แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย สาหรบั ประชาชนไทย อายุ 19-59 ปี โดย รศ.ดร.สุพติ ร สมาหโิ ต และคณะ สานกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า พ.ศ. 2556
คานา แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสาหรบั ประชาชนท่ัวไป ทีม่ อี ายุระหวา่ ง 19-59 ปี ฉบบั นี้ ได้จดั ทาขนึ้ มาโดยดาริของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา ท่ีม่งุ หวังจะใหม้ ี แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่เี ปน็ มาตรฐาน และมีเกณฑ์มาตรฐาน สมรรถภาพทางกาย สาหรับประชาชน ชาวไทย ท่ีนบั วนั จะมีปญั หาทางดา้ นสุขภาพมากข้ึน อนั เน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ทาให้ มนุษยม์ ี ความพยายามที่จะคดิ คน้ สง่ิ ต่างๆ เพ่อื อานวยความสะดวกให้ชีวติ มีความสขุ สบาย ทาให้คนมีการใชแ้ รงกาลงั ของรา่ งกายนอ้ ยลง ส่งผลให้ขาดการออกแรง ขาดการใชแ้ รง กายจนเกดิ ปญั หาด้านสขุ ภาพขึ้น หนทางหนึ่งท่ี จะบ่งช้ถี งึ สภาวะทางสุขภาพได้ ก็คื อ จะตอ้ งมีเครอื่ งมือในการทดสอบ และมีเกณฑ์มาตรฐานสาหรบั ใชเ้ ปน็ ตวั ชีว้ ัดสภาพรา่ งกาย เป็นดัชนีบง่ ช้ีถงึ ระดับสมรรถภาพทางกายและสขุ ภาวะของบุคคล เพ่ือให้ผทู้ ีม่ หี นา้ ท่ี เกีย่ วขอ้ งจะไดใ้ ชเ้ ปน็ ข้อมูลพ้นื ฐานในการพฒั นาคุณภาพชีวิตของในภาพรวมต่อไป คณะนักวิจยั จากคณะวทิ ยาศาสตร์การกฬี า มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ขอขอบคณุ สานัก วิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา ทไ่ี ด้มอบความไว้วางใจใหค้ ณะนกั วจิ ัยได้จดั ทาภารกิจท่มี ีความสาคัญช้ินน้ี ขึน้ นอกเหนอื จากการจดั ทาคูม่ อื การทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสาหรบั ประชาชนท่ัวไป อายรุ ะหวา่ ง 19-59 ปี ฉบับนแี้ ล้ว คณะนกั วิจยั ยังไดจ้ ดั ทารายงานผลการวจิ ัย การพัฒนาแบบทดสอบและ เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสาหรบั ประชาชนท่วั ไป อายุ 19-59 ปี ควบคู่กนั ไปด้วย ทง้ั นี้ เพือ่ ประโยชน์สาหรับ นกั วชิ าการ ครู อาจารย์ นิสิต นักศึกษา และผสู้ นใจทวั่ ไป จะไดใ้ ชเ้ ป็นเอกสารทางวิชาก าร เพอ่ื การอ้างองิ และเป็นประโยชนต์ อ่ วงการวชิ าชีพต่อไป คณะนักวิจยั ขอขอบคุณ นางแสงจันทร์ วรสมุ ันต์ อธิบดีกรมพลศกึ ษา นายชลิต เขียวพุ่มพวง อดตี รองอธบิ ดีกรมพลศึกษา และผ้อู านวยการสานกั วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา นายชาญวิทย์ ผลชวี ิน รองอธิบดี กรมพลศึกษา อดตี ผอู้ านวยการสานักวทิ ยาศาสตร์การกฬี า ท่ีไดเ้ ห็นถงึ ความสาคัญ ความจาเป็น และใหก้ าร สนบั สนุนการจดั ทาโครงการนี้ ขอขอบคุณ นางสาวดารณี ลิขิตวรศัก ดิ์ หั วหนา้ กลุม่ พฒั นาเทคโนโลยที างการ กฬี า สานักวทิ ยาศาสตร์การกฬี า ที่ ไดก้ รุณาเปน็ ผ้ปู ระสานงาน จนทาให้การจดั ทาโครงการนี้ดาเนินไปได้ดว้ ย ความเรยี บร้อยและมปี ระสทิ ธภิ าพ ขอบขอบคุณผู้ประสานงานและประชาชนจากทุกจังหวัดทไี่ ด้รับการสมุ่ ให้ เปน็ กลุ่มตวั อยา่ ง และเข้าร่วมโครงการดว้ ยความตน่ื เต้น สนกุ สนาน ดว้ ยความใครร่ ู้ใคร่เห็นในกระบวนการ และนวตกรรมของการทดสอบ และใหค้ วามร่วมมืออย่างดียิ่ง โดยไมแ่ สดงอา การหน่ายเหนือ่ ย ซึ่งส่งผลให้ ขอ้ มูลจากการทดสอบมีความเที่ยงตรงมากขนึ้ จึงนบั ไดว้ ่าทุกทา่ นที่ไดก้ ลา่ วนามและไมไ่ ด้กล่าวนามไว้ ณ ท่นี ี้ มีส่วนร่วมในการทที่ าใหป้ ระเทศไทย มแี บบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสาหรับ ประชาชน ท่ัวไป ท่ีมีอายุระหว่าง 19-59 ปี ที่มีคณุ ค่าอีกฉบับหนึ่ง ซงึ่ คณะนักวิจยั ขอเชิญชวนให้ผูท้ ่มี ีสว่ นเกี่ยวข้องทกุ ทา่ นไดพ้ ิจารณานาผลงานช้ินนีไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ การเสรมิ สร้างสุขภาพและสมรรถภาพทางกายต่อไป (รองศาสตราจารย์ ดร.สุพิตร สมาหโิ ต) หัวหน้าคณะนกั วิจัย 30 สิงหาคม 2556
2 สารบัญ หนา้ 1 คานา 2 สารบญั 3 สมรรถภาพทางกาย 6 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรบั ประชาชนทว่ั ไป อายุ 19-59 ปี 8 11 ความหนาของไขมนั ใตผ้ ิวหนัง (Skinfold Thickness) 12 แรงบีบมอื (Grip Strength) 14 ยนื -น่งั บนเก้าอ้ี 60 วนิ าที (60 Seconds Chair Stand) 16 น่ังงอตวั ไปข้างหนา้ (Sir and Reach) 18 วิง่ อ้อมหลกั (Zig - Zag Run) 20 กา้ วเปน็ จงั หวะ 3 นาที (3 Minutes Step Test) 21 แบบบนั ทกึ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับประชาชนท่วั ไป อายุ 19-59 ปี 22 เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสาหรับประชาชนทวั่ ไป อายุ 19-59 ปี 23 ความหนาของไขมนั ใตผ้ วิ หนัง (Skinfold Thickness) 24 แรงบีบมือ (Grip Strength) 25 ยืน-น่งั บนเก้าอ้ี 60 วินาที (60 Seconds Chair Stand) 26 นง่ั งอตัวไปขา้ งหนา้ (Sir and Reach) 27 ว่งิ อ้อมหลกั (Zig - Zag Run) 28 กา้ วเปน็ จังหวะ 3 นาที (3 Minutes Step Test) 29 ข้อปฏบิ ัตใิ นการทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรบั ประชาชนทว่ั ไป 30 หลกั การในการจดั โปรแกรมออกกาลังกายเพ่อื พัฒนาสมรรถภาพทางกายสาหรับประชาชนทว่ั ไป เอกสารอา้ งอิง 33 รายนามคณะนกั วิจยั ในการพัฒนาแบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย สาหรับประชาชนทว่ั ไป อายุ 19-59 ปี
3 สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) ความหมายของสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย (physical fitness) หมายถงึ สภาวะของร่างกายท่อี ยใู่ นสภาพทดี่ ี เพ่อื ท่ีจะ ช่วยใหบ้ ุคคลสามารถทางาน ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ลดอัตรา ความเสย่ี ง ของปัญหาทางสุขภาพที่เป็นสาเหตุ มาจากขาดการออกกาลงั กาย สรา้ งความสมบรู ณ์และแข็งแรงของรา่ งกายในการทีจ่ ะเขา้ รว่ มกิจกรรมการออก กาลังกายได้อยา่ งหลากหลาย บุคคลท่มี สี มรรถภาพทางกายดี ก็จะสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจตา่ งๆ ใน ชวี ิตประจาวัน การออกกาลังกาย การเล่นกีฬา และการแก้ไขสถานการณ์ตา่ งๆ ได้เป็นอยา่ งดี สมรรถภาพทาง กายแบง่ ออกได้เป็น 2 ชนดิ คือ สมรรถภาพทางกายทส่ี มั พันธ์กับสุขภาพ (health–related physical fitness) และสมรรถภาพทางกายที่สมั พันธ์กับทักษะ (skill–related physical fitness) (สพุ ิตร, 2541) สมรรถภาพทางกายที่สมั พันธก์ บั สขุ ภาพ (health–related physical fitness) สมรรถภาพทางกายที่สัมพนั ธ์กบั สขุ ภาพ หมายถงึ สมรรถภาพทางกายท่เี กย่ี วข้องกับการพัฒนา สขุ ภาพและเพมิ่ ความสามารถในการทางานของรา่ งกาย ซึ่งจะมสี ว่ นชว่ ยในการลดปจั จยั เสยี่ งใน การเกดิ โรค ตา่ งๆ ได้ เชน่ โรคห ลอด เลอื ดหัวใจอุดตนั โรคความดันโลหติ สูง โรคปวดหลงั ต ลอด จนปญั หาต่างๆ ท่ีเกิด จากการขาดการออกกาลังกาย (สพุ ิตร, 2541) ซ่ึงประกอบดว้ ย 1. ความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื (muscle strength) เปน็ ความสามารถของกลา้ มเน้ือหรอื กลุ่ม กลา้ มเนอ้ื ทอ่ี อกแรง ด้วยความพยายามในครั้งหนึ่งๆ เพ่ือ ตา้ น กบั แรงตา้ นทาน ความ แข็งแร งของกล้ามเน้ือ จะทาให้เกิดความตึงตวั เพ่ือใช้แรงในการยกหรือดึงส่งิ ของตา่ งๆ ความแข็งแรงของกลา้ มเนือ้ จะชว่ ยทาให้ ร่างกายทรงตัวเป็นรูปร่างข้นึ มาได้ หรอื ท่เี รียกว่า ความแข็งแรงเพอ่ื รักษาทรวดทรง ซง่ึ จะเป็นความสามารถ ของกลา้ มเน้อื ที่ช่วยใหร้ า่ งกายทรงตัวต้านกับแรงโน้มถ่วงของโลกให้อยูไ่ ดโ้ ดยไมล่ ้ม เป็นความแข็งแรงของ กล้ามเนือ้ ทใี่ ช้ในการเคล่อื นไหวขน้ั พนื้ ฐาน เชน่ การวงิ่ การกระโดด การเขยง่ การกระโจน การกระโดดขา เดียว การกระโดดสลับเทา้ เปน็ ตน้ ความแข็งแรงอกี ชนิดหน่งึ ของกล้ามเนอื้ เรยี กวา่ ความแขง็ แรงเพอ่ื เคลือ่ นไหวในมุมตา่ งๆ ได้แก่ การเคลอ่ื นไหวแขนและขาในมมุ ต่างๆ เพ่อื เล่นเกมกีฬา การออกกาลงั กาย หรอื การเคลื่อนไหวในชีวติ ประจาวัน เปน็ ตน้ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนือ้ ในการเกร็ง เป็นความสามารถของ รา่ งกายหรอื ส่วนใดส่วนหน่งึ ของร่างกายในการต้านทานแรงท่มี ากระทาจากภายนอกโดยไม่ล้มหรือสูญเสียการ ทรงตัวไป 2. ความอดทนของกล้ามเน้อื (muscle endurance) เป็นความสามารถของกล้ามเนอ้ื ท่จี ะรกั ษา ระดับการใชแ้ รงปานกลางได้เปน็ เวลานาน โดยเป็นการออกแรงท่ีทาให้วัตถุเคลอื่ นที่ติดตอ่ กนั เป็นเวลานานๆ หรือหลายคร้ังตดิ ต่อกนั ความอดทนของกลา้ มเน้อื สามารถเพ่ิมได้มากข้ึ นโดยการเพ่ิมจานวนครัง้ ในการปฏิบัติ กจิ กรรม ซงึ่ ข้ึนอยกู่ บั ปัจจัยหลายอย่าง เช่น อายุ เพศ ระดับสมรรถภาพทางกายและชนิดของการออกกาลัง กาย
4 3. ความออ่ นตวั (flexibility) เปน็ ความสามารถของขอ้ ตอ่ ต่างๆ ของรา่ งกายทีเ่ คลอ่ื นไหวไดเ้ ตม็ ชว่ ง ของการเคล่ือนไหว การพัฒนาทางด้าน ความออ่ นตัวทาได้โดยการยืดเหยียดกลา้ มเนื้อและเอ็น หรือการใช้แรง ตา้ นทานในกล้ามเน้อื และเอน็ ตอ้ งทางานมากขน้ึ การยดื เหยียดของกลา้ มเน้อื ทาได้ทัง้ แบบอย่กู บั ที่หรอื มีการ เคล่ือนท่ี เพือ่ ให้ไดป้ ระโยชนส์ งู สดุ ควรใช้การเหยียดของกล้ามเน้ือในลักษณะอยกู่ บั ท่ี นั่นก็คือ อวั ยวะสว่ นแขน และขาหรอื ลาตวั จะตอ้ งเหยยี ดจนกวา่ กลา้ มเนื้อจะรสู้ ึกตึงและจะตอ้ งอยูใ่ นท่าเหยยี ดกลา้ มเนอื้ ในลักษณะนี้ ประมาณ 10-15 วินาที 4. ความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลอื ด (cardiovascular endurance) เป็น ความสามารถขอ งหัวใจและหลอดเลือดทจี่ ะลาเลยี งออกซเิ จนและสารอาหารไปยังกล้ามเ นอื้ ท่ีใชใ้ นการออก แรง ไปยงั กล้ามเนอื้ ขณะทางาน ให้ทางานไดเ้ ปน็ ระยะเวลานาน และขณะเดยี วกันก็นาสารท่ี ไมต่ อ้ งการซ่ึง เกดิ ขึ้นภายหลงั การทางานของกลา้ มเนอื้ ออกจากกล้ามเนื้อท่ใี ช้ในการออกแรง ในการพัฒนาหรอื เสรมิ สรา้ งนน้ั จะตอ้ งมกี ารเคลื่อนไหวร่างกายโดยใชร้ ะยะเวลาตดิ ตอ่ กนั ประมาณ 10-15 นาที ขนึ้ ไป 5. องค์ประกอบของร่างกาย (body composition) หมายถงึ สว่ นตา่ ง ๆ ทปี่ ระกอบข้นึ เป็น น้าหนักตัวของร่างกายคนเรา โดยจะแบ่งเป็น 2 ส่วนคอื สว่ นท่ีเปน็ ไขมนั (fat mass) และส่วนทปี่ ราศจาก ไขมนั (fat-free mass) เช่น กระดู ก กล้ามเนื้อ และแร่ธาตตุ า่ งๆ ในร่างกาย โดยทวั่ ไปองคป์ ระกอบของ ร่างกายจะเป็นดัชนีประมาณค่าทท่ี าให้ทราบถงึ เปอรเ์ ซน็ ต์ของนา้ หนกั ที่เปน็ ส่วนของไขมนั ทีม่ ีอย่ใู นร่างกาย ซ่งึ อาจจะหาคาตอบทเ่ี ปน็ สดั ส่วนกันไดร้ ะหว่างไขมนั ในร่างกายกับนา้ หนกั ของสว่ นอ่นื ๆ ที่เป็นองคป์ ระ กอบ เชน่ ส่วนของกระดูก กล้ามเนื้อ และอวยั วะต่างๆ การรักษาองคป์ ระกอบในรา่ งกายให้อยูใ่ นระดับท่เี หมาะสม จะช่วยทาใหล้ ดโอกาสเสยี่ งในการเกิดโรคอว้ น ซึ่งโรคอ้วนจะเปน็ จดุ เร่ิมต้นของการเป็นโรคที่เส่ยี งตอ่ อนั ตราย ต่อไปอีกมาก เชน่ โรคหลอดเลือดหวั ใจตีบ หัวใจวาย และโรคเบาหวาน เปน็ ต้น สมรรถภาพทางกายที่สมั พนั ธ์กับทกั ษะ (skill–related physical fitness) สมรรถภาพทางกายทส่ี ัมพันธก์ ับทกั ษะ (skill-related physical fitness) เปน็ สมรรถภาพทางกาย ทีเ่ กย่ี วข้องในการสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ระดับความสามารถและทกั ษะในการแสดงออกของการเคล่อื นไหว และการ เล่นกีฬามีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ ซึง่ นอกจากจะประกอบดว้ ยสมรรถภาพทางกายทีส่ มั พนั ธ์กับสุขภาพซงึ่ ได้แก่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื ความอดทนของกล้ามเนอื้ ความอ่อนตวั ความอดทนของระบบหวั ใจและ ไหลเวยี นเลือด และองค์ประกอบของรา่ งกายแลว้ ยงั ประกอบดว้ ยสมรรถภาพทางกายในด้ านต่อไปนี้ คอื (สพุ ิตร, 2539) 1. ความเร็ว (speed) หมายถงึ หมายถงึ ความสามารถในการเคลื่อนไหวไปสเู่ ป้าหมายท่ตี อ้ งการโดย ใช้ระยะเวลาอนั ส้นั ที่สุด ซ่ึงกล้ามเน้ือจะตอ้ งออกแรงและหดตวั ด้วยความเร็วสูงสุด 2. กาลงั ของกล้ามเน้อื (muscle power) หมายถึง ความสามารถของกลา้ มเนอื้ ในการทางานโดย การออกแรงสงู สดุ ในชว่ งเวลาทีส่ ั้นทสี่ ดุ ซ่ึงจะต้องมคี วามแข็งแรงของกล้ามเน้อื และความเร็วเป็น องค์ประกอบหลกั
5 3. ความคล่องแคลว่ ว่องไว (agility) หมายถึง ความสามารถในการเปล่ียนทิศทาง และ ตาแหนง่ ของร่างกายในขณะทก่ี าลงั เคลือ่ นไหวโดยใช้ความเรว็ ไดอ้ ยา่ งเต็มที่ จดั เปน็ สมรรถภาพทางกายทีจ่ าเป็นในการ นาไปสู่การเคล่ือนไหวขน้ั พืน้ ฐาน สาหรับทกั ษะในการเลน่ กฬี าประเภทต่างๆ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 4. การทรงตวั (balance) หมายถึง ความสามารถในการควบคมุ รักษาตาแหน่งและท่าทางของ ร่างกายใหอ้ ยู่ในลกั ษณะตามท่ีตอ้ งการได้ ทงั้ ขณะทอ่ี ยู่กบั ท่ีหรอื ในขณะทมี่ กี ารเคล่อื นที่ 5. เวลาปฏิกริ ยิ า (reaction time) หมายถึง ระยะเวลาทีเ่ ร็วทีส่ ดุ ทรี่ า่ งกายเร่ิมมีการตอบสนอง หลังจากท่ไี ด้รับการกระตุ้น ซงึ่ เปน็ ความสามารถของระบบประสาทเมื่อรบั ร้กู ารถูกกระตุน้ แล้วสามารถสัง่ การ ให้อวยั วะท่ีทาหน้าทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การเคลอ่ื นไหวให้มีการตอบสนองอย่างรวดเร็วได้ 6. การทางานท่ปี ระสานกนั (coordination) หมายถึง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการทางานของระบบ ประสาทและระบบกล้ามเนอื้ ในการท่จี ะปฏบิ ัติกจิ กรรมทางกลไกท่สี ลบั ซับซ้อนในเวลาเดยี วกันอยา่ งราบร่ืน และแม่นยา
6 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับประชาชนท่วั ไป อายุ 19 - 59 ปี
7 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรบั ประชาชนทัว่ ไป อายุ 19 – 59 ปี (Physical Fitness Test) ประกอบด้วยรายการทดสอบจานวน 6 รายการ ดงั น้ี คอื รายการท่ี รายการทดสอบ องคป์ ระกอบท่ีต้องการวัด 1. ความหนาของไขมนั ใต้ผิวหนัง เพื่อตรวจประเมินองค์ประกอบของรา่ งกาย (Skinfold Thickness) ในดา้ นระดบั เปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมันในรา่ งกาย 2. แรงบบี มือ เพื่อประเมนิ ความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื แขน (Grip Strength) และมือ 3. ยนื - น่งั บนเก้าอี้ 60 วนิ าที เพื่อประเมนิ ความแข็งแรงและความอดทน (60 Seconds Chair Stand) ของกลา้ มเนือ้ ขา 4. น่ังงอตวั ไปข้างหน้า เพื่อประเมินความออ่ นตวั ของหลงั สะโพก (Sit and Reach) และกลา้ มเนอื้ ขาดา้ นหลัง 5. วงิ่ ออ้ มหลกั เพื่อประเมินความแคลว่ คล่องว่องไว (Zig - Zag Run) และความสามารถในการทรงตัวแบบเคลอ่ื นที่ 6. กา้ วเป็นจงั หวะ 3 นาที เพอื่ ประเมนิ ความอดทนของระบบหวั ใจและ (3 Minutes Step Test) ไหลเวยี นเลอื ด
8 ความหนาของไขมนั ใตผ้ ิวหนงั (Skinfold Thickness) วัตถุประสงค์ เพือ่ ประเมินองคป์ ระกอบของรา่ งกายในสว่ นของปรมิ าณไขมันทส่ี ะสมในรา่ งกาย คุณภาพของรายการทดสอบ 0.96 ค่าความเชือ่ ม่ัน 0.89 ค่าความความเท่ยี งตรง อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการทดสอบ 1. สายวดั ทม่ี ีสเกลบอกเป็นเซนติเมตร 2. เครื่องวัดความหนาของไขมนั ใต้ผวิ หนงั (Lange Skinfold Caliper) วธิ กี ารปฏิบตั ิ วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนงั ในดา้ นท่ถี นดั จานวน 3 จดุ คือ บรเิ วณต้นแขนด้านหลงั (triceps skinfold) บริเวณ ทอ้ ง (Abdominal skinfold) และบรเิ วณเหนอื เชิงกราน (Suprailiac skinfold) Triceps Abdominal Suprailiac ข้นั ตอนและวธิ กี ารวัดความหนาของไขมนั ใตผ้ วิ หนงั บรเิ วณต้นแขนดา้ นหลัง (triceps) 1. ให้ผ้รู ับการทดสอบยนื ตรง หันหลังใหผ้ ้ทู ดสอบ แล้วงอข้อศอกขา้ งท่ถี นัดให้แขนท่อนบนและแขน ทอ่ นลา่ งต้งั ฉากกัน โดยแขนทอ่ นบนแนบกับลาตวั และแขนท่อนล่างชีต้ รงไปขา้ งหนา้
9 2. ผ้ทู ดสอบใช้สายวัด วัด ระยะหา่ งระหว่างปุ่มกระดูกสะบักสว่ นทีน่ นู ข้ึนบรเิ วณหวั ไหลด่ ้านขา้ ง (acromion process) กับปุ่มปลายกระดูกข้อศอก (olecranon process) แลว้ ใชป้ ากกาทาเคร่อื งหมายไวท้ ่ี กึ่งกลางของระยะหา่ งดงั กล่าว 3. ให้ผูร้ บั การทดสอบปล่อยแขนลงข้างลาตัวอยา่ งผอ่ นคลาย 4. ผทู้ ดสอบใช้มือซ้ายโกยผวิ หนังพร้อมไขมนั ใต้ผิวหนังทัง้ หมดที่ บรเิ วณกง่ึ กลางด้านหลงั ต้นแขน (triceps) บรเิ วณเหนอื เครื่องหมายทีท่ าไวป้ ระมาณ 1 เซนตเิ มตร แลว้ ดงึ ขึ้นในแนวตงั้ (ขนานกับแนวตน้ แขน) ใชเ้ คร่ืองวัดความหนาไขมันใตผ้ ิวหนงั ที่ถอื อยู่ในมอื ขวาหนีบลงไปบนเน้ือเยื่อทีม่ อื ซา้ ยจบั อยู่ ในระดับเดยี วกับ เคร่อื งหมายทีท่ าไว้ รอประมาณ 1–3 วินาที จนกระทงั่ เข็มสเกลนิ่งแล้วจึงอา่ นคา่ จากสเกล 5. ทาการวัดซ้าในข้อ 4 จานวน 3 ครง้ั แล้วหาคา่ เฉลย่ี จากการวดั ทั้ ง 3 ครั้ง บนั ทกึ ค่าทไ่ี ด้เป็น มลิ ลิเมตร ข้นั ตอนและวิธีการวดั ความหนาของไขมันใตผ้ ิวหนังบริเวณทอ้ ง (Abdominal) 1. ให้ผรู้ ับการทดสอบยนื ตวั ตรงในท่าผอ่ นคลาย ไม่เกร็งกล้ามเนื้อหนา้ ทอ้ ง 2. ผู้ทดสอบใช้สายวดั วดั ระยะหา่ งออกจากสะดือไปด้านขา้ ง (ด้านที่ถนัด) ในระดบั เดยี วกัน เปน็ ระยะทางประมาณ 1 นิ้ว แล้วใชป้ ากกาทาเคร่อื งหมายไวท้ ีร่ ะยะหา่ งดงั กลา่ ว 3. ผทู้ ดสอบใช้มอื ซา้ ยโกยผวิ หนังพร้อมไขมนั ใต้ผิวหนังทั้งหมดท่ีอย่ดู า้ นลา่ งของจุดท่ที า เครอื่ งหมาย ดึงข้ึนมาในแนว ตง้ั (ขนานกบั แนวลาตวั ) แลว้ ใช้เครือ่ งวดั ความหนาไขมันใตผ้ ิวหนงั ทีถ่ อื อยใู่ นมือ ขวาหนบี ลงไปบนเนือ้ เย่อื ท่ีมอื ซา้ ยจับอยู่ ในระดับเดยี วกบั ตาแหน่งท่เี ครอ่ื งหมายไว้ รอประมาณ 1–3 วินาที จนกระท่ังเขม็ สเกลน่ิงแล้วจงึ อ่านค่าจากสเกล 4. ทาการวัดซา้ ในขอ้ 3 จานวน 3 ครงั้ แลว้ หาคา่ เฉล่ียจากการวัดทั้ง 3 คร้ัง บนั ทกึ ค่าท่ไี ด้เปน็ มลิ ลเิ มตร ข้นั ตอนและวิธีการวดั ความหนาของไขมันใต้ผวิ หนังบริเวณเหนือเชงิ กราน (Suprailiac) 1. ใหผ้ รู้ บั การทดสอบยนื ตวั ตรงในทา่ ผอ่ นคลาย 2. ผทู้ ดสอบใช้สายวดั วัดระยะห่างเหนอื ขึ้นไปจากขอบกระดูกเชงิ กราน (Iliac Crest) ดา้ นที่ถนดั ในแนวเฉียงขนานกับขอบเชิงกรานด้านหนา้ เป็นระยะทางประมาณ 1 นิ้ว แล้วใช้ปากกาทาเคร่ืองหมายไวท้ ่ี ระยะห่างดังกล่าวในแนวหนา้ ตอ่ เส้นแบ่งกลางรกั แร้ (Anterior Axillary Line) 3. ผู้ทดสอบใช้มอื ซ้ายโกยผวิ หนังพร้อมไขมันใต้ผิวหนังทง้ั หมดที่อยู่ดา้ นบนของจุดท่ีทา เครือ่ งหมาย ดึงขนึ้ มาในแนวเฉยี งขนานกบั ขอบกระดกู เชิงกราน แล้วใชเ้ ครื่องวดั ความหนาไขมันใต้ผวิ หนงั ที่ ถอื อยใู่ นมอื ขวาหนีบลงไปบนเน้อื เยือ่ สว่ นทีม่ อื ซา้ ยจบั อยู่ ในตาแหนง่ ท่ที าเครอ่ื งหมายไว้ รอประมาณ 1–3 วินาที จนกระท่ังเขม็ สเกลนิง่ แลว้ จึงอ่านคา่ จากสเกล 4. ทาการวดั ซ้าในข้อ 3 จานวน 3 ครง้ั แล้วหาคา่ เฉลยี่ จากการวดั ท้ัง 3 คร้งั บนั ทึกค่าท่ไี ด้เปน็ มลิ ลิเมตร
10 ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะตอ้ งโกยไขมนั ใต้ผิวหนงั ดึงข้ึนมาหมดทั้ง 3 จดุ คอื ต้นแขนดา้ นหลัง (triceps skinfold) บริเวณท้อง (Abdominal skinfold) และบริเวณเหนอื เชงิ กราน (Suprailiac skinfold) ของขา้ งท่ี ถนดั และตอ้ งระวงั ไมใ่ หห้ ยบิ ตดิ กลา้ มเนอ้ื ท่อี ยู่ขา้ งลา่ งขึน้ มาดว้ ย การบันทึกคะแนน นาค่าเฉลีย่ ของความหนาไขมนั ใต้ผิวหนังท่ีวัดไดท้ งั้ 3 ตาแหน่ง มาแปลงเปน็ เปอรเ์ ซน็ ต์ของไขมันท่ี สะสมในรา่ งกายจากสมการตอ่ ไปนี้ ผ้ชู าย % BF = 0.39287(sum of 3SKF) – 0.0105(sum of 3SKF)2 + 0.15772(age) - 5.18845 ผ้หู ญิง % BF = 0.41563(sum of 3SKF) – 0.00112(sum of 3SKF)2 + 0.03661(age) - 4.03653 โดย % BF คือ เปอร์เซน็ ต์ไขมนั ท่สี ะสมในรา่ งกาย SKF คอื ผลรวมของความหนาของไขมนั ใต้ผิวหนังทีว่ ัดได้ทั้ง 3 ตาแหน่ง (หนว่ ยเปน็ มิลลิเมตร)
11 แรงบีบมือ (Grip Strength) วัตถุประสงค์การทดสอบ เพอ่ื ประเมนิ ความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื แขนและมอื คุณภาพของรายการทดสอบ 0.89 ค่าความเชื่อมั่น 0.92 ค่าความความเทย่ี งตรง อุปกรณ์ท่ีใช้ในการทดสอบ เคร่อื งวัดกาลงั กล้ามเนือ้ มือ (Grip Dynamometer) วธิ กี ารปฏิบัติ 1. ใหผ้ ู้รบั การทดสอบยืนลาตวั ตรง เหยยี ดแขนทงั้ สองขา้ งไวข้ ้างลาตัว ทาการทดสอบในแขนขา้ ง ที่ถนดั โดยให้ข้อศอกเหยยี ดตึง แขนวางแนบข้างลาตัวในทา่ คว่ามือ 2. ให้ผรู้ ับการทดสอบถือเครอื่ งวดั กาลงั กล้ามเนอ้ื มือ แลว้ กางแขนออกประมาณ 15 องศา เมอ่ื ผู้ ทดสอบให้สัญณาณ “เริ่ม” ให้ออกแรงบีบเครื่องวัดกาลงั กล้ามเนื้อมือใหแ้ รงมากทีส่ ดุ แลว้ ปล่อย การบันทึกคะแนน วัดแรงบีบมือที่ไดเ้ ป็นกโิ ลกรัม โดยใหป้ ฏิบตั จิ านวน 2 คร้ัง และบนั ทึกผลการทดสอบของครง้ั ท่ี บีบมือได้แรงมากท่สี ดุ
12 ยืน-นั่ง บนเกา้ อี้ 60 วนิ าที (60 Seconds Chair Stand) วตั ถุประสงคก์ ารทดสอบ เพ่อื ประเมินความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้อื ขา คณุ ภาพของรายการทดสอบ 0.91 ค่าความเชื่อมั่น 0.96 ค่าความเท่ยี งตรง อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการทดสอบ 1. เกา้ อ้ที ี่ท่มี ีพนักพิง สูง17 นวิ้ (43.18 เซนติเมตร) 2. นาฬกิ าจบั เวลา 1/100 วินาที วธิ ีการปฏิบัติ 1. จดั เก้าอสี้ าหรับการทดสอบยนื -น่งั ใหต้ ดิ ผนัง ท่ีเรยี บและมีความทนทาน เพอื่ ปอ้ งกันการเลือ่ น ไหลของเกา้ อี้ 2. ใหผ้ ูร้ ับการทดสอบน่งั บริเวณตรงกลางของเก้าอ้ี (ไม่ชดิ พนักพงิ เพือ่ ใหส้ ะดวกตอ่ การลกุ ข้ึนยนื ) เท้าวางสัมผสั พืน้ ห่างกันประมาณชว่ งไหลข่ องผู้รบั การทดสอบ เข่าทง้ั สองขา้ งวา่ งหา่ งกนั เลก็ น้อยและให้ช้ีตรง ไปขา้ งหน้าขนานกบั แนวลาตวั หลังตรง แขนไขว้ประสานบรเิ วณอก มอื ทงั้ สองข้างแตะไหล่ไว้ 3. เมื่อได้ยินสัญญาณ “เร่มิ ” ให้ผู้รบั การทดสอบลุกขนึ้ จากเกา้ อ้ี ยนื ตรง ขาเหยียดตงึ แลว้ กลบั ลง น่งั ในท่าเร่ิมตน้ นบั เป็น 1 ครัง้ ปฏบิ ตั ติ ่อเนื่องกันจนครบ 60 วินาที โดยปฏิบัติให้ไดจ้ านวนคร้งั มากท่ีสุด
13 ระเบียบการทดสอบ ผู้เข้ารับการทดสอบจะต้องปฏิบตั ิให้ได้จานวนครง้ั มากที่สดุ ในระหว่างการทดสอบ การยอ่ ตวั นง่ั ลง นัน้ ปฏบิ ัตเิ พยี งใหต้ ้นขาดา้ นหลัง สัมผัสเก้าอ้ี ไม่ลงน้าหนักเตม็ ท่ี แลว้ รีบเหยียดเข่ายืนข้ึน ในการทดสอบจะไม่ นบั จานวนครง้ั ในกรณีต่อไปน้ี 1. ในขณะยนื ขาและลาตวั ไมเ่ หยยี ดตรง 2. ในขณะน่ัง สะโพกและตน้ ขาไม่สัมผัสเก้าอ้ี การบนั ทกึ คะแนน บันทกึ จานวนคร้ังที่ผ้เู ข้ารบั การทดสอบลุกขึ้นยืนตรงและนงั่ ลงอย่างถูกต้อง ภายในเวลา 60 วนิ าที โดยใหผ้ ู้รบั การทดสอบปฏบิ ัตเิ พยี งครงั้ เดยี ว
14 นัง่ งอตวั ไปข้างหนา้ (Sit and Reach) วตั ถุประสงค์การทดสอบ เพื่อประเมนิ ความออ่ นตัวของหลัง สะโพก และกลา้ มเนอ้ื ขาด้านหลงั คุณภาพของรายการทดสอบ 0.96 ค่าความเช่ือม่ัน 1.00 ค่าความเทย่ี งตรง อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการทดสอบ กลอ่ งเครื่องมอื วัดความออ่ นตัว ขนาดสูง 30 เซนติเมตร มสี เกลของระยะทางตงั้ แตค่ า่ ลบถงึ คา่ บวกเป็นเซนติเมตร วธิ ีการปฏิบตั ิ 1. ใหผ้ ู้รับการทดสอบยืดเหยยี ดกลา้ มเน้อื แขน ขา และหลัง 2. ผ้รู บั การทดสอบนั่งตัวตรง เหยียดขาตรงไปข้างหนา้ เข่าตึง ให้ฝ่าเท้าทั้งสองขา้ งตงั้ ข้ึนวางราบชดิ กล่องวัดความออ่ นตวั หา่ งกนั เทา่ กบั ความกว้างของช่วงสะโพกของผรู้ บั การทดสอบ 3. ยกแขนทง้ั 2 ข้างขึน้ ในทา่ เหยียดขอ้ ศอกและคว่ามือให้ฝา่ มอื ทง้ั สองขา้ งวางคว่าซ้อนทับกันพอดี แลว้ ย่ืนแขนตรงไปข้างหนา้ แล้วให้ผรู้ บั การทดสอบคอ่ ยๆ กม้ ลาตัวไปขา้ งหน้าพรอ้ มกบั เหยยี ดแขนที่มอื ควา่ ซ้อนทบั กันไปวางไว้บนกลอ่ งวัดความออ่ นตัวให้ไดไ้ กลที่สุดจนไมส่ ามารถกม้ ลาตวั ลงไปไดอ้ กี ให้ก้มตัวค้างไว้ 3 วนิ าที แลว้ กลับมาสทู่ ่าน่ังตัวตรง ทาการทดสอบจานวน 2 ครงั้ ตดิ ตอ่ กนั
15 ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะตอ้ งถอดรองเทา้ ท้ังนกี้ ารทดสอบจะไม่สมบูรณ์และตอ้ งทาการทดสอบใหม่ ใน กรณีที่เกดิ เหตกุ ารณ์ตอ่ ไปนี้ 1. มีการงอเข่าในขณะทก่ี ้มลาตวั เพื่อยนื่ แขนไปข้างหน้าใหไ้ ด้ไกลท่สี ุด 2. มีการโยกตัวตวั ช่วยขณะที่กม้ ลาตัวลง การบนั ทกึ คะแนน บนั ทึกระยะทางทีท่ าได้เปน็ เซนตเิ มตร โดยบันทึกค่าที่ดที ่สี ุดจากการทดสอบ 2 ครงั้
16 วง่ิ ออ้ มหลกั (Zig - Zag Run) วัตถปุ ระสงคก์ ารทดสอบ เพือ่ ประเมนิ ความแคล่วคลอ่ งวอ่ งไวและความสามารถในการทรงตัวแบบเคลื่อนที่ คุณภาพของรายการทดสอบ 0.81 คา่ ความเชอื่ มั่น 1.00 คา่ ความเที่ยงตรง อปุ กรณท์ ่ีใช้ในการทดสอบ 1. หลักสูง 100 เซนตเิ มตร จานวน 6 หลกั 2. เทปวัดระยะทาง 3. นาฬกิ าจับเวลา 1/100 วนิ าที การเตรียมสถานที่ในการทดสอบ ก่อนการทดสอบ ผทู้ ดสอบจะต้องเตรียมสถานท่ดี งั น้ี คอื จากเสน้ เร่มิ วัดระยะทางในแนวตรงหา่ งขึ้น ไปเปน็ ระยะทาง 5 เมตร จะเป็นจุดในการวางหลกั ที่ 1 จากหลักที่ 1 ในแนวเส้นเดยี วกนั วัดระยะทางหา่ งจาก หลักที่ 1 มา 4 เมตร จะเปน็ จุดในการวางหลักท่ี 3 และเชน่ เดียวกัน จากหลกั ที่ 3 วัดระยะทางห่างมาอีก 4 เมตร จะเป็นจุดวางหลกั ที่ 5 จากหลกั ท่ี 1, 3 และ 5 ทามมุ 45 องศา ไปด้านหนา้ จะเปน็ ตาแหนง่ ในการวาง
17 หลกั ท่ี 2, 4 และ 6 ซงึ่ ในแต่ละหลกั น้ันจะมีระยะทางห่างกนั จุดละ 4 เมตรเช่นเดยี วกัน และหลกั ในแถวท่สี อง จะหา่ งจากแถวท่ีหนง่ึ เปน็ ระยะทางในแนวตั้งฉาก จดุ ละ 2 เมตร ดังภาพ หลกั ท่ี หลกั ที่ หลกั ที่ หลกั ท่ี หลกั ท่ี หลกั ท่ี ภาพแสดงการเตรยี มสถานทแี่ ละอุปกรณส์ าหรับการวิง่ ออ้ มหลัก วิธกี ารปฏิบตั ิ ให้ผู้รับการทดสอบยืนอยูห่ ลังเสน้ เรม่ิ เม่ือไดร้ บั สญั ญาณ “เริ่ม” ผ้รู บั การทดสอบจะวงิ่ ตรงไปอ้อม ซา้ ยในหลักท่ี 1 แลว้ ไปออ้ มขวาในหลักที่ 2 ตอ่ ไปจะออ้ มซา้ ยในหลักที่ 3 ออ้ มขวาในหลักท่ี 4 อ้อมซ้ายในหลัก ที่ 5 และออ้ มขวาในหลักท่ี 6 ต่อจากนน้ั กจ็ ะวง่ิ กลับมาออ้ มขวาในหลกั ที่ 5 อ้อมซ้ายในหลกั ท่ี 4 ออ้ มขวาใน หลักที่ 3 ออ้ มซา้ ยในหลักท่ี 2 และออ้ มขวาในหลักท่ี 1 แล้ววง่ิ ผ่านเสน้ เรมิ่ ไปอยา่ งรวดเรว็ ระเบียบการทดสอบ หากผู้รับการทดสอบวง่ิ ผิดเสน้ ทางตามที่ กาหนด หรอื สว่ นใดส่วนหนงึ่ ของรา่ งกายสัมผสั กบั หลกั ที่ วางไว้ ให้หยดุ พกั และทาการทดสอบใหม่ การบันทึกคะแนน บันทึกเวลาที่ผเู้ ขา้ รบั การทดสอบเริม่ ตน้ ออกวิ่งจากเสน้ เริ่ม จนกระทง่ั วิง่ ไปอ้อมหลักครบทัง้ 6 หลกั และวิง่ กลับไปถึงเส้นชัย เป็นวนิ าที โดยบันทกึ เปน็ ทศนยิ มสองตาแหน่ง ใหท้ าการทดสอบเพยี งครงั้ เดียว
18 ก้าวเป็นจงั หวะ 3 นาที (3 Minutes Step Test) วตั ถปุ ระสงคก์ ารทดสอบ คุณภาพของรายการทดสอบ 0.91 คา่ ความเชอื่ ม่ัน 1.00 ค่าความเปน็ ปรนยั อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการทดสอบ 1. นาฬิกาจับเวลา 2. เครอื่ งกาหนดจังหวะ (Metronome) 3. กล่องไมส้ งู 30 เซนติเมตร (12 น้วิ ) วิธีการปฏิบัติ 1. ผ้รู ับการทดสอบนง่ั พัก ประมาณ 3 - 5 นาที กอ่ นเรมิ การทดสอบ 2. ให้ผรู้ ับการทดสอบยืนหน้ากลอ่ งไม้ (กล่องสูง 30 เซนตเิ มตร) และก้าวขาขนึ้ - ลง กลอ่ งไม้ ให้ เทา้ สลบั กนั ตามจังหวะท่กี าหนดให้ โดยใช้เครือ่ งกาหนดจงั หวะที่ความถี่ 96 ครงั้ /นาที ปฏบิ ัติต่อเนื่องกนั นาน 3 นาที เมือ่ ครบเวลา 3 นาที ใหบ้ ันทึกอตั ราการเตน้ ของหัวใจทนั ที 3. ใหผ้ ูร้ บั การทดสอบหยุดพกั
19 การบันทึกคะแนน บนั ทึกอัตราการเต้นของหัวใจเปน็ จานวนครง้ั /นาที โดยให้บันทึกอัตราการเต้นของหวั ใจ 20 วนิ าที แรกภายหลังผเู้ ข้ารับการทาสอบก้าว ขน้ึ -ลง กล่องครบ 3 นาที แลว้ เอาค่าที่ได้คณู 3 เพอ่ื คานวณหาอตั ราการ เต้นของหัวใจตอ่ 1 นาที โดยให้ผรู้ บั การทดสอบปฏิบตั ิเพยี งคร้ังเดยี ว
20 แบบบันทกึ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายประชาชนท่ัวไป อายุ 19-59 ปี ชอ่ื -สกลุ ......................................................................................อ. ายุ .................... เพศ................................ อาชพี ...........................................................................อ. าศัยอยูใ่ นจงั หวดั ……………………..………........………. โรคประจาตวั ................................................................................................................................................. ผลการทดสอบ : นา้ หนัก (ก.ก.) ส่วนสูง (ซ.ม.) ชีพจรขณะพกั (ครงั้ /นาท)ี ความดันโลหิต (มม.ปรอท) 1. วดั ความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง (มม.) - Triceps .............. .............. .............. - Abdominal .............. .............. .............. - Suprailiac .............. .............. .............. 2. น่ังงอตัวไปขา้ งหนา้ (ซ.ม.) 3. แรงบีบมอื (กิโลกรัม) 4. ยืน - น่งั บนเก้าอี้ 60 วินาที (ครง้ั ) 5. วง่ิ ออ้ มหลัก (วินาที) 7. ก้าวเปน็ จังหวะ 3 นาที (คร้ัง/นาท)ี ลงช่ือ................................................................. เจ้าหน้าผทู้ ดสอบ วันที่ทาการทดสอบ.................................................................
21 เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสาหรับประชาชนท่วั ไป อายุ 19-59 ปี
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสา ช่วง รายการความหนาไข อายุ (ปี) ผอม ค่อนข้าง เพศชาย ค่อนขา้ ง อ้วน ผอม อว้ น 19 11.0 ลงมา สมส่วน 29.7 ขน้ึ ไป 20 - 24 11.7 ลงมา 11.1 - 17.2 23.5 - 29.6 30.1 ขน้ึ ไป 25 - 29 12.4 ลงมา 11.8 - 17.8 17.3 - 23.4 24.0 - 30.0 30.6 ขึน้ ไป 30 - 34 13.1 ลงมา 12.5 - 18.4 17.9 – 23.9 24.6 - 30.5 31.2 ขึ้นไป 35 - 39 13.7 ลงมา 13.2 – 19.1 18.5 - 24.4 25.2 - 31.1 31.8 ขน้ึ ไป 40 - 44 14.4 ลงมา 13.8 - 19.7 19.2 - 25.1 25.8 - 31.7 32.5 ขนึ้ ไป 45 - 49 14.8 ลงมา 14.5 - 20.4 19.8 - 25.7 26.5 - 32.4 33.8 ขน้ึ ไป 50 - 54 15.0 ลงมา 14.9 - 21.1 20.5 - 26.4 27.5 - 33.7 34.3 ขนึ้ ไป 55 - 59 15.4 ลงมา 15.1 - 21.4 21.2 - 27.4 27.9 - 34.2 34.7 ข้นึ ไป 15.5 - 21.8 21.5 - 27.8 28.3 - 34.6 21.9 – 28.2
าหรบั ประชาชนทัว่ ไป อายุ 19-59 ปี หนว่ ย: เปอรเ์ ซ็นต์ ขมนั ใตผ้ วิ หนงั (เปอร์เซน็ ต)์ เพศหญงิ ผอม คอ่ นข้าง สมสว่ น คอ่ นข้าง อว้ น ผอม อ้วน 29.4 ขน้ึ ไป ป 14.9 ลงมา 15.0 – 19.7 19.8 – 24.5 24.6 - 29.3 29.5 ข้ึนไป 24.9 - 29.4 29.7 ข้ึนไป ป 15.6 ลงมา 15.7 - 20.2 20.3 – 24.8 25.3 - 29.6 30.5 ขึ้นไป 26.1 - 30.4 30.5 ขน้ึ ไป ป 16.4 ลงมา 16.5 - 20.8 20.9 – 25.2 26.2 - 30.4 30.7 ขึน้ ไป 26.5 - 30.6 30.9 ข้ึนไป ป 17.2 ลงมา 17.3 - 21.6 21.7 - 26.0 27.0 - 30.8 31.1 ขึ้นไป 27.3 – 31.0 31.3 ขึ้นไป ป 17.5 ลงมา 17.6 - 21.8 21.9 - 26.1 27.6 - 31.2 ป 18.0 ลงมา 18.1 - 22.2 22.3 - 26.4 ป 19.1 ลงมา 19.2 - 23.0 23.1 - 26.9 ป 19.6 ลงมา 19.7 - 23.4 23.5 - 27.2 ป 20.1 ลงมา 20.2 – 23.8 23.9 - 27.5 กรมพลศึกษา, 2556
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสา ช่วง เพศชาย รายการ แรงบีบมอื อายุ ต่า ปานกลาง (ปี) ต่ามาก ดี ดีมาก 19 0.58 ลงมา 0.59 - 0.66 0.67 - 0.74 0.75 - 0.82 0.83 ข้นึ ไป 20 - 24 0.59 ลงมา 0.60 - 0.67 0.68 - 0.75 0.76 - 0.83 0.84 ข้ึนไป 25 - 29 0.53 ลงมา 0.54 - 0.63 0.64 - 0.73 0.74 - 0.84 0.85 ขึ้นไป 30 - 34 0.50 ลงมา 0.51 - 0.60 0.61 - 0.70 0.71 - 0.80 0.81 ขึ้นไป 35 - 39 0.46 ลงมา 0.47 - 0.56 0.57 - 0.66 0.67 - 0.76 0.77 ข้ึนไป 40 - 44 0.40 ลงมา 0.41 - 0.50 0.51 - 0.60 0.61 - 0.70 0.71 ข้นึ ไป 45 - 49 0.37 ลงมา 0.38 - 0.48 0.49 - 0.59 0.60 - 0.70 0.71 ขนึ้ ไป 50 - 54 0.33 ลงมา 0.34 - 0.45 0.46 - 0.57 0.58 - 0.69 0.70 ขน้ึ ไป 55 - 59 0.32 ลงมา 0.33 - 0.44 0.45 - 0.56 0.57 - 0.68 0.69 ข้นึ ไป
23 าหรับประชาชนทว่ั ไป อายุ 19-59 ปี หน่วย : กิโลกรัมตอ่ น้าหนักตัว อ (Handgrip Strength) เพศหญงิ ตา่ มาก ตา่ ปานกลาง ดี ดีมาก ป 0.41 ลงมา 0.42 - 0.48 0.49 - 0.55 0.56 - 0.62 0.63 ขนึ้ ไป ป 0.43 ลงมา 0.44 - 0.50 0.51 - 0.57 0.58 - 0.64 0.65 ขึ้นไป ป 0.41 ลงมา 0.42 - 0.48 0.49 - 0.55 0.56 - 0.62 0.63 ขึ้นไป ป 0.39 ลงมา 0.40 - 0.46 0.47 - 0.53 0.54 - 0.60 0.61 ขน้ึ ไป ป 0.38 ลงมา 0.39 - 0.45 0.46 - 0.52 0.53 - 0.59 0.60 ขนึ้ ไป ป 0.37 ลงมา 0.38 - 0.44 0.45 - 0.51 0.52 - 0.58 0.59 ข้นึ ไป ป 0.35 ลงมา 0.36 - 0.42 0.43 - 0.49 0.50 - 0.56 0.57 ขึน้ ไป ป 0.34 ลงมา 0.35 - 0.40 0.41 - 0.46 0.47 - 0.52 0.53 ขึน้ ไป ป 0.33 ลงมา 0.34 - 0.38 0.39 - 0.43 0.44 - 0.48 0.49 ขึ้นไป กรมพลศึกษา, 2556
เกณฑ์มาตรฐานทางกายสาหรับป ช่วง รายการยืน-น่ัง บนเกา้ อ้ี 60 ว อายุ (ปี) เพศชาย 19 ตา่ มาก ต่า ปานกลาง ดี ดมี าก 20 - 24 25 - 29 32 ลงมา 33 - 38 39 - 44 45 - 50 51 ขน้ึ ไป 30 - 34 31 ลงมา 32 - 37 38 - 43 44 - 49 50 ขึ้นไป 35 - 39 29 ลงมา 30 - 36 35 - 41 42 - 48 49 ข้นึ ไป 40 - 44 27 ลงมา 28 - 33 34 - 39 40 - 45 46 ขึ้นไป 45 - 49 24 ลงมา 25 - 30 31 - 36 37 - 42 43 ขึ้นไป 50 - 54 23 ลงมา 24 - 29 30 - 35 36 - 41 42 ขน้ึ ไป 55 - 59 21 ลงมา 22 - 27 28 - 33 34 - 39 40 ขน้ึ ไป 20 ลงมา 21 - 26 27 - 32 33 - 38 39 ขึ้นไป 18 ลงมา 19 - 24 25 - 30 31 - 36 37 ขนึ้ ไป
24 ประชาชนท่ัวไป อายุ 19-59 ปี หน่วย: คร้ัง/นาที วนิ าที (60 Seconds Chair Stand) เพศหญงิ ตา่ มาก ตา่ ปานกลาง ดี ดีมาก 22 ลงมา 23- 29 30 - 36 37 - 43 44 ขึ้นไป 20 ลงมา 21 - 27 28 - 34 35 - 41 42 ขึ้นไป 19 ลงมา 20 - 26 27 - 33 34 - 40 41 ขึ้นไป 18 ลงมา 19 - 24 25 - 30 31 - 36 37 ขน้ึ ไป 17 ลงมา 18 - 23 24 - 29 30 - 35 36 ขน้ึ ไป 16 ลงมา 17 - 22 23 - 28 29 - 34 35 ขน้ึ ไป 15 ลงมา 16 - 21 22 - 27 28 - 33 34 ขน้ึ ไป 15 ลงมา 16 - 20 21 - 25 26 - 30 31 ขึ้นไป 14 ลงมา 15 - 19 20 - 24 25 - 29 30 ขน้ึ ไป กรมพลศกึ ษา, 2556
เกณฑ์มาตรฐานทางกายสาหรับป ช่วง รายการนั่งงอตัวไปข อายุ (ปี) ต่ามาก เพศชาย ต่า ปานกลาง ดี ดีมาก 19 2 ลงมา 3 - 9 10 -16 17 - 23 24 ขึ้นไป 20 - 24 1 ลงมา 2 - 8 9 - 15 16 - 22 23 ขึ้นไป 25 - 29 1 ลงมา 2 - 7 8 - 13 14 - 19 20 ขึ้นไป 30 - 34 0 ลงมา 1 - 6 7 -12 13 - 18 19 ข้ึนไป 35 - 39 (-2) ลงมา (-1) - 4 5 - 10 11 - 16 17 ขนึ้ ไป 40 - 44 (-3) ลงมา (-2) - 3 4 - 9 10 - 15 16 ขน้ึ ไป 45 - 49 (-4) ลงมา (-3) - 3 4 - 10 11 - 17 18 ข้นึ ไป 50 - 54 (-5) ลงมา (-4) - 2 3 - 9 10 - 16 17 ขึ้นไป 55 - 59 (-6) ลงมา (-5) - 1 2 - 8 9 - 15 16 ขนึ้ ไป
25 ประชาชนท่วั ไป อายุ 19-59 ปี หน่วย: เซนตเิ มตร ขา้ งหน้า (Sit and Reach) ต่ามาก ตา่ เพศหญงิ ดี ดมี าก 1 ลงมา 2-8 ปานกลาง 16 - 22 23 ขึน้ ไป 1 ลงมา 2-8 16 - 22 23 ขึ้นไป 1 ลงมา 2-8 9 - 15 16 - 22 23 ข้ึนไป (-1) ลงมา 0-6 8 - 15 14 - 20 21 ขึ้นไป (-1) ลงมา 0-6 9 - 15 14 - 20 21 ข้ึนไป (-2) ลงมา (-1) - 5 7 - 13 13 - 19 20 ข้ึนไป (-2) ลงมา (-1) - 5 7 - 13 13 - 19 20 ขึน้ ไป (-3) ลงมา (-2) - 4 6 - 12 12 - 18 19 ขึน้ ไป (-4) ลงมา (-3) - 3 6 - 12 11 - 17 18 ขนึ้ ไป 5 - 11 4 - 10 กรมพลศกึ ษา, 2556
เกณฑม์ าตรฐานทางกายสาหรบั ป ชว่ ง รายการวง่ิ ออ้ ม อายุ เพศชาย (ปี) ดีมาก ดี ปานกลาง ตา่ ตา่ มาก 19 17.45 ลงมา 17.46 - 18.58 18.59 - 19.71 19.72 - 20.84 20.85 ขน้ึ ไป 20 - 24 18.02 ลงมา 18.03 - 19.38 19.39 - 20.74 20.75 - 22.10 22.11 ขน้ึ ไป 25 - 29 19.95 ลงมา 19.96 - 21.09 21.10 - 22.23 22.24 - 23.37 23.38 ขึ้นไป 30 - 34 20.42 ลงมา 20.43 - 21.80 21.81 - 23.18 23.19 - 24.56 24.57 ขึ้นไป 35 - 39 21.32 ลงมา 21.33 - 22.71 22.72 - 24.10 24.11 - 25.49 25.50 ขึ้นไป 40 - 44 22.69 ลงมา 22.70 - 24.15 24.16 - 25.61 25.62 - 27.07 27.08 ขน้ึ ไป 45 - 49 23.51 ลงมา 23.52 - 25.10 25.11 - 26.69 26.70 - 28.28 28.29 ข้ึนไป 50 - 54 24.66 ลงมา 24.67 - 26.11 26.12 - 27.56 27.57 - 29.01 29.02 ขน้ึ ไป 55 - 59 25.09 ลงมา 25.10 - 26.54 26.55 - 27.99 28.00 - 29.44 29.45 ขึ้นไป
26 ประชาชนท่ัวไป อายุ 19-59 ปี หน่วย: วินาที มหลกั (Zig-Zag Run) เพศหญงิ ดมี าก ดี ปานกลาง ตา่ ต่ามาก ป 19.75 ลงมา 19.76 - 21.35 21.36 - 22.95 22.96 - 24.55 24.56 ขน้ึ ไป ป 21.13 ลงมา 21.14 - 22.35 22.36 - 23.57 23.58 - 24.79 24.80 ขน้ึ ไป ป 22.65 ลงมา 22.66 - 23.58 23.59 - 24.51 24.52 - 25.44 25.45 ขน้ึ ไป ป 23.81 ลงมา 23.82 - 24.54 24.55 - 25.27 25.28 - 26.00 26.01 ขน้ึ ไป ป 25.23 ลงมา 25.24 - 25.94 25.95 - 26.65 26.66 - 27.36 27.37 ข้นึ ไป ป 26.63 ลงมา 26.64 - 27.58 27.59 - 28.53 28.54 - 29.48 29.49 ขนึ้ ไป ป 27.11 ลงมา 27.12 - 28.37 28.38 - 29.63 29.64 - 30.89 30.90 ขึน้ ไป ป 27.90 ลงมา 27.91 - 29.34 29.35 - 30.78 30.79 - 32.22 32.23 ขึ้นไป ป 28.10 ลงมา 28.11 - 29.57 29.58 - 31.04 31.05 - 32.51 32.52 ขน้ึ ไป กรมพลศกึ ษา, 2556
เกณฑ์มาตรฐานทางกายสาหรับป ช่วง รายการกา้ วเปน็ จงั หวะ 3 อายุ (ปี) ดีมาก ดี เพศชาย ตา่ ตา่ มาก 19 114 ลงมา 115 - 129 ปานกลาง 145 - 159 160 ขึ้นไป 20 - 24 109 ลงมา 110 - 124 140 - 154 155 ขึ้นไป 25 - 29 109 ลงมา 110 - 123 130 - 144 138 - 151 152 ขน้ึ ไป 30 - 34 109 ลงมา 110 - 121 125 - 139 134 - 145 146 ขนึ้ ไป 35 - 39 108 ลงมา 109 - 121 124 - 137 135 - 147 148 ขน้ึ ไป 40 - 44 107 ลงมา 108 - 118 122 - 133 130 - 140 141 ขึ้นไป 45 - 49 106 ลงมา 107 - 117 122 -134 129 - 139 140 ขึ้นไป 50 - 54 104 ลงมา 105 - 115 119 - 129 127 - 137 138 ขึ้นไป 55 - 59 99 ลงมา 100 - 111 118 - 128 124 - 135 136 ขึน้ ไป 116 - 126 112 - 123
27 ประชาชนทัว่ ไป อายุ 19-59 ปี หน่วย: อตั ราการเต้นของหวั ใจ คร้ัง/นาที 3 นาที (3 Minutes Step Test) ตา่ ตา่ มาก เพศหญงิ 148 - 162 163 ข้นึ ไป ดีมาก ดี ปานกลาง 143 - 157 158 ขนึ้ ไป 144 - 159 160 ขน้ึ ไป ป 117 ลงมา 118 - 132 133 - 147 138 - 150 151 ข้นึ ไป ป 112 ลงมา 113 - 127 128 - 142 138 - 151 152 ขึ้นไป ป 111 ลงมา 112 - 127 128 - 143 136 - 148 149 ขน้ึ ไป ป 111 ลงมา 112 - 124 125 - 137 134 - 146 147 ขน้ึ ไป ป 109 ลงมา 110 - 123 124 - 137 128 - 137 138 ขนึ้ ไป ป 109 ลงมา 110 - 122 123 - 135 128 - 138 139 ขน้ึ ไป ป 107 ลงมา 108 - 120 121 - 133 ป 107 ลงมา 108 - 117 118 - 127 ป 105 ลงมา 106 - 116 117 - 127 กรมพลศึกษา, 2556
ข้อปฏิบตั ใิ นการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ในการทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับประชาชนทว่ั ไป ผทู้ าการทดสอบ และผทู้ ี่เกย่ี วข้อง จะตอ้ งให้ความสาคญั เรอ่ื งความปลอดภยั ของผเู้ ข้ารบั การทดสอบ ความแม่นตรงและความน่าเช่ือถอื ของผล การทดสอบ เปน็ สาคญั ดังนนั้ จะตอ้ งปฏิบัติตามหลกั การต่อไปน้ี 1. กอ่ นเขา้ รว่ มโปรแกรมการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ผเู้ ขา้ รบั การทดสอบทกุ คนจะต้องผ่าน การตรวจร่างกาย หรือได้รับความเห็นชอบจากแพทย์หรอื ผู้เช่ียวชาญด้านการทดสอบสมรรถภาพทางกายว่า สามารถเข้ารับการทดสอบได้ 2. ก่อนการทดสอบต้องไดร้ ับการตรวจวัดคา่ ความดันโลหติ ขณะพกั และอตั ราการเตน้ ของหวั ใจ ขณะพกั 3. ใหผ้ เู้ ข้ารับการทดสอบงดดมื่ ชา กาแฟ อาหาร และยาทีม่ ผี ลตอ่ อตั ราการเต้นของหวั ใจ อยา่ ง น้อย 6 ชั่วโมง 4. หากผเู้ ข้ารบั การทดสอบมโี รคประจาตัวหรอื ภาวะผดิ ปกตทิ างรา่ งกาย ท่เี ก่ียวข้องกับการ เคลื่อนไหวและการออกกาลงั กาย จะตอ้ งได้รบั การรับรองจากแพทยห์ รือผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะทางทเี่ กี่ยวขอ้ ง ว่า สามารถทาการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้ 5. การทดสอบสมรรถภาพทางกายในรายการทผ่ี ู้เขา้ รบั การทดสอบต้องออกแรง (รายการวัดแรง บบี มือ (Grip Strength) และรายการยนื - น่งั บนเก้าอ้ี 60 วินาที (60 Seconds Chair Stand)) ในขณะที่ ออกแรงอยา่ กล้นั หายใจ ใหห้ ายใจออกในที่ขณะเกร็งกล้ามเน้อื 6. การทดสอบสมรรถภาพทางกายในรายการท่ีตอ้ งมีการยืดเหยียดกลา้ มเนอ้ื และขอ้ ตอ่ (รายการ นั่งงอตวั ไปข้างหนา้ (Sit and Reach)) ใหผ้ ้เู ข้ารับการทดสอบทาการยดื เหยียดกลา้ มเน้ือและขอ้ ต่อที่เกีย่ วขอ้ ง ก่อนทาการทดสอบจริง และห้ามทาอย่างรวดเร็ว 7. ให้ผ้เู ขา้ รบั การทดสอบทาการทดสอบเต็มความสามารถสงู สดุ ของตนเอง และอยา่ หักโหมจน เกิดการบาดเจ็บ 7. ในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ให้ปฏบิ ตั ิเปน็ ข้ันตอนตามลาดับของรายการทดสอบ คอื 1.) วัดความหนาของไขมันใต้ผวิ หนัง (Skinfold Thickness) 2.) แรงบีบมือ (Grip Strength) 3.) ยืน-น่ัง บนเกา้ อ้ี 60 วนิ าที (60 Seconds Chair Stand) 4.) นัง่ งอตวั ไปขา้ งหนา้ (Sit and Reach) 5.) ว่ิงอ้อมหลัก (Zig - Zag Run) 7.) กา้ วเปน็ จังหวะ 3 นาที (3 Minutes Step Test) 8. เพอ่ื ให้ได้ผลการทดสอบทีม่ คี วามนา่ เชื่อถอื และแมน่ ตรง ควรทาการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ในทุกรายการใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายใน 1 วนั หากผู้เข้ารบั การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ไมส่ ามารถทาการทดสอบ ไดค้ รบทกุ รายการภายในวันดียวกัน ให้ทาการทดสอบในรายการท่ีเหลือได้ในวนั ต่อมา ทัง้ นห้ี ากมีความจาเปน็ ใหพ้ จิ ารณาตามความเหมาะสม โดยชว่ งระยะเวลาไมค่ วรเว้นหา่ งเกิน 3 วนั
29 หลักการในการจัดโปรแกรมออกกาลังกาย เพ่อื พฒั นาสมรรถภาพทางกายสาหรบั สาหรับประชาชนทว่ั ไป 1. ให้ปฏบิ ตั ิตามหลักของ FITT คอื F = (Frequency) ความบ่อยของการออกกาลงั กาย I = (Intensity) ความหนกั ของการออกกาลงั กาย T = (Time) ระยะเวลาที่ใชใ้ นการออกกาลงั กาย และ T = (Type) รปู แบบของการออกกาลังกาย - ความบ่อยของการออกกาลงั กาย (Frequency) ควรจะมกี ารออกกาลงั กายอยา่ งน้อย 3 ครัง้ /สปั ดาห์ แตส่ าหรับผทู้ ่ีออกกาลงั กายเปน็ ประจา ควรจะเปน็ 5 ครั้ง/สปั ดาห์ (ACSM, 2002) “ควรทาใหเ้ ปน็ ปกติและเข้าร่วมอย่างสม่าเสมอ” - ความหนักของการออกกาลงั กาย (Intensity) ควรอยใู่ นระดับปานกลาง หากจะเพม่ิ ความหนัก ตอ้ งมั่นใจวา่ ไมก่ ดดนั ตนเองมากนัก ดงั ประโยคทวี่ ่า “หากไมเ่ จ็บ จะไม่เกิดประโยชน์ (No pain, No gain)” ซ่ึงจะไม่เปน็ ความจรงิ เสมอไป - ระยะเวลาของการออกกาลังกาย (Time) ปกติจะใช้ระยะเวลาในการออกกาลงั กายประมาณ 45 นาที โดยแบง่ เป็น อบอนุ่ ร่างกาย โดย การยืดเหยียดกล้ามเนอ้ื 15 นาที ออกกาลังกายแบบแอโรบิค 20 นาที และคลายอนุ่ 10 นาที - รูปแบบของการออกกาลงั กาย (Type) ขึ้นอยู่กับเพศ อายุ สภาวะทางสุขภาพ สมรรถภาพทางกาย ความชอบ ความสนใจและความ ถนดั 2. ให้เลือกกจิ กรรมทีม่ กี ารเคล่ือนไหวหรอื การกระทาทเ่ี ริ่มจากช้าๆ และค่อยๆ เพิม่ จังหวะ เวลา และความหนัก 3. กิจกรรมที่ใชค้ วรมีทา่ ทางการออกกาลงั กาย ทีม่ ี ความสมั พันธ์กบั จุดศูนย์ถ่วงของร่างกาย ให้ ครบทง้ั 3 ทา่ คอื ท่าน่ัง ท่ายนื และทา่ นอน ซ่ึงจะมสี ว่ นช่วยในการพฒั นาการทรงตัวและระบบประสาทได้ “การออกกาลงั กายทจี่ ะเกิดผลดี จะตอ้ งกระทาใหค้ รบท้งั 3 ทา่ โดยจะตอ้ งเริ่มจากการทาช้าๆ เคลื่อนไหวดว้ ย ท่างา่ ยๆ และคอ่ ยๆ เพิ่มความยากขึ้น และท่ีสาคญั จะตอ้ งเคลอื่ นไหวให้เตม็ ช่วงการเคลอ่ื นไหวและรอบข้อตอ่ ตา่ งๆ ของร่างกาย” 4. ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการออกกาลงั กาย จะเร่ิมจากการมีความรสู้ ึกท่ีดตี ่อการเขา้ รว่ มกิจกรรม และยอมรบั วา่ กจิ กรรมการออกกาลงั กายเปน็ ส่วนหนึง่ ทีจ่ ะต้องบรู ณาการเขา้ ไปในชีวติ ประจาวนั
30 เอกสารอ้างอิง กระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า. 2555. แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2555-2559). กรงุ เทพฯ การกีฬาแห่งประเทศไทย. 2542. การออกกาลังกายในผู้สงู อายุ. เซเว่นพร้ินตงิ้ กรุ๊ป จากดั . กรุงเทพฯ. กรมพลศกึ ษา. 2540. การฟ้นื ฟสู มรรถภาพทางกายของผูส้ งู อายุ. ไทยวฒั นาพานชิ จากัด. กรุงเทพฯ กองออกกาลังกายเพอื่ สขุ ภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข . 2548. การทดสอบความพร้อมในการ ปฏิบตั ิกจิ วัตรของผู้สงู อายุ. โรงพิมพอ์ งคก์ ารรับสง่ สินค้าและพัสดุภัณฑ์. กรงุ เทพ จรสั วรรณ เทยี นประภาส. 2536. การพยาบาลผสู้ ูงอายุ. โรงพิมพร์ งุ่ เรืองธรรม. กรุงเทพฯ. บุญเรียง ขจรศิลป์. 2539. สถิติวิจัย I. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ บรรลุ ศริ พิ านชิ . 2540. “งานผู้สงู อายใุ นประเทศไทย” วารสารการส่งเสริมสขุ ภาพและอนามยั สิง่ แวดล้อม. ปที ี่ 20 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถุนายน . 2542. เวชศาสตร์ผ้สู ูงอายุ. โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . กรุงเทพฯ. พนิ ิจ กุลละวณิชย์ และธีรวฒั น์ กุลทนนั ทน์ . 2548. คู่มือสุขภาพ “การออกกาลงั กาย”. เนชั่นสุดสปั ดาห์ ฉบบั พิเศษ. เนช่นั มัลติมิเดีย กรปุ๊ จากดั (มหาชน). กรุงเทพฯ สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย. 2533. การพยาบาลผสู้ งู อายุ. โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . กรุงเทพฯ. สพุ ติ ร สมาหิโต . 2548. การสร้างแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายทส่ี ัมพันธก์ ับสขุ ภาพสาหรับผสู้ ูงอายุ. ศนู ย์วจิ ัยและพัฒนาวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ , รายงานการวิจยั . กรุงเทพฯ สุพิตร สมาหโิ ต และเวย์น คอรท์ นี. 2526. เทคนิคการวจิ ัย. โรงพิมพ์แหง่ มลรฐั โอเรกอน, สหรัฐอเมริกา. สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2554. แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดวี ิถี ชีวิตไทย พ.ศ. 2554-2563. พิมพค์ รั้งที่ 1, โรงพิมพ์สานักพระพุทธศาสนา, กรงุ เทพฯ American Alliance for Health, Physical Education, Recreation and Dance: AAHPERD. 2012. Online, http://www.aahperd.org. 19 พฤษภาคม 2555. American Collage of Sport Medicine. 2003. ACSM Fitness Book. 3rd edition, Human Kinetics, Champaign, Illinois. American Collage of Sport Medicine. 2010. ACSM's Guidelines for Exercise Testing and Prescription. 8th edition. Lippinott Williams & Wilkins, Philadephis, PA. Arthur F. Kramer, et.al. 2005. Fitness, Aging and Neurocognitive Function. Journal Neurobiology of Aging. 26 S (2005) S24-S127.
31 Bailey Covert. 1994. Smart Exercise Burning Fat, Getting Fit. Houghton Miffline. Company, Boston. Baumgartner, T.A. and A.S. Jackson. 1999. Measurement for Evaluation in Physical Education and Exercise. 6th ed. McGraw-Hill Book Company. New York. Cohen, J. 1977 .Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. Academic press. New York. Edward, T.H. and B.D. Frank. 1992. Health Fitness Instructor’s Handbook. 2nd ed. Human Kinetics, Champaign, Illinois. Heyward, V.H. 2002. Advanced Fitness Assessment and Exercise Prescription. 4th ed. Human Kinetics Publishers. Champaign, Illinois. Howley, E.T. and B.D.Franks. 1992. Health Fitness Instructor’s Handbook. 2nd ed., Human Kinetics Publishers. Champaign, Illinois. Kirkendall, D.R. 1977. Measurement and Evaluation for Physical Education. 1st ed. Brown., Iowa. Kirkendall, D.R., J.J. Gurber and R.E. Johnson. 1987. Measurement and Evaluation for Physical Education. 2nd ed. Brown., Iowa. Pate R. Russell, Richard C. Hohn. 1994. Health and Fitness through Physical Education. Human Kinetics Books. Illinois. Riki, R.E. and J.C. Jones.2001. Senior Fitness Test Manual. California State University, Fullerton. President's Council on Fitness, Sports & Nutrition. 2012. Online, http://www.fitness.gov/be-active/physical-activity-guidelines-for-americans/. 19 พฤษภาคม 2556. Safrit, M.J. 1990. Introduction of Measurement in Physical Education and Exercise Science. 2nded. Mosby Company. Missouri. . 1994. Complete Guide to Youth Fitness Testing. Human Kinetics Books. Champaign Illinois. Samahito, Supitr. 1998. The Use of Kasetsart Motor Fitness Test for Establishing Norms for 6 Year Old Children; 13th Asian Game Scientific Congress: Congress Proceeding. New Thai Mitre Publishing Company, Bangkok. Supitr Samahito, et.al. 2007. Construction of Health Related Physical Fitness Test and Norms for Thai Children of Age 7-18, Proceedings of Universiade Bangkok 2007 FISU Conference; University Sport: Sport Creates Man… Man Develops Nationhood. Bangkok, Thailand.
32 Supitr Samahito, et.al. 2007. Construction of Health Related Physical Fitness Test for Aging, Proceedings of Universiade Bangkok 2007 FISU Conference; University Sport: Sport Creates Man… Man Develops Nationhood. Bangkok, Thailand. Timiras P.S. 1988. Physiological Basis of Aging and Geriatrics. New York. Mac. Millan Publishing Company. . 1994. Complete Guide to Youth Fitness Testing. Human Kinetics, Champaign, Illinois. Vivian H. Heyward. 2006. Advanced Fitness Assessment and Exercise Prescription. 5th edition. Human Kinetics, Champaign, Illinois.
33 รายนามคณะนกั วิจัยในการพฒั นาแบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน สมรรถภาพทางกายสาหรบั ประชาชนทว่ั ไป อายุ 19-59 ปี หวั หน้าคณะนักวจิ ัย ผทู้ รงคุณวุฒพิ ิเศษ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุพติ ร สมาหิโต นกั วิจัย รองศาสตราจารย์วลั ลีย์ ภัทโรภาส ผทู้ รงคณุ วฒุ พิ ิเศษ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริพร ศศมิ ณฑลกุล คณะวทิ ยาศาสตร์การกฬี า มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ อาจารย์อาพร ศรียาภัย คณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาจารยน์ ันทวนั เทียนแกว้ คณะวิทยาศาสตร์การกฬี า มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ อาจารยไ์ พลนิ เผือกประคอง คณะวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.สรายุทธ์ น้อยเกษม คณะวทิ ยาศาสตร์การกฬี า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผชู้ ่วยนกั วจิ ยั สานักการกฬี า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบนั วิทยาการโอลิมปิคไทย นางสาวเจนจิรา ขาผิวพรรณ คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ นายสุริยัน สมพงษ์ สถาบันรบั รอง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: