Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดบันทึกการเรียนรู้ (ฐิติพร 115)

สมุดบันทึกการเรียนรู้ (ฐิติพร 115)

Published by THITI BL, 2022-11-04 13:58:27

Description: สมุดบันทึกการเรียนรู้ (ฐิติพร 115)

Search

Read the Text Version

สมุดบันทึกการเรียนรู้ จัดทำโดย นางสาวฐิติพร บุญล้อม รหัสนักศึกษา 63115241115 รายวิชาการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน

สมุดบันทึกการเรียนรู้ จัดทำโดย นางสาวฐิติพร บุญล้อม รหัสนักศึกษา 63115241115 เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย สมุดบันทึกการเรียนรู้เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม เพื่อพัฒนาผู้เรียน รหัสวิชา 21043701 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์ มหาวิยาลัยราชภัฏสกลนคร

เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย

คำนำ สมุดบักทึกการเรียนรู้นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวิจัยเเละพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน รหัสวิชา 21043701 \"สมุดบักทึกการเรียนรู้\" นี้ ผู้จัดทำได้วางแผนการดำเนินการศึกษาค้นคว้า ตลอดจนออกแบบขั้น ตอนการจัดทำต่าง ๆ ตามองค์ประกอบของโครงสร้าง โดยศึกษาตัวอย่างจากเนื้อหาของแต่ละสัปดาห์ รวมถึงศึกษา จากตัวอย่างที่อาจารย์มอบให้การจัดทำสมุดบันทึกการเรียนรู้ครั้งนี้ สำเร็จตามวัตถุประสงค์ไปด้วยดี ผู้จัดทำขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย อาจารย์ประจำรายวิชาการวิจัยเเละพัฒนา นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ที่ให้คำแนะนำในการจัดทำรายงาน จนสำเร็จลุล่วง ไปได้ด้วยดี ผู้จัดทำหวังเป็น อย่างยิ่งว่าเนื้อหาความรู้นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อที่ผู้สนใจ และตัวของของผู้จัด หากมีสิ่งใดจะต้องปรับปรุง ผู้จัดทำ ขอน้อมรับในข้อชี้แนะ และจะนำไปแก้ไข พัฒนาให้ถูกต้องสมบูรณ์ต่อไป ผู้จัดทำ ฐิติพร บุญล้อม

สารบัญ ครั้งที่ 1 1 ครั้งที่ 2 3 ครั้งที่ 3 5 ครั้งที่ 4 7 ครั้งที่ 5 9 ครั้งที่ 6 11 ครั้งที่ 7 13 ครั้งที่ 8 15 ครั้งที่ 9 17 ครั้งที่ 10-11 19 ครั้งที่ 12-13 21 ครั้งที่ 14 23

ประวัติส่วนตัว ชื่อ-สกุล : นางสาวฐิติพร บุญล้อม ชื่อเล่น : ตาล รหัสนักศึกษา : 63115241115 วัน/เดือน/ปีเกิด : 11 กุมภาพันธ์ 2544 อายุ : 21 ปี หมู่เลือด : โอ หมายเลขโทรศัพท์ : 09-3490-6368 กำลังศึกษาอยู่ : ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร งานอดิเรก : อ่านนิยาย, ดูแลสัตว์เลี้ยง กีฬาที่ชอบ : แบดมินตัน, วอลเลย์บอล คติประจำใจ : นึกถึงคนข้างหลัง

ครั้งที่ 1/ 7 มิ.ย. 2565 1 ปฐมนิเทศ และแนวคิดการเรียนรู้ มคอ3 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน มคอ3 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ใบสัญญาการเรียน ใบงานการจัดทำบันทึกการเรียนรู้ ใบงานการจัดทำบันทึกการเรียนรู้ ใบสัญญาการเรียน

ปฐมนิเทศ 2 จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1. ด้านสมรรถนะ (จุดประสงค์อิงสมรรถนะ) สามารถออกแบบและสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อนำไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียน ได้สอดคล้องกับธรรมชาติและความต้องการ จำเป็นของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการวิจัยที่เหมาะสมซึ่งจำแนกเป็นความสามารถย่อย ๆ ดังนี้ 1.1 สามารถจัดทำโครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา การเรียนรู้ของผู้เรียน ในประเด็นที่สนใจศึกษา 1.2 สามารถสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือวิจัยต่าง ๆ ที่ระบุไว้ในโครงการวิจัย 1.3 สามารถดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตรวจสอบสมมติฐานการวิจัยหรือการบรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัย ตาม แผนที่วางไว้ 1.4 สามารถจัดทำรายงานการวิจัย และนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 2. ด้านความรู้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ 2.1 นวัตกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย สำหรับนำมาใช้พัฒนาผู้เรียน 2.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย ได้แก่ ความหมาย ลักษณะ ความสำคัญ การจัดประเภทของการวิจัย ขั้นตอนการทำวิจัย จรรยาบรรณของ นักวิจัย ตัวแปร ข้อมูล ระดับการวัดข้อมูล สมมติฐานการวิจัย 2.3 การออกแบบและการเขียนโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน 2.4 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2.5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล 2.6 การเขียนรายงานการวิจัย 3. ด้านคุณลักษณะ 3.1 มีเจตคติที่ดีต่อการวิจัย 3.2 มีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้สอนและผู้เรียนด้วยกัน สามารถทำงานเป็นทีมและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

สัปดาห์ที่ 2 /14 มิ.ย. 2565 แนวคิดการ 3 เรียนรู้ และนวัตกรรมการเรียนการสอน แนวคิดเกี่ยวกับ การเรียนรู้ ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง “การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรอันเนื่ องมาจากการได้รับ ขอบข่ายเนื้อหา ประสบการณ์” 1. ความหมายของการเรียนรู้ 2. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย 4. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย เกิดจากพลังความสามารถทางสมอง ซึ่ง เป็นความสามารถของบุคคลในการใช้อวัยวะ เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ความ ไปมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม หรือสิ่งเร้า ต่าง ๆของร่างกายทำงานอย่างประสานสัมพันธ์ เชื่อ เจตคติค่านิยม ซึ่งเป็นรากฐานที่ก่อเกิด ทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นในตัวบุคคล กัน โดยจะมีขั้นตอนของการเกิดพฤติกรรมไป บุคลิกภาพหรือลักษณะนิสัยของบุคคล ดังแสดง ประสบการณ์ต่าง ๆ มีหลากหลายจากง่าย ๆ ตามลำดับ เป็นล าดับขั้นได้ จนถึงซับซ้อน

4 สรุปองค์ความรู้ การเรียบรู้จะเห็นว่าประกอบด้วยคำสำคัญ 4 คำที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลง 2) พฤติกรรม 3) ค่อนข้างถาวร และ 4) การได้รับประสบการณ์ (1) พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive) เช่น ความจำ ความเข้าใจ การคิดในรูปแบบต่าง ๆ (2) พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective) เช่น ความรู้สึก ความเชื่อ เจตคติ ค่านิยม เป็นต้น (3) พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor) เป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การวาดภาพ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง การร้องเพลง การพูด อภิปรายการเต้นตามจังหวะดนตรี เป็นต้น

สัปดาห์ที่ 3/21 มิ.ย. 2565 5 ความรู้เบื้องต้นการวิจัย ใบความรู้ที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย การวิจัย (Research) เป็นการค้นหาความจริง ใน ขั้นตอนทั่วไปของการวิจัย ขอบข่ายเนื้อหา ประเด็นที่สนใจศึกษา โดยใช้ 1. ความหมายของการวิจัย วิธีการที่เป็นระบบ คำตอบหรือความจริงที่ค้นพบ มี 2. ความจริงกับการค้นหา ความถูกต้องเชื่อถือได้ 3. ขั้นตอนทั่วไปของการวิจัย 4. เป้าหมายของการวิจัย เป้าหมายของการวิจัย ใบความรู้ที่ 2 การจัดประเภทของการวิจัย 5. จรรยาบรรณของนักวิจัย (1) เป้าหมายเพื่อบรรยายหรือพรรณนา 1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูลและวิธีการได้มา 6. การจัดประเภทของการวิจัย (2) เป้าหมายเพื่ออธิบาย 2. แบ่งตามประโยชน์การน าผลการวิจัยไปใช้ (3) เป้าหมายเพื่อทำนาย 3. แบ่งตามความต้องการข้อสรุปเชิงเหตุและผลหรือไม่ “ความจริง” คือ สิ่งที่เชื่อว่าจริง ณ เวลา (4) เป้าหมายเพื่อควบคุม นั้น ๆ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ (1) ความจริงนัยทั่วไป เป็นความจริงที่สา จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑ์ควร มารถน าไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง ประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป เพื่อให้ (2) ความจริงยืดหยุ่นตามบริบท เป็น การด าเนินงานวิจัยตั้งอยู่บนพื้นฐานของจริยธรรม ความจริงที่ใช้ได้เฉพาะบริบทที่ศึกษา ไม่ และหลักวิชาการที่เหมาะสม ตลอดจนประกัน ยืนยันการนำไปใช้ได้จริงในบริบทอื่น ๆ มาตรฐาน ของการศึกษาค้นคว้าให้เป็นไปอย่างสม ศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของนักวิจัย

6 สรุปองค์ควาสมำรูห้ รับวิธีการค้นหาความจริง มีหลายวิธี จ าแนกออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ (1) วิธี “นิรนัย (Deductive)” เป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นกฎ ข้อตกลง ความเชื่อ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด (2) วิธี “อุปนัย (Inductive)” เป็นวิธีการค้นหาความจริงผ่านประสบการณ์โดยใช้ การสังเกตด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า หรือการทดลองหลายครั้ง แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ (3) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการที่นำเอากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการค้นหาความจริง ดังนี้ ขั้นที่ 1 สังเกตปรากฏการณ์ในธรรมชาติแล้วก าหนดปัญหา ขั้นที่ 2 คาดคะเนค าตอบอย่างมีเหตุผล เรียกว่า “ตั้งสมมุติฐาน” ขั้นที่ 3 ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นที่ 4 น าข้อมูลที่ได้มาท าวิเคราะห์ ขั้นที่ 5 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล ว่าสอดคล้องกับสมมุติฐานหรือไม่ อย่างไร

7 สัปดาห์ที่ 4 / 28 มิ.ย.2565 ใบความรู้ที่ 4 การจัดประเภทการวิจัย/ตัวแปรและข้อมูล เรื่อง ข้อมูลและประเภทของข้อมูล ความหมายของข้อมูล ใบความรู้ที่ 3 ประเภทของข้อมูล เรื่อง ตัวแปรและประเภทของตัวแปร ความหมายของตัวแปร ข้อมูล คือข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ประเภทตัวแปร ที่เก็บรวบรวมมาจากการนับ การวัดด้วยแบบทดสอบหรือแบบสอบถาม การ ตัวแปร (Variable) หมายถึงคุณลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่สามารถ สังเกต ฯลฯ ซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ แปรเปลี่ยนค่าได้ตั้งแต่สองค่าขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นค่าที่อยู่ในรูปของ ตัวเลข ที่สามารถนำมาวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบใน ปริมาณ หรือคุณภาพ สิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ประเภทของตัวแปร ประเภทของข้อมูล การแบ่งประเภทของตัวแปร สามารถแบ่งได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ใน การแบ่งประเภทของข้อมูล พิจารณาตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การแบ่ง ดังตัวอย่าง เช่น 1. แบ่งตามลักษณะข้อมูล 1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล 2. แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูลหรือวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2. แบ่งตามความเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน 3. แบ่งตามระดับของการวัด 3. แบ่งตามประเภทของการวิจัย

สรุปองค์ความรู้ 8 ตัวแปร (Variable) หมายถึงคุณลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่สามารถแปรเปลี่ยนค่า ข้อมูล คือข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมมาจากการนับการวัด ได้ตั้งแต่สองค่าขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นค่าที่อยู่ในรูปของปริมาณ หรือคุณภาพ เช่น ตัวแปร ด้วยแบบทดสอบหรือแบบสอบถาม การสังเกต ฯลฯ ซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลข “เพศ” แปรค่าได้ 2 ค่า คือ ชาย และหญิง ตัวแปร “ขนาดของโรงเรียน” แปรค่าได้เป็น ที่สามารถนำมาวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบในสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก หรือตัวแปร “คะแนนสอบวิชา ภาษาไทย” ซึ่งมีคะแนนเต็ม 20 แปรค่าได้เป็น 0, 1, 2, ... , 20 เป็นต้น ประเภทของข้อมูล การแบ่งประเภทของข้อมูล พิจารณาตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ สำหรับการแบ่งตัวแปร ตามประเภทของการวิจัยอื่น ๆ รวมถึงการแบ่งตาม 1. แบ่งตามลักษณะข้อมูล แบ่งได้ 2 ประเภท คือ ลักษณะอื่น ๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ในหนังสือหรือต าราเกี่ยวกับการ วิจัยทั่ว ๆ ไป หรือสืบค้นได้ในเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) 1.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Quantitative data) ประเภทของตัวแปร 2. แบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูลหรือวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งได้ 1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 2 ประเภท คือ 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) 1.1 ตัวแปรเชิงปริมาณ (Qualitative variable) 2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) 1.2 ตัวแปรเชิงคุณภาพ (Quantitative variable) 3. แบ่งตามระดับของการวัด แบ่งเป็น 4 ประเภท 2. แบ่งตามความเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน นิยมแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 3.1 ข้อมูลระดับนามบัญญัติ (Nominal scale) 2.1 ตัวแปรอิสระ (Independent variable) 3.2 ข้อมูลระดับเรียงอันดับ (Ordinal scale) 2.2 ตัวแปรตาม (Dependent variable) 3.3 ข้อมูลระดับอันตรภาค (Interval scale) 3. แบ่งตามประเภทของการวิจัย เช่น 3.4 ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale) 3.1 ถ้าเป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research)

สัปดาห์ที่ 5 / 5 ก.ค. 2565 9 การเขียนโครงร่างการวิจัย ใบความรู้ เรื่อง การจัดทำโครงร่างวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน การตั้งชื่อเรื่อง/ คำถาม/ ความมุ่งหมาย/ ความสำคัญ/ สมมติฐานของการวิจัย สมมติฐานทางการวิจัย (Research hypothesis) ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 เมื่อ เป็นข้อความที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงคำตอบของปัญหาการวิจัยที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วง E1= ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของคะแนน หน้าอย่างมีเหตุผล ซึ่งในการเขียนสมมติฐานทางการวิจัยสามารถเขียนได้อย่างใดอย่าง ระหว่างการทดลองใช้นวัตกรรม หนึ่งใน 2 แบบ คือ E2= ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของคะแนน 1. แบบไม่มีทิศทาง เป็นการเขียนที่ไม่ได้ระบุทิศทางของความสัมพันธ์ของตัวแปรหรือ หลังการทดลองใช้นวัตกรรม (Posttest) ทิศทางของความแตกต่างเพียงแต่ระบุว่ามีความสัมพันธ์กันหรือแตกต่างกันเท่านั้น 2. แบบมีทิศทาง เป็นการเขียนโดยระบุทิศทางของความสัมพันธ์ของตัวแปรว่าสัมพันธ์ ในทางใด (สัมพันธ์กันทางบวก หรือทางลบ) หรือถ้าเป็นการเปรียบเทียบก็สามารถระบุถึง ทิศทางของความแตกต่างได้ว่ามากกว่าหรือน้อยกว่า

10 สรุปองค์ความรู้ สมมติฐานทางการวิจัย (Research hypothesis) เป็นข้อความที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงคำตอบของปัญหาการวิจัยที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล ซึ่งในการเขียน สมมติฐานทางการวิจัยสามารถเขียนได้อย่างใดอย่างหนึ่งใน 2 แบบ คือ 1. แบบไม่มีทิศทาง เป็นการเขียนที่ไม่ได้ระบุทิศทางของความสัมพันธ์ของตัวแปรหรือทิศทางของความแตกต่างเพียงแต่ ระบุว่ามีความสัมพันธ์กันหรือแตกต่างกันเท่านั้น 2. แบบมีทิศทาง เป็นการเขียนโดยระบุทิศทางของความสัมพันธ์ของตัวแปรว่าสัมพันธ์ในทางใด (สัมพันธ์กันทางบวก หรือ ทางลบ) หรือถ้าเป็นการเปรียบเทียบก็สามารถระบุถึงทิศทางของความแตกต่างได้ว่ามากกว่าหรือน้อยกว่า เลือกแบบแผนการทดลองใช้นวัตกรรม ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 เมื่อ โดยทั่วไป การวิจัยลักษณะนี้ นิยมตรวจสอบใน E1= ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของคะแนน ประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ ระหว่างการทดลองใช้นวัตกรรม 1. ประสิทธิภาพของนวัตกรรมประเด็นนี้ E2= ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของคะแนน หลังการทดลองใช้นวัตกรรม (Posttest) จำเป็นต้องใช้แบบการทดลอง 2. ประสิทธิผลของนวัตกรรม 3. ผลการใช้นวัตกรรมที่เกิดกับตัวแปรตามต่าง ๆ 4. ความพึงพอใจ/ความคิดเห็นที่มีต่อการใช้นวัตกรรม

สัปดาห์ที่ 6 / 12 ก.ค. 2565 11 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ขอบข่ายเนื้อหา กลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ส่วน หนึ่งของประชากรที่ถูกเลือกขึ้นมาด้วย ประชากร เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะ กลุ่มตัวอย่าง สม ส าหรับใช้ในการศึกษาแทน ประชากร แล้วนำ การก าหนดขนาดและเลือกตัวอย่าง ผลสรุปที่ได้บรรยายหรือสรุปอ้างอิงถึง ใบความรู้ ลักษณะประชากรที่ต้องการศึกษา เรื่อง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง “ประชากร (Population)” หมายถึง ทั้งหมดของทุกหน่วย ของสิ่งที่เราสนใจศึกษา ซึ่ง หน่วยต่าง ๆ อาจเป็น บุคคล การก าหนดขนาดและเลือกตัวอย่าง องค์กร สัตว์ สิ่งของ ฯลฯ 1. เหตุผลของการเลือกตัวอย่าง 2. การกำหนดขนาดตัวอย่าง 3. เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

12 สรุปองค์ความรู้ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง (Sampling) เป็นวิธีการที่จะท าให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่ เป็นตัวแทนของประชากร ซึ่งการเลือกกลุ่มตัวอย่างถือว่าเป็นกิจกรรมหนึ่งของการวิจัยที่มี ความส าคัญอย่างมาก ผู้วิจัยจะต้องสามารถเลือกใช้เทคนิคหรือวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ให้เหมาะสมกับปัญหาการวิจัยเรื่องนั้น ๆ โดยทั่วไป เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่างจ าแนก เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ (1) การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability sampling) และ (2) การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น (Non probability sampling) ซึ่งทั้งสองกลุ่มนี้มีเทคนิคต่าง ๆ ที่น่าสนใจ

13 สัปดาห์ที่ 7 / 26 ก.ค. 2565 การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประเภทของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ประโยชน์ของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หลักการนำเสนอเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

14 สรุปองค์ความรู้ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประเภทของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาเอกสารทางวิชาการ และงานวิจัยของ 1.หนังสือ หรือต ารา นักวิจัยคนอื่น ๆ ที่จัดท าขึ้น ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ที่มีเนื้อหา 2. รายงานการวิจัย /วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์ เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับชื่อเรื่องตัวแปรที่สนใจศึกษา แนวคิด/ 3. บทคัดย่องานวิจัย/วิทยานิพนธ์ ทฤษฎีต่าง ๆ ที่น าใช้ในงานวิจัย สารสนเทศที่ได้จากการศึกษา 4. บทความทางวิชาการ/บทความวิจัย ค้นคว้าดังกล่าว จะเป็นแนวทางในการก าหนดแผนของการวิจัย หลักการน าเสนอเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่ผู้วิจัยจะทำต่อไป 1. น าเสนอสาระที่สอดคล้องกับชื่อเรื่อง ประโยชน์ของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และความมุ่งหมายของการวิจัย 1. ท าให้ผู้วิจัยได้ทราบข้อเท็จจริง ทฤษฎี หลักการ และได้ความรู้ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่ก าลังทำอยู่ 2. จัดลำดับหัวข้อให้เข้าใจง่าย หัวข้อหลัก หัวข้อย่อย 2. ท าให้สามารถนิยามปัญหาที่ตนจะทำได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น โดยคำนึงถึงเหตุผลว่าส่วนใดต้องรู้ก่อนหลัง 3. ท าให้สามารถเลือกใช้ตัวแปรในการวิจัยได้เหมาะสม ภายใต้หัวข้อใดนั้น ๆ และนำเสนอให้ตรงประเด็น 4. ท าให้เกิดความคิดตลอดจนหาทางควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน 3. เขียนเชื่อมโยงเนื้อหาต่าง ๆ ให้สละสลวย ได้อย่างรัดกุม

15 สัปดาห์ที่ 8 / 2 ส.ค. 2565 วิธีดำเนินการวิจัย การสัมภาษณ์ แบบทดสอบ 1. ลักษณะของการสัมภาษณ์ 1. ลักษณะของแบบทดสอบ 2. ประเภทของแบบทดสอบ 2. ลักษณะข้อมูลที่เหมาะกับการใช้การสัมภาษณ์ 3. ประเภทของการสัมภาษณ์ 4. หลักของการสัมภาษณ์ การสังเกต แบบสอบถาม การประเมินจากการปฏิบัติ 1. ลักษณะของการสังเกต 1. ลักษณะของแบบสอบถาม 1. ลักษณะของการประเมินการปฏิบัติ 2. ลักษณะข้อมูลที่เหมาะกับการใช้การสังเกต 2. ลักษณะข้อมูลที่เหมาะกับการใช้แบบสอบถาม 2. กระบวนการประเมินการปฏิบัติ 3. ประเภทของการสังเกต 3. รูปแบบของแบบสอบถาม 3. เครื่องมือการให้คะแนนการปฏิบัติ 4. หลักการสังเกต 5. ลักษณะของผู้สังเกตที่ดี

16 การสังเกตการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัยจำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เหมาะสมเชื่อถือได้ ซึ่งในการวิจัยเรื่องหนึ่ง ๆ จะใช้เครื่องมือชนิดใดย่อมขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ ศึกษา ดังนั้นผู้วิจัยจึงจ าเป็นต้องศึกษาเครื่องมือ แต่ละชนิดทั้งในแง่ลักษณะเครื่องมือ วิธีการสร้าง ข้อดีข้อเสีย ตลอดจนวิธีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือนั้น ๆ เพื่อจะได้เลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับข้อมูล และมั่นใจ ว่าข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ด้วยเครื่องมือนั้น มีความถูกต้องเหมาะสม เชื่อถือได้ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัยทางหลักสูตรและการสอนการวิจัยทางการศึกษาทั่วไป พฤติกรรมศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มีอยู่หลายชนิด แต่ในตำราเล่มนี้ จะขอกล่าวเฉพาะที่นิยมใช้กันทั่วไป ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์แบบสอบถาม แบบทดสอบ และการประเมินจากการปฏิบัติงาน

17 ความเป็นปรนัย อำนาจจำแนก ความเป็นปรนัย (Objectivity) ความเที่ยงตรง นิยมใช้กับเครื่องมือประเภท เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่ใช้ แบบทดสอบ และ เก็บรวบรวมข้อมูลที่แสดงถึง ระดับคุณภาพของเครื่องมือวิจัยที่ แบบสอบถาม ซึ่งข้อมูลที่ ลักษณะสำคัญ 3 ประการ บ่งบอกว่า ข้อมูลหรือผลการวัด รวบรวมได้มักอยู่ในรูปข้อมูล ตัวแปร คุณลักษณะ หรือสิ่งที่ เชิงปริมาณ ความยาก ต้องการวัดด้วยเครื่องมือนั้น ๆ มี ความถูกต้องหรือไม่ เพียงใด การหาความยาก (Difficult) จะ ใช้เฉพาะกรณีเครื่องมือวิจัยเป็น ความเชื่อมั่น ประเภทแบบทดสอบ (Test) ที่ วัดด้านพุทธิพิสัยหรือสติปัญญา เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือ วัดผล หรือเครื่องมือ วิจัยรวมทั้งฉบับ ที่สามารถ วัดเรื่องราวหรือคุณลักษณะ ที่ต้องการวัดได้คงเส้นคงวา

18 ความเป็นปรนัย (Objectivity) ความยาก เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลที่ การหาความยาก (Difficult) จะใช้เฉพาะกรณีเครื่องมือวิจัยเป็น แสดงถึงลักษณะส าคัญ 3 ประการ คือ (1) คำถามชัดเจนอ่านแล้วเข้าใจตรงกัน ประเภทแบบทดสอบ (Test) ที่วัดด้านพุทธิพิสัยหรือสติปัญญา (2) การตรวจให้คะแนนมีความคงที่ (Cognitive domain) โดยเฉพาะแบบทดสอบประเภทอิงกลุ่ม (Norm- (3) การแปลความหมายคะแนนมีความชัดเจนตรงกัน referenced test) ส่วนแบบทดสอบประเภทอิงเกณฑ์ (Criterion- ความเที่ยงตรง (Validity) หรือ ความตรง referenced test) ไม่นิยมหาความยาก สูตรการหาความยากรายข้อที่ ความหมายโดยทั่วไปตามพจนานุกรมแปลว่าความถูก ต้อง สำหรับทางการวัดผล (Measurement) โดยเฉพาะ นิยมใช้กัน มีดังนี้ เกี่ยวกับการศึกษาและจิตวิทยา ความเที่ยงตรงของ เครื่องมือวิจัย แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. กรณีให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 1. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา 2. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง 2. กรณีให้คะแนนไม่เป็น 0 กับ 1 3. ความเที่ยงตรงเกณฑ์สัมพันธ์ ความเชื่อมั่น อำนาจจำแนก ความเชื่อมั่น (Reliability) 1. กรณีให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 1. วิธีของ Kuder-Richardson 2. กรณีให้คะแนนไม่เป็น 0 กับ 1 2. วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของ Cronbach 3. วิธีของ Lovett

สัปดาห์ที่ 10-11 / 15 -23 ส.ค. 2565 19 การวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบ อบรม SPSS และแบบสอบถาม โดยใช้ SPSS / อบรม spss การสร้างไฟล์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อสอบด้วย SPSS การวิเคราะห์ การอ่าน Printout กรณีข้อสอบให้คะแนน 0 กับ 1 Name : ตั้งชื่อตัวแปร กรณีเป็นแบบมาณประมาณค่า Type : กำหนดลักษณะข้อมูลที่คีย์ (numeric = คีย์เป็นตัวเลข string = คีย์เป็นตัวอักษร) กรณีเป็นแบบมาตรประมาณค่า Width : กำหนดความกว้างของข้อมูล (จำนวนหลัก/จำนวนตัวอักษร) การหาค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (r) Decimals : กำหนดตำแหน่งทศนิยม โดยใช้ Item-total Correlation Label : อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวแปร Values : กำหนดค่าตัวเลข ใช้ในกรณีตัวแปรนามบัญญัติ (nominal scale) Missing : กำหนดค่าแทนข้อมูลผิดพลาด Align : วางตำแหน่งของข้อมูลที่คีย์ (ซ้าย/ขวา/หรือตรงกลาง) Measure : ระดับการวัดข้อมูล

20 1. เปิดโปรแกรม H กรณีเป็นแบบมาตรประมาณค่า 2. สร้างตัวแปร การหาค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (r) 3. คีย์ข้อมูล โดยใช้ Item-total Correlation 4. บันทึกไฟล์ ELLO การใช้คำสั่ง Sort case (เรียงลำดับข้อมูลตามตัวแปร) คัดข้อคำถามที ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (r) ผ่าน เกณฑ์เท่ากับจำนวนข้อที วางแผนไว้ เพื่อนำไปหาค่า การใช้คำสั่ง Select cases ความเชื่อมั่นทั้งฉบับโดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา (alpha coefficient) ต่อไป คำสั่ง Compute เพื่อสร้างตัวแปรใหม่ คำสั่ง Recode การวิเคราะห์ความถี่ร้อยละ และกราฟถ้าต้องการกราฟวงกลมต้อง เลือก Pie chart วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

สัปดาห์ที่ 12-13 / 30 ส.ค - 6 ก.ย. 2565 21 การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร การทดสอบค่าเฉลี่ยของตัวแปรตามตัวเดียว 1. ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย (Mean) ของประชากร : กลุ่มตัวอย่างหนึ่งกลุ่มและสองกลุ่ม กลุ่มเดียว กับ ค่าเกณฑ์ หรือ Norm ที่ก าํ หนด โดยใช้สถิติทดสอบค่าที (t-test) One Sample t-test 2. ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย (Mean) ของประชากร ทบทวน สองกลุ่มที่ไม่อิสระกัน - สมมติฐานของการวิจัย Dependent Samples t-test - สมมติฐานทางสถิติ 3. ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย (Mean) ของประชากร -การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ สองกลุ่มที่อิสระกัน Independent Samples t-test

สรุปองค์ความรู้ 22 1. สมมติฐานการวิจัย 3. การตั้งสมมติฐานทางสถิติ เป็นคำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ สามารถตั้งได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผลมี 2 แบบ ดังนี้ กรณีสมมติฐานการวิจัยเป็นแบบไม่มีทิศทางหรือกรณีการ แบบไม่มีทิศทาง ทดสอบแบบสองหาง สมมติฐานทางสถิติจะตั้ง แบบมีทิศทาง กรณีสมมติฐานการวิจัยเป็นแบบมีทิศทางหรือกรณีการ ทดสอบแบบหางเดียว สมมติฐานทางสถิติจะตั้ง 2. สมมติฐานทางสถิติ ข้อตกลงเบื้องต้น ผู้วิจัยกำหนดขึ้นสำหรับใช้เพื่อการทดสอบตามกระบวนการ ค่าของตัวแปรตามวัดได้ในมาตราอันตรภาคหรืออัตราส่วน ทางสถิติ กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีการสุ่มจากประชากร ค่าของตัวแปรตามที่วัดในแต่ละหน่วยตัวอย่างเป็นอิสระกัน สมมติฐานกลาง (Ho) ค่าของตัวแปรตามของประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ สมมติฐานทางเลือก (H1) H1 จะตั้งให้สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัย ในการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เป็นการทดสอบเพื่อตัดสินใจ ว่าจะปฏิเสธ หรือยอมรับ Ho ถ้าปฏิเสธ Ho ผู้วิจัยจะยอมรับ H1แทน

23 สัปดาห์ที่ 14 / 6 ต.ค. 2565 การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research : CAR) ความหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เป้าหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ความสำคัญของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน กระบวนการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

สรุปองค์ความรู้ ความหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 24 การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom action research) เป็นการวิจัยปฏิบัติการอย่างหนึ่งที่ผู้ทำวิจัยคือครูผู้สอนใน ห้องเรียนที่รับผิดชอบ ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนหรือพัฒนาการเรียนการสอนของตนให้ดีขึ้น เป้าหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนมีเป้าหมายส าคัญเพื่อ “แก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนในชั้นเรียนที่ครูนักวิจัยรับผิดชอบ” การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย เป็นการจัดระบบ จัดระเบียบ จัดกระทำข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่จะแปลความหมายของข้อมูลนั้น ๆ ได้ ก็เพื่อตรวจสอบการบรรลุตาม วัตถุประสงค์ของการวิจัย หรือตามสมมติฐานของการวิจัยที่ได้กำหนดไว้ ปัญหา คือ สิ่งที่เป็นจริง ณ ปัจจุบันเกี่ยวกับผู้เรียน ไม่เป็น ไปตามสิ่งที่มุ่งหวังหรือคาดหวังไว้ แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. ปัญหาเชิงแก้ไขปรับปรุง 2. ปัญหาเชิงป้องกัน 3. ปัญหาเชิงพัฒนา ความสำคัญของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 1. ผลดีต่อผู้เรียน 2. ผลดีต่อตัวครูผู้ทำวิจัย 3. ผลดีต่อสภาพการเรียนการสอน 4. ผลดีต่อวงการวิชาการและวงการวิชาชีพครู

ความรู้สึก/ความคิดเห็น ความรู้สึกแรกเริ่มที่ได้รู้ว่าจะได้เรียนวิชาวิจัย และพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน คิดว่าวิชานี้ยาก และน่าจะทำความเข้าใจได้ ยาก แต่พอมาเรียนจริงๆแล้วเป็นวิชาที่ละเอียดอ่อน ถ้าใส่ใจวิชานี้จะเรียนแล้วสนุก เพราะใช้เปรียบเทียบกับชีวิตจริงตลอด แบบที่อาจารย์ยกตัวอย่างในเนื้อหา อาจารย์ สอนเข้าใจและคำที่อาจารย์นำมาใช้ทำให้เข้าใจง่ายพูดเรื่องที่มันยากๆให้เป็นเรื่อง ง่ายๆได้สบายมาก ขอขอบพระคุณอาจารย์สำราญกำจัดภัยที่ช่วยสอนในรายวิชานี้ ทำให้นักศึกษาเข้าใจและเรียนรู้พร้อมที่จะนำไปใช้ในภายภาคหน้าได้จริง

ขอบคุณค่ะ นางสาวฐิติพร บุญล้อม ค.บ.ฟิสิกส์ 63115241115


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook