Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พ.ศ. 2566

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พ.ศ. 2566

Published by sinza_narak, 2023-05-04 03:08:20

Description: หลักสูตร ภาษาไทย 66

Search

Read the Text Version

รายวิชาเสรมิ ทักษะภาษาไทย ๓ คำอธบิ ายรายวชิ า ๔๔ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ รหัสวชิ า ท๒๒๒๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศกึ ษาหลกั การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ประเภทตา่ ง ๆ การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองประเภทตา่ ง ๆ เปน็ ทำนองเสนาะ การอ่านจับใจความจากเรื่องทีอ่ ่าน การเขยี นยอ่ เรอ่ื งจากเรื่องทอ่ี า่ นหรือฟัง การคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การเขียนเรียงความ การพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน การพดู วเิ คราะห์วิจารณ์จากเรื่องที่ ฟงั และดู โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟัง พดู อ่าน เขยี น เพอื่ ฝึกทักษะอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ประเภท ต่าง ๆ อา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองประเภทตา่ ง ๆ เปน็ ทำนองเสนาะ อ่านจบั ใจความจากเรอ่ื งท่ีอา่ น เขียนย่อเรื่องจากเรื่องที่อ่านหรือฟัง คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้ถูกต้องสวยงาม เขียนเรียงความ พูด สอ่ื สารในชีวติ ประจำวัน พดู วเิ คราะหว์ จิ ารณจ์ ากเรอื่ งทฟ่ี งั และดู เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด และการดู มีความสามารถใน การสื่อสาร ในการคิดการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน รักความ เป็นไทย มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ประเภทต่าง ๆ ได้ถูกตอ้ ง ๒. อ่านออกเสยี งบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ เปน็ ทำนองเสนาะไดถ้ ูกตอ้ ง ๓. อา่ นจับใจความจากเร่ืองที่อา่ นได้ ๔. เขียนย่อเร่ืองจากเรื่องทีอ่ า่ นหรือฟังได้ ๕. คัดลายมอื ตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั ไดถ้ กู ต้องสวยงาม ๖. เขยี นเรยี งความไดถ้ กู ตอ้ ง ๗. การพดู สอ่ื สารในชวี ติ ประจำวัน ๘. พดู วเิ คราะหว์ ิจารณ์จากเรื่องท่ฟี ังและดู รวมท้ังหมด ๘ ผลการเรียนรู้

๔๕ โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ รายวิชาเสริมทกั ษะภาษาไทย ๓ รหัสวชิ า ท๒๒๒๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ช่ือหนว่ ยการ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน ๑ เสริมทักษะการ ๑.อ่านออกเสยี งบทรอ้ ย ๑.อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ ๖ ๑๐ อ่านออกเสียง แก้วประเภทต่างๆได้ ประกอบด้วย ถูกต้อง -บทความต่างๆ ๒.อ่านออกเสียงบทรอ้ ย -บทสนทนา กรองประเภทต่างๆเป็น ๒.บทร้อยกรองประกอบดว้ ย ทำนองเสนาะไดถ้ กู ต้อง -กาพยย์ าน๑ี ๑ -กลอนสุภาพ -โคลงส่สี ุภาพ ๒ เสรมิ ทกั ษะการ ๓.อา่ นจบั ใจความจากเร่ือง ๑.จบั ใจความจากส่อื ตา่ งๆไดแ้ ก่ ๖ ๑๐ อ่านจับใจความ ท่อี ่านได้ บทความ นทิ าน สารคดี บันเทิงคดี และบนั ทึก สรุปใจความจากการอ่าน ๓ เสริมทักษะการ ๕.คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึง ๑.หลกั การคดั ลายมือตวั บรรจง ๖ ๑๐ เขยี นคัดลายมอื บรรทดั ได้ถกู ตอ้ ง สวยงาม ครง่ึ บรรทดั ๒๐ สอบกลางภาคเรียนที่ ๑ ๒ ๑๐ ๔ เสรมิ ทักษะการ ๖.เขียนเรียงความได้ ๑.เขียนตามคำบอกไดถ้ กู ต้อง ๖ ๑๐ เขียนเรยี งความ ถูกตอ้ ง ๒.เขยี นสื่อสาร เช่น เขยี นเล่า ๑๐ ประสบการณ์ บันทกึ ประจำวนั ๒๐ คำขวัญ คำคล้องจอง ๑๐๐ ๕ เสริมทักษะการ ๔.เขียนย่อความจากเรอ่ื งที่ ๑.การเขียนย่อความจากเรือ่ งท่ี ๖ เขียนสรุปความ อ่านหรือฟงั ได้ อ่าน นทิ าน บทความ บันทึกจาก การอา่ น ๖ เสรมิ ทกั ษะการ ๗.การพดู ส่อื สารใน ๑.การพูดในโอกาสต่างๆเชน่ การ ๖ พูดส่ือสาร ชวี ติ ประจำวัน พูดโนม้ นา้ ว การพูดแนะนำตวั ๘.พดู วเิ คราะห์วจิ ารณจ์ าก ๒.การพูดวเิ คราะห์วจิ ารณจ์ าก เรอื่ งทฟี่ งั และดู เรื่องทีฟ่ ังและดู สอบปลายภาคเรียนท่ี ๑ ๒ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐

รายวชิ าภาษาไทยในบทเพลง คำอธบิ ายรายวชิ า ๔๖ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ รหสั วิชา ท๒๒๒๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาความสำคัญและประโยชน์ของบทเพลง มีความรู้ความเข้าใจประเภทของบทเพลงต่าง ๆ เข้าใจ หลักการและวิธีการวิเคราะห์บทเพลงตา่ ง ๆ มีความรูค้ วามเข้าใจหลกั การวเิ คราะห์ วิจารณ์และประเมินคณุ ค่า ของบทเพลงตา่ ง ๆ ในดา้ นเน้ือหา ดา้ นวรรณศลิ ป์ และดา้ นสงั คมวฒั นธรรม โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟัง พูด อ่าน เขียน กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ เพื่อฝึกทักษะการวิเคราะห์คุณค่า เนื้อหา ด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคมวัฒนธรรม วิเคราะห์คำที่มีความหมายโดยนัย วิเคราะห์คำภาษาถ่ิน วเิ คราะหค์ ำทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ และแต่งบทเพลง เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ พัฒนาความคิด สามารถวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับคณุ ค่าของบทเพลงต่าง ๆ ทั้งคุณค่าด้านเนื้อหา วรรณศิลป์ความไพเราะรวมทั้งคุณค่าด้านสังคม และเกิดความประทับใจในศลิ ปะการประพนั ธ์บทเพลงต่าง ๆ และสามารถเลือกฟังเพลงตามความสนใจและสา มารแนะนำบทเพลงทีม่ คี ณุ ค่าตอ่ การฟังได้ ผลการเรยี นรู้ ๑. อธิบายความสำคัญและประโยชน์ของการฟงั เพลงได้ ๒. จำแนกประเภทบทเพลงต่าง ๆ ได้ ๓. วเิ คราะหค์ ณุ คา่ ของบทเพลงในด้านเนอื้ หา ด้านวรรณศลิ ป์ และดา้ นสังคมได้ ๔. วเิ คราะห์คำทม่ี คี วามหมายโดยนัยที่ปรากฏในบทเพลงได้ ๕. วิเคราะหแ์ ละบอกความหมายคำภาษาถ่ินทีป่ รากฏในบทเพลงได้ ๖. วเิ คราะหค์ ำทมี่ าจากภาษาต่างประเทศในภาษาไทยท่ปี รากฏในบทเพลงได้ ๗. วิจารณ์และประเมินคณุ ค่าของบทเพลงต่าง ๆ ได้ ๘. แต่งบทเพลงโดยใชค้ ำสัมผสั อยา่ งงา่ ย ๆ ได้ ๙. เลือกฟังเพลงตามความสนใจและสามารแนะนำบทเพลงทม่ี คี ุณคา่ ต่อการฟงั ได้ รวมท้งั หมด ๙ ผลการเรียนรู้

๔๗ โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้ รายวชิ าภาษาไทยในบทเพลง รหสั วิชา ท๒๒๒๐๒ ภาคเรียนท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หน่วย ช่ือหน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน ๑ ความสำคัญของ ๑. อธบิ ายความสำคัญและ ๑. ความสำคัญและประโยชน์ บทเพลง ๖ ๑๐ ประโยชน์ของการฟงั เพลงได้ ของการฟงั เพลงได้ ๒ ความหมาย ๖ ๑๐ โดยนัยในบท ๒. จำแนกประเภทบทเพลง ๒. ประเภทบทเพลงต่าง ๆ ได้ เพลง ต่าง ๆ ได้ ๓. หลกั การวิเคราะหค์ ณุ คา่ ๓. วเิ คราะหค์ ณุ คา่ ของบท ของบทเพลงในดา้ นเนือ้ หา เพลงในดา้ นเนอื้ หา ดา้ น ดา้ นวรรณศิลป์ และดา้ นสงั คม วรรณศลิ ป์ และด้านสังคมได้ ๔. วเิ คราะห์คำที่มี ๑. คำท่มี คี วามหมายโดยนยั ความหมายโดยนยั ท่ปี รากฏ ในบทเพลงได้ ๓ ภาษาถ่ินในบท ๕. วเิ คราะหแ์ ละบอก ๑. ภาษาถน่ิ ๖ ๑๐ เพลง ความหมายคำภาษาถน่ิ ที่ ๒ ๒๐ ปรากฏในบทเพลงได้ ๖ ๑๐ สอบกลางภาคเรยี นท่ี ๑ ๖ ๑๐ ภาษาตา่ งประเท ๖. วเิ คราะหค์ ำท่ีมาจาก ๑. คำท่ีมาจาก ๔ ศในบทเพลง ภาษาตา่ งประเทศใน ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ภาษาไทยท่ีปรากฏในบท เพลงได้ ๕ คำสัมผัสในบท ๘. แตง่ บทเพลงโดยใชค้ ำ ๑. การแต่งบทเพลงหรอื เพลง สัมผัสอย่างง่าย ๆ ได้ กลอนสมั ผสั ๖ บทเพลงทม่ี ี ๗. วิจารณแ์ ละประเมนิ ๑. หลักการวิจารณ์และ ๖ ๑๐ คณุ คา่ คณุ คา่ ของบทเพลงตา่ ง ๆ ได้ ประเมนิ คุณคา่ ของบทเพลง ๙. เลือกฟังเพลงตามความ ๒. เลอื กฟงั เพลงตามความ ๒ ๒๐ สนใจและสามารแนะนำบท สนใจและสามารแนะนำบท เพลงท่ีมีคุณค่าตอ่ การฟงั ได้ เพลงทม่ี ีคุณค่าตอ่ การฟงั ๔๐ ๑๐๐ สอบปลายภาคเรียนที่ ๑ รวมตลอดภาคเรียน

คำอธบิ ายรายวิชา ๔๘ รายวชิ าพัฒนาทกั ษะการอ่านเขียนภาษาไทย ๓ รหัสวิชา ท๒๒๒๐๓ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง การจับใจความจากเรื่องที่อ่าน การเขียน ย่อเรื่องจากเรื่องที่อ่านหรือฟัง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำถูกต้อง การเขยี นสะกดคำถูกต้อง การเขียนประโยคสอ่ื สาร และการเขียนเรยี งความได้ถกู ตอ้ ง โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางภาษาฟัง พดู อ่าน เขียน เพ่อื ฝกึ ทักษะอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบท รอ้ ยกรองได้ถูกต้องคลอ่ งแคลว่ อ่านจบั ใจความจากเรือ่ งที่อา่ นได้ เขียนยอ่ เร่ืองจากเร่อื งท่ีอ่านหรอื ฟังได้ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้ถูกต้องสวยงาม เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำถูกต้อง เขียนสะกดคำถูกต้อง เขยี นประโยคส่อื สารถกู ตอ้ ง และเขยี นเรียงความได้ถกู ตอ้ ง เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด และการดู มีความสามารถใน การสื่อสาร ในการคิดการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้องคลอ่ งแคล่ว ๒. อ่านจบั ใจความจากเร่ืองที่อ่านได้ ๓. เขยี นยอ่ เร่ืองจากเรอ่ื งทีอ่ า่ นหรือฟงั ได้ ๔. คัดลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ได้ถูกตอ้ งสวยงาม ๕. เขียนสือ่ สารโดยใช้ถ้อยคำถูกต้อง เขยี นสะกดคำถกู ตอ้ ง เขยี นประโยคสือ่ สารถูกตอ้ ง ๖. เขยี นเรียงความไดถ้ ูกต้อง รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

๔๙ โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ รายวิชาพัฒนาทักษะการอ่านเขียนภาษาไทย ๓ รหสั วิชา ท๒๒๒๐๓ ภาคเรยี นที่ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หน่วย ช่อื หนว่ ยการ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนัก (ชั่วโมง) คะแนน ท่ี เรยี นรู้ ๙ ๑๕ ๑ พฒั นาทักษะ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและ ๑. การอ่านออกสยี งบทร้อยแก้ว ๙ ๑๕ การอา่ นออก บ ท ร ้ อ ย ก ร อ ง ไ ด ้ ถ ู ก ต ้ อ ง ประกอบดว้ ย ๒ ๒๐ เสียง คลอ่ งแคลว่ - บทรอ้ ยแก้วทเ่ี ป็นบทบรรยาย ๙ ๑๕ - บทความตา่ ง ๆ ๙ ๑๕ (เน้นการอา่ นคลอ่ ง) ๒. การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง - กาพย์ยานี ๑๑ - กลอนสุภำ ๒ พฒั นาทักษะ ๒. อ่านจับใจความจากเรื่องที่ ๑. จบั ใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ การอ่านจบั อา่ นได้ - บทความ ใจความ ๓. เขียนย่อเรื่องจากเรื่องที่อ่าน - นทิ าน หรอื ฟังได้ - สารคดี บนั เทงิ คดี รวมทงั้ บนั ทึกสรปุ ใจความจากการอ่าน (บันทกึ การอ่าน) ๒. การเขยี นย่อความ สอบกลางภาคเรยี นที่ ๑ ๓ พัฒนาทกั ษะ ๕. เขียนสือ่ สารโดยใช้ถอ้ ยคำ ๑. เขยี นตามคำบอกไดถ้ กู ต้อง การเขยี น ถูกตอ้ ง เขียนสะกดคำถกู ต้อง ๒. เขยี นสอื่ สาร เชน่ ส่ือสาร เขยี นประโยคสอื่ สารถกู ตอ้ ง - เขียนเล่าประสบการณ์ ๖. เขียนเรยี งความได้ถูกตอ้ ง - บันทกึ ประจำวัน - คำขวญั คำคลอ้ งจอง ๓. การเขยี นเรียงความ พฒั นาทกั ษะ ๔. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง ๑. การคัดลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทดั ๔ การคัด บรรทดั ไดถ้ ูกต้องสวยงาม ลายมือ สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๑ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

คำอธิบายรายวิชา ๕๐ รายวชิ าพัฒนาทกั ษะการอา่ นเขียนภาษาไทย ๔ รหัสวชิ า ท๒๒๒๐๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทต่าง ๆ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ เป็นทำนองเสนาะ การอา่ นจับใจความจากเร่อื งท่ีอา่ น การเขยี นยอ่ เรื่องจากเร่อื งท่ีอ่านหรือฟัง การคัดลายมือ ตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั และการเขียนเรยี งความ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟงั พดู อ่าน เขยี น เพ่อื ฝึกทักษะอ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ ประเภท ต่าง ๆ ได้ถูกต้อง อ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ เป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง อ่านจับใจความจาก เรื่องที่อ่านได้ เขียนย่อเรื่องจากเรื่องที่อ่านหรือฟังได้ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้ถูกต้องสวยงาม เขยี นเรยี งความไดถ้ ูกต้อง เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด และการดู มีความสามารถใน การสื่อสาร ในการคิดการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน รกั ความเป็นไทย มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ ประเภทตา่ ง ๆ ไดถ้ ูกต้อง ๒. อา่ นออกเสียงบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ เป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง ๓. อ่านจบั ใจความจากเรอื่ งที่อา่ นได้ ๔. เขยี นย่อเร่อื งจากเร่อื งที่อา่ นหรอื ฟังได้ ๕. คัดลายมอื ตัวบรรจงครงึ่ บรรทดั ไดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม ๖. เขยี นเรียงความไดถ้ กู ต้อง รวมทัง้ หมด ๖ ผลการเรียนรู้

๕๑ โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ รายวชิ าพัฒนาทกั ษะการอ่านเขียนภาษาไทย ๔ รหสั วิชา ท๒๒๒๐๔ ภาคเรยี นที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนัก (ช่วั โมง) คะแนน ที่ เรยี นรู้ ๙ ๑๕ ๑ พฒั นาทักษะ ๑. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ๑. การอา่ นออกสียงบทร้อยแก้ว ๙ ๑๕ การอา่ นออก ประเภทตา่ ง ๆ ไดถ้ ูกต้อง ประกอบดว้ ย ๒ ๒๐ เสยี ง ๒. อ่านออกเสียงบทร้อย - บทรอ้ ยแก้วท่ีเปน็ บทบรรยาย ๙ ๑๕ กรองประเภทต่าง ๆ เป็น - บทความต่าง ๆ (เน้นการอ่านคล่อง) ทำนองเสนาะได้ถกู ตอ้ ง ๒. การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง - กาพยย์ านี ๑๑ - กลอนสุภาพ ๒ พัฒนาทักษะ ๓. อ่านจับใจความจากเรื่อง ๑. จับใจความจากสือ่ ตา่ ง ๆ การอา่ นจบั ทอ่ี ่านได้ - บทความ ใจความ ๔. เขียนย่อเรื่องจากเรื่องท่ี - นทิ าน อ่านหรอื ฟงั ได้ - สารคดี บันเทงิ คดี รวมท้งั บนั ทึกสรุปใจความจากการอ่าน (บนั ทกึ การอา่ น) ๒. การเขียนย่อความ สอบกลางภาคเรยี นท่ี ๒ ๓ พฒั นาทักษะ ๖. เขียนเรียงความได้ถกู ต้อง ๑. การเขยี นเรียงความ การเขยี น เรียงความ พฒั นาทักษะ ๕. คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึง ๑. การคดั ลายมอื ตัวบรรจงครงึ่ บรรทดั ๙ ๑๕ ๔ การคดั บรรทัดไดถ้ กู ตอ้ งสวยงาม ๒ ๒๐ ลายมือ ๔๐ ๑๐๐ สอบปลายภาคเรยี นที่ ๒ รวมตลอดภาคเรยี น

รายวชิ าการเขยี นเลา่ เรอื่ ง คำอธบิ ายรายวิชา ๕๒ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ รหัส ท๒๒๒๐๕ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักการเขียนงานเขียนประเภทต่าง ๆ มีความรู้ความเข้าใจหลักการเขียนบรรยายและพรรณนา หลักการเขียนเลา่ เรื่อง หลกั การเขียนนิทาน และหลักการเขียนอัตชวี ประวตั ิหรือชวี ประวัติ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟัง พูด อ่าน เขียน กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และกระบวนการคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพื่อฝกึ ทักษะการเขยี นบรรยาย เขียน พรรณนา เขียนเลา่ เรื่องหรือเล่าประสบการณ์ เขียนนิทาน และเขียนอัตชวี ประวัติหรือชีวประวตั ิ เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ พัฒนาความคิด มีมารยาทในการเขียน มีความสามารถใน การสื่อสาร ในการคิดการใชท้ ักษะชวี ิต ในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน รักความ เปน็ ไทย มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับงานเขียนประเภทตา่ ง ๆ ๒. เขียนบรรยายและพรรณนาได้ ๓. เขียนเลา่ เรอ่ื งหรือเล่าประสบการณ์ได้ ๔. เขียนนิทานได้ ๕. เขยี นอัตชีวประวัตหิ รือชีวประวัติได้ รวมทง้ั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้

๕๓ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ รายวิชาการเขยี นเลา่ เรื่อง รหสั วชิ า ท๒๒๒๐๕ ภาคเรยี นที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ช่ือหน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน ๑ ความรู้เบื้องต้น ๑. มคี วามร้คู วามเข้าใจ ๑. ความหมายและ เกีย่ วกับเขยี น ๙ ๑๕ เกี่ยวกบั งานเขยี นประเภท ความสำคญั ของการเขยี น ๒ เรื่องเล่านา่ อา่ น ๙ ๑๕ ต่าง ๆ ๒. ประเภทของงานเขียน ๓ นิทานแสนสนกุ ๒ ๒๐ ๒. เขียนบรรยายและ ๓. โวหารในการเขียน ๙ ๑๕ พรรณนาได้ ๔. การเขยี นบรรยายและ พรรณนา ๑ . เ ข ี ย น บ ร ร ย า ย แ ล ะ ๑. การเขียนเล่าเรือ่ ง พรรณนาได้ ๒. การเขียนเลา่ ประสบการณ์ ๒. เขียนเล่าเรื่องหรือเล่า ประสบการณ์ได้ สอบกลางภาคเรียนที่ ๒ ๔. เขียนนทิ านได้ ๑. การเขียนนิทาน ชวี ประวัตใิ ห้ ๕. เขยี นอัตชวี ประวตั หิ รอื ๑. การเขยี นอัตชีวประวตั ิ ๘ ๑๕ ๔ ขอ้ คิด ชีวประวตั ิได้ ๒. การเขียนชีวประวัติ ๒ ๒๐ สอบปลายภาคเรยี นที่ ๒ ๔๐ ๑๐๐ รวมตลอดภาคเรยี น

รายวิชาภาษาไทยในชีวติ ประจำวนั คำอธิบายรายวิชา ๕๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ รหัส ท๒๒๒๐๖ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาษาเพ่อื การสอ่ื สารเกดิ จากการเรยี นรู้ มใิ ช่สิง่ ท่ตี ดิ ตัวมาแต่กำเนดิ หรือเกดิ จากสัญชาติญาณ มนษุ ย์เรา ค่อย ๆ เรียนรู้วธิ กี ารใชภ้ าษาเพื่อการสื่อสารในชีวติ ประจำวนั มาทีละเล็กทลี ะน้อยตามความจำเปน็ ของชีวติ และ มีการเรียนรู้เพิ่มขึ้นและพัฒนาขึ้นตามลำดับ ทั้งภาษาถ้อยคำและภาษาที่ไม่ใช่ถ้อยคำ การใช้ภาษาใน ชีวิตประจำวันย่อมมีความแตกต่างกันไปบ้างตามปัจจัยต่าง ๆ (กาล เทศะ บุคคล อาชีพ เพศ วัย สภาพทาง ภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม สังคม สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์) มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคำ วิธีการเรียบเรียงถ้อยคำ และการเลอื กใช้ถ้อยคำให้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ในการส่อื สาร ซง่ึ สง่ิ เหล่านมี้ อี ทิ ธิผลทำให้เกดิ ความแตกต่างทำให้ เกดิ ภาษากลุม่ ยอ่ ย ๆ ขึน้ แตอ่ ย่างไรก็ตามไมว่ า่ ผใู้ ชภ้ าษาจะอยใู่ นสงั คมใด ก็ต้องเรียนรวู้ ิธกี ารใชภ้ าษาของคนใน สงั คมนนั้ ใหเ้ ข้าใจ ทง้ั นเี้ พ่อื จะได้ใช้ภาษาส่ือสารในชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการศึกษาและการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวนั ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามปจั จัยของการสอ่ื สาร ทง้ั ยังมเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อการใชภ้ าษาไทยในชีวิตประจำวัน เป็นผูใ้ ฝ่รใู้ ฝ่เรียน มีความมุ่งม่ัน ในการทำงาน รักความเป็นไทย มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม สามารถนำองค์ความรทู้ ่สี งั เคราะห์ ได้ไปสร้างกระบวนการการบูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่น หรือการนำไปใช้เพื่อหาความรู้ต่อยอด และใช้ ชวี ิตประจำวนั ได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑. เขา้ ใจหลกั การและแนวคดิ พนื้ ฐานของการใชภ้ าษาไทยในชวี ติ ประจำวนั ๒. มที กั ษะการฟัง และสามารถใชท้ ักษะการฟังในชีวิตประจำวันได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม ๓. มที กั ษะการพดู และสามารถใชท้ ักษะการพดู ในชีวิตประจำวนั ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม ๔. มที ักษะการอา่ น และสามารถใชท้ กั ษะการอ่านในชวี ติ ประจำวนั ไดถ้ ูกต้อง เหมาะสม ๕. มที กั ษะการเขยี น และสามารถใชท้ กั ษะการเขียนในชวี ิตประจำวนั ไดถ้ กู ต้อง เหมาะสม ๖. ประยกุ ต์ทกั ษะการฟงั การพูด การอา่ น และการเขียนเพื่อใช้ในการสอื่ สารในชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่าง ถกู ต้อง คลอ่ งแคลว่ และเหมาะสม ๗. มเี จตคติและมารยาทท่ดี ีในการสือ่ สาร รวมทัง้ หมด ๗ ผลการเรียนรู้

๕๕ โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทยในชีวติ ประจำวนั รหัสวชิ า ท๒๒๒๐๖ ภาคเรยี นที่ ๑ กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ย ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน ๑ เขา้ ใจสื่อสาร ๑. เข้าใจหลกั การและแนวคิดพื้นฐาน ๑. ความหมายของการสอ่ื สาร ๖ ๑๐ ของการใช้ภาษาไทยในชวี ิตประจำวนั ๒. ความสำคญั ของการสื่อสาร ๗. มีเจตคติและมารยาทท่ดี ใี นการ ๓. ลักษณะของการส่ือสาร สอ่ื สาร ๔. จดุ ประสงค์ของการส่ือสาร ๕. การใชภ้ าษาไทยในการส่ือสาร ท่ดี ี ๒ การฟัง ๒. มีทกั ษะการฟัง และสามารถใช้ทกั ษะ ๑. ความหมายของการฟัง ๖ ๑๐ สมั ฤทธ์ิ การฟังในชีวิตประจำวันได้ถูกตอ้ ง ๒. ความสำคญั ของการฟงั เหมาะสม ๓. จุดประสงคข์ องการฟงั ๗. มีเจตคติและมารยาททีด่ ีในการ ๔. ฝกึ ทกั ษะการฟัง ส่อื สาร ๓ วิจิตรวาจา ๓. มที ักษะการพูด และสามารถใชท้ ักษะ ๑. ความหมายของการพดู ๖ ๑๐ การพูดในชีวติ ประจำวนั ไดถ้ กู ตอ้ ง ๒. ความสำคญั ของการพดู เหมาะสม ๓. จดุ ประสงคข์ องการพดู ๗. มเี จตคติและมารยาททดี่ ใี นการสื่อสาร ๔. ฝกึ ทักษะการพูด สอบกลางภาคเรียนที่ ๑ ๒ ๒๐ ๔ เสริมค่าการ ๔. มที กั ษะการอ่าน และสามารถใช้ทักษะ ๑. ความหมายของการอา่ น ๖ ๑๐ อ่าน การอา่ นในชวี ติ ประจำวนั ได้ถูกต้อง ๒. ความสำคญั ของการอ่าน เหมาะสม ๓. จุดประสงค์ของการอ่าน ๗. มเี จตคติและมารยาทที่ดใี นการสื่อสาร ๔. ฝกึ ทักษะการอ่าน ๕ งานเขียน ๕. มที ักษะการเขยี น และสามารถใชท้ กั ษะ ๑. ความหมายของการเขียน ๖ ๑๐ เพยี รลขิ ิต การเขียนในชวี ติ ประจำวันได้ถกู ตอ้ ง ๒. ความสำคญั ของการเขียน เหมาะสม ๓. จุดประสงคข์ องการเขยี น ๗. มีเจตคติและมารยาทที่ดีในการสอ่ื สาร ๔. ฝึกทักษะการเขยี น ๖ สมั ฤทธิ์ ๖. ประยุกต์ทักษะการฟัง การพดู การอา่ น ๑. ฝกึ ทกั ษะการประยุกตก์ ารฟงั ๖ ๑๐ ประมวล และการเขียนเพอื่ ใชใ้ นการส่ือสารใน การพูด การอา่ น และการเขียน ทักษะ ชวี ิตประจำวันได้อย่างถูกตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ เพ่ือใชใ้ นการส่ือสาร และเหมาะสม ๗. มเี จตคตแิ ละมารยาททีด่ ใี นการสอ่ื สาร สอบปลายภาคเรียนที่ ๑ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

รายวชิ าวรรณกรรมเยาวชน คำอธบิ ายรายวชิ า ๕๖ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ รหัส ท๒๒๒๐๗ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ศึกษาความหมาย ลักษณะ ความสำคญั และประเภทของวรรณกรรมเยาวชน รวมไปถึงหลักการในการ วิเคราะห์ความ (แปลความ ตีความ ขยายความ) อันเป็นพื้นฐานการพัฒนาองค์ความรู้ สร้างกระบวนการคิด เสริมจติ คณุ ธรรม ใหแ้ ก่เยาวชน ท่ีเปน็ กำลงั หลกั อนั สำคญั ของสงั คม โดยคำนึงถึงหลักการและกระบวนการทางความคิด และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร อย่างสละสลวย และมีเนื้อความที่สามารถรับสารและถ่ายทอดสารให้ตนเองและผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน รวมไปถึงการศึกษา ความหมาย หลกั การ และแนวทางในการวิเคราะห์ วิจารณว์ รรณกรรมเยาวชนจากแหล่งศกึ ษาต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะ ความสำคัญ และประเภทของวรรณกรรมเยาวชน สามารถสร้างงานเขียนเป็นวรรณกรรมสำหรับเยาวชนตามแนวทางต่าง ๆ ได้ มีความสามารถในการถ่ายทอด แนวคิด สามารถวิเคราะห์เนื้อหา วิจารณ์และแสดงความคิดเห็นต่อวรรณกรรมเยาวชนได้อย่างสร้างสรรค์ เห็น คณุ ค่าของวรรณกรรมเยาวชนอันจะนำไปสูก่ ารพัฒนาองคค์ วามรู้ สรา้ งกระบวนการคดิ เสริมจติ คุณธรรม ท้ังยัง มีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ การศึกษาวรรณกรรมเยาวชน ใหเ้ ป็นผใู้ ฝร่ ู้ใฝ่เรียน มคี วามมงุ่ ม่ันในการทำงาน รกั ความเป็นไทย มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม สามารถสร้างกระบวนการการบูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่น หรือ การนำไปใชเ้ พอ่ื หาความรตู้ ่อยอด และใช้ชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. เข้าใจความหมาย ลกั ษณะ ความสำคญั และประเภทของวรรณกรรมเยาวชน ๒. เขา้ ใจหลกั การแปลความ ตีความ และขยายความ จากวรรณกรรมเยาวชน ๓. แตง่ วรรณกรรมเยาวชนเพือ่ สื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้เหมาะสมและตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ๔. แตง่ วรรณกรรมเยาวชนโดยใชภ้ าษาเรยี บเรียงถกู ต้อง มีข้อมลู และสาระสำคญั ชดั เจน ๕. วิเคราะหว์ รรณกรรมเยาวชนตามแนวทางและหลักการได้ถูกตอ้ ง ๖. วิจารณ์และแสดงความคดิ เหน็ วรรณกรรมเยาวชนประเภทต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม ๗. มีมารยาทในการอ่านและการเขียน รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรยี นรู้

๕๗ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ รายวชิ าวรรณกรรมเยาวชน รหัสวชิ า ท๒๒๒๐๗ ภาคเรยี นท่ี ๑ กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หน่วย ชอ่ื หน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน ๑ เข้าใจพ้นื ฐานงาน ๑. เขา้ ใจความหมาย ลักษณะ ๑. ความหมายของวรรณกรรม ๙ ๑๕ วรรณศลิ ป์ ความสำคญั และประเภทของ เยาวชน วรรณกรรมเยาวชน ๒. ลักษณะของวรรณกรรมเยาวชน ๒. เขา้ ใจหลกั การแปลความ ๓. ความสำคัญของวรรณกรรม ตีความ และขยายความ จาก เยาวชน วรรณกรรมเยาวชน ๔. ประเภทของวรรณกรรมเยาวชน ๕. หลกั การวเิ คราะหค์ วาม - แปลความ - ตีความ - ขยายความ ๒ ซาบซึง้ จินต์ ๕. วิเคราะหว์ รรณกรรมเยาวชน ๑. การวิเคราะห์เนื้อหาวรรณกรรม ๙ ๑๕ แนวทางไดส้ รา้ ง ตามแนวทางและหลกั การได้ เยาวชน เสริม ถกู ต้อง - ความหมาย - หลักการ - แนวทาง ๒. การวิเคราะหแ์ นวคดิ และข้อคิด จากวรรณกรรมเยาวชน สอบกลางภาคเรียนท่ี ๑ ๒ ๒๐ ๓ วิจารณ์งามวจิ ิตร ๖. วจิ ารณ์และแสดงความคิดเห็น ๑. หลักการและมารยาทในการแสดง ๙ ๑๕ คดิ ต่อเติม วรรณกรรมเยาวชนประเภทตา่ ง ๆ ความคิดเห็น อยา่ งเหมาะสม ๒. การวิจารณว์ รรณกรรมเยาวชน - ความหมาย - หลักการ - แนวทาง ๓. การเขียนบทวิจารณ์ ๔ รเิ รม่ิ เพ่ิม ๓. แตง่ วรรณกรรมเยาวชนเพ่ือ ๑. ฝึกฝนการแต่งวรรณกรรมเยาวชน ๙ ๑๕ สร้างสรรคป์ นั สือ่ สารในรปู แบบต่าง ๆ ได้ จากการถา่ ยทอดความรสู้ ึกและ เยาวชน เหมาะสมและตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ เหตุการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน ๔. แตง่ วรรณกรรมเยาวชนโดยใช้ ๒. แตง่ วรรณกรรมเยาวชนจากหวั ขอ้ ภาษาเรียบเรยี งถกู ตอ้ ง มขี อ้ มลู หรือกำหนดทิศทางแนวคดิ และ และสาระสำคัญชดั เจน เงื่อนไขตา่ ง ๆ สอบปลายภาคเรียนท่ี ๑ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

รายวชิ าเสรมิ ทักษะภาษาไทย ๔ คำอธิบายรายวิชา ๕๘ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ รหสั ท๒๒๒๐๘ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรอง การอ่านจับใจความจากเร่ืองท่ีอ่าน วิธีการ เขียนสะกดคำถูกต้อง หลักการเขียนสื่อสารในแบบต่าง ๆ วิธีการพูดสรุปใจความสำคัญจากการอ่าน และ หลักการพูดในโอกาสต่าง ๆ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อฝึกทักษะการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว อ่านจับใจความจากเรื่องที่อ่าน เขียนสะกดคำถูกต้อง เขียนสื่อสาร พูดสรุปใจความสำคัญจากการอ่าน และ พูดในโอกาสต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด และการดู มีความสามารถใน การสื่อสาร ในการคิดการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ได้ถกู ต้อง คล่องแคล่ว ๒. อ่านจบั ใจความจากเรอ่ื งที่อา่ นได้ ๓. เขียนสะกดคำไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ ๔. เขยี นส่อื สารในลักษณะต่าง ๆ ได้ ๕. พดู สรปุ ใจความสำคัญจากการอา่ นได้ ๖. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ รวมทง้ั หมด ๖ ผลการเรยี นรู้

๕๙ โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ รายวชิ าเสรมิ ทกั ษะภาษาไทย ๔ รหสั วชิ า ท๒๒๒๐๘ ภาคเรยี นที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หน่วย ช่อื หนว่ ยการ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน ๑ เสริมทักษะการ ๑.อ่านออกเสียงบทรอ้ ย ๑.อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ๖ ๑๐ อา่ นออกเสยี ง แกว้ ประเภทตา่ งๆได้ ประกอบด้วย ถกู ต้อง -บทความตา่ งๆ ๒.อ่านออกเสยี งบทร้อย -บทสนทนา กรองประเภทต่างๆเปน็ ๒.บทร้อยกรองประกอบด้วย ทำนองเสนาะได้ถกู ตอ้ ง -กาพยย์ าน๑ี ๑ -กลอนสภุ าพ -โคลงสี่สุภาพ ๒ เสรมิ ทักษะการ ๓.อ่านจบั ใจความจากเรื่อง ๑.จบั ใจความจากสื่อตา่ งๆได้แก่ ๖ ๑๐ อ่านจบั ใจความ ที่อ่านได้ บทความ นทิ าน สารคดี บันเทิงคดี และบันทึก สรุปใจความจากการอ่าน ๓ เสริมทกั ษะการ ๕.เขียนสื่อสารในลักษณะ ๑.หลกั การเขยี นสอ่ื สารใน ๖ ๑๐ เขยี นสอ่ื สาร ต่าง ๆ ได้ รปู แบบตา่ ง ๆ สอบกลางภาคเรยี นที่ ๑ ๒ ๒๐ ๔ เสริมทักษะการ ๖.เขียนเรียงความได้ ๑.เขียนตามคำบอกได้ถูกตอ้ ง ๖ ๑๐ เขยี นเรยี งความ ถูกต้อง ๒.เขยี นสือ่ สาร เชน่ เขียนเลา่ ประสบการณ์ บันทึกประจำวัน คำขวัญ คำคล้องจอง ๕ เสริมทกั ษะการ ๔.เขียนยอ่ ความจากเรื่องท่ี ๑.การเขียนย่อความจากเรือ่ งที่ ๖ ๑๐ เขยี นสรปุ ความ อ่านหรือฟังได้ อา่ น นทิ าน บทความ บนั ทกึ จาก การอา่ น ๖ เสรมิ ทักษะการ ๗.การพดู ส่ือสารใน ๑.การพูดในโอกาสตา่ งๆเช่น การ ๖ ๑๐ พดู สือ่ สาร ชวี ิตประจำวัน พูดโนม้ น้าว การพูดแนะนำตัว ๘.พดู วเิ คราะหว์ ิจารณจ์ าก ๒.การพดู วเิ คราะห์วจิ ารณ์จาก เร่อื งท่ีฟงั และดู เร่อื งที่ฟังและดู สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๑ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

รายวชิ าการแต่งกลอนวยั รุ่น คำอธิบายรายวชิ า ๖๐ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ รหัส ท๒๒๒๐๙ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ประวัติความเป็นมาลักษณะทั่วไปของกลอน ลักษณะเฉพาะของกลอนแต่ละ ประเภท บทบาทและคณุ คา่ ของกลอน หลกั การแตง่ กลอนส่ี กลอนหก กลอนสุภาพ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟงั พูด อ่าน เขียน กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ เพื่อฝึก ทกั ษะการแตง่ คำประพันธป์ ระเภทกลอนต่าง ๆ ได้แก่ กลอนส่ี กลอนหก กลอนสุภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ พัฒนาความคิด มีมารยาทในการเขียน มีความสามารถใน การสื่อสาร ในการคิดการใช้ทักษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ เกีย่ วกบั ความหมาย ประวัติความเป็นมาลกั ษณะทัว่ ไปของกลอน ๒. มคี วามรู้ความเข้าใจลกั ษณะเฉพาะของกลอนแตล่ ะประเภท บทบาทและคุณค่าของกลอน ๓. มคี วามร้คู วามเข้าใจเสียงสมั ผัส และเสยี งวรรณยุกตท์ ้ายวรรค ๔. สามารถเลอื กสรรคำมาแต่งกลอนได้ ๕. สามารถแต่งกลอนส่ี และกลอนหกได้ ๖. สามารถแต่งกลอนบรรยายภาพการแตง่ กลอนตามจนิ นาการได้ ๗. สามารถแต่งกลอนตามหัวข้อท่ีกำหนด ๘. สามารถแตง่ กลอนจากคำหรอื วรรคท่กี ำหนดให้ได้ รวมทัง้ หมด 8 ผลการเรียนรู้

๖๑ โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้ รายวิชาการแต่งกลอนวยั รุ่น รหสั วิชา ท๒๒๒๐๙ ภาคเรยี นที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หน่วย ชือ่ หน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน ๑ สืบสานกลอน ๑. มีความรูค้ วามเข้าใจ ๑. ความหมาย ประวัตคิ วาม ๖ ๑๐ ถกั ถอ้ ย เกย่ี วกบั ความหมาย เป็นมาลักษณะทัว่ ไปของกลอน ประวตั ิความเป็นมาลักษณะ ๒. ลักษณะเฉพาะของกลอนแต่ ทัว่ ไปของกลอน ละประเภท ๒. มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ ๓. บทบาทและคุณค่าของกลอน ลกั ษณะเฉพาะของกลอนแต่ละ ประเภท บทบาทและคณุ ค่า ของกลอน ๒ รอ้ ยเรียงเสยี ง ๓. มีความร้คู วามเข้าใจเสยี ง ๑. เสียงสัมผสั ในและสัมผัสนอก ๖ ๑๐ ๖ ๑๐ สัมผัส สัมผสั และเสียงวรรณยกุ ต์ ๒. เสียงสมั ผัสสระและสัมผสั ทา้ ยวรรค พยญั ชนะ ๓. เสียงวรรณยกุ ตท์ ้ายวรรค ๓ บรรจงจัดสรร ๔. สามารถเลือกสรรคำมา ๑. การเลือกสรรคำมาแตง่ กลอน คำ แต่งกลอนได้ ๒. ท่วงทำนองกลอน สอบกลางภาคเรียนท่ี ๒ ๒ ๒๐ ๔ หวานฉำ่ ลำนำ ๕. สามารถแตง่ กลอนสี่ และ ๑. การแต่งกลอนสี่ ๘ ๑๕ กลอน กลอนหกได้ ๒. การแต่งกลอนหก ๕ กล่ันสุนทรเป็น ๖. สามารถแต่งกลอนบรรยาย ๑. การแตง่ กลอนบรรยายภาพ ๑๐ ๑๕ บทกวี ภาพการแตง่ กลอนตามจนิ นา ๒. การแตง่ กลอนตามจินนาการ การได้ ๓. การแต่งกลอนตามหัวข้อท่ี ๗. สามารถแตง่ กลอนตาม กำหนด หวั ขอ้ ท่กี ำหนด ๔. การแตง่ กลอนจากคำหรอื ๘. สามารถแตง่ กลอนจากคำ วรรคท่กี ำหนดให้ หรือวรรคทก่ี ำหนดให้ได้ สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรยี น ๔๐ ๑๐๐

๖๒ คำอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้ (IS1) รหสั วิชา I๒๐๒๐๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาวิเคราะห์ ฝึกทักษะการตั้งประเด็นปัญหาหรือการตั้งคำถามในเรื่องที่สนใจ โดยเริ่มจากตนเอง เช่อื มโยงกบั ชุมชน ทอ้ งถ่นิ และประเทศ ตงั้ สมมตฐิ านและให้เหตุผลโดยใชค้ วามร้จู ากศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใช้วิธีการทเ่ี หมาะสม ทำงานบรรลุผลตามเปา้ หมายภายใน กรอบการดำเนินงานทีก่ ำหนด โดยการกำกับดูแล ชว่ ยเหลือของครอู ย่างต่อเนือ่ ง สงั เคราะห์สรปุ องค์ความรูแ้ ละรว่ มกนั เสนอความคิด วิธกี ารแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบดว้ ยกระบวนการคดิ กระบวนการสืบค้นข้อมลู กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ กลุม่ ในการวพิ ากษ์ เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้าแสวงหาความรู้ เปรียบเทียบเชื่อมโยงองค์ความรู้ สังเคราะห์ สรุป อภปิ ราย เพอ่ื ให้เห็นประโยชน์และคณุ คา่ ของการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. ตง้ั ประเดน็ ปัญหาโดยเลอื กประเดน็ ที่สนใจ เรมิ่ จากตนเอง ชมุ ชน ท้องถนิ่ ประเทศ ๒. ตงั้ สมมติฐานประเดน็ ปญั หาที่ตนสนใจ ๓. ออกแบบ วางแผน ใชก้ ระบวนการรวบรวมขอ้ มูลอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๔. ศึกษาคน้ คว้า แสวงหาความรู้เก่ียวกบั ประเดน็ ทเี่ ลอื กจากแหลง่ เรียนรทู้ หี่ ลากหลาย ๕. ตรวจสอบความน่าเชอื่ ถอื ของแหล่งทมี่ าของข้อมูลได้ ๖. วิเคราะหข์ ้อค้นพบดว้ ยสถิตทิ ่ีเหมาะสม ๗. สงั เคราะห์สรปุ องคค์ วามรดู้ ว้ ยกระบวนการกลุม่ ๘. เสนอแนวคิด การแกป้ ัญหา อยา่ งเปน็ ระบบด้วยองค์ความรู้จากการคน้ พบ ๙. เห็นประโยชน์และคุณคา่ ของการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้

๖๓ โครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้ รายวิชาการศกึ ษาคน้ คว้าและสรา้ งองค์ความรู้ (IS1) รหสั วิชา I๒๐๒๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ยการ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั (ชั่วโมง) คะแนน ท่ี เรียนรู้ ๘ ๒๐ ๑ สิ่งทฉ่ี ันสนใจ ๑.ตงั้ ประเด็นปญั หาโดยเลอื กจาก ๑. ตั้งประเดน็ ปญั หาหรอื คำถาม ๒๐ ๓๐ ประเด็นที่สนใจ เริ่มจากตนเอง ๒. กระบวนการรวบรวมขอ้ มูล ๒ ๒๐ ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และประเทศ ๘ ๑๐ ๒. ตั้งสมมติฐานประเด็นปัญหาที่ ๒ ๒๐ ตนสนใจ ๔๐ ๑๐๐ ๓ . อ อ ก แ บ บ ว า ง แ ผ น ใ ช้ กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่าง มีประสิทธิภาพ ๒ ไปแสวงหา ๔. ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ ๓. การศึกษาค้นคว้า แสวงหา คำตอบ เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจาก ความรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ๔. การตรวจสอบความน่าเชื่อถือ ๕. ตรวจสอบความน่าเชื่อถอื ของ ของแหลง่ ที่มาข้อมูล แหลง่ ทีม่ าของข้อมลู ได้ ๕. การวเิ คราะหส์ งั เคราะหข์ ้อมลู ๖. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติที่ เหมาะสม สอบกลางภาคเรยี นท่ี ๑ ๓ รอบร้แู ละเห็นค่า ๗. สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ ๖. การสรปุ องคค์ วามรู้ ดว้ ยกระบวนการกลุ่ม ๗. การแสดงความคิดและการ ๘. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหา แก้ปัญหา อย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้ ๘. คุณคา่ ของการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ย จากการคน้ พบ ตนเอง ๙. เห็นประโยชน์และคุณค่าของ การศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๑ รวมตลอดภาคเรียน

คำอธบิ ายรายวิชา ๖๔ รายวชิ าการสือ่ สารและการนำเสนอ (IS2) รหสั วิชา I๒๐๒๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา เรียบเรียงและถ่ายทอดความคิดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลองค์ความรู้ท่ีศึกษาค้นคว้าในรายวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) โดยเขียนโครงร่าง บทนำ เนื้อเรื่อง สรุป ในรูปของรายงานเชิงวิชาการ โดยใช้คำจำนวน 2,500 คำ มีการอ้างอิงแหล่งความรู้ที่เชื่อถือได้ อย่างหลากหลาย เรียบเรียงและถ่ายทอดความคิด อย่างชัดเจน เป็นระบบ มีการนำเสนอในรูปแบบเดี่ยว (Oral individual) หรือกลุ่ม (Oral Panel Presentation)โดยใช้สื่อประกอบที่หลากหลายและเผยแพร่ผลงานสู่ สาธารณะ เพื่อให้เกิดทักษะในการเขียนรายงานเชิงวิชาการและทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เห็น ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ในการสรา้ งสรรค์งาน สามารถถา่ ยทอดสิ่งทเ่ี รยี นรู้ใหเ้ ป็นประโยชนแ์ กส่ าธารณะได้ ผลการเรยี นรู้ ๑. เขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ องคค์ วามรู้เชิงวชิ าการภาษาไทย ๒. นำเสนอ ข้อคน้ พบและข้อสรปุ องคค์ วามรู้จากการศกึ ษาในรปู แบบกลุ่มหรอื รายบคุ คล โดยใช้สอ่ื อปุ กรณ์อยา่ งเหมาะสม ๓. มีทกั ษะการเขยี นรายงานเชงิ วิชาการและการสือ่ สาร โดยใชส้ อื่ ประสมในการนำเสนออยา่ งเหมาะสม และมีประสทิ ธภิ าพ ๔. เผยแพร่ผลงานการศกึ ษาค้นคว้าในรปู แบบบทความวิชาการ บทความวิจัย แสดงนิทรรศการผลงาน ตพี มิ พใ์ นเอกสารวารสารทางวชิ าการ หรอื เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕. บอกประโยชน์และคุณคา่ ในการสรา้ งสรรค์งานและถา่ ยทอดสิง่ ท่เี รียนรู้แกส่ าธารณะ รวมท้งั หมด ๕ ผลการเรียนรู้

๖๕ โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ และการนำองคค์ วามรไู้ ปใชบ้ ริการสังคม (IS2+3) รหัสวิชา I๒๐๒๐๒ I๒๐๒๐๓ ภาคเรียนที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ เรียงถอ้ ยรอ้ ยคำ ๑. เขียนรายงานการศึกษา รายงานเชิงวิชาการ หมายถึง งานเขียน ๘ ๒๐ ค้นคว้าองค์ความรู้เชิงวิชาการ ทางวิชาการที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้า ภาษาไทย จากเอกสาร จากการสำรวจ การสังเกต การทดลอง ฯลฯ แล้วนำมารวบรวม วเิ คราะห์ เรยี บเรยี งขึน้ ใหม่ ตามโครงเร่ือง ที่ได้วางไว้ โดยมีหลักฐานและ เอกสารอ้างอิงประกอบ ๒ นำมาเลา่ ต่อ ๒. นำเสนอข้อค้นพบ ข้อสรุป วิธีการนำเสนอข้อค้นพบด้วยสื่อเป็นตัวช้ี ๑๕ ๒๐ จากองค์ความรู้ที่ศึกษาใน ถึงประสิทธิภาพของการเรียนการสอนใน ๒๐ ๒๐ รูปแบบกลุ่มหรือรายบคุ คล โดย ครั้งน้ัน ๆ วิธีหนึ่งเพราะสื่อจะเป็นตัวการ ใช้สื่ออุปกรณ์ในการนำเสนอได้ สำคัญที่จะถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ อย่างเหมาะสม๓. มีทักษะการ และประสบการณ์ของผู้เรียน ซึ่งควรมี เขียนรายงานเชิงวิชาการและ ทางเลือกหลายช่องทางในการนำเสนอ การสื่อสาร โดยใช้สื่อประสมใน ขอ้ มลู ท่เี หมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพ การนำเสนออยา่ งเหมาะสมและ มีประสทิ ธิภาพ สอบกลางภาคเรยี นที่ ๒ ๒ ๓ ถา่ ยทอดเผยแพร่ ๔. เผยแพร่ผลงานการศึกษา การถ่ายโอนองค์ความรู้จากการศึกษา ๙ ค้นคว้าในรูปแบบบทความ ค้นคว้า และข้อค้นพบ โดยการเผยแพร่ วิชาการ บทความวิจัย แสดง ผลงาน เช่น การจัดนิทรรศการผลงาน นิทรรศการผลงาน ตีพิมพ์ใน ด้วยวัสดุ สิ่งของ อุปกรณ์และกิจกรรมที่ เอกสารวารสารทางวิชาการ หลากหลายแต่มีความสมั พนั ธ์กันในแต่ละ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง โดยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน มีการ ๕. บอกประโยชน์และคุณค่าใน วางแผนออกแบบที่เร้าความสนใจ ผู้ชม ก า ร ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ ง า น แ ล ะ สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการดู การฟัง ถ่าย ท อด ส ิ่งท ี่เร ีย น ร ู้แก่ การสังเกต สัมผัส และทดลองด้วยสื่อท่ี สาธารณะ หลากหลาย ๔ บริการสงั คม (IS3) สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม/ การแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิพากษ์ ๔ - โครงงาน/โครงการ ซึ่งแสดงถึง และสรปุ ผลการปฏิบัติโครงงาน/ โครงการ การตระหนักรู้ มีสำนึกความ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

๖๖ คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย จำนวน - หนว่ ยกิต รายวิชาการนำองค์ความรไู้ ปใช้บริการสังคม (IS3) รหสั วชิ า I๒๐๒๐๓ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา - ชว่ั โมง เป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนนำความรู้หรือที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า และเรียนรู้จาก รายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาค้นคว้า และการสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation-IS1) และการสื่อสารการนำเสนอ (Communication and Presentation-IS2) ไปสู่การปฏิบัติในการสร้างสรรค์ โครงงาน/โครงการต่างๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะหรือบริการสังคม ชุมชน ประเทศหรือสังคมโลก มี การกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ วางแผน การทำงาน และตรวจสอบความก้าวหน้า วิเคราะห์ วิจารณผ์ ลทีไ่ ด้ จากการปฏิบัตกิ ิจกรรมหรือโครงงาน/โครงการโดยใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ การคิดสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมจิตอาสาที่ไม่มีค่าจ้างตอบแทน เป็นกิจกรรมที่ให้ มีความตระหนักรู้ มีสำนึกความรับผิดชอบต่อ ตนเองและตอ่ สงั คม เป้าหมายการดำเนินกจิ กรรม ๑. วิเคราะห์องค์ความรู้หรือประสบการณ์จากการเรียนในสาระ IS1 และ IS2 เพื่อกำหนดแนวทางไปสู่ การปฏิบตั ใิ หเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสงั คม (Public Service) ๒. เขยี นเป้าหมาย/วัตถปุ ระสงค์ เค้าโครง กิจกรรม/โครงงานและแผนปฏบิ ตั โิ ครงงาน/โครงการ ๓. ปฏิบัติตามแผนและตรวจสอบความกา้ วหนา้ ทางการปฏิบัตโิ ครงงาน/โครงการ ๔. ร่วมแสดงความคดิ เห็น วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ การปฏบิ ัตโิ ครงงาน/ โครงการ ๕. สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม/โครงงาน/โครงการ และแสดงความรู้สึกความคิดเห็นต่อผลการ ปฏบิ ัติงานหรอื กิจกรรม ซึง่ แสดงถงึ การตระหนักรู้ มีสำนกึ ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม

๖๗ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน(กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน)์ ตวั อย่างโครงสรา้ งการจดั กิจกรรมการนำองค์ความร้ไู ปใชบ้ รกิ ารสงั คม IS3 ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ลำดับ กจิ กรรม ช่วั โมง หมายเหตุ 1 วิเคราะห์องค์ความรู้ เพอื่ กำหนดแนวทางทางการนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ต่อโรงเรียนและชมุ ชน เชน่ - ส่งิ แวดลอ้ ม - ปญั หาและผลกระทบตอ่ วิถีชีวิต การเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ และสังคม - การอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อม - แนวทางการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อม(เลือกเฉพาะเรื่องที่สนใจจะอนรุ ักษ์) 2 วางแผนการทำกจิ กรรม เพ่ือนำความรไู้ ปสร้างประโยชนต์ อ่ โรงเรยี นและชมุ ชน โดยจดั ทำรายละเอียดและตารางเวลาในการปฏบิ ัติกิจกรรมตามโครงการ / โครงงาน / กจิ กรรมทจ่ี ะดำเนนิ การ เชน่ - โครงการเผยแพร่ความรู้ เรื่อง การอนรุ ักษ์สง่ิ แวดล้อม - โครงการรณรงค์สรา้ งจติ สำนึก เรอื่ ง การอนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม - โครงการผลติ สอื่ การเรยี นรเู้ พ่ือการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม ฯลฯ 3 ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามปฏทิ นิ ท่กี ำหนด เชน่ - ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามปฏทิ ินการดำเนนิ งานโครงการเผยแพรค่ วามรู้ เรื่อง การ อนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อม - ปฏิบัติกิจกรรมตามปฏทิ นิ การดำเนินงานโครงการรณรงค์สรา้ งจติ สำนกึ เร่อื ง การอนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อม - ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามปฏทิ นิ การดำเนนิ งานโครงการผลิตสอื่ การเรยี นรู้เพื่อการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4 สรปุ ผลการดำเนินกจิ กรรม เชน่ - บนั ทึกผลการดำเนนิ งาน - สะทอ้ นความคดิ เหน็ ของตนเอง / ชุมชนในการทำกิจกรรม - อภิปรายและสรปุ ผลการดำเนนิ กจิ กรรม 5 เผยแพรผ่ ลงานผลงานในรูปแบบทีห่ ลากหลาย เช่น - จัดทำแผ่นพับเผยแพร่ผลงาน - จดั ทำเว็บไซด์ หรือเผยแพรผ่ ลงานในเวบ็ ไซด์ - จดั ทำ Facebook หรอื เผยแพรผ่ ลงานใน Facebook - จดั ทำปา้ ยนิเทศ หรอื ไวนิลเผยแพร่ผลงาน - จดั ทำ CD DVD เผยแพรผ่ ลงาน - จดั นทิ รรศการเผยแพรผ่ ลงาน ฯลฯ รวม

รายวิชาเสรมิ ความรภู้ าษาไทย คำอธิบายรายวชิ า ๖๘ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ รหัสวชิ า ท๒๓๒๐๑ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาและทบทวนหลักการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด หลักการใช้ภาษา และวรรณคดวี รรณกรรม ตง้ั แต่ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ จนถงึ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ โดยใช้กระบวนการเรียนทางภาษาฟัง พดู อา่ นเขยี น เพือ่ ฝกึ กระบวนการอา่ นสร้างความรูแ้ ละความคิด กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถเลือกฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ เข้าใจธรรมชาติของ ภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา แสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ พัฒนาความคิด เพิ่มพูนทักษะการอ่าน นำไปใช้ติดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน มีประสิทธิภาพในการเขียนสื่อสาร มีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์ รักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ เห็นคุณคา่ และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง ผลการเรยี นรู้ ๑. ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ติดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสยั รกั การอ่าน ๒. ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาส ต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ๔. เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ ๕. เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมา ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ รวมทง้ั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้

๖๙ โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ รายวิชาเสรมิ ความรู้ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๒๓๒๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั เรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน ๑ การอา่ น ๑. ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้ ๑. ทบทวนความรู้เกี่ยวกบั ๕ ๑๕ และความคิดเพอ่ื นำไปใชต้ ิดสินใจ เน้อื หาการอา่ น แกป้ ัญหาในการดำเนนิ ชวี ติ และมี ๒. ทดสอบความรเู้ ก่ียวกบั นสิ ยั รักการอา่ น สาระการอ่าน ๒ การเขียน ๒. ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร ๑. ทบทวนความรเู้ กีย่ วกับ ๔ ๑๕ เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียน เนื้อหาการเขยี น เรื่องราวในรปู แบบตา่ ง ๆ เขียน ๒. ทดสอบความรเู้ กีย่ วกับ รายงานขอ้ มลู สารสนเทศและ สาระการเขียน รายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมี ประสทิ ธิภาพ สอบกลางภาคเรียนท่ี ๒ ๑ ๒๐ หลักการใช้ ๔. เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลัก ๑. ทบทวนความร้เู ก่ียวกับ ๕ ๑๕ ๓ ภาษาไทย ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา เนอ้ื หาหลกั การใชภ้ าษาไทย และพลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทาง ๒. ทดสอบความรู้เก่ยี วกบั ภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็น สาระหลกั การใชภ้ าษาไทย สมบตั ขิ องชาติ ๔ การฟงั การดูและ ๓. สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมี ๑. ทบทวนความรเู้ กี่ยวกับ ๔ ๑๕ การพดู และ วิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ เนื้อหาการฟงั การดแู ละการ วรรณคดี ความคิด และความรสู้ ึกในโอกาสตา่ ง พูด วรรณกรรม ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ๒. ทดสอบความรเู้ กย่ี วกับ ๕. เข้าใจและแสดงความคิดเห็น สาระการฟงั การดูและการพูด วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย ๓. ทบทวนความรเู้ กี่ยวกบั อยา่ งเหน็ คณุ คา่ และนำมา เนอ้ื หาวรรณคดีและ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จริง วรรณกรรม ๔. ทดสอบความรเู้ ก่ยี วกบั สาระวรรณคดีและวรรณกรรม สอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ๑ ๒๐ รวมตลอดภาคเรยี น ๒๐ ๑๐๐

รายวิชาภาษาพาสนุก คำอธบิ ายรายวิชา ๗๐ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑ รหสั วชิ า ท๒๓๒๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาเพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย ศกึ ษาเสยี งในภาษาไทย ไตรยางศ์ การผันอักษร วเิ คราะหช์ นิดและหนา้ ทีข่ องคำในประโยค วิเคราะหโ์ ครงสรา้ งของประโยคสามญั ประโยคความ รวม และประโยค ความซอ้ น ศกึ ษาการสรา้ งคำซอ้ น คำซ้ำ คำประสม คำสมาส จำแนกคำไทยแทแ้ ละคำทีม่ า จากภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย มีความรกั และภมู ใิ จ รักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ เพ่ือใหเ้ กิดการพฒั นาศกั ยภาพ สมรรถภาพการเรยี นรู้ ส่งเสรมิ การพฒั นาความคดิ เพ่อื ต่อยอดการคิด วเิ คราะห์และสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ตลอดจนเห็นคณุ คา่ และรว่ มอนรุ ักษ์ ภาษาไทยใหด้ ำรงสืบไป ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรคู้ วามเขา้ ใจลกั ษณะธรรมชาติของภาษาได้ ๒. สามารถอธิบายลกั ษณะของเสยี งในภาษาไทยได้ ๓. วเิ คราะหก์ ารสรา้ งคำและหนา้ ท่ขี องคำได้ ๔. วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งประโยคได้ ๕. อธิบายลกั ษณะการสร้างคำได้ ๖. ระบุคำไทยแท้และคำท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศ รวมทงั้ หมด ๖ ผลการเรียนรู้

๗๑ โครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้ รายวิชาภาษาพาสนุก รหัสวชิ า ท๒๓๒๐๒ ภาคเรียนท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั (ช่วั โมง) คะแนน ท่ี ๔ ๑๐ ๑ สร้างคำหรรษา มีความรคู้ วามเขา้ ใจลักษณะ ธรรมชาติของภาษา/การ ๖ ๑๐ ธรรมชาติของภาษา สร้างคำในภาษาไทย ๘ ๑๐ ๒ หนา้ ทข่ี องการสรา้ ง สามารถอธบิ ายลกั ษณะของ หน้าท่ขี องคำในภาษาไทย ๒ ๒๐ คำ เสยี งในภาษาไทย ๔ ๑๐ ๓ วิเคราะหค์ ำตาม วิเคราะหก์ ารสรา้ งคำและ ประเภทของคำใน หน้าที่ หน้าทขี่ องคำ ภาษาไทย/ความแตกตา่ ง ของชนดิ และหนา้ ที่ของคำ ในภาษาไทย สอบกลางภาคเรยี นที่ ๑ ๔ วิเคราะหโ์ ครงสรา้ ง วเิ คราะหโ์ ครงสร้างประโยค โครงสรา้ งประโยคความ ของประโยคสามญั ความเดียว เดียว ๕ วิเคราะห์โครงสรา้ ง วิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยค โครงสรา้ งประโยคความ ๖ ๑๐ ประโยคความรวม ความรวม ประโยคความ รวม/ประโยคความซอ้ น ประโยคความซ้อน ซอ้ น ๖ วิเคราะห์คำไทยและ ระบคุ ำไทยแท้และคำท่ีมา คำที่มาจาก ๘ ๑๐ คำจากต่างประเทศ จากภาษาตา่ งประเทศ ภาษาตา่ งประเทศ สอบปลายภาคเรียนที่ ๑ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

รายวชิ าหลกั ภาษาไทย คำอธิบายรายวชิ า ๗๒ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ รหสั ท๒๓๒๐๓ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักภาษาไทยเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของภาษาไทย ระบบเสียงและอักษรไทย การยืมคำ ภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย การสร้างคำในภาษาไทย รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำ ในภาษาไทย กลุม่ คำและประโยค โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางภาษาฟัง ดู พูด อา่ นเขยี น เพือ่ ฝึกทกั ษะการใช้ภาษา การวเิ คราะห์ระบบ เสียง ระบบคำในภาษาไทย วิเคราะห์คำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย รวมทั้งวิเคราะห์ การสร้างคำและประโยคในภาษาไทย เพื่อให้เกิดสมรรถนะด้านความคิด การสื่อสาร การพูดและเทคโนโลยีแก้ปัญหาต่างๆ เกิดความรู้ ความเขา้ ใจหลกั ภาษาไทย สามารถนำความรูไ้ ปใชว้ เิ คราะห์ภาษาไทยไดอ้ ย่างถูกต้อง อันจะนำไปสู่การอนรุ กั ษไ์ ว้ เป็นสมบัตขิ องชาติ ผลการเรียนรู้ ๑. อธบิ ายลกั ษณะของภาษาไทย ๒. วิเคราะหเ์ สยี งในภาษาไทย ๓. ระบุคำที่มาจากภาษาตา่ งประเทศ ๔. จำแนกคำท่ีเกดิ จากการสร้างคำ ๕. ระบชุ นิดของคำและหนา้ ท่ีของคำ ๖. จำแนกประโยคชนดิ ตา่ ง ๆ รวมทง้ั หมด ๖ ผลการเรยี นรู้

๗๓ โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้ รายวชิ าหลกั ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๓๒๐๓ ภาคเรยี นที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชื่อหน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน ๑ ลักษณะท่ัวไป ๑. อธิบายลกั ษณะของ ๑. ลกั ษณะของภาษาไทย ๒๕ ของภาษาไทย ภาษาไทย ๒ เสยี งใน ๒. วเิ คราะหเ์ สียงใน ๑. เสยี งสระ ๑๐ ๑๕ ภาษาไทย ภาษาไทย ๒. เสียงพยญั ชนะ ๓. เสียงวรรณยุกต์ ๓ ภาษาทยี่ ืมจาก ๓. ระบคุ ำท่มี าจาก ๑. ภาษาตา่ งประเทศท่ยี มื มาใช้ ๖ ๑๐ ตา่ งประเทศ ภาษาตา่ งประเทศ - ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษา บาลี สันสกฤต สอบกลางภาคเรยี นที่ ๒ ๒ ๒๐ ๓ การสร้างคำ ๔. จำแนกคำท่เี กดิ จากการ ๑. คำซ้อน ๖ ๑๐ สร้างคำ ๒. คำซ้ำ ๓. คำประสม ๔. คำสมาส คำและกลุ่มคำ ๕. ระบุชนิดของคำและ ๑. คำไทย ๗ ชนิด ๖ ๑๐ หน้าท่ขี องคำ ๔ ประโยค ๖. จำแนกประโยคชนิด ๑. ประโยคชนดิ ตา่ งๆ ๖ ๑๐ ตา่ ง ๆ สอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

รายวชิ าการอา่ นสะท้อนคิด คำอธิบายรายวชิ า ๗๔ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๒ รหสั ท๒๓๒๐๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักการอ่านออกเสยี งร้อยแกว้ และร้อยกรอง อ่านจบั ใจความ การอ่านตามความสนใจ วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่า ตีความ เขยี นกรอบแนวคดิ ผังความคิด มีมารยาทในการอา่ น โดยใชท้ ักษะทางภาษาฟัง ดู พูด อ่าน เขียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ภาษาไทยย่อมเกี่ยวพันกับความคิด ของมนุษย์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดสร้างสรรค์ คิดวิพากษ์วิจารณ์ คิดตัดสินใจแก้ปัญหา และวินิจฉัยอย่างมี เหตุผล ขณะเดียวกันการใช้ภาษาอย่างมีเหตผุ ล ใช้ในทางสร้างสรรค์และใชภ้ าษาอย่างสละสลวยงดงาม ย่อม สรา้ งเสรมิ บุคลกิ ภาพของผู้ใชภ้ าษาให้เกดิ ความนา่ เชอ่ื ถอื และเชือ่ ภมู ิดว้ ย เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านวิชาภาษาไทย มีทักษะการใช้ภาษาในการสื่อสาร มีมารยาท ในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู มีคุณลกั ษณะใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย รักความเป็น ไทย มจี ิตสาธารณะ ผลการเรยี นรู้ ๑. จับใจความสำคญั และรายละเอียดของข้อมูลท่ีสนับสนุนจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน ๒. วเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เรื่องทอ่ี า่ นโดยใชก้ ลวธิ กี ารเปรียบเทยี บเพอื่ ให้ผ้อู า่ นเขา้ ใจไดด้ ี ๓. ประเมินความถูกต้องของข้อมูลทีใ่ ชส้ นับสนุนในเรอื่ งทอ่ี ่านจากสอื่ ต่างๆ ๔. ตคี วามและประเมินคุณคา่ และแนวคิดทไี่ ดจ้ ากงานเขียนอยา่ งหลากหลายเพอ่ื นำไปใช้แก้ปญั หาใน ชวี ิต รวมทงั้ หมด ๔ ผลการเรยี นรู้

๗๕ โครงสรา้ งหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาการอ่านสะทอ้ นคดิ รหัสวิชา ท๒๓๒๐๔ ภาคเรยี นที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ยการ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน ๑ ๑. จับใจความสำคญั และ ๑. จับใจความสำคญั จากส่ือต่าง ๙ ๑๕ รายละเอียดของขอ้ มลู ท่ี ๆ สนบั สนนุ จากเรอ่ื งทอี่ ่าน ๒ ๒. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และ ๑. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ ๙ ๑๕ ประเมินเร่อื งทอ่ี ่านโดยใช้ คา่ เรื่องท่อี า่ นจากสือ่ ตา่ ง ๆ กลวธิ ีการเปรียบเทียบ เพ่อื ใหผ้ ้อู า่ นเขา้ ใจไดด้ ี สอบกลางภาคเรยี นที่ ๒ ๒ ๒๐ ๓ ๓. ประเมนิ ความถกู ต้องของ ๑. ประเมินคา่ เรอื่ งท่อี า่ นจากสือ่ ๙ ๑๕ ขอ้ มลู ที่ใชส้ นบั สนนุ ในเร่ืองที่ ต่าง ๆ อา่ นจากสอื่ ตา่ งๆ ๔ ๔. ตีความและประเมนิ คุณคา่ ๑. ตคี วามและประเมนิ ค่าจาก ๙ ๑๕ และแนวคดิ ทีไ่ ดจ้ ากงานเขียน งานเขียนประเภทต่าง ๆ อย่างหลากหลายเพื่อนำไปใช้ แกป้ ญั หาในชีวิต สอบปลายภาคเรยี นที่ ๒ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรยี น ๔๐ ๑๐๐

รายวิชาการรเู้ ทา่ ทนั การส่อื สาร คำอธิบายรายวชิ า ๗๖ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑ รหัส ท๒๓๒๐๕ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสาร การฝึกทักษะการรับสารและส่งสารอย่างสร้างสรรค์ การบูรณาการทักษะการส่งสาร และรับสารเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน การตีความ การรู้เท่าทันสาร การใช้ภาษา เพื่อการส่ือสารในสงั คมปัจจุบัน สามารถวิเคราะหส์ ่อื ประเภทต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการอ่านคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การสืบค้นความรู้ การจดบนั ทกึ ใช้ความสามารถในการคดิ การอภปิ ราย การแสดงความคดิ เหน็ การลงความคดิ เห็น การตคี วาม การสรุปความ ฝึกทักษะการอ่านและการเขียน การฟังการดูและการพูด เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจใน การเรยี นรู้ ใช้ความสามารถในการส่อื สารกับผู้อ่นื ให้เขา้ ใจตรงกัน เห็นคุณคา่ ของภาษาไทย เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพดู เห็นคุณค่าภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจในภาษาไทย และรักษาไว้เป็นสมบัติของชาติ เพื่อนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการแกป้ ญั หาให้เกิดประโยชนใ์ นชีวิต ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความสำคัญ ความรเู้ บอื้ งต้นของการสอื่ สารได้ 2. จำแนกประเภทของสอ่ื ต่าง ๆ ได้ 3. ใช้ภาษาเพอ่ื การสอื่ สารได้เหมาะสม 4. วิเคราะห์โครงเรอื่ งและคุณค่าของเรอ่ื งสั้นได้ 5. วิเคราะห์โครงเรอ่ื งและคณุ คา่ ของนิทานได้ 6. วเิ คราะห์โครงเร่ืองและคณุ คา่ ของหนงั สน้ั ได้ 7. วิเคราะห์เนอื้ หาและคุณค่าของเพลงได้ 8. วิเคราะห์ความน่าเชอื่ ถอื ของโฆษณาได้ รวมทงั้ หมด ๘ ผลการเรียนรู้

๗๗ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ รายวชิ าการรู้เทา่ ทันการสือ่ สาร รหสั วิชา ท๒๓๒๐๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หน่วย ชื่อหนว่ ยการ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน ๑ ความรเู้ บ้ืองตน้ อธบิ ายความสำคัญ ความรู้ ๑. ความหมายของการสือ่ สาร ๖ ๑๐ ๔ ๘ เกย่ี วกบั การ เบอื้ งตน้ ของการส่ือสารได้ ๒. องค์ประกอบทีส่ ำคญั ของ สื่อสาร การส่อื สาร ๓. หลกั ในการส่อื สาร 4. วตั ถปุ ระสงค์ของการสอ่ื สาร ๒ ประเภทของ จำแนกประเภทของสื่อตา่ ง ๑. ประเภทของสอ่ื สื่อ ๆ ได้ 2. ช่องทางการสือ่ สาร ๓ ทักษะการใช้ ใชภ้ าษาเพอ่ื การส่ือสารได้ 1. บทบาทหนา้ ท่ขี องภาษา ๔ ๕ ภาษาเพอ่ื การ เหมาะสม 2. การจำแนกประเภทของการ 4 ๗ สื่อสาร สอ่ื สาร ๒ ๒๐ ๔ เรื่องส้ัน วเิ คราะห์โครงเร่ืองและ 1. โครงเรื่อง และการวิเคราะห์ ๕ ๘ คณุ ค่าของเร่ืองส้ันได้ โครงเร่ือง ๕ ๘ 2. วเิ คราะห์คณุ คา่ สอบกลางภาคเรยี นท่ี ๒ ๕ นทิ าน วิเคราะห์โครงเร่ืองและคณุ ค่า 1. โครงเร่ือง และการวเิ คราะห์ ของนิทานได้ โครงเรือ่ ง 2. วิเคราะห์คณุ ค่า ๖ หนังสั้น วิเคราะห์โครงเรอ่ื งและคณุ คา่ 1. โครงเรื่อง และการวิเคราะห์ ของหนังสั้นได้ โครงเร่อื ง 2. วเิ คราะห์คุณค่า ๗ เพลง วเิ คราะห์เน้อื หาและคุณค่า ๑. หลักการวจิ ารณแ์ ละประเมิน 4 ๗ ๘ โฆษณา 4 ของเพลงได้ คณุ คา่ ของบทเพลง ๗ ๒. เลอื กฟังเพลงตามความสนใจ ๒๐ และสามารแนะนำบทเพลงที่มี ๑๐๐ คุณค่าต่อการฟงั วิเคราะห์ความนา่ เชือ่ ถือของ 1. องค์ประกอบของโฆษณา โฆษณาได้ 2. วิเคราะหค์ วามน่าเชอื่ ถอื ของ โฆษณา สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ๒ รวมตลอดภาคเรยี น ๔๐

๗๘ คำอธิบายรายวชิ าและโครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ รายวชิ าพื้นฐาน ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นท่ี ๑ และ ภาคเรยี นที่ ๒

๗๙ คำอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑ รหัสวชิ า ท๓๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด หลักการใช้ภาษา และวรรณคดีวรรณกรรม เกี่ยวกับการอ่านออกเสียงบท รอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง การอา่ นจับใจความจากส่ือตา่ ง ๆ การมีมารยาทในการอา่ น การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ การเขยี นเรียงความ การ เขยี นยอ่ ความจากส่อื ตา่ ง ๆ การเขียนในรูปแบบตา่ ง ๆ การประเมนิ คณุ ค่าในงานเขียนดา้ นต่าง ๆ การเขยี นรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิง ข้อมลู สารสนเทศ การเขยี นบนั ทกึ ความร้จู ากแหลง่ เรียนรู้ การมีมารยาทในการเขียน การพูดสรปุ แนวคิดและแสดงความคิดเหน็ จากเรื่องที่ฟังและ ดู การวเิ คราะห์แนวคิด การใชภ้ าษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องท่ฟี ังและดู การเลอื กเร่ืองที่ฟงั และดูอย่างมวี ิจารณญาณ การประเมินเร่ืองท่ีฟัง และดเู พ่ือกำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่าง ๆ การมีมารยาทในการฟัง การดูและการพดู ธรรมชาตขิ องภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา การใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ระดับของภาษา คำราชาศัพท์ การแต่งกาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ อิทธิพลของ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมเบื้องต้น การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม การ สังเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม วรรณกรรมพืน้ บา้ นท่แี สดงถงึ ภาษากับวัฒนธรรมและภาษาถน่ิ และบทอาขยานและบทร้อยกรองทมี่ คี ุณคา่ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟงั พูด อ่าน เขียน เพื่อฝึกทักษะอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเน ประเมินค่า วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง ตอบคำถาม อ่านเรื่อง เขียนกรอบแนวคิด ผัง ความคิด บันทึก ย่อความ รายงาน สังเคราะห์ความรู้ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เขียนเรียงความ เขียนย่อความ ผลิตงานเขียน ประเมินงาน เขียนของผู้อืน่ เขียนรายงานเชิงวิชาการ เขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ เขียนบันทกึ ความรู้ พูดสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองท่ฟี ัง และดู วิเคราะห์แนวคดิ การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถอื เลือกเรื่องท่ีฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ ประเมินเรื่องท่ีฟังและดู พูดในโอกาสต่าง ๆ อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และ บุคคล รวมทั้งคำราชาศัพท์ แต่งกาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ประเมินการใช้ภาษาจากส่ือ สิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์และ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูมิปัญญาทาง ภาษา และทอ่ งจำและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามท่กี ำหนดและบทร้อยกรองท่มี คี ุณค่าตามความสนใจ เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง ไพเราะเหมาะสม มีเหตุผล นำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต นำมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน พัฒนาความรู้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน มีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาถูกต้อง มีข้อมูลและ สาระสำคัญชัดเจน มีมารยาทในการเขียน มีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ นำไปประยกุ ต์ใช้ มมี ารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด รักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติ ตรงตามวัตถุประสงค์ เห็นคุณค่า นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และนำไปใช้อ้างอิง เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รวมตัวชีว้ ดั ๓๖ ตัวชวี้ ดั ท ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ม.๔/๙ ท ๒.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖

๘๐ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑ รหัสวชิ า ท๓๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หน่วย ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั ที่ เรยี นรู้ เรยี นรู/้ ตวั ชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๑ นมัสการมาตา ท๑.๑ ม.๔-๖/๙ ๑. มารยาทการอ่าน ๙ ๑๕ ปิตคุ ณุ และ ท๒.๑ ม.๔-๖/๕ ๒. การประเมนิ คณุ ค่างานเขียน นมสั การอาจา ท๓.๑ ม.๔-๖/๔ ๓. การประเมินเร่ืองท่ฟี ังและดู รยิ คณุ ท๔.๑ ม.๔-๖/๑ ๔. ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลกั ษณะของภาษา ม.๔-๖/๕ ๕. อิทธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ท๕.๑ ม.๔-๖/๑ ๖. หลกั การวิเคราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมเบ้ืองตน้ ม.๔-๖/๖ ๗. ทอ่ งจำบทอาขยาน ๒ อเิ หนา ท๑.๑ ม.๔-๖/๘ ๑. การสังเคราะหค์ วามรู้จากการอ่านสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๙ ๑๕ ตอน ศกึ กะ ท๒.๑ ม.๔-๖/๖ ๒. เขยี นรายงานคน้ ควา้ ใชข้ อ้ มลู อ้างสารสนเทศอ้างองิ หมงั กหุ นิง ท๓.๑ ม.๔-๖/๑ ๓. การพูดแสดงความคดิ เห็นจากเร่ืองทฟ่ี งั และดู ท๔.๑ ม.๔-๖/๖ ๔. วเิ คราะหห์ ลกั การสร้างคำในภาษาไทย ท๕.๑ ม.๔-๖/๒ ๕. การวเิ คราะห์ลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดี สอบกลางภาคเรียนท่ี ๑ ๒ ๒๐ ๓ นิทานเวตาล ท๑.๑ ม.๔-๖/๔ ๑. คาดคะเนเหตุการณแ์ ละประเมินค่า ๙ ๑๕ เรื่องที่ ๑๐ ม.๔-๖/๕ ๒. การวเิ คราะห์วจิ ารณแ์ สดงความคิดเหน็ หรือโต้แย้ง ท๒.๑ ม.๔-๖/๑ ๓. การเขยี นสื่อสารในรูปแบบของจดหมาย ท๓.๑ ม.๔-๖/๓ ๔. ประเมินเรอื่ งที่ฟงั และดู ท๔.๑ ม.๔-๖/๗ ๕. วเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจากส่ือสิง่ พมิ พ์ ท๕.๑ ม.๔-๖/๔ ๖. การสงั เคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดเี พ่ือนำไปใช้ ๔ นริ าศนรินทร์ ท๑.๑ ม.๔-๖/๓ ๑. การวเิ คราะหว์ จิ ารณ์เรื่องที่อ่าน ๙ ๑๕ คำโคลง ท๒.๑ ม.๔-๖/๓ ๒. การเขียนยอ่ ความ ม.๔-๖/๔ ๓. การเขียนสารคดีและบันเทงิ คดี ม.๔-๖/๕ ๔. การประเมินงานเขียนของผอู้ ื่น ท๔.๑ ม.๔-๖/๓ ๕. ระดับการใชภ้ าษาและคำราชาศพั ท์ ท๕.๑ ม.๔-๖/๓ ๖. วเิ คราะห์และประเมินคุณคา่ ดา้ นวรรณศิลป์ของวรรณคดี สอบปลายภาคเรยี นที่ ๑ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

๘๑ คำอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าภาษาไทยพน้ื ฐาน ๒ รหัสวชิ า ท๓๑๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด หลักการใช้ภาษา และวรรณคดีวรรณกรรม เกี่ยวกับการอ่านออกเสียงบท รอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง การอา่ นจับใจความจากส่ือตา่ ง ๆ การมมี ารยาทในการอา่ น การเขยี นสื่อสารในรูปแบบตา่ ง ๆ การเขยี นเรียงความ การ เขยี นยอ่ ความจากสือ่ ตา่ ง ๆ การเขยี นในรูปแบบตา่ ง ๆ การประเมนิ คณุ ค่าในงานเขียนด้านตา่ ง ๆ การเขยี นรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิง ข้อมลู สารสนเทศ การเขยี นบนั ทกึ ความร้จู ากแหลง่ เรียนรู้ การมีมารยาทในการเขยี น การพูดสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเหน็ จากเรื่องที่ฟังและ ดู การวเิ คราะห์แนวคิด การใชภ้ าษา และความน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่ฟังและดู การเลอื กเรื่องท่ีฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ การประเมินเรื่องท่ีฟัง และดเู พ่ือกำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่าง ๆ การมีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู ธรรมชาตขิ องภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา การใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ระดับของภาษา คำราชาศัพท์ การแต่งกาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ อิทธิพลของ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมเบื้องต้น การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม การ สังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพ้ืนบา้ นท่แี สดงถงึ ภาษากับวัฒนธรรมและภาษาถน่ิ และบทอาขยานและบทร้อยกรองทมี่ คี ณุ คา่ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟงั พูด อ่าน เขียน เพื่อฝึกทักษะอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเน ประเมินค่า วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง ตอบคำถาม อ่านเรื่อง เขียนกรอบแนวคิด ผัง ความคิด บันทึก ย่อความ รายงาน สังเคราะห์ความรู้ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เขียนเรียงความ เขียนย่อความ ผลิตงานเขียน ประเมินงาน เขียนของผู้อืน่ เขียนรายงานเชิงวิชาการ เขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ เขียนบันทึกความรู้ พูดสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเหน็ จากเร่ืองท่ฟี ัง และดู วิเคราะห์แนวคดิ การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือ เลือกเรื่องทีฟ่ ังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ ประเมินเรื่องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่าง ๆ อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และ บุคคล รวมทั้งคำราชาศัพท์ แต่งกาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อ สิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์และ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูมิปัญญาทาง ภาษา และทอ่ งจำและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามทีก่ ำหนดและบทรอ้ ยกรองทีม่ คี ุณคา่ ตามความสนใจ เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง ไพเราะเหมาะสม มีเหตุผล นำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต นำมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน พัฒนาความรู้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน มีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาถูกต้อง มีข้อมูลและ สาระสำคัญชัดเจน มีมารยาทในการเขียน มีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ นำไปประยกุ ตใ์ ช้ มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด รักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติ ตรงตามวัตถุประสงค์ เห็นคุณค่า นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และนำไปใช้อ้างอิง เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รวมตัวชีว้ ดั ๓๖ ตัวชวี้ ดั ท ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ม.๔/๙ ท ๒.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖

๘๒ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทยพืน้ ฐาน ๒ รหสั วชิ า ท๓๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ช่ือหนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั ที่ เรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน ๑ หวั ใจชายหนมุ่ ท๑.๑ ม.๔-๖/๔ ๑. การคาดคะเนเหตุการณแ์ ละประเมินค่าจากเรอ่ื งท่ีอ่าน ๙ ๑๕ ม.๔-๖/๖ ๒. การตอบคำถามจากการอา่ นงานเขียนประเภทรอ้ ยแก้ว ท๒.๑ ม.๔-๖/๒ ๓. การเขียนเรียงความ ท๓.๑ ม.๔-๖/๒ ๔. การวิเคราะห์แนวคดิ การใชภ้ าษาและความนา่ เชื่อถือจาก ท๔.๑ ม.๔-๖/๒ เรื่องทฟ่ี งั และดู ท๕.๑ ม.๔-๖/๔ ๕. การสร้างประโยคโดยใช้คำและกลมุ่ คำ ๖.การวิเคราะห์ วรรคดแี ละวรรณกรรม ๒ ทุกข์ของ ท๓.๑ ม.๔-๖/๕ ๑. การพูดในโอกาสตา่ งๆ ๙ ๑๕ ชาวนาในบท ท๔.๑ ม.๔-๖/๔ ๒. การแตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกาพยแ์ ละฉนั ท์ กวี ท๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๓. บทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี ีคณุ คา่ สอบกลางภาคเรียนที่ ๒ ๒ ๒๐ ๓ มงคลสูตรคำ ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองประเภทคำฉันท์ ๙ ๑๕ ฉันท์ ท๒.๑ ม.๔-๖/๗ ๒. การเขียนบนั ทึกความรู้ ท๓.๑ ม.๔-๖/๓ ๓. การเลอื กเร่อื งที่ฟงั และดูอย่างมวี จิ ารณญาณ ท๕.๑ ม.๔-๖/๓ ๔. การวิเคราะหแ์ ละประเมินคุณคา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๔ มหาชาตหิ รอื ท๑.๑ ม.๔-๖/๗ ๑. การอ่านเร่ืองต่างๆแล้วเขียนผังความคิด ๙ ๑๕ มหาเวสสันดร ท๒.๑ ม.๔-๖/๓ ๒. การเขียนยอ่ ความจากวรรณคดี ชาดก ท๓.๑ ม.๔-๖/๖ ๓. มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ท๔.๑ ม.๔-๖/๓ ๔. ระดับของภาษา และคำราชาศพั ท์ ท๕.๑ ม.๔-๖/๒ ๕. การวเิ คราะห์ลักษณะเดน่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

รายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน ๓ คำอธบิ ายรายวชิ า ๘๓ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรียนที่ ๑ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองประเภทโคลง และร่าย เป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง และเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เร่ืองท่ีอ่าน แสดงความความคิด โตแ้ ยง้ และเสนอความคิดใหม่จาก การอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงาน จากสิ่งทอ่ี ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนำความรคู้ วามคดิ จากการอา่ นมาพฒั นาตนเอง พัฒนาการเรียนและพฒั นาความรู้ทาง อาชพี และนำความรู้ความคดิ ไปประยุกต์ใช้แกป้ ัญหาในการดำเนินชีวติ มมี ารยาทและมนี ิสยั รักการอา่ น ฝึกเขยี นส่อื สารในรูปแบบตา่ งๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกตอ้ งตามวตั ถุประสงค์ ย่อความจากสอ่ื ที่มีรปู แบบและเน้อื หาสาระท่ี หลากหลาย เรยี งความแสดงความความคิดเชิงสร้างสรรคโ์ ดยใชโ้ วหารตา่ งๆ เขียนบนั ทกึ รายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ตามหลกั การ เขียนเชิงวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงานเขียนของ ผู้อน่ื และนำมาพฒั นางานเขยี นของตนเอง ตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ วตั ถปุ ระสงค์ แนวคิด การใชภ้ าษา ความนา่ เช่อื ถือของเร่ืองทฟี่ งั และดู ประเมินสิ่งท่ีฟงั และดแุ ละนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน ชีวิต มีทักษะในการพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการไม่เป็นทางการโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะโต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่อยา่ งมเี หตุผล รวมทั้งมมี ารยาทในการฟงั ดู และพูด เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา อิทธพิ ลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คำและกลุ่มคำ สร้างประโยคไดต้ รงตาม วัตถุประสงค์ แต่งคำประพันธ์ประเภทกลอน ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับกาลเทศะ และใช้ราชาศัพท์และคำสุภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะหห์ ลกั การสรา้ งคำในภาษาไทยและภาษาถนิ่ วเิ คราะหแ์ ละประเมินการใชภ้ าษาจากสอื่ สงิ่ พิมพ์และสื่ออีเล็กทรอนิกส์ วเิ คราะห์วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ์วรรณคดีเบ้ืองตน้ รู้และเขา้ ใจลกั ษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณคดีพ้ืนบ้าน เชอื่ มโยงกับการเรียนรูท้ างประวัตศิ าสตร์และวิถีไทย ประเมินคา่ ดา้ นวรรณศิลป์ ด้าน สงั คมและวัฒนธรรม และนำขอ้ คิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ รวมตวั ชวี้ ดั ๓๖ ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ม.๔/๙ ท ๒.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖

๘๔ โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ รายวชิ าภาษาไทยพ้นื ฐาน ๓ รหัสวชิ า ท๓๒๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชื่อหนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนกั ที่ เรียนรู้ เรยี นรู/้ ตัวชวี้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน ๑ ทกั ษะการอ่าน ท ๑.๑ม.๔-๖/๑ ๑. การอา่ นรอ้ ยแก้วรอ้ ยกรอง ๙ ๑๕ วรรณคดี ม.๔-๖/๒ ๒. การอา่ นจบั ใจความสำคัญ ม.๔-๖/๖ ๓. การตอบคำถามจากเรอ่ื งท่อี า่ น ม.๔-๖/๙ ๔. มมี ารยาทในการอา่ น ท ๕.๑ม.๔-๖/๑ ๕. หลักการวิเคราะหว์ จิ ารณว์ รรณคดี ม.๔-๖/๓ ๖. การวิเคราะหแ์ ละการประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ม.๔-๖/๔ ๗. การสังเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.๔-๖/๖ ๘. บทอาขยานและคณุ ค่าของอาขยาน ๒ กณั ฑม์ ัทรี ท ๑.๑ม.๔-๖/๑ ๑. อ่านออกเสยี งรอ้ ยรอ้ ยกรองไดอ้ ย่างถกู ต้อง ๙ ๑๕ มหาเวสสนั ดร ม.๔-๖/๗ ๒. อ่านเร่ืองต่างๆแลว้ เขยี นกรอบแนวคิดผงั ความคิด ย่อความ ชาดก ท๔.๑ ม.๔-๖/๑ ๓. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษา ม.๔-๖/๔ ๔. แตง่ บทรอ้ ยกรอง ท ๕.๑ม.๔-๖/๑ ๕. หลักการวเิ คราะหว์ ิจารณว์ รรณคดี ม.๔-๖/๓ ๖. การวิเคราะหแ์ ละการประเมินค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรม ๗. ม.๔-๖/๔ การสังเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.๔-๖/๖ ๘. บทอาขยานและคุณค่าของอาขยาน สอบกลางภาคเรยี นท่ี ๑ ๒ ๒๐ ๓ มัทนะพาธาคำ ท ๑.๑ม.๔-๖/๑ ๑. อ่านออกเสียงรอ้ ยแกว้ ร้อยกรองได้อยา่ งถกู ต้อง ๙ ๑๕ ฉันท์ ม.๔-๖/๗ ๒. อา่ นเรื่องต่างๆแลว้ เขียนกรอบแนวคิดผังความคดิ ย่อความ ท๔.๑ ม.๔-๖/๑ ๓.อธิบายธรรมชาติของภาษาพลังของภาษาและลักษณะของภาษา ม.๔-๖/๔ ๔. แตง่ บทรอ้ ยกรอง ท ๕.๑ม.๔-๖/๑ ๕. หลักการวเิ คราะห์วจิ ารณว์ รรณคดี ม.๔-๖/๓ ๖. การวิเคราะหแ์ ละการประเมินคา่ วรรณคดีและวรรณกรรม ๗. ม.๔-๖/๔ การสงั เคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม ม.๔-๖/๖ ๘. บทอาขยานและคณุ คา่ ของอาขยาน ๔ แพทยศ์ าสตร์ ท ๑.๑ม.๔-๖/๑ ๑. อา่ นออกเสยี งร้อยรอ้ ยกรองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ๙ ๑๕ สงเคราะห์ ม.๔-๖/๗ ๒. อ่านเรื่องตา่ งๆแลว้ เขยี นกรอบแนวคิดผงั ความคิด ย่อความ ท ๔.๑ม.๔-๖/๑ ๓. อธบิ ายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษา ม.๔-๖/๔ ๔. แตง่ บทรอ้ ยกรอง ท ๕.๑ม.๔-๖/๑ ๕. หลักการวิเคราะหว์ จิ ารณว์ รรณคดี ม.๔-๖/๓ ๖. การวเิ คราะหแ์ ละการประเมนิ ค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรม ๗. ม.๔-๖/๔ การสงั เคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ม.๔-๖/๖ ๘. บทอาขยานและคุณค่าของอาขยาน สอบปลายภาคเรียนท่ี ๑ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

รายวิชาภาษาไทยพ้นื ฐาน ๔ คำอธบิ ายรายวิชา ๘๕ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕ ภาคเรียนที่ ๑ รหัสวชิ า ท๓๒๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองประเภทโคลง และร่าย เป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง และเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอา่ นได้ วิเคราะหว์ จิ ารณเ์ ร่ืองที่อ่าน แสดงความความคิด โตแ้ ย้ง และเสนอความคิดใหม่จาก การอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงาน จากสิ่งทอ่ี า่ น สงั เคราะห์ ประเมนิ คา่ และนำความรคู้ วามคิดจากการอ่านมาพัฒนาตนเอง พฒั นาการเรยี นและพัฒนาความรู้ทาง อาชีพ และนำความร้คู วามคดิ ไปประยุกต์ใช้แกป้ ัญหาในการดำเนินชวี ิต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอา่ น ฝึกเขียนส่อื สารในรูปแบบตา่ งๆ โดยใช้ภาษาไดถ้ ูกตอ้ งตามวตั ถปุ ระสงค์ ยอ่ ความจากส่ือท่ีมีรปู แบบและเน้อื หาสาระที่ หลากหลาย เรียงความแสดงความความคิดเชิงสรา้ งสรรค์โดยใชโ้ วหารต่างๆ เขียนบันทกึ รายงานการศกึ ษาค้นคว้าตามหลักการ เขียนเชิงวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงานเขียนของ ผอู้ ่นื และนำมาพัฒนางานเขยี นของตนเอง ตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ วตั ถุประสงค์ แนวคดิ การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่องทฟี่ ังและดู ประเมนิ ส่งิ ท่ีฟังและดุและนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน ชีวิต มีทักษะในการพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการไม่เป็นทางการโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะโต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหมอ่ ยา่ งมเี หตผุ ล รวมท้งั มมี ารยาทในการฟัง ดู และพดู เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา อิทธพิ ลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คำและกลมุ่ คำ สรา้ งประโยคได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ แต่งคำประพันธ์ประเภทกลอน ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับกาลเทศะ และใช้ราชาศัพท์และคำสุภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการสร้างคำในภาษาไทยและภาษาถิน่ วเิ คราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากส่ือส่ิงพมิ พแ์ ละสอ่ื อเี ลก็ ทรอนกิ ส์ วเิ คราะหว์ ิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณว์ รรณคดีเบื้องตน้ รูแ้ ละเข้าใจลักษณะเด่นของวรรณคดี ภมู ิปัญญาทางภาษาและวรรณคดีพื้นบ้าน เช่อื มโยงกับการเรยี นรู้ทางประวัตศิ าสตร์และวิถีไทย ประเมินค่าดา้ นวรรณศิลป์ ด้าน สงั คมและวฒั นธรรม และนำข้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ รวมตัวช้วี ดั ๓๖ ตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ม.๔/๙ ท ๒.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖

๘๖ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ รายวชิ าภาษาไทยพนื้ ฐาน ๔ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ เวลา นำ้ หนกั (ชัว่ โมง) คะแนน ที่ เรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวช้ีวัด ๙ ๑๕ ๑ ลิลิตตะเลงพา่ ย ท ๑.๑ม.๔-๖/๑ ๑. การอ่านร้อยแก้วร้อยกรอง ม.๔-๖/๒ ๒. การอ่านจบั ใจความสำคัญ ม.๔-๖/๖ ๓. การตอบคำถามจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน ม.๔-๖/๙ ๔. มมี ารยาทในการอา่ น ท ๒.๑ม.๔-๖/๓ ๕. การเขยี นย่อความจากส่อื ที่มีรูปแบบและเนอื้ หา ม.๔-๖/๘ ๖. มีมารยาทในการเขียน ท ๕.๑ม.๔-๖/๑ ๗. หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี ม.๔-๖/๓ ๘. การวิเคราะห์และการประเมินค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.๔-๖/๔ ๙. การสงั เคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๔-๖/๖ ๑๐. บทอาขยานและคุณค่าของอาขยาน ๒ ความนิยมเป็น ท ๑.๑ม.๔-๖/๑ ๑. อา่ นออกเสียงรอ้ ยร้อยกรองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ไพเราะ ๙ ๑๕ เสมียน ม.๔-๖/๗ ๒. อ่านเร่อื งตา่ งๆแลว้ เขียนกรอบแนวคดิ ผังความคิด ย่อความ ๒ ๒๐ ๙ ๑๕ ท๔.๑ ม.๔-๖/๓ ๓. ใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาส กาลเทศะและบุคคล รวมทง้ั คำราชาศพั ท์ ๙ ๑๕ ม.๔-๖/๔ ๔. แตง่ บทรอ้ ยกรอง ท ๕.๑ม.๔-๖/๑ ๕. หลักการวเิ คราะหว์ ิจารณว์ รรณคดี ม.๔-๖/๓ ๖. การวิเคราะห์และการประเมนิ ค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรม ๗. การ ม.๔-๖/๔ สงั เคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.๔-๖/๖ ๘. บทอาขยานและคุณคา่ ของอาขยาน สอบกลางภาคเรียนที่ ๒ ๓ กระบวนการ ท ๑.๑ม.๔-๖/๓ ๑. วเิ คราะหว์ จิ ารณเ์ รื่องทอี า่ นในทกุ ๆดา้ นอย่างมเี หตผุ ล พัฒนาการ ม.๔-๖/๔ ๒) คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรื่องที่อ่านและประเมินคา่ เพอื่ นำความรู้ ส่ือสาร ม.๔-๖/๕ ความคิดไปใช้ตดั สินใจแก้ปัญหาในการดำเนนิ ชีวิต ท ๒.๑ม.๔-๖/๒ ๓) วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ เรื่องที่อ่าน ม.๔-๖/๘ ๔) การเขยี นเรียงความ ๕) มมี ารยาทในการเขียน ๔ เขียนพูดวิชาการ ท ๒.๑ม.๔-๖/๕ ๑. การประเมินงานเขยี นของผู้อ่ืน แลว้ นำมาพัฒนางาน ไดส้ ร้างสรรค์ ม.๔-๖/๖ เขียนของตนเอง ม.๔-๖/๗ ๒. เขยี นรายงานศกึ ษาค้นควา้ เร่ืองทส่ี นใจ ม.๔-๖/๘ ๓. บนั ทกึ การศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่อื นำไปใช้พฒั นาตนเอง ท ๓.๑ม.๔-๖/๑ ๔. มมี ารยาทในการเขยี น ม.๔-๖/๒ ๕. สรปุ แนวคดิ และแสดงความคิดเหน็ ขากเร่อื งท่ีฟงั และดู ม.๔-๖/๓ ๖. วเิ คราะหแ์ นวคิด การใช้ภาษาและความนา่ เชอื่ ถือ ม.๔-๖/๔ ๗. ประเมินเร่ืองทฟ่ี งั และดู ม.๔-๖/๕ ๘) มีวจิ ารณญาณในการเลอื กเรอ่ื งที่ฟังและดู ม.๔-๖/๖ ๙) พดู ในโอกาสต่างๆพูดแสดงทรรศนะโตแ้ ย้ง โน้มน้าวใจ ๑๐) มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู สอบปลายภาคเรยี นที่ ๒ ๒ ๒๐ ๔๐ ๑๐๐ รวมตลอดภาคเรียน

๘๗ คำอธบิ ายรายวิชา รายวิชาภาษาไทย ๕ รหสั วิชา ท๓๓๑๐๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ศกึ ษาการอ่าน การเขียน การฟงั การดู และการพูด หลกั การใชภ้ าษา และวรรณคดีวรรณกรรม เก่ยี วกบั การอ่านออกเสียงบท ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง การอ่านจบั ใจความจากส่ือตา่ ง ๆ การมีมารยาทในการอ่าน การเขียนสอ่ื สารในรูปแบบตา่ ง ๆ การเขยี นเรยี งความ การ เขียนย่อความจากสอื่ ต่าง ๆ การเขียนในรูปแบบตา่ ง ๆ การประเมินคุณคา่ ในงานเขียนด้านตา่ ง ๆ การเขยี นรายงานเชงิ วิชาการ การเขยี นอา้ งอิง ข้อมลู สารสนเทศ การเขยี นบนั ทกึ ความรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ การมีมารยาทในการเขยี น การพดู สรปุ แนวคิดและแสดงความคิดเหน็ จากเรอื่ งท่ีฟงั และ ดู การวเิ คราะหแ์ นวคดิ การใชภ้ าษา และความนา่ เชอ่ื ถือจากเรื่องทฟี่ ังและดู การเลือกเรื่องที่ฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ การประเมินเร่อื งทฟ่ี งั และดเู พอ่ื กำหนดแนวทางนำไปประยกุ ตใ์ ช้ การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ การมมี ารยาทในการฟงั การดูและการพูด ธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของภาษา ลกั ษณะของภาษา การใช้คำและกล่มุ คำสรา้ งประโยค ระดับของภาษา คำราชาศพั ท์ การแต่งกาพย์ โคลง รา่ ย และฉันท์ อทิ ธิพลของ ภาษาต่างประเทศและภาษาถ่นิ การประเมินการใชภ้ าษาจากสอื่ ส่งิ พมิ พแ์ ละสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ หลกั การวิเคราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมเบ้อื งตน้ การวเิ คราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดแี ละวรรณกรรม การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรม การ สงั เคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพนื้ บ้านทแ่ี สดงถึงภาษากบั วัฒนธรรมและภาษาถน่ิ และบทอาขยานและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณคา่ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อฝึกทักษะอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเน ประเมินค่า วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง ตอบคำถาม อ่านเรื่อง เขียนกรอบแนวคิด ผัง ความคิด บันทึก ย่อความ รายงาน สังเคราะห์ความรู้ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เขียนเรียงความ เขียนย่อความ ผลิตงานเขียน ประเมินงาน เขียนของผู้อื่น เขียนรายงานเชิงวิชาการ เขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ เขียนบันทึกความรู้ พูดสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองท่ฟี งั และดู วิเคราะห์แนวคดิ การใช้ภาษา และความน่าเชือ่ ถือ เลือกเรื่องทีฟ่ ังและดูอย่างมีวิจารณญาณ ประเมินเรื่องทีฟ่ ังและดู พูดในโอกาสต่าง ๆ อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และ บุคคล รวมทั้งคำราชาศัพท์ แต่งกาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อ สิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์และ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูมิปัญญาทาง ภาษา และท่องจำและบอกคณุ ค่าบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอ้ ยกรองทมี่ ีคุณค่าตามความสนใจ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง ไพเราะเหมาะสม มีเหตุผล นำไปใช้ตัดสนิ ใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต นำมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน พัฒนาความรู้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน มีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาถูกต้อง มีข้อมูลและ สาระสำคญั ชดั เจน มมี ารยาทในการเขียน มวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ นำไปประยกุ ตใ์ ช้ มมี ารยาทในการฟัง การดูและการพดู รักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติ ตรงตามวัตถุประสงค์ เห็นคุณค่า นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และนำไปใช้อ้างอิง เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมตวั ชีว้ ัด ๓๖ ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ม.๔/๙ ท ๒.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖

๘๘ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๕ รหัสวิชา ท๓๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนกั (ชัว่ โมง) คะแนน ที่ เรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้ีวดั ๑๐ ๑๕ ๑ เลิศล้ำวรรณคดี ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถกู ต้อง ไพเราะ ๘ ๑๐ ท๔.๑ ม.๔-๖/๔ และเหมาะสมกับเรอ่ื งอา่ น ๒ ๒๐ ท๕.๑ ม.๔-๖/๑ ๒. แต่งบทรอ้ ยกรอง ๘ ๑๕ ๔ ๑๐ ม.๔-๖/๒ ๓. วเิ คราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลัการวิจารณเ์ บอ้ื งต้น ๖ ๑๐ ม.๔-๖/๓ ๔. วิเคราะหล์ กั ษณะเดน่ ของวรรณคดี เชอื่ มโยงกบั การเรียนรู้ทาง ๒ ๒๐ ม.๔-๖/๔ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวถิ ีชีวติ ของสงั คมในอดตี ๔๐ ๑๐๐ ม.๔-๖/๕ ๕. วิเคราะห์และประเมนิ คุณค่าด้านวรรณศิลปข์ องวรรณคดีและ ม.๔-๖/๖ วรรณกรรมในฐานะทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ๖. สงั เคราะห์ขอ้ คดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม เพือ่ นำไป ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จริง ๗. รวบรวมวรรณกรรมพน้ื บา้ นและอธบิ ายภูมิปัญญาทางภาษา ๘. ทอ่ งจำและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามทีก่ ำหนดและบทร้อยกรองท่ี มีคุณคา่ ตามความสนใจ และนำไปใชอ้ า้ งองิ ๒ วจีสือ่ สาร ท๓.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. สรปุ แนวคดิ และแสดงความคิดเหน็ จากเรื่องท่ีฟังและดู ม.๔-๖/๒ ๒. วิเคราะหแ์ นวคิด การใชภ้ าษา และความน่าเช่อื ถอื จากเร่อื งทฟ่ี ัง ม.๔-๖/๕ อยา่ งมีเหตุผล ม.๔-๖/๖ ๓. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โนม้ น้าวใจ และเสนอ แนวคิดใหม่ด้วยภาษาถกู ต้องเหมาะสม ๔. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด สอบกลางภาคเรียนที่ ๑ ๓ ร้หู ลกั การศาสตร์ ท๔.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของภาษา และลักษณะของภาษา ภาษา ม.๔-๖/๓ ๒. ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบคุ คล รวมท้ังคำราชา ม.๔-๖/๕ ศพั ทอ์ ยา่ งเหมาะสม ๓. วเิ คราะหอ์ ิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถนิ่ ๔ อักษรารอ้ ย ท๒.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. เขียนสื่อสารในรปู แบบตา่ ง ๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ โดยใชภ้ าษา ลกั ษณ์ ม.๔-๖/๒ เรียบเรียงถกู ต้อง มีข้อมลู และสาระสำคัญชัดเจน ม.๔-๖/๔ ๒. เขียนเรียงความ ม.๔-๖/๕ ๓. ผลติ งานเขยี นของตนเองในรูปแบบตา่ ง ๆ ม.๔-๖/๘ ๔. ประเมนิ งานเขียนของผู้อนื่ แล้วนำมาพฒั นางานเขียนของตนเอง ๕. มีมารยาทในการเขยี น ๕ ประจกั ษ์มโน ท๑.๑ ม.๔-๖/๒ ๑. ตีความ แปลความ และขยายความเรอ่ื งที่อา่ น พิจารณ์ ม.๔-๖/๖ ๒. ตอบคำถามจากการอ่านประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่กำหนด ม.๔-๖/๗ ๓. อ่านเร่ืองตา่ ง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคดิ ผงั ความคิด บันทึก ยอ่ ม.๔-๖/๘ ความ และรายงาน ม.๔-๖/๙ ๔. สงั เคราะหค์ วามร้จู ากการอา่ นสื่อสิ่งพมิ พ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และ แหลง่ เรยี นรูต้ ่าง ๆ มาพฒั นาความรู้ทางอาชีพ ๕. มมี ารยาทในการอา่ น สอบปลายภาคเรียนท่ี ๑ รวมตลอดภาคเรียน

๘๙ คำอธิบายรายวิชา รายวิชาภาษาไทย ๖ รหัสวิชา ท๓๓๑๐๒ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ศกึ ษาการอ่าน การเขียน การฟงั การดู และการพดู หลกั การใช้ภาษา และวรรณคดีวรรณกรรม เกยี่ วกับการอ่านออกเสียงบท ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ต่าง ๆ การมีมารยาทในการอ่าน การเขียนสอ่ื สารในรูปแบบต่าง ๆ การเขยี นเรยี งความ การ เขียนย่อความจากสอื่ ต่าง ๆ การเขยี นในรปู แบบต่าง ๆ การประเมินคณุ คา่ ในงานเขียนด้านตา่ ง ๆ การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ การเขยี นอา้ งอิง ข้อมลู สารสนเทศ การเขยี นบนั ทกึ ความรู้จากแหลง่ เรยี นรู้ การมมี ารยาทในการเขยี น การพูดสรปุ แนวคิดและแสดงความคิดเหน็ จากเรอื่ งท่ีฟงั และ ดู การวเิ คราะหแ์ นวคดิ การใชภ้ าษา และความน่าเชือ่ ถอื จากเรื่องท่ีฟังและดู การเลอื กเรื่องที่ฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ การประเมินเร่อื งท่ฟี ัง และดเู พอ่ื กำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ การมมี ารยาทในการฟงั การดูและการพูด ธรรมชาติของภาษา พลงั ของภาษา ลกั ษณะของภาษา การใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ระดบั ของภาษา คำราชาศพั ท์ การแต่งกาพย์ โคลง รา่ ย และฉันท์ อิทธิพลของ ภาษาต่างประเทศและภาษาถน่ิ การประเมนิ การใชภ้ าษาจากสือ่ สงิ่ พิมพ์และสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ หลกั การวิเคราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดีและ วรรณกรรมเบ้อื งตน้ การวิเคราะหล์ กั ษณะเดน่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรม การ สงั เคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพนื้ บา้ นทแี่ สดงถงึ ภาษากบั วฒั นธรรมและภาษาถน่ิ และบทอาขยานและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณคา่ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อฝึกทักษะอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์ คาดคะเน ประเมินค่า วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง ตอบคำถาม อ่านเรื่อง เขียนกรอบแนวคิด ผัง ความคิด บันทึก ย่อความ รายงาน สังเคราะห์ความรู้ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เขียนเรียงความ เขียนย่อความ ผลิตงานเขียน ประเมินงาน เขียนของผู้อื่น เขียนรายงานเชิงวิชาการ เขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ เขียนบันทึกความรู้ พูดสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองท่ฟี ัง และดู วิเคราะห์แนวคดิ การใช้ภาษา และความนา่ เชือ่ ถือ เลือกเรื่องทีฟ่ ังและดูอย่างมีวิจารณญาณ ประเมินเรื่องทีฟ่ ังและดู พูดในโอกาสต่าง ๆ อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และ บุคคล รวมทั้งคำราชาศัพท์ แต่งกาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อ สิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์และ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูมิปัญญาทาง ภาษา และท่องจำและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามทกี่ ำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง ไพเราะเหมาะสม มีเหตุผล นำไปใช้ตัดสนิ ใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต นำมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน พัฒนาความรู้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน มีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาถูกต้อง มีข้อมูลและ สาระสำคญั ชดั เจน มมี ารยาทในการเขยี น มวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ นำไปประยุกตใ์ ช้ มมี ารยาทในการฟัง การดูและการพดู รักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติ ตรงตามวัตถุประสงค์ เห็นคุณค่า นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และนำไปใช้อ้างอิง เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมตวั ชีว้ ัด ๓๖ ตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ม.๔/๙ ท ๒.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖

๙๐ โครงสรา้ งหน่วยการเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทยพนื้ ฐาน ๖ รหัสวชิ า ท๓๓๑๐๒ ภาคเรียนท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต คะแนนเกบ็ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ช่อื หนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั (ชัว่ โมง) คะแนน ท่ี เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด ๘ ๑๕ ๑ วรรณคดีวจิ ิตร ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ไพเราะ ๖ ๑๐ ท๓.๑ ม.๔-๖/๔ และเหมาะสมกับเร่ืองอ่าน ๔ ๑๐ ท๕.๑ ม.๔-๖/๑ ๒. แต่งบทรอ้ ยกรอง ๒ ๒๐ ๖ ๑๐ ม.๔-๖/๒ ๓. วิเคราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลัการวจิ ารณ์ ๑๒ ๑๕ ม.๔-๖/๓ เบ้อื งต้น ม.๔-๖/๔ ๔. วิเคราะห์ลักษณะเดน่ ของวรรณคดี เช่ือมโยงกบั การเรียนรู้ทาง ม.๔-๖/๕ ประวตั ศิ าสตร์และวถิ ีชีวติ ของสงั คมในอดีต ม.๔-๖/๖ ๕. วิเคราะห์และประเมินคุณคา่ ด้านวรรณศิลปข์ องวรรณคดีและ วรรณกรรมในฐานะท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ ๖. สังเคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรม เพ่ือนำไป ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จรงิ ๗. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบา้ นและอธบิ ายภูมิปญั ญาทางภาษา ๘. ทอ่ งจำและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามทกี่ ำหนดและบทร้อยกรองที่ มีคณุ คา่ ตามความสนใจ และนำไปใช้อ้างอิง ๒ ลิขติ สื่อสาร ท๒.๑ ม.๔-๖/๓ ๑. เขยี นย่อความจากสือ่ ทีม่ รี ปู แบบและเนื้อหาหลากหลาย ม.๔-๖/๖ ๒. เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าเรอ่ื งท่ีสนใจ ตามหลกั การเขยี นเชิง ม.๔-๖/๗ วิชาการ และใชข้ อ้ มูลสารสนเทศอา้ งอิงอยา่ งถูกตอ้ ง ม.๔-๖/๘ ๓. บันทึกการศกึ ษาค้นคว้าเพอื่ นำไปพฒั นาตนเองอย่างสม่ำเสมอ ๔. มมี ารยาทในการเขยี น ๓ พิจารณต์ ระหนัก ท๑.๑ ม.๔-๖/๓ ๑. วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์เร่ืองที่อา่ นในทุก ๆ ดา้ นอยา่ งมีเหตผุ ล ม.๔-๖/๔ ๒. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่อื งท่ีอ่านและประเมินค่าเพ่ือนำความรู้ ม.๔-๖/๕ ความคดิ ไปใช้ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาในการดำเนนิ ชีวติ ม.๔-๖/๘ ๓. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคดิ เหน็ โตแ้ ยง้ กับเรืองท่อี า่ นและเสนอ ม.๔-๖/๙ ความคดิ ใหม่อยา่ งมีเหตผุ ล ๔. สังเคราะห์ความรู้จากการอา่ นสื่อสง่ิ พมิ พ์ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละ แหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ มาพัฒนาความรู้ทางอาชีพ ๕. มมี ารยาทในการอา่ น สอบกลางภาคเรียนท่ี ๑ ๔ วจิ กั ษ์วัจนะ ท๓.๑ ม.๔-๖/๓ ๑. ประเมนิ เร่ืองทฟี่ ังและดแู ลว้ กำหนดแนวทางนำไปประยุกตใ์ ช้ใน ม.๔-๖/๔ การดำเนินชีวติ ม.๔-๖/๖ ๒. มวี จิ ารณญาณในการเลือกเรื่องท่ฟี ังและดู ๓. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ๔ ทกั ษะหลกั การ ท๔.๑ ม.๔-๖/๒ ๑. ใชค้ ำและกล่มุ คำสรา้ งประโยคตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ม.๔-๖/๖ ๒. อธบิ ายและวิเคราะหห์ ลกั การสรา้ งคำในภาษาไทย ม.๔-๖/๗ ๓. วิเคราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาจากส่อื สง่ิ พิมพ์และสื่อ อิเลก็ ทรอนิกส์ สอบปลายภาคเรยี นที่ ๑ ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐ ๑๐๐

๙๑ คำอธิบายรายวชิ าและโครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ รายวิชาเพิ่มเตมิ ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี ๑ และ ภาคเรยี นที่ ๒

คำอธิบายรายวชิ า ๙๒ รายวิชาการอา่ นและพจิ ารณาวรรณกรรม รหสั วิชา ท๓๑๒๐๑ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาหลักการ วิธีการ วิเคราะห์การอ่าน ฝึกอ่านข้อเขียน และวรรณกรรมรูปแบบต่าง ๆ ทั้งบันเทิงคดี และสารคดี ที่เป็นร้อยแก้ว และร้อยกรอง วิเคราะห์แยกเนื้อหาที่แสดงอารมณ์ แสดงข้อเท็จจริงและความ คิดเห็น แยกองค์ประกอบของวรรณกรรม พิจารณาการใช้คำข้อความ สำนวนโวหาร แนวคิด ข้อคิด ประเด็น สำคัญของเรื่อง วิจารณ์และประเมินคา่ เรื่องทีอ่ า่ น โดยใช้ กระบวนการเรียนทางภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคดิ อย่างมวี จิ ารญาณ และ กระบวนการสรา้ งความตระหนกั เพื่อใหเ้ กิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ พัฒนาความคดิ เพิ่มพูนทักษะการอ่านสามารถแสดงความ คิดเห็นเชิงวิจารณ์ในเรื่องที่อ่าน เข้าใจสารของผู้แต่ง เห็นคุณค่าของวรรณกรรมที่อ่าน มีมารยาท และมีนิสัยรกั การอา่ น ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั พน้ื ฐานของการอา่ น ๒. อ่านจับใจความสำคญั สรปุ ประเด็น สรปุ แนวคดิ เขียนผังความคิดจากเร่ืองทอ่ี ่านได้ ๓. แยกประเภทและบอกองค์ประกอบของวรรณกรรมแต่ละประเภทได้ ๔. อ่านวเิ คราะห์ข่าว ประกาศ และโฆษณาในสอื่ ส่งิ พิมพไ์ ด้ ๕. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินคา่ บทความที่อา่ นได้ ๖. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินคา่ สารคดีที่อา่ นได้ ๗. วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่าเร่ืองส้ันทีอ่ ่านได้ ๘. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ ค่านวนิยายท่อี ่านได้ ๙. วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ ค่าบทละครท่อี า่ นได้ ๑๐. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ คา่ บทรอ้ ยกรองทอี่ ่านได้ ๑๑. เลือกอา่ นและแนะนำวรรณกรรมทีม่ ีคณุ ค่าได้ ๑๒. มมี ารยาทในการอา่ น รวมท้ังหมด ๑๒ ผลการเรียนรู้

๙๓ โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ รายวชิ าการอ่านและพจิ ารณาวรรณกรรม รหัสวชิ า ท๓๑๒๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต คะแนนเก็บ ๑๐๐ คะแนน หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ การพินจิ ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ๑. ความสำคญั ของการ ๖ ๑๐ พจิ ารณา พ้ืนฐานของการอ่าน อ่าน วรรณกรรม ๒. อ่านจับใจความสำคัญ สรุป ๒. การอา่ นจบั ใจความ ประเด็น สรุปแนวคิด เขียนผัง สรปุ ความ ความคิดจากเรอ่ื งทีอ่ า่ นได้ ๒ พินิจข่าวโฆษณา ๓ . แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ บ อ ก ๑. องคป์ ระกอบของ ๖ ๑๐ และส่ือส่งิ พมิ พ์ องค์ประกอบของวรรณกรรมแต่ วรรณกรรม ละประเภทได้ ๒. การวเิ คราะห์ขา่ ว ๔. อ่านวิเคราะห์ข่าว ประกาศ ประกาศ โฆษณา และโฆษณาในสื่อสง่ิ พมิ พ์ได้ ๓ พินจิ บทความ ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ๑. การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ๖ ๑๐ และสารคดี ประเมินคา่ บทความที่อา่ นได้ ประเมนิ คา่ บทความ ๖. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ๒. การวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ ค่าสารคดที ่อี ่านได้ ประเมินคา่ สารคดี สอบกลางภาคเรียนที่ ๑ ๒ ๒๐ พนิ ิจเรอ่ื งสั้น ๗. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ๑. การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๖ ๑๐ ๔ และนวนยิ าย ประเมินค่าเรื่องส้ันท่อี ่านได้ และประเมนิ ค่าเรอ่ื งสนั้ ๘. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ๒. การวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมินคา่ นวนยิ ายทีอ่ า่ นได้ และประเมินค่านวนิยาย ๕ พินจิ บทละคร ๙. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ๑. การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๖ ๑๐ และบทร้อย ประเมนิ คา่ บทละครทีอ่ า่ นได้ และประเมินคา่ บทละคร กรอง ๑๐. วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ๒. การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ คา่ บทรอ้ ยกรองท่ีอา่ นได้ และประเมนิ ค่าบทรอ้ ยกรอง ๖ วรรณกรรมที่มี ๑๑. เลือกอ่านและแนะนำ ๑. การเลอื กอ่านและแนะนำ ๖ ๑๐ คณุ คา่ วรรณกรรมที่มีคณุ คา่ ได้ วรรณกรรมทม่ี คี ุณค่าได้ ๒๐ ๑๒. มีมารยาทในการอ่าน ๒. การมมี ารยาทในการอา่ น ๑๐๐ สอบปลายภาคเรยี นท่ี ๑ ๒ รวมตลอดภาคเรียน ๔๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook