดได ๑ คะแนน จากผตู รวจสอบคนใดคนหนงึ่ -๑-
มผช.๗๑๙/๒๕๔๗ ๓.๕ ส่ิงแปลกปลอม ตอ งไมพ บสง่ิ แปลกปลอมทไ่ี มใ ชส ว นประกอบทใี่ ช เชน เสน ผม ดนิ ทราย กรวด ชนิ้ สว นหรอื สง่ิ ปฏกิ ลู จาก สตั ว ๓.๖ จุลนิ ทรยี ๓.๖.๑ จํานวนจลุ ินทรยี ท ัง้ หมด ตอ งไมเ กนิ ๑ × ๑๐๖ โคโลนตี อตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๖.๒ ซาลโมเนลลา ตอ งไมพบในตัวอยาง ๒๕ กรัม ๓.๖.๓ สตาฟโ ลคอ็ กคสั ออเรียส ตองไมพ บในตัวอยา ง ๑ กรมั ๓.๖.๔ เอสเชอรเิ ชีย โคไล โดยวิธเี อ็มพเี อน็ ตองนอ ยกวา ๓ ตอ ตวั อยาง ๑ กรมั ๔. สขุ ลกั ษณะ ๔.๑ สขุ ลักษณะในการทาํ ขนมจีบ ใหเ ปนไปตามคาํ แนะนําตามภาคผนวก ก. ๕. การบรรจุ ๕.๑ ใหบ รรจขุ นมจบี ในภาชนะบรรจทุ ส่ี ะอาด ปด ไดส นทิ และสามารถปอ งกนั การปนเปอ นจากส่งิ สกปรกภาย นอกได ๕.๒ นํ้าหนักสุทธิหรอื จาํ นวนชน้ิ ของขนมจบี ในแตล ะภาชนะบรรจุ ตอ งไมน อยกวา ท่รี ะบุไวท ่ฉี ลาก ๖. เครือ่ งหมายและฉลาก ๖.๑ ทภ่ี าชนะบรรจขุ นมจบี ทุกหนว ย อยา งนอยตอ งมเี ลข อกั ษร หรอื เครอื่ งหมายแจง รายละเอยี ดตอ ไปน้ี ใหเ หน็ ไดง าย ชดั เจน (๑) ชื่อเรียกผลติ ภณั ฑ เชน ขนมจบี ขนมจบี แชแข็ง ขนมจีบกงุ แชแข็ง ขนมจบี ปูแชแข็ง (๒) สว นประกอบทส่ี ําคญั (๓) นาํ้ หนกั สทุ ธหิ รือจํานวนชนิ้ (๔) วัน เดอื น ปท่ที าํ และวนั เดือน ปท ห่ี มดอายุ หรือขอความวา “ควรบรโิ ภคกอน (วัน เดอื น ป)” (๕) ขอ แนะนําในการบรโิ ภคและการเกบ็ รักษา (๖) ชื่อผทู ํา หรือสถานท่ที ํา พรอมสถานท่ีต้ัง หรอื เคร่อื งหมายการคา ท่ีจดทะเบียน ในกรณที ใี่ ชภ าษาตา งประเทศ ตอ งมคี วามหมายตรงกบั ภาษาไทยทกี่ าํ หนดไวข า งตน -๒-
มผช.๗๑๙/๒๕๔๗ ๗. การชกั ตวั อยา งและเกณฑตดั สนิ ๗.๑ รนุ ในทนี่ ี้ หมายถงึ ขนมจบี ทมี่ สี ว นประกอบเดยี วกนั ทาํ ในระยะเวลาเดยี วกนั ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรบั ใหเ ปน ไปตามแผนการชักตวั อยา งทกี่ ําหนดตอไปนี้ ๗.๒.๑ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบสงิ่ แปลกปลอม การบรรจุ และเครอ่ื งหมายและ ฉลาก ใหชกั ตัวอยางโดยวธิ ีสุมจากรนุ เดยี วกัน จาํ นวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลว ทุก ตัวอยางตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๕ ขอ ๕. และขอ ๖. จึงจะถือวา ขนมจีบรุน นนั้ เปนไปตามเกณฑท่ี กําหนด ๗.๒.๒ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบลกั ษณะทว่ั ไป สี กลนิ่ รส และลกั ษณะเนอ้ื สมั ผสั ให ใชตวั อยา งที่ผา นการทดสอบตามขอ ๗.๒.๑ แลว จํานวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจุ เม่อื ตรวจสอบแลว ทกุ ตัวอยา งตอ งเปนไปตามขอ ๓.๑ ถึงขอ ๓.๔ จงึ จะถือวา ขนมจีบรุนนัน้ เปน ไปตามเกณฑท่ีกําหนด ๗.๒.๓ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบจุลินทรีย ใหชักตัวอยา งโดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี ว กนั จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจุ เพอ่ื ทาํ เปน ตวั อยา งรวม โดยมนี าํ้ หนกั รวมไมน อ ยกวา ๒๐๐ กรมั กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพ่ิมโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกันใหไดตัวอยางท่ีมีน้าํ หนักรวมตามท่ี กาํ หนด เมอื่ ตรวจสอบแลว ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๖ จงึ จะถอื วา ขนมจบี รนุ นนั้ เปน ไปตามเกณฑ ทก่ี าํ หนด ๗.๓ เกณฑตัดสิน ตัวอยางขนมจีบตองเปนไปตามขอ ๗.๒.๑ ขอ ๗.๒.๒ และขอ ๗.๒.๓ ทุกขอ จึงจะถือวาขนมจีบรุนนัน้ เปน ไปตามมาตรฐานผลติ ภัณฑช มุ ชนน้ี ๘. การทดสอบ ๘.๑ การทดสอบลักษณะทั่วไป สี กลนิ่ รส และลกั ษณะเน้ือสัมผสั ๘.๑.๑ ใหแตงต้ังคณะผตู รวจสอบ ประกอบดวยผูทม่ี คี วามชํานาญในการตรวจสอบขนมจีบอยางนอ ย ๕ คน แตล ะคนจะแยกกันตรวจและใหค ะแนนโดยอสิ ระ ๘.๑.๒ วางตัวอยางขนมจีบลงบนจานกระเบือ้ งสีขาวทอ่ี ุณหภูมิหอ งจนน้ําแขง็ ละลาย ตรวจสอบลกั ษณะทั่วไป และสีโดยการตรวจพนิ จิ นาํ ตวั อยา งขนมจีบไปนง่ึ ใหร อ นหรอื สุกท่อี ุณหภูมิและระยะเวลาทเ่ี หมาะสม ตรวจสอบกลิ่นรสและลกั ษณะเนื้อสัมผัสโดยการชมิ ๘.๑.๓ หลักเกณฑการใหคะแนน ใหเปนไปตามตารางที่ ๑ -๓-
มผช.๗๑๙/๒๕๔๗ ตารางท่ี ๑ หลักเกณฑการใหค ะแนน (ขอ ๘.๑.๓) ลกั ษณะทต่ี รวจสอบ เกณฑท ี่กําหนด ระดับการตดั สิน (คะแนน) ดีมาก ดี พอใช ตองปรบั ปรุง ลักษณะทัว่ ไป แผนเกยี๊ วหรือแผนแปง ทีห่ อ ตอ งไมห ลุดหรือ ๔ ๓ ๒ ๑ ฉกี ขาด ตอ งมรี ปู ทรงทดี่ ี ในภาชนะบรรจุ เดียวกนั ตองมีขนาดใกลเ คียงกัน และไสต อ ง เปน ไปตามทร่ี ะบุไวท่ฉี ลาก สี ตอ งมีสที ี่ดีตามธรรมชาติของสวนประกอบ ๔ ๓ ๒ ๑ ท่ีใช กลนิ่ รส ตอ งมีกล่นิ รสทดี่ ีตามธรรมชาตขิ องสว น ๔๓ ๒ ๑ ประกอบท่ใี ช ปราศจากกลิ่นรสอ่ืนทไ่ี มพ ึง ประสงค เชน กลนิ่ หืน กลน่ิ เหม็นบดู รส เปรีย้ ว ลกั ษณะเนอื้ สมั ผสั สวนท่เี ปนแผน เกย๊ี วหรอื แผนแปง ตอ งนมุ ไม ๔ ๓ ๒ ๑ แข็งกระดางหรอื เละ ไสต องเกาะตัวกันอยาง เหมาะสม ๘.๒ การทดสอบสิ่งแปลกปลอม ภาชนะบรรจุ และเคร่ืองหมายและฉลาก ใหตรวจพนิ ิจ ๘.๓ การทดสอบจลุ นิ ทรีย ใหใ ชวธิ ีทดสอบตาม AOAC หรือ BAM หรอื วธิ ที ดสอบอ่ืนทเี่ ปนท่ียอมรบั ๘.๔ การทดสอบน้ําหนกั สทุ ธหิ รือจาํ นวนช้นิ ใหใ ชเ ครอื่ งชงั่ ที่เหมาะสมหรือใชวิธนี บั -๔-
มผช.๗๑๙/๒๕๔๗ ภาคผนวก ก. สขุ ลักษณะ (ขอ ๔.๑) ก.๑ สถานท่ีตัง้ และอาคารท่ีทาํ ก.๑.๑ สถานทตี่ ง้ั ตัวอาคารและทใี่ กลเ คียง อยูในท่ที ่จี ะไมท ําใหผลติ ภัณฑทที่ าํ เกดิ การปนเปอนไดงาย โดย ก.๑.๑.๑ สถานทีต่ ัง้ ตัวอาคารและบรเิ วณโดยรอบ สะอาด ไมม ีนํา้ ขังแฉะและสกปรก ก.๑.๑.๒ อยูห างจากบรเิ วณหรือสถานทที่ ี่มฝี นุ เขมา ควัน มากผิดปกติ ก.๑.๑.๓ ไมอยใู กลเคยี งกับสถานทีน่ ารังเกยี จ เชน บริเวณเพาะเลีย้ งสตั ว แหลงเกบ็ หรือกาํ จดั ขยะ ก.๑.๒ อาคารทที่ าํ มีขนาดเหมาะสม มกี ารออกแบบและกอ สรางในลกั ษณะท่ีงา ยแกการบํารุงรักษา การทาํ ความสะอาด และสะดวกในการปฏบิ ัติงาน โดย ก.๑.๒.๑ พนื้ ฝาผนงั และเพดานของอาคารท่ีทํา กอสรางดว ยวสั ดทุ ี่คงทน เรยี บ ทาํ ความสะอาด และ ซอมแซมใหอ ยใู นสภาพทดี่ ตี ลอดเวลา ก.๑.๒.๒ แยกบรเิ วณที่ทาํ ออกเปนสัดสวน ไมอยใู กลห อ งสุขา ไมมีสงิ่ ของท่ไี มใ ชแลวหรือไมเ ก่ยี วของกับ การทําอยใู นบริเวณที่ทาํ ก.๑.๒.๓ พนื้ ท่ปี ฏบิ ัติงานไมแออัด มีแสงสวา งเพียงพอ และมกี ารระบายอากาศท่ีเหมาะสม ก.๒ เคร่อื งมอื เคร่ืองจกั ร และอปุ กรณในการทํา ก.๒.๑ ภาชนะหรอื อุปกรณใ นการทําที่สมั ผัสกับผลติ ภัณฑ ทาํ จากวสั ดุมีผิวเรียบ ไมเ ปน สนมิ ลางทาํ ความ สะอาดไดง า ย ก.๒.๒ เครอ่ื งมือ เครอื่ งจักร และอุปกรณท ่ใี ช สะอาด เหมาะสมกับการใชงาน ไมก อ ใหเ กิดการปนเปอน ติดตั้งไดง าย มปี รมิ าณเพียงพอ รวมทัง้ สามารถทาํ ความสะอาดไดง า ยและทว่ั ถึง ก.๓ การควบคมุ กระบวนการทาํ ก.๓.๑ วตั ถดุ บิ และสว นผสมในการทาํ สะอาด มีคณุ ภาพดี มีการลางหรือทาํ ความสะอาดกอนนาํ ไปใช ก.๓.๒ การทํา การเก็บรักษา การขนยา ย และการขนสง ใหม กี ารปอ งกันการปนเปอ นและการเสือ่ มเสียของ ผลติ ภณั ฑ ก.๔ การสุขาภบิ าล การบาํ รุงรกั ษา และการทําความสะอาด ก.๔.๑ นํา้ ท่ใี ชลา งทําความสะอาดเคร่ืองมอื เครอ่ื งจกั ร อปุ กรณ และมือของผูทาํ เปนนํา้ สะอาดและมี ปรมิ าณเพยี งพอ ก.๔.๒ มวี ิธีการปอ งกนั และกําจดั สตั วน ําเชือ้ แมลงและฝนุ ผง ไมใหเขาในบริเวณทท่ี าํ ตามความเหมาะสม ก.๔.๓ มกี ารกาํ จดั ขยะ สง่ิ สกปรก และนา้ํ ทง้ิ อยา งเหมาะสม เพอื่ ไมก อ ใหเ กดิ การปนเปอ นกลบั ลงสผู ลติ ภณั ฑ ก.๔.๔ สารเคมีท่ีใชลางทาํ ความสะอาด และใชก ําจัดสัตวน ําเชือ้ และแมลง ใชในปรมิ าณทเ่ี หมาะสม และ เกบ็ แยกจากบริเวณทท่ี ํา เพ่ือไมใ หป นเปอ นลงสูผลิตภณั ฑได ก.๕ บุคลากรและสุขลกั ษณะของผูท าํ ผทู ําทุกคน ตอ งรกั ษาความสะอาดสวนบคุ คลใหดี เชน สวมเสือ้ ผาที่สะอาด มผี า คลุมผมเพอ่ื ปองกนั ไมใ ห เสน ผมหลนลงในผลติ ภณั ฑ ไมไ วเล็บยาว ลางมือใหสะอาดทกุ คร้งั กอ นปฏบิ ัติงาน หลังการใชหอ งสุขา และเม่อื มือสกปรก -๕-
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: