Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9. thai 31001

9. thai 31001

Published by ทศพร สุขาทิพย์, 2021-01-19 13:57:30

Description: 9. thai 31001

Search

Read the Text Version

92 กจิ กรรมที่ 2 1. ใหผูเรียนศึกษารายละเอียดของจดหมายแตล ะประเภท ท้ังรูปแบบคําขึ้นตน คําลงทา ย แบบฟอรม ฯลฯ จากจดหมายจริงขององคก ร บริษัทและหนว ยราชการ แลวเขียนรายงานเสนอ เพ่อื ตรวจสอบและประเมนิ ผลระหวางภาค 2. ใหว ิเคราะหการเขียนจดหมายในยุคปจ จุบันวามีการสื่อสารดวยวิธีอื่นอีก หรือไมพรอมท้ัง ยกตวั อยา งประกอบดว ย กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ เู รยี นเรียนหาโอกาสไปฟงการประชุมสาธารณะท่ีจัดข้ึนในชุมชน โดยอาจนัดหมายไปพรอมกัน เปน กลุม สังเกตวิธีการดําเนนิ การประชุม การพูดในที่ประชุม จดบันทึกสิ่งที่รับฟงจากท่ีประชุมแลวนํามา พูดคุยแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ กับเพื่อน ๆ เมือ่ มีการพบกลุม กิจกรรมที่ 4 ใหผ เู รียนเลอื กจดบันทึกเหตกุ ารณในชวี ิตประจาํ วันโดยเรม่ิ ตัง้ แตว ันนีไ้ ปจนสนิ้ สดุ ภาคเรยี น พรอ มจัดลงใหกับครู กศน. ตรวจ เพ่ือประเมนิ ใหเ ปนผลงานระหวางภาคเรยี น กิจกรรม 5 ใหผเู รยี นเขยี นเลขไทยต้ังแต ๑-๑๐๐ กจิ กรรม 6 ใหผูเรียนเขียนบทรอ ยกรองประเภทใดประเภทหน่ึงท่ีคิดวา เพื่อถา ยทอดอารมณค วามรูส ึก แลวนาํ มาเสนอตอกลมุ หรอื ปด ปา ยประกาศใหเพือ่ นๆ อานและติชม กจิ กรรม 7 ใหผ ูเ รียนศึกษาบทรอ ยกรองประเภทตาง ๆ ที่ไดรับการยกยองหรือชนะการประกวด นําไป อภิปรายรวมกบั ครหู รือผเู รียน ในวันพบกลมุ กจิ กรรม 8 ใหผ ูเรยี นแบงกลุม แลว รวบรวมตัวอยา งบทรอ ยกรองท่ีแตง ดว ยคําประพันธท่ีจับฉลากไดตอ ไปนี้ พรอมทั้งเขียนแผนภมู ปิ ระกอบใหถ ูกตอ ง และสง ตัวแทนออกมาอธิบายในคร้งั ตอ ไปเมอื่ พบกลมุ 1. โคลงส่สี ุภาพ 2. กลอนสภุ าพ 3. กาพยย านี 11 4. รา ยสภุ าพ

93 บทที่ 5 หลกั การใชภาษา สาระสาํ คัญ การเขาใจธรรมชาตแิ ละหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษาจะชวยใหใ ช ภาษาแสวงหาความรู เสริมสรา งลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ เกิดความภาคภูมิใจและรักษาภาษาไทยไวเปน สมบัตขิ องชาติ ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง เม่อื ศกึ ษาบทนจี้ บคาดหวังวา ผูเรยี นจะสามารถ 1. เขา ใจธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย 2. เขา ใจอทิ ธพิ ลของภาษาถน่ิ และภาษาตา งประเทศที่มีตอภาษาไทย 3. เขา ใจความหมายใชศ ัพทบ ญั ญัติ คาํ สมาส คาํ สนธแิ ละคําบาลี สนั สฤต 4. ใชคําราชาศัพทแ ละคาํ สุภาพไดเ หมาะสมกบั บุคคล 5. เขา ใจและใชสาํ นวน คําพงั เพย สภุ าษติ 6. ใชพจนานกุ รมและสารานุกรมไดถกู ตอ ง ขอบขายเน้อื หา เรอื่ งท่ี 1 ธรรมชาตขิ องภาษา เร่อื งท่ี 2 ถอยคาํ สาํ นวน สุภาษติ คาํ พงั เพย เรื่องท่ี 3 การใชพจนานกุ รมและสารานุกรม เร่อื งท่ี 4 คาํ ราชาศัพท

94 เรอ่ื งที่ 1 ธรรมชาติของภาษา ความหมายของภาษา ภาษา เปน คําท่เี รายืมมาจากภาษา สันสกฤต ถาแปลตามความหมายของคําศัพทภาษา แปลวา ถอ ยคําหรือคําพูดที่ใชพูดจากัน คําวา ภาษา ตามรากศัพทเ ดิมจึงมีความหมายแคบคือ หมายถึง คําพูด แตเพียงอยางเดยี ว ความหมายของภาษาตามความเขา ใจของคนท่วั ไป เปน ความหมายท่ีกวาง คือภาษา หมายถึง ส่ือทุกชนิดท่ีสามารถทําความเขา ใจกันได เชน ภาษาพูดใชเสียงเปนส่ือ ภาษาเขียนใชต ัวอักษรเปน สื่อ ภาษาใบใ ชกริยาทาทางเปนส่ือ ภาษาคนตาบอดใชอักษรที่เปน จุดนูนเปน ส่ือ ตลอดท้ัง แสง สี และอาณัติ สญั ญาณตา ง ๆ ลว นเปนภาษาตามความหมายนท้ี ัง้ สิ้น ความหมายของภาษาตามหลกั วิชา ภาษา หมายถึง สัญลกั ษณที่มีระบบระเบียบและมแี บบแผน ทําใหค นเราส่ือความหมายกันได ภาษา ตามความหมายนจ้ี ะตองมสี วนประกอบสําคัญคือ จะตอ งมี ระบบ สัญลักษณ + ความหมาย + ระบบการสรา งคํา + ระบบไวยากรณ ในภาษาไทยเรามีระบบสัญลักษณ ก็คือ สระ พยัญชนะและวรรณยุกต ระบบการสรางคํา ก็คือ การนําเอาพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต มาประกอบกนั เปนคํา เชน พ่ี นอ ง พอ แม ฯลฯ ระบบไวยากรณ หรือเราเรียกวา การสรา งประโยค คือ การนําคําตา ง ๆ มาเรียงกันใหส ัมพันธก ันใหเกิดความหมายตาง ๆ ซ่ึงเปนหนวยใหญข ้ึน เม่ือนําสวน ประกอบตา ง ๆ สัมพันธกันแลว จะทาํ ใหเกดิ ความหมาย ภาษาตองมคี วามหมาย ถาหากไมมีความหมายกไ็ ม เรยี กวา เปนภาษา ความสาํ คญั ของภาษา 1. ภาษาเปนเครื่องมือในการติดตอ สื่อสาร ท่ีมนุษยใ ชส ่ือความเขาใจกัน ถายทอดความรู ความคดิ อารมณ ความรสู ึก ซง่ึ กนั และกัน 2. ภาษาเปน เครือ่ งมือในการแสวงหาความรู ความคดิ และความเพลิดเพลนิ 3. ภาษาเปนเครื่องมือในการประกอบอาชีพและการปกครอง โดยมีภาษากลางหรือภาษา ราชการใชใ นการส่อื สารทําความเขา ใจกนั ไดทงั้ ประเทศ ทว่ั ทกุ ภาค 4. ภาษาชวยบันทึกถา ยทอดและจรรโลงวัฒนธรรมใหด ํารงอยู เราใชภ าษาบันทึกเร่ืองราวและ เหตุการณตาง ๆ ในสังคม ตลอดทั้งความคิด ความเชอื่ ไวใ หคนรนุ หลงั ไดท ราบและสบื ตออยางไมขาดสาย เม่ือทราบวาภาษามีความสําคัญอยา งย่ิงสําหรับมนุษยและมนุษยก ็ใชภาษาเพื่อการดําเนินชีวิต ประจาํ แตเรากม็ ีความรูเกยี่ วกบั ภาษากันไมม ากนัก จงึ ขอกลาวถงึ ความรูเกย่ี วกับภาษาใหศ กึ ษากันดงั นี้ 1. ภาษาใชเ สียงสื่อความหมาย ในการใชเสียงเพ่ือสอ่ื ความหมายจะมี 2 ลักษณะ คอื 1.1 เสียงทส่ี ัมพันธกบั ความหมาย หมายความวาฟงเสียงแลวเดาความหมายไดเสียงเหลาน้ี มักจะเปน เสียงทีเ่ ลยี นเสียงธรรมชาติ เชน ครนื เปรี้ยง โครม จกั ๆ หรือเลยี น เสียงสตั วร อง เชน กา อง่ึ อาง แพะ ตกุ แก

95 1.2 เสียงท่ีไมส ัมพันธกบั ความหมาย ในแตล ะภาษาจะมมี ากกวา เสยี งที่สัมพนั ธ กับความหมาย เพราะเสียงตา ง ๆ จะมีความหมายวา อยางไรน้ันขึ้นอยูก ับขอ ตกลงกันของคนท่ีใชภาษานั้น ๆ เชน ในภาษาไทยกําหนดความหมายของเสียง กนิ วานาํ ของใสปากแลวเค้ียวกลืนลงคอ ภาษาอังกฤษใชเ สียง eat (อี๊ท) ในความหมายเดยี วกันกับเสยี งกนิ 2. ภาษาจะเกดิ จากการรวมกันของหนว ยเลก็ ๆ จนเปน หนว ยทีใ่ หญข ้ึน หนวยในภาษา หมายถงึ สว นประกอบของภาษาจะมีเสียงคําและประโยค ผูใ ชภาษาสามารถ เพิ่มจาํ นวนคํา จาํ นวนประโยคข้ึนไดม ากมาย เชน ในภาษาไทยเรามีเสยี งพยญั ชนะ 21 เสียง เสียงสระ 24 เสียง เสียงวรรณยุกต 5 เสียง ผูเรียนลองคิดดูวา เมื่อเรานําเสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกตมา ประกอบกันก็จะไดค ํามากมาย นําคํามาเรียงตอ กันก็จะไดว ลีและประโยค เราจะสรา งประโยคข้ึนได มากมายและหากเรานาํ ประโยคทส่ี รางขึน้ มาเรียงตอกันโดยวิธีมารวมกัน มาซอนกันก็จะทําใหไ ดป ระโยค ทีย่ าวออกไปเรื่อย ๆ 3. ภาษามกี ารเปล่ียนแปลง สาเหตขุ องการเปลยี่ นแปลง 1. การพดู กันในชีวติ ประจําวนั สาเหตนุ อี้ าจจะทําใหเ กิดการกลมกลนื เสียง เชน เสียงเดมิ วา อยา งน้ี กลายเปน อยา งงี้ มะมว งอกพรอ ง กลายเปน มะมวงอกรอง สามแสน กลายเปน สามเสน สจู นเย็บตา กลายเปน สูจนยบิ ตา 2. อิทธพิ ลของภาษาอื่น จะเหน็ ภาษาอังกฤษมอี ิทธิพลในภาษาไทยมากที่สุดอยูในขณะน้ี เชน มาสาย มกั จะใชว ามาเลท (late) คําทักทายวา สวัสดี จะใช ฮัลโล (ทางโทรศัพท) หรือเปน อิทธิพลทางดา นสํานวน เชน สาํ นวนทีน่ ยิ มพดู ในปจจบุ ัน ดังน้ี “ไดรบั การตอ นรบั อยา งอบอนุ ” นา จะพูดวา “ไดร ับการตอ นรบั อยา งดี” “จบั ไข” นาจะ พูดวา “เปน ไข” นนั ทดิ า แกวบัวสาย จะมาในเพลง “เธอ” นาจะพูดวา นนั ทดิ า แกว บวั สาย จะมารองเพลง “เธอ” 3. ความเปล่ียนแปลงของสิง่ แวดลอ ม เม่อื มีความเจริญข้ึน ของเกาก็เลิกใช สิ่งใหมก็เขา มา แทนที่ เชน การหุงขา วสมัยกอนการดงขาวแตป จจุบันใชหมอหุงขางไฟฟา คําวา ดงขาว ก็เลิกใชไ ปหรือ บา นเรือนสมยั กอ นจะใชไ มไ ผป ูพื้นจะเรียกวา “ฟาก” ปจ จบุ ันใชกระเบื้อง ใชปูน ปูแทนคําวา ฟากก็เลิกใชไป นอกจากนย้ี ังมคี ําอกี พวกทีเ่ รยี กวา คาํ แสลง เปน คาํ ทีม่ ีอายใุ นการใชส้ัน ๆ จะนิยมใชเฉพาะวัยเฉพาะคนใน แตล ะยุคสมัย เม่อื หมดสมัย หมดวยั นั้น คาํ เหลานก้ี ็เลกิ ใชไ ป เชน กก๊ิ จาบ ตวั อยา งคาํ แสลง เชน กระจอก กกิ๊ กอ ก เจา ะแจะ ซา เวอ จาบ ฯลฯ ลักษณะเดน ของภาษาไทย

96 1. ภาษาไทยมีตัวอักษรเปนของตนเอง เปนท่ที ราบวา ภาษาไทยมีตวั อักษรมาต้งั แตครง้ั กรงุ สุโขทยั แลว ววิ ฒั นาการตามความเหมาะสม มาเร่อื ย ๆ จนถงึ ปจจบุ ัน โดยแบงเปน 3 ลักษณะ คอื 1. เสียงแท มี 24 เสียง ใชร ปู สระ 32 รูป 2. เสยี งแปรมี 21 เสียง ใชร ปู พยัญชนะ 44 ตัว 3. เสียงดนตรีหรือวรรณยกุ ตมี 5 เสยี ง ใชรปู วรรณยุกต 4 รปู 2. ภาษาไทยแทม ีพยางคเ ดียวหรือเปน ภาษาคําโดดและเปน คําที่มีอิสระในตัวเอง ไมต อ ง เปลย่ี นรูปคําเมือ่ นําไปใชในประโยค เชน เปนคาํ ท่ีมพี ยางคเดียว สามารถฟงเขา ใจทันที คือ คํากรยิ า กนิ นอน เดิน น่ัง ไป มา ฯลฯ คําเรยี กเครือญาติ พอ แม ลุง ปา นา อา ปู ยา ฯลฯ คําเรยี กชื่อสัตว นก หนู เปด ไก มา ชา ง ฯลฯ คําเรียกช่อื สง่ิ ของ บาน เรอื น นา ไร เสือ้ ผา มีด ฯลฯ คําเรียกอวัยวะ ขา แขน ตนี มอื หู ตา ปาก ฯลฯ เปน คาํ อสิ ระไมเปล่ียนแปลงรปู คําเมือ่ นาํ ไปใชใ นประโยค เชน ฉนั กนิ ขาว พอตีฉนั คําวา “ฉัน” จะเปนประธานหรือกรรมของประโยคก็ตามยังคงใชรูปเดิมไมเปลี่ยนแปลง ซ่ึงตา ง จากภาษาอังกฤษ ถาเปน ประธานใช “I” แตเปนกรรมจะใช “ME” แทน เปน ตน คําทุกคําในภาษาไทย มีลักษณะเปน อิสระในตัวเอง ซ่ึงเปน ลักษณะของภาษาคาํ โดด 3. ภาษาไทยแทมตี ัวสะกดตามตรา ซึง่ ในภาษาไทยนั้นมมี าตราตัวสะกด 8 มาตรา คอื แม กก ใช ก สะกด เชน นก ยาก มาก เดก็ แม กด ใช ด สะกด เชน ผดิ คดิ ราด อด แม กบ ใช บ สะกด เชน กบ พบ ดาบ รบั แม กง ใช ง สะกด เชน จง ขงั ลิง กาง แม กน ใช น สะกด เชน ขน ทัน ปาน นอน แม กม ใช ม สะกด เชน ดม สม ยาม ตาม แม เกย ใช ย สะกด เชน ยาย ดาย สาย เคย แม เกอว ใช ว สะกด เชน เรว็ หิว ขาว หนาว

97 4. คําคําเดียวกัน ในภาษาไทยทําหนา ที่หลายหนา ท่ีในประโยคและมีหลายความหมาย ซึ่งใน หลักภาษาไทยเรียกวา คาํ พองรูป พองเสยี ง เชน ไกข ันยามเชา เขาเปนคนมีอารมณข นั เธอนําขนั ไปตักนํ้า ขนั ในประโยคที่ 1 เปน คํากริยาแสดงอาการของไก ขันในประโยคที่ 2 หมายถงึ เปนคนทีอ่ ารมณส นกุ สนาน ขันในประโยคท่ี 3 หมายถึง ภาชนะหรือส่งิ ของ เธอจกั ตอก แตเ ขา ตอกตะปู ตอกคําแรกหมายถงึ สงิ่ ของ ตอกคําท่ี 2 หมายถงึ กรยิ าอาการ จะเห็นวาคําเดียวกันในภาษาไทยทําหนา ท่ีหลายอยางในประโยคและมีความหมายไดหลาย ความหมาย ซึ่งเปน ลกั ษณะเดน อีกประการหนง่ึ ของภาษาไทย 5. ภาษาไทยเปน ภาษาเรียงคํา ถาเรียงคําสลับกันความหมายจะเปล่ียนไปเชน หลอ นเปน นอ งเพอื่ นไมใ ชเพื่อนนอง คําวา “นองเพอื่ น” หมายถึง นอ งของเพ่ือน สวน “เพ่ือนนอ ง” หมายถึง เปนเพื่อน ของนอ งเรา (เพื่อนนองของเรา) โดยปกติ ประโยคในภาษาไทยจะเรียงลําดับประธาน กริยาและกรรม ซง่ึ หมายถึง ผทู ํา กรยิ าที่ทําและผถู กู กระทํา เชน แมวกัดหนูถาจะมีคําขยายจะตองเรียงคําขยายไวห ลังคํา ที่ตอ งการขยาย เชน แมวดํากัดหนูอวน “ดํา” ขยายแมว และอว นขยายหนู แตถ าจะมีคําขยายกริยา คาํ ขยายนั้นจะอยหู ลงั กรรมหรอื อยทู ายประโยค เชน หมอู วนกินรําขา วอยางรวดเร็ว คําวา อยางรวดเร็ว ขยาย “กิน” และอยูห ลัง รําขาว ซึ่งเปนกรรม 6. ภาษาไทยมีคําตามหลังจํานวนนบั ซึ่งในภาษาไทยเรยี กวา ลักษณะนาม เชน หนังสอื 2 เลม ไก 10 ตวั ชา ง 2 เชอื ก แห 2 ปาก รถยนต 1 คัน คําวา เลม ตัว เชอื ก ปาก คัน เปน ลักษณะนามท่ีบอกจํานวนนับของสิ่งของ ซึ่งเปนลักษณะเดนของ ภาษาไทยอีกประการหน่ึง 7. ภาษาไทยเปนภาษาดนตรี หมายถงึ มีการเปลย่ี นระดับเสียงได หรือเรียกกันวา “วรรณยุกต” ทําใหภาษาไทยมลี ักษณะพิเศษ คอื 7.1 มีคําใชม ากข้ึน เชน เสือ เสื่อ เส้ือ หรือ ขาว ขาว ขา ว เมื่อเติมวรรณยุกต ลงไปในคําเดิม ความหมายจะเปลย่ี นไปทนั ที

98 7.2 มีความไพเราะ จะสังเกตไดว า คนไทยเปนคนเจา บทเจา กลอนมาแตโ บราณแลวก็เพราะ ภาษาไทยมีวรรณยกุ ตส งู ตาํ่ เหมอื นเสยี งดนตรี ที่เอื้อในการแตง คําประพันธ เปน อยางดี เชน “ชะโดดุกระดโี่ ดด สลาดโลดยะหยอยหยอย กระเพือ่ มนํา้ กระพรํา่ พรอย กระฉอกฉานกระฉอนชล” จะเห็นวา เสียงของคําในบทประพันธน ้ีทําใหเกิดจินตนาการหรือภาพพจนด ังเหมือนกับเห็นปลาตา ง ๆ กระโดดขนึ้ ลงในนํ้าทีเ่ ปน ละลอก 7.3 ภาษาไทยนิยมความคลอ งจอง ไมว า จะเปน สํานวนหรือคําพังเพยในภาษาไทยจะมี คาํ คลองจอง เปน ทาํ นองสั่งสอนหรือเปรียบเทียบอยเู สมอ เชน รักดหี ามจ่วั รกั ช่ัวหามเสา นาํ้ มาปลากินมด นํ้าลดมดกนิ ปลา ขาวยาก หมากแพง 7.4 คําในภาษาไทยเลียนแบบเสยี งธรรมชาตไิ ด เพราะเรามีเสยี งวรรณยกุ ตใหใ ชถ งึ 5 เสยี ง เชน เลียนเสียงภาษาตางประเทศ เชน ฟตุ บอล วอลเลยบ อล เปาฮ้ือ เตาเจี้ยว ฯลฯ เลยี นเสียงธรรมขาติ เชน ฟารองครนื ๆ ฝนตกจก้ั ๆ ขา วเดอื ดคก่ั ๆ ระฆงั ดังหงา งหงาง ฯลฯ 8. ภาษาไทยมีคาํ พอ งเสยี ง พองรูป คําพองเสยี ง หมายถึง คําทมี่ ีเสียงเหมือนแตค วามหมายและการเขยี นตา งกัน เชน การ หมายถึง กจิ งาน ธรุ ะ กาน หมายถงึ ตัดใหเ ตียน กาฬ หมายถงึ ดํา กาล หมายถึง เวลา การณ หมายถงึ เหตุ กานต หมายถงึ เปนทีร่ กั กานท หมายถึง บทกลอน กาญจน หมายถึง ทอง คําพอ งรปู หมายถงึ คาํ ทรี่ ูปเหมอื นกันแตอ อกเสยี งและมคี วามหมายตางกัน เชน - เพลา อาน เพ-ลา แปลวา เวลา - เพลา อา น เพลา แปลวา เบา ๆ หรือตัก - เรอื โคลงเพราะโคลง อาน เรอื โคลงเพราะโค-ลง 9. ภาษาไทยมกี ารสรา งคํา เปน ธรรมชาติของภาษาทุกภาษาที่จะมีการสรา งคําใหมอยูเ สมอ แตภาษาไทยมีการสราง คาํ มากมายซ่งึ ตางกบั ภาษาอนื่ จงึ ทาํ ใหม ีคําใชในภาษาไทยเปนจาํ นวนมาก คือ 9.1 สรา งคาํ จากการแปรเสยี ง เชน ชมุ - ชอมุ 9.2 สรา งคาํ จากการเปลี่ยนแปลงเสยี ง เชน วิธี - พิธี วิหาร - พิหาร

99 9.3 สรา งคาํ จากการประสมคํา เชน ตู + เยน็ เปน ตเู ย็น, พดั + ลม เปน พดั ลม 9.4 สรา งคาํ จากการเปลย่ี นตาํ แหนงคํา เชน ไกไข - ไขไ ก, เดินทาง - ทางเดิน 9.5 สรา งคาํ จากการเปลีย่ นความเชน นยิ าม - เรื่องทเ่ี ลาตอ ๆ กนั มา, นยิ าย - การพดู เทจ็ 9.6 สรา งคาํ จากการนาํ ภาษาอ่นื มาใช เชน กว ยเตี๋ยว เตาหู เสวย ฯลฯ 9.7 สรา งคําจากการคดิ ต้ังคาํ ขนึ้ ใหม เชน โทรทศั น พฤติกรรม โลกาภวิ ตั น 10.ภาษาไทยมคี ําสรอยเสริมบทเพื่อใชพ ูดใหเสียงลื่นและสะดวกปากหรือใหเกิดจังหวะนา ฟง เพมิ่ ข้นึ ซง่ึ ในหลักภาษาไทยเราเรียกวา “คําสรอ ย หรอื คําอทุ านเสรมิ บท” เชน เรอ่ื งบาบอคอแตก ฉนั ไมชอบฟง ฉันไมเ ออออหอ หมกดวยหรอก ไมไปไมเปยกนั ละ คาํ แปลก ๆ ท่ีขีดเสน ใตนัน้ เปน คําสรอ ยเสริมบทเพราะใชพูดเสริมตอใหเ สียงล่ืนสะดวกปากและ นาฟง ซ่งึ เราเรียกวา คาํ สรอ ยหรอื อุทานเสรมิ บท จาก 1 ถึง 10 ดังกลาว เปนลักษณะเดน ของภาษาไทย ซ่ึงจริง ๆ แลว ยังมีอีกหลายประการ ซึง่ สามารถจะสังเกตจากการใชภาษาไทยโดยทัว่ ๆ ไปไดอ ีก การยมื คาํ ภาษาอ่นื มาใชในภาษาไทย ภาษาไทยของเรามีภาษาอนื่ เขามาปะปนอยูเปนจาํ นวนมาก เพราะเปน ธรรมชาติของภาษาที่เปน เคร่ืองมอื ในการส่ือสาร ถา ยทอดความรูค วามคิดของมนุษยแ ละภาษาเปนวัฒนธรรมอยางหน่ึง ซ่ึงสามารถ หยบิ ยืมกนั ไดโ ดยมีสาเหตจุ ากอิทธิพลทางภมู ิศาสตร คือ มเี ขตแดนติดตอ กันอิทธิพลทางประวัติศาสตรท ่ีมี การอพยพถิ่นที่อยู หรืออยูใ นเขตปกครองของประเทศอ่ืน อิทธิพลทางดานศาสนา ไทยเรามีการนับถือ ศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสตและอื่น ๆ นอกจากน้ีอิทธิพลทางการศึกษา การคาขาย แลกเปล่ียนเทคโนโลยี จึงทาํ ใหเ รามีการยมื คําภาษาอื่นมาใชเ ปนจํานวนมาก เชน 1. ภาษาบาลี สันสกฤต ไทยเรารบั พทุ ธศาสนาลัทธิมหายาน ซ่ึงใชภาษาสันสกฤตเปนเคร่ืองมือ มากอนและตอ มาไดรับพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศม าอีกซึ่งในภาษาบาลีเปนเคร่ืองมือในการเผยแพรไ ทย จงึ รับภาษาบาลีสันสกฤตเขา มาใชใ นภาษาไทยเปน จํานวนมาก เชน กติกา กตเวทิตา กตัญู เขต คณะ จารตี ญตั ติ ทจุ รติ อารมณ โอวาท เกษยี ณ ทรมาน ภกิ ษุ ศาสดา สงเคราะห สตั ว อุทศิ เปนตน 2. ภาษาจนี ไทยกับจนี มคี วามสัมพันธก ันอยา งใกลช ิดทางดานเชอ้ื ชาติ ถิน่ ทอี่ ยูการตดิ ตอ คาขาย ปจ จบุ นั มีคนจนี มากมายในประเทศไทยจงึ มกี ารยมื และแลกเปลีย่ นภาษาซึ่งกันและกนั ภาษาจีนทไี่ ทยยมื มา ใชเปนภาษาพูดไมใชภ าษาเขียน คาํ ทเ่ี รายมื จากภาษาจนี มีมากมายตัวอยางเชน กว ยจ๊ับ ขมิ จับกัง เจง ซวย ซีอิ้ว ตว๋ั ทูช ้ี บะหมี่ หา ง ยี่หอ หวย บงุ กี้ อ้งั โล เกาเหลา แฮกนึ้ เปน ตน 3. ภาษาองั กฤษ ชาวอังกฤษ เขา มาเกี่ยวขอ งกับชาวไทยตั้งแตส มัยอยุธยา มีการติดตอ คาขาย และในสมัยรชั กาลท่ี 5 มีการยกเลิกอาํ นาจศาลกงสลุ ใหแ กไ ทยและภาษาอังกฤษเปนทยี่ อมรับกันท่ัวโลกวา เปนภาษาสากลทส่ี ามารถใชสื่อสารกันไดท ่ัวโลก ประเทศไทยมีการสอนภาษาอังกฤษต้ังแตป ระถมศึกษา

100 จงึ ทาํ ใหเรายมื คําภาษาองั กฤษมาใชใ นลกั ษณะคําทับศัพทอ ยา งแพรห ลาย เชน โฮเตล ลอตเตอร่ี เปอรเ ซน็ ต บอย โนต กอลฟ ลฟิ ท สวิตช เบยี ร ชอลก เบรก กอก เกม เชค็ แสตมป โบนสั เทคนิค เกรด ฟอรม แท็กซ่ี โซดา ปม คอลมั น เปน ตน และปจจบุ ันยังมภี าษาอันเกิดจากการใชค อมพิวเตอรจาํ นวนหนึง่ 4. ภาษาเขมร อาจดวยสาเหตุความเปนเพอ่ื นบานใกลเคียงและมีการติดตอ กันมาชา นานปะปน อยใู นภาษาไทยบา ง โดยเฉพาะราชาศัพทแ ละในวรรณคดเี ชน บังคลั กรรไกร สงบ เสวย เสดจ็ ถนอม เปน ตน กิจกรรม 1. ใหผ ูเรียนสังเกตและรวบรวม คําภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ภาษาจีน ภาษา องั กฤษ และภาษาอ่นื ๆ และเราใชก นั ในการพูดคยุ และใชใ นการสื่อสารมวลชนแลวบันทึกไว เพื่อนําไปใช ในการรายงานและการสือ่ สารตอ ไป 2. แบงผูเรยี นเปน 2 - 3 กลุม ออกมาแขงกนั เขยี นภาษาไทยแทบ นกระดาษกลุมละ 15 - 20 คํา พรอมกบั บอกขอสังเกตวา เหตผุ ลใดจงึ คดิ วา เปน คาํ ไทย การสรา งคาํ ขนึ้ ใชในภาษาไทย การสรางคําในภาษาไทยมีหลายวิธี ท้ังวิธีเปน ของเราแท ๆ และวิธีที่เรานํามาจากภาษาอื่น วิธี ทีเ่ ปน ของเราไดแก การผันเสียงวรรณยกุ ต การซา้ํ คํา การซอ นคาํ และการประสมคาํ เปน ตน สวนวธิ ที นี่ ํามา จากภาษาอื่น เชน การสมาส สนธิ การเตมิ อปุ สรรค การลงปจ จัย ดังจะไดกลา วโดยละเอียดตอไปนี้ 1. การผันเสียงวรรณยุกต วธิ กี ารน้ี วรรณยกุ ตทตี่ า งออกไปทําใหไดค ําใหมเ พิม่ ขนึ้ เชน เสอื เสอ่ื เส้อื นา นา นา นอง นอง นอ ง 2. การซํ้าคาํ คือ การสรางคําดว ยการนําเอาคําท่ีมีเสียงและความเหมือนกันมาซ้ํากัน เพ่ือเปลี่ยน แปลงความหมายของคําแตกตางไปหลายลักษณะ คอื 2.1 ความหมายคงเดมิ เขาก็ซนเหมือนเดก็ ทั่ว ๆ ไป ลูกยังเลก็ อยาใหน่งั ริม ๆ ไมปลอดภยั 2.2 ความหมายเดน ชดั ข้นึ หนักขึ้นหรือเฉพาะเจาะจงข้ึนกวาความหมายเดิม สอนเทาไหร ๆ ก็ไมเ ชอ่ื กนิ อะไร ๆ ก็ไมอรอ ย บางคาํ ตอ งการเนนความของคาํ ใหมากทีส่ ดุ ก็จะซ้ํา 3 คําดว ยการเปล่ียนวรรณยุกตของ คาํ กลาง เชน ดีด๊ีดี บางบางบาง รอรอ รอ หลอลอหลอ เปน ตน 2.3 ความหมายแยกเปน สดั สว นหรือแยกจาํ นวน เชน เกบ็ กวาดเปน หอง ๆ ไปนะ (ทีละหอง) พดู เปนเร่อื ง ๆ ไป (ทีละเร่ือง) 2.4 ความหมายเปน พหูพจนเ ม่อื ซ้าํ คาํ แลว แสดงใหเ ห็นวา มีจาํ นวนเพิ่มข้ึน เชน เขาไมเคยกลับบานเปนป ๆ แลว เดก็ ๆ ชอบเลนซน ใคร ๆ ก็รู

101 ชา ๆ ไดพราสองเลมงาม กนิ ๆ เขาไปเถอะ จะเห็นวาคาํ ทซี่ ํา้ กนั จะมที ั้งคาํ นาม กริยา คาํ สรรพนามและจะมีการบอกเวลาบอก จาํ นวนดว ย 2.5 ความหมายผดิ ไปจากเดมิ หรอื เม่อื ซาํ้ แลวจะเกดิ ความหมายใหม หรือมคี วามหมายแฝง เชน เร่อื งหมู ๆ แบบน้สี บายมาก (เรื่องงา ย ๆ) อยู ๆ ก็รองขน้ึ มา (ไมมีสาเหต)ุ จะเห็นไดว าการนําคํามาซ้ํากันนั้นทําใหไดคําท่ีมีรูปและความหมายแตกตา งออกไป ดังน้ัน การสรางคําซาํ้ จึงเปน การเพมิ่ คําในภาษาไทยใหม ีมากข้ึนอยา งหนึ่ง 3. การซอ นคํา คือ การสรา งคําโดยการนําเอาคําตั้งแตสองคําข้ึนไปซึ่งมีเสียงตางกันแตมี ความหมายเหมือนกันหรอื คลายคลึงกันหรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย รักใคร หลงใหล บานเรอื น เปนตน ปกตคิ าํ ทนี่ าํ มาซอนกันน้นั นอกจากจะมีความหมายเหมือนกนั หรอื ใกลเ คียงกัน แลว มกั จะมีเสยี งใกลเคียงกนั ดวย ทง้ั น้ี เพอ่ื ใหออกเสียงไดงา ย สะดวกปาก คําซอ นทําใหเกิดคําใหมห รือ คาํ ท่มี คี วามหมายใหมเ กดิ ขน้ึ ในภาษา ทําใหม ีคําเพิ่มมากข้ึนในภาษาไทย อันจะชวยใหการสื่อความหมาย และการส่ือสารในชีวิตประจําวันมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน คําท่ีนํามาซอนกันแลว ทําใหเ กิดความหมายน้ัน แบง เปน 2 ลักษณะ คอื 3.1 ซอนคาํ แลว มคี วามหมายคงเดิม การซอ นคาํ ลักษณะนี้จึงนาํ คําทมี่ คี วามหมายเหมือนกัน มาซอ นกันเพื่อไขความหรอื ขยายความซึง่ กนั และกัน เชน วางเปลา โงเ ขลา รปู ราง ละท้ิง อดิ โรย บาดแผล เปนตน 3.2 ซอ นคําแลว มคี วามหมายเปล่ียนแปลงไปจากเดิม คําซอนท่ีเปนคําที่เกิดความหมายใหมน ้ี มลี กั ษณะคือ ก. ความหมายเชิงอปุ มา เชน ยงุ ยาก ออนหวาน เบิกบาน เปนตน ข. ความหมายกวางออก เชน เจบ็ ไข พ่นี อง ทบุ ตี ฆาฟน เปน ตน ค. ความหมายแคบเขา เชน ใจดํา ปากคอ ญาติโยม หยิบยืม น้ําพักน้ําแรง สมสุก ลูกไม เปน ตน การแยกลักษณะคําซอนตามลักษณะการประกอบคํานั้นจะมีลักษณะคําซอ น 2 คําและคําซอ น มากกวา สองคํา เชน บา นเรือน สวยงาม ยากดมี ีจน เจบ็ ไขไ ดป วย อดตาหลับขับตานอน จับไมไดไลไ มท ัน เปน ตน 4. การสรา งคําประสม การสรา งคําข้ึนใชใ นภาษาไทยสวนหนึ่งจะใชวิธีประสมคําหรือวิธีการ สรา งคําประสม โดยการนําเอาคําที่มีใชอยูใ นภาษาไทย ซึ่งมีรูปคําและความหมายของคําแตกตางกัน มาประสมกันเพ่ือใหเ กิดคําใหม และมีความหมายใหมใ นภาษาไทย เชน พดั ลม ไฟฟา ตเู ย็น พอ ตา ลูกเสือ แมน ํ้า เรือรบ น้ําหอม น้ําแขง็ เมอื งนอก เปนตน

102 คาํ ท่ีนํามาประสมกันจะเปนคําไทยกับคาํ ไทยหรอื คาํ ไทยกับคําตา งประเทศก็ได เชน - คําไทยกับคาํ ไทย โรงเรียน ลกู เขย ผีเส้อื ไมเ ทา เปนตน - คําไทยกับคาํ บาลี หลกั ฐาน (หลกั คําไทย ฐานคําบาล)ี สภากาชาด พลเมอื ง ราชวงั ฯลฯ - คําไทยกับคําสันสกฤต ทุนทรัพย (ทุนคาํ ไทย ทรัพยค าํ สนั สกฤต) - คําไทยกบั คําจีน เยน็ เจย๊ี บ (เยน็ คาํ ไทย เจี๊ยบคําภาษาจีน) หวย ใตด นิ นายหา ง เกง จนี กินโตะ เขาหุน ฯลฯ - คาํ ไทยกับคําเขมร ละเอียดลออ (ละเอียดคาํ ไทย ลออคาํ เขมร) ของ ขลงั เพาะชาํ นายตรวจ - คาํ ไทยกับคาํ อังกฤษ เสอื้ เชติ้ (เสอ้ื คาํ ไทย เช้ิตคาํ องั กฤษ) พวงหรีด เหยือกนํา้ ตูเซฟ นายแบงค ไขกอ ก แปปนาํ้ ฯลฯ 5. การสรา งคําไทยโดยการนําวิธีการของภาษาอื่นมาใช การสรา งคําของภาษาอ่ืนท่ีนํามาใชใน ภาษาไทย ไดแก 5.1 การสรางคาํ ของภาษาบาลีและสันสกฤต คอื ก. วิธีสมาส สมาสเปนวิธีสรางศพั ทอยา งหนึง่ ในภาษาบาลี สันสกฤต โดยการนาํ คําศพั ท ต้ังแต 2 คําข้ึนไปรวมเปน ศัพทใหมศัพทเ ดียว จะมีลักษณะคลายกับคําประสมของไทย แตค ําสมาสนั้น เปนคําทม่ี าขยาย มักจะอยูหนา คําหลกั สวนคาํ ประสมของไทยน้ันคําขยายจะอยูข า งหลัง เชน คําวา มหา บุรษุ คําวา มหาบุรษุ คาํ วา มหา แปลวา ย่งิ ใหญ ซ่ึงเปนคําขยาย จะอยูหนาคําหลักคือ บุรุษ ดังนั้น คําวา มหาบุรษุ แปลวา บุรษุ ผูย่ิงใหญ ซงึ่ ตางจากภาษาไทย ซ่งึ สวนมากจะวางคําขยายไวห ลังคาํ ท่ถี ูกขยาย ตัวอยา งคาํ สมาสในภาษาไทย พลศึกษา ประวัติศาสตร ปริยัติธรรม กามเทพ เทพบุตร สุนทรพจน วิศวกรรม วิศวกร อากาศยาน สวัสดิการ คหกรรมศาสตร วิทยาศาสตร วิทยากร พิธีกร ชีพจร มหกรรม ประวัติศาสตร โทรทัศน โทรเลข วารสาร นติ ยสาร จลุ สาร พิพธิ ภัณฑ วนิ าศกรรม อุบัติเหตุ ปญญาชน รมณียสถาน สังฆทาน กจิ กรรม อุทกภัย วทิ ยุศึกษา หัตถศึกษา เปน ตน ข. วิธีลงอปุ สรรค วธิ สี รางคาํ ในภาษาบาลีและสนั สกฤตน้ันมีวิธลี งอุปสรรค (หรือบทหนา) ประกอบขา งหนาศพั ทเพือ่ ใหไ ดค ําที่มีความหมายแตกตางออกไป ซึง่ ไทยเราไดน าํ มาใชจาํ นวนมาก เชน อธิ + การ เปน อธกิ าร (ความเปน ประธาน) อนุ + ญาต เปน อนุญาต (การรับรู) อธิ + บดี เปน อธบิ ดี (ผเู ปน ใหญ) อนุ + ทิน เปน อนุทิน (ตามวัน,รายวัน) อป + มงคล เปน อปั มงคล (ไมมีมงคล) วิ + กฤต เปน วกิ ฤต (แปลกจากเดมิ ) อป + ยศ เปน อัปยศ (ไมมียศ) วิ + เทศ เปน วิเทศ (ตา งประเทศ) คําท่ีลงอุปสรรคดังกลา วน้ีจัดวาเปน คําสมาส ท้ังน้ีเพราะวิธีลงอุปสรรคเปน การรวบรวมศัพท ภาษาบาลีและสันสกฤตเขา ดวยกันและบทขยายจะวางอยูห นา บทท่ีถูกขยายในภาษาบาลีและสันสกฤต การลงอปุ สรรคเขา ขางหนา คาํ เปนวิธีการสมาสวธิ หี น่ึง

103 นอกจากน้ี การลงอุปสรรคของภาษาบาลี ถูกนํามาใชในภาษาไทยแลว ไทยเรายังนําวิธีการ ลงอปุ สรรคมาใชกับคําไทยและคําอื่น ๆ ในภาษาไทยอีกดวย เชน สมรู หมายความวา รว มคิดกนั สมทบ หมายความวา รว มเขาดวยกนั ค. การสนธิ การสรางคําในภาษาบาลี สนั สกฤต ซงึ่ มกี ารเปลย่ี นแปลงรูปคํา อันเนื่องมา จากการเปลี่ยนแปลงทางเสยี ง ซ่งึ เราเรียกวา “สนธ”ิ สนธิ เปนการเปล่ียนแปลงเสียง การสนธิเปน วิธีการสมาส โดยการเช่ือมคําใหก ลมกลืนกัน คือ ทายเสียงคาํ ตนกับเสียงของคาํ ที่นํามาตอ จะกลมกลนื กนั เปน วธิ ีสรางคําใหมใ นภาษาวิธหี นง่ึ วิธสี นธมิ ี 3 วธิ ีคือ 1. สระสนธิ คอื การรวมเสียงสระตัวทา ยของคํานําหนา กับสระตัวหนา ของคําหลังใหกลมกลืน สนทิ กันตามธรรมชาตกิ ารออกเสยี ง อะ + อ เปน อา เชน สุข + อภิบาล = สขุ าภิบาล อะ + อุ หรือ อู เปน อุ อู หรือ โอ เชน อรณุ + อทุ ยั = อรุโณทัย ราช + อปุ โภค = ราชปู โภค ฯลฯ 2. พยญั ชนะสนธิ เปนลักษณะการเชอื่ มและกลมกลนื เสยี งระหวา งคาํ ที่สุดศพั ทดวยพยัญชนะกับ คําที่ขึ้นตน ดว ยพยัญชนะหรือสระ เมอื่ เสยี งอยใู กลกนั เสยี งหนึ่งจะมีอิทธพิ ลดงึ เสียงพยัญชนะอีกเสียงหนึ่ง ใหมีลักษณะเหมอื นหรือใกลเคียงกนั พยัญชนะสนธิน้จี ะมีเฉพาะในภาษาสันสกฤตเทา นัน้ ในภาษาบาลีไมม ี เพราะศัพทใ นภาษาบาลีทกุ คาํ ตองสดุ ศพั ทดวยสระ ตัวอยาง เชน ธต เปล่ยี น เปน ทธ เชน พธุ + ต = พทุ ธ ราชน + บตุ ร = ราชบตุ ร ไทยใช ราชบุตร กามน - เทว = กามเทว ไทยใช กามเทพ 3. นฤคหติ สนธิ สนธนิ ิคหิตจะมลี กั ษณะการตอเชอื่ มและกลมกลืนเสียงระหวา งคําตน ที่ลงทายดว ย นิคหิต กับคาํ ท่ขี ึ้นตนดว ยสระหรอื พยัญชนะนคิ หิตเทยี บไดกับเสียงนาสิก ดังน้ัน นิคหิตจะกลายเปน นาสิก ของพยัญชนะตัวท่ีตามมา คือ ง ญ น ณ ม ถาตัวตามนิคหิตอยูว รรคเดียวกับ ง ก็จะเปลี่ยนเปน ง ถา อยู วรรคเดียวกบั ญ หรอื น หรอื ณ หรอื ม ก็จะเปลีย่ นเปน ญ น ณ ม ตามวรรค เชน สํ + เกต = สังเกต (เครื่องหมายร)ู สํ + ถาร = สนั ถาร (การปลู าด) สํ + พนธ = สมั พันธ การนําวิธีการสรางคําแบบคําสมาส คําลงอุปสรรคและวิธีสนธิในภาษาบาลีสันสกฤตมาใชใ น ภาษาไทย ถอื วาเปน การสรางคาํ หรือเพิ่มคาํ ในภาษาไทยมมี าก

104 5.2 การสรา งคาํ ของภาษาเขมร ไทยไดนาํ เอาวิธีสรา งคาํ ของเขมร คือ การแผลงคํามาใชใ น ภาษาไทย ซึ่งวิธีแผลงคําในภาษาเขมรมหี ลายวิธแี ตไ ทยเรานํามาใชบ างวิธีเทา น้นั คําแผลง คือ คําท่ีเปลี่ยนแปลงตัวอักษรใหมีรูปลักษณะตา งไปจากคําเดิม แตยังคงรักษา ความหมายเดมิ หรอื เคาเดิมเอาไวใ หพ อสงั เกตได วธิ ีแผลงคาํ ในภาษาไทย ทีน่ ํามาจากภาษาเขมรบางวิธี คือ 1. ใชว ิธเี ตมิ อาํ ลงหนาคาํ แผลงใหม แตค งรูปสระเดมิ ไวท ่พี ยางคหลัง เชน ตรวจ เปน ตาํ รวจ เกดิ เปน กาํ เนดิ เสรจ็ เปน สาํ เรจ็ เสียง เปน สําเนยี ง 2. ใชวิธีเตมิ อุปสรรค (หนวยหนาศพั ท) บํ (บอ็ ม) ลงหนาคําแผลงสว นใหญ ไทยนาํ เอามา ออกเสียง บัง บนั บํา เชน เกดิ ลงอปุ สรรค บํ เปน บเํ กิด ไทยใชบ ังเกิด ดาล ลงอุปสรรค บํ เปน บํดาล ไทยใชบ ันดาล การแผลงคําเปน วิธีสรางคําข้ึนใชใ นภาษาวิธีหนึ่ง ซึ่งไทยเอาแบบอยา งมาจากภาษาเขมรและ ภาษาอืน่ เชน ภาษาบาลี สันสกฤต เชน อายุ เปน พายุ อภริ มย เปน ภริ มย ไวปลุย เปน ไพบลู ย มาต เปน มารดา การแผลงคําของภาษาบาลี สนั สกฤต สว นใหญเพอ่ื จะไดอ อกเสียงในภาษาไทยไดง ายและไพเราะขึน้ ศพั ทบ ัญญตั ิ ศพั ทบัญญัติ หมายถึง คําเฉพาะวงการหรือคาํ เฉพาะวชิ าท่ผี คู ดิ ข้นึ เพือ่ ใชส ่ือความหมายในวงการ อาชีพหรือในวิชาการแขนงใดแขนงหนึ่ง โดยเฉพาะ ทั้งน้ี เพราะการศึกษาของเราไดข ยายตัวกวา งขวาง มากข้นึ การศึกษาจากตางประเทศกม็ ีมากขน้ึ เราตอ งรบั รคู าํ ศัพทข องประเทศเหลานั้นโดยเฉพาะคําศัพท ภาษาอังกฤษ ปจจุบนั มีศพั ทบญั ญตั ทิ ่ีใชกนั แพรหลาย โดยทั่วไปจํานวนมาก ซึ่งผูเ รียนคงจะเคยเห็นและเคยได ฟงจากส่ือมวลชน ซึ่งจะเปน คําศพั ทเก่ยี วกับธรุ กิจ กฎหมาย วิทยาศาสตร ฯลฯ จะขอยกตัวอยางเพยี งบางคาํ ดงั น้ี สินเชื่อ Credit หมายถึง เงนิ ทีเ่ ปน หนีไ้ วดว ยความเช่ือถือ เงินฝด Deflation หมายถงึ ภาวะเศรษฐกจิ ทีม่ ีปรมิ าณเงนิ หมนุ เวียน ในประเทศมนี อย การใชจายลดนอ ยลงทาํ ใหสินคาราคาตก เงนิ เฟอ Inflation หมายถงึ ภาวะเศรษฐกจิ ทป่ี รมิ าณเงนิ หมุนเวียนในประเทศมมี าก เกินไป ทําใหร าคาสินคาแพงและเงินเส่อื มคา ตกตํ่า ปรมิ าณเงนิ หมุนเวียนในประเทศมีนอย การใชจ ายลดนอ ยลง ทาํ ใหสินคา ราคาตก

105 ทนุ สาํ รอง Reserve fund หมายถงึ เงนิ ทกี่ ันไวจากผลกาํ ไรของหางหนุ สวนบริษัท ตามทกี่ าํ หนดไวใ นกฎหมายหรอื ขอ บังคบั ของหา งหนุ สว น บริษทั น้นั ๆ ทุนสาํ รองเงนิ ตรา Reserve หมายถึง ทองคํา เงินตราตา งประเทศหรอื หลกั ทรพั ยต าง ๆ ซง่ึ ใชเปน ประกันในการออกธนบตั รหรือธนาคารบตั ร เงนิ ปน ผล Dividend หมายถึง สว นกาํ ไรท่บี ริษัทจาํ กัดจายใหแ กผถู อื หุน กลอ งโทรทรรศน Telescope กลอ งทีส่ องดูทางไกล กลองจลุ ทรรศน Microscope กลองขยายดขู องเลก็ ใหเ หน็ เปนใหญ จรวด Rocket หมายถงึ อาวุธหรอื ยานอวกาศท่ขี ับเคลื่อนดว ยความเรว็ สงู โดยไดเชอื้ เพลิงในตวั เองเผาไหมเ ปน แกส พงุ ออกมาจากสวนทาย มีทัง้ ชนิดทใี่ ช เช้ือเพลงิ แข็งและชนดิ เชื้อเพลงิ เหลว ขปี นาวธุ Missile หมายถึง อาวุธซึง่ ถูกสง ออกไปจากผวิ พิภพ เพื่อใชประหัตประหาร หรือทําลายในสงคราม โดยมีการบงั คบั ทศิ ทางในตัวเอง เพอื่ นาํ ไปสู เปาหมายการบงั คบั ทศิ ทางนีบ้ ังคบั เฉพาะตอนขนึ้ เทา น้นั จรวดนําวถิ ี Guided Rocket หมายถึง ขปี นาวุธนาํ วถิ ี ซง่ึ ขบั เคล่อื นดวยจรวด จานบิน Flying Saucer หมายถงึ วตั ถุบนิ ลกั ษณะคลา ยจาน 2 ใบ คว่าํ ประกบกนั มผี อู างวาเคยเห็นบินบนทองฟา และมบี างคนเช่ือวาเปนยานอวกาศมาจาก นอกโลกหรือจากดาวดวงอน่ื บางครง้ั ก็เรียกวา จานผี ดาวเทยี ม Satellite หมายถึง วัตถุทมี่ นุษยสรา งขน้ึ เลยี นแบบดาวบรวิ าร ของดาวเคราะห เพื่อใหโคจรรอบโลกหรือรอบเทหฟ ากฟา อน่ื มีอปุ กรณ โทรคมนาคมดวย เชน การถา ยทอดคลื่นวทิ ยุและโทรทศั นขา มประเทศ ขา มทวปี เปน ตน แถบบันทึกเสียง Audiotape หมายถงึ แถบเคลอื บสารแมเหลก็ ใชบันทกึ สญั ญาณเสียง แถบบันทึกภาพ,แถบวีดิทัศน Videotape หมายถงึ แถบเคลอื บสารแมเ หลก็ ใช บนั ทึกสัญญาณภาพ โลกาภิวัตน Globalization หมายถงึ การทําใหแพรหลายไปท่วั โลก คําศพั ทบัญญัติที่ยกมาลวนมีความหมายทตี่ อ งอธบิ ายและมักจะมีความหมายเฉพาะดา นท่แี ตกตา ง ไปจากความเขา ใจของคนท่วั ไป หากผูเรียนตอ งการทราบความหมายท่ถี ูกตอ งควรคน ควาจากพจนานุกรม เฉพาะเรื่อง เชน พจนานุกรมศัพทแพทย พจนานุกรมศัพทธุรกิจ พจนานุกรมชางและพจนานุกรมศัพท กฎหมาย เปนตน หรือติดตามขา วสารจากสื่อตา ง ๆ ที่มีการใชค ําศัพทเ ฉพาะดานจะชวยใหเ ขา ใจดีข้ึน เพราะคําศพั ทบญั ญัตเิ หมาะสมท่จี ะใชเฉพาะวงการและผูมีพ้นื ฐานพอเขาใจความหมายเทาน้ัน

106 กจิ กรรม 1. ใหผูเ รียนรวบรวมคําศัพทบ ัญญัติจากหนังสือพิมพและหนังสืออ่ืน ๆ แลว บันทึกไวใ นสมุด เพอื่ จะไดน าํ ไปใชในการพูดและเขียนเม่อื มีโอกาส 2. ผูส อนยกคาํ มาถามทเ่ี หน็ สมควรใหผเู รียนชว ยกันแยกวาเปน คาํ สมาสหรือคาํ ประสม ประโยคในภาษาไทย ประโยคตอ งมคี วามครบ สมบรู ณ ใหรวู า ใครทาํ อะไร หรอื กลาวอีกอยา งหนงึ่ วา ประโยคตอ งประกอบดว ยประธานและกริยาเปนอยา งนอ ย เราสามารถแยกประโยคไดเ ปน 3 ชนดิ คือ ก. ประโยคแจง ใหทราบ หรอื ประโยคบอกเลา ประโยคชนิดนี้อาจจะเปนประโยคส้ัน ๆ มีเพียง คาํ นามทําหนา ที่ประธาน คํากริยาทําหนา ท่ีเปน ตัวแสดง เชน คนเดิน นกบิน แตบ างทีอาจจะเปน ประโยค ยาว ๆ มีความสลบั ซบั ซอนย่ิงขึน้ ซงึ่ มคี ํานาม คํากรยิ า หลายคํา ก็ได ถา ประโยคแจง ใหทราบนั้นมีเน้ือความปฏิเสธก็จะมีคําปฏิเสธ เชน ไมม ี หามิได อยูด วย เชน เขาไมมารวมประชุมในวนั นี้ ข. ประโยคถามใหต อบหรอื ประโยคคาํ ถาม เปนประโยคท่ีผูพูดใชถามขอ ความ เพ่ือใหผ ูฟ ง ตอบ รูปประโยคคําถามจะมีคํา หรอื ไหม ใคร อะไร ที่ไหน กี่ เมื่อไร อยางไร ฯลฯ แตถา ประโยคถามใหต อบเปน ประโยคถามใหตอบทมี่ เี นอ้ื ความปฏิเสธกจ็ ะมีคาํ ปฏเิ สธอยดู ว ย ค. ประโยคบอกใหท าํ หรอื ประโยคคาํ สั่ง เปนประโยคทผ่ี ูพูดใชเพอื่ ใหผ ฟู งกระทาํ อาการบางอยา ง ตามความตองการของผพู ดู การบอกใหผ ูอืน่ ทําตามความตอ งการของตนนัน้ อาจตองใชวธิ ีขอรอ งออนวอน วงิ วอน เชิญชวน บงั คบั ออกคาํ ส่งั ฯลฯ การเรยี งลาํ ดบั ในประโยค การเรียงลาํ ดับในภาษาไทยมีความสาํ คัญมากเพราะถา เรียงลําดับตา งกันความสัมพันธข องคาํ ในประโยคจะผิดไป เชน สนุ ขั กดั งู สนุ ขั เปน ผูทํา งูเปนผูถกู กระทํา งูกัดสนุ ัข งเู ปนผทู าํ สนุ ัขเปน ผถู ูกกระทาํ โครงสรา งของประโยค ประโยคในภาษาไทยแบง เปน 3 ชนิด คือ ก. ประโยคความเดียว คือ ประโยคทม่ี งุ กลาวถงึ ส่ิงใดส่ิงหน่ึงเพียงสิ่งเดียวและส่ิงนั้นแสดงกิริยา อาการหรอื อยูในสภาพอยางใดอยางหนึ่งแตเพียงอยางเดียว ประโยคความเดียวแบงออกเปน สวนสําคัญ 2 สวน คอื ภาคประธานและภาคแสดง เชน ผหู ญงิ ชอบดอกไม ถงึ แมจะมรี ายละเอยี ดเขา ไปในประโยค กย็ ังเปน ประโยคความเดียว เชน ผูหญิง คนนนั้ ชอบดอกไมส วย

107 ข. ประโยคความซอน คือ ประโยคความเดียวที่เพ่ิมสว นขยายภาคประธานหรือภาคแสดงดวย ประโยค ทําใหโ ครงสรา งของประโยคเปล่ียนไป แตถาประโยคที่เพิ่มข้ึนนั้นเปนประโยคชวยจํากัดความหมาย ของคาํ ถามหรอื คํากรยิ า ก็เปนประโยคซอน เชน ผูหญิงทีน่ ั่งขา ง ๆ ฉันชอบดอกไมท ี่อยใู นแจกัน ประโยคทชี่ ว ยจาํ กดั ความหมายของคํานาม “ดอกไม” คอื ประโยคทวี่ า “ท่อี ยใู นแจกนั ” เปน ตน ค. ประโยคความรวม คือ ประโยคท่ีมีสว นขยายเพ่ิมข้ึนและสว นที่ขยายสัมพันธก ับประโยคเดิม โดยมีคําเชื่อม และ แตถา ฯลฯ อยูขา งหนา หรืออยูข า งในประโยคเดิมหรือประโยคท่ีเพิ่มขึ้น ทําใหรูว า ประโยคทัง้ สองสมั พันธกันอยางไร เชน ผูหญิงชอบดอกไมสว นเด็กชอบของเลน เปนประโยคความรวม ประโยคที่เพิ่มขึ้นและสัมพันธก ับประโยคเดิมโดยมีคําเชื่อม “สวน” มาขา งหนาคือ ประโยค “เด็กชอบของเลน” เปน ตน เรอื่ งที่ 2 ถอ ยคําสํานวน สภุ าษิต คําพังเพย 1. ถอยคาํ ภาษาไทยมลี ักษณะพิเศษหลายประการ สามารถเลอื กใชใหเ หมาะสมในการสือ่ สาร เพ่อื ความเขาใจในส่ิงตา ง ๆ ไดอ ยางชดั เจนและตรงเปา หมาย 2. ถอยคาํ ภาษาไทยมลี ักษณะเปนศลิ ปะทมี่ คี วามประณตี สละสลวย ไพเราะ ลึกซง้ึ นา คดิ นา ฟง ร่นื หู จูงใจและหากนําไปใชไ ดเ หมาะกับขอความเร่ืองราวจะเพิ่มคุณคาใหข อ ความหรือเรื่องราวเหลา น้ัน มีนํ้าหนกั นา คิด นาฟง นา สนใจ นาติดตามยิ่งขนึ้ 3. ถอ ยคําภาษาไทย ถารูจ ักใชใ หถ ูกตอ งตามกาลเทศะและบุคคลนับวาเปนวัฒนธรรมอันดีงาม ของชาติและของผปู ฎบิ ัติ ถอ ยคําสาํ นวน ถอ ยคาํ สํานวน หมายถงึ ถอ ยคาํ ที่เรียบเรียง บางทีก็ใชว าสํานวนโวหาร คําพูดของมนุษยเ ราแยก ออกไปอยางกวา ง ๆ เปน 2 อยา ง อยางหน่งึ พูดตรงไปตรงมาตามภาษาธรรมดา พอพดู ออกมากเ็ ขาใจทันที อีกอยา งหนึ่งพูดเปนเชิงไมต รงไปตรงมา แตใ หมีความหมายในคําพูดน้ัน ๆ คนฟง เขา ใจความหมายทันที ถา คําพูดน้ันใชกันแพรหลาย เชน คําวา “ปากหวาน” “ใจงา ย” แตถ า ไมแพรห ลายคนฟง ก็ไมอ าจเขาใจ ทันที ตองคิดจึงจะเขา ใจ หรือบางทีคิดแลว เขา ใจเปนอยางอื่นก็ได หรือไมเขาใจเอาเลยก็ไดค ําพูดเชิงนี้ เราเรียกวา “สํานวน” การใชถ อ ยคําที่เปน สํานวนน้ัน ใชในการเปรียบเทียบบา ง เปรียบเปรยบาง พูดกระทบบา ง พูดเลน สนุก ๆ บา ง พดู เตอื นสตใิ หไ ดคิดบาง สํานวนไทย หมายถึง ถอ ยคําที่เรียบเรียงไวตายตัว เน่ืองจากใชก ันมาจนแพรห ลายอยูตัวแลว จะตดั ทอนหรือสลบั ท่ไี มไ ด เชน สํานวนวา “เกบ็ เบีย้ ใตถ ุนรา น”หมายความวา ทาํ งานชนิดท่ีไดเ งินเล็กนอย ก็เอา ถาเราเปลี่ยนเปน “เก็บเงินใตถุนบาน” ซึ่งไมใชสํานวนที่ใชก ัน คนฟง อาจไมเขาใจหรือเขาใจเปน อยางอ่นื เชน เกบ็ เงนิ ฝงไวใตถุนบาน

108 ลกั ษณะของสํานวนไทย 1. สํานวนไทยมีลักษณะท่ีมีความหมายโดยนัย โดยปกติความหมายของคํามีอยา งนอย 2 ประการ คือ 1.1 ความหมายโดยอรรถ ไดแก ความหมายพื้นฐานของคําน้ัน ๆ โดยตรง เชนคําวา “กิน” ความหมายพื้นฐานท่ีทุกคนเขาใจก็คือ อาการท่ีนําอะไรเขา ปากเค้ียวแลวกลืนลงไปในคอ เชน กินขาว กนิ ขนม เปน ตน 1.2 ความหมายโดยนัย ไดแ ก การนําคํามาประกอบกันใชในความหมายที่เพ่ิมจากพื้นฐาน เชน คาํ วา กนิ ดบิ - ชนะโดยงา ยดาย กนิ โตะ - รุมทาํ ราย กนิ แถว - ถกู ลงโทษทุกคนในพวกนนั้ กนิ ปนู รอ นทอง - ทําอาการพิรธุ ข้ึนเอง 2. สํานวนไทยมีลักษณะมีความหมายเพื่อใหตีความ มีลักษณะติชม หรือแสดงความเห็น อยูในตวั เชน เกลอื เปน หนอน กนิ ปูนรอ นทอง ตกบนั ไดพลอยโจน งมเขม็ ในมหาสมทุ ร เปน ตน 3. สํานวนไทย มลี ักษณะเปน ความเปรยี บเทยี บหรอื คําอุปมา เชน ใจดาํ เหมือนอีกา เบาเหมือนปยุ นนุ รกั เหมือนแกว ตา แขง็ เหมอื นเพชร เปน ตน 4. สาํ นวนไทยมลี กั ษณะเปน คําคมหรือคํากลา ว เชน หนา ชื่นอกตรม หาเชา กินค่ํา หนา ซื่อใจคด เปนตน 5. สํานวนไทย มีลักษณะเปนโวหารมีเสียงสัมผัสคลองจองกัน หรือบางทีก็ยํ้าคํา เชน ขาวแดง แกงรอน ขุนขอ งหมองใจ จับมือถือแขน บนบานศาลกลาว กินจุบกินจิบ ประจบประแจง ปากเปยก ปากแฉะ อม่ิ อกอ่ิมใจ เปนตน ตัวอยางสํานวนไทย 1. สํานวนท่ีมีเสียงสัมผัส สํานวนเหลา น้ีมักจะมีจํานวนคําเปน จํานวนคู ต้ังแต 4 คํา จนถึง 12 คําดังนี้ 1.1 เรียง 4 คํา เชน ขา วแดงแกงรอ น คอขาดบาดตาย โงเงาเตาตุน ฯลฯ 1.2 เรยี ง 6 คาํ เชน คดในของอในกระดูก ยใุ หร ําตําใหรว่ั นกมหี หู นมู ปี ก ฯลฯ 1.3 เรียง 8 คํา เชน กินอยูกับปาก อยากอยูก ับทอ ง ไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง ความรทู วมหวั เอาตวั ไมรอด เปน ตน 1.4 เรยี ง 10 คาํ เชน คนรักเทาผนื หนงั คนชงั เทาผนื เสือ่ คบคนใหด หู นา ซอ้ื ผาใหด ูเนอื้ ดกั ลอบตอ งหม่ันกู เจาชูตองหมัน่ เกยี้ ว เปน ตน 1.5 เรยี ง 12 คํา เชน ปลกู เรือนตามใจผอู ยู ผกู อูตามใจผนู อน มีเงินเขานับเปนนอ ง มีทองเขานับเปนพ่ี เลนกบั หมาหมาเลียปาก เลน กบั สากสากตอยหัว

109 2. สํานวนทไี่ มม เี สยี งสัมผสั สํานวนเหลา นม้ี ีมากมาย สว นมากมีตัง้ แต 2 คาํ ขึ้นไป จนถึง 8 คาํ เชน 2.1 เรยี ง 2 คาํ เชน กนั ทา แกเ ผด็ เขาปง ตกหลุม ตายใจ ฯลฯ 2.2 เรียง 3 คาํ กา งขวางคอ เกลือเปน หนอน คลมุ ถงุ ชน ควา นา้ํ เหลว ฯลฯ 2.3 เรยี ง 4 คาํ เชน กิง่ ทองใบหยก กิ้งกาไดท อง กินปูนรอ นทอง นํา้ ผงึ้ หยดเดยี ว นอนตายตาหลบั ขาวใหมปลามัน เปน ตน 2.4 เรยี ง 5 คํา เชน ขนหนา แขงไมร ว ง ตงี ใู หห ลังหกั จบั ปใู สกระดง ฯลฯ 2.5 เรยี ง 6 คํา เชน กลนื ไมเ ขาคายไมออก นิ้วไหนรายตัดน้วิ น้ัน บานเมอื งมีขอื่ มแี ป พลกิ หนา มอื เปน หลังมือ 2.6 เรียง 7 คํา เชน กนิ บนเรือนขร้ี ดหลังคา นกนอยทํารงั แตพ อตวั ตําน้ําพรกิ ละลายแมน้าํ สบิ ปากวาไมเ ทาตาเห็น เรอ่ื งขห้ี มรู าขี้หมาแหง ฯลฯ สํานวน หมายถงึ กลมุ ของวลี คาํ หรอื กลมุ คําท่นี ํามาใชในความหมายทแ่ี ตกตางไปจากความหมาย เดิม ความหมายทเ่ี กดิ ข้ึนมักจะเปน ความหมายในเชิงอุปมา หรือเชิงเปรียบเทียบ ไมไดใหคติธรรม แตจ ะเปน ความหมายท่กี ระชับและลึกซึ้ง เชน สํานวนวา เรื่องกลว ย ๆ คําวา กลว ย ๆ ไมไ ดหมายถึง ผลไม แตห มายถึง งา ย ๆ เรื่องไมยากเปน เรอื่ งงาย ๆ สาํ นวนภาษาไทยอาจจะประกอบคาํ ตั้งแต 1 คําขนึ้ ไปจนถงึ หลายคาํ หรอื เปนกลมุ ตวั อยา งเชน ปากหวาน = พดู เพราะ ลกู หมอ = คนเกาของสถานท่ใี ดสถานท่หี น่ึง หญาปากคอก = เรื่องงา ย ๆ ทค่ี ิดไมถ ึง กงกรรมกงเกวียน = กรรมสนองกรรม พกหินดกี วา พกนุน = ใจคอหนักแนนดกี วา หเู บา การใชสํานวนไปประกอบการส่ือสารน้ัน ผูใชต อ งรูค วามหมายและเลือกใชใ หเ หมาะสมกับเพศ โอกาสและสถานการณ เชน เฒาหัวงู = มักจะใชเปรยี บเทยี บ หมายถึง ผูชายเทา นนั้ ไกแกแ มปลาชอน = มักใชเ ปรียบเทยี บกบั ผูหญิงเทา นนั้ ขบเผาะ = มกั ใชกับผหู ญงิ เทา นน้ั ไมใ ชกบั ผูชาย คําพังเพย มีความหมายลึกซึง้ กวา สํานวน ซึง่ จะหมายถึง ถอ ยคาํ ท่กี ลาวข้ึนมาลอย ๆ เปน กลาง ๆ มีลักษณะติชม หรือแสดงความเห็นอยูในตัว มีความหมายเปน คติสอนใจคําพังเพยเมื่อนําไปตีความแลว สามารถนําไปใชป ระกอบการพดู หรือเขยี นใหเ หมาะสมกบั เรอ่ื งทีเ่ ราตอ งการถายทอด หรือส่ือความหมาย ในการส่อื สาร เชน ช้ีโพรงใหกระรอก = การแนะนําใหคนอนื่ ทาํ ในทางไมด ี ปลกู เรอื นตามใจผูอ ยู = จะทําอะไรใหค ดิ ถึงผทู ีจ่ ะใชส ง่ิ นัน้ รําไมดีโทษปโ ทษกลอง = คนทาํ ผิดไมยอมรบั ผิดกลบั ไปโทษคนอ่นื

110 นอกจากนยี้ งั มคี ําพังเพยอีกมากที่เราพบเหน็ นาํ ไปใชอยเู สมอ เชน กาํ แพงมีหูประตมู ชี อ ง เห็นกงจกั รเปน ดอกบัว ทํานาบนหลงั คน เสียนอ ยเสยี ยากเสียมากเสียงาย ฯลฯ สภุ าษิต หมายถึง คํากลา วดี คําพูดท่ีถือเปนคติ เพื่ออบรมส่ังสอนใหทําความดีละเวนความชั่ว สุภาษิต สว นใหญม ักเกิดจากหลักธรรมคําสอน นิทานชาดก เหตุการณห รือคําส่ังสอนของบุคคลสําคัญ ซง่ึ เปน ท่ีเคารพนบั ถือ เลอ่ื มใสของประชาชน ตัวอยาง เชน ตนแลเปนที่พงึ่ แหงตน ทําดไี ดด ี ทาํ ชว่ั ไดช ั่ว ทใี่ ดมีรกั ทน่ี ัน่ มีทกุ ข หวานพืชเชนไร ยอมไดผ ลเชนนนั้ ความพยายามอยูท ไ่ี หน ความสําเรจ็ อยูท่นี ั่น ใจเปนนายกายเปน บาว ฯลฯ การนําสํานวน คําพังเพย สุภาษิตไปใชป ระกอบการถา ยทอดความรูความคิดอารมณค วามรูส ึก ในชวี ิตนัน้ คนไทยเรานิยมนาํ ไปใชก ันมาก ทงั้ นี้ เพราะสาํ นวน สภุ าษติ คาํ พังเพย มีคณุ คาและความสําคัญ คอื 1. ใชเปนเครอ่ื งมืออบรมส่งั สอน เยาวชนและบุคคลทว่ั ไปใหปฏิบัติดี ปฏบิ ตั ชิ อบในดา นตาง ๆ เชน การพดู การถายทอดวฒั นธรรม การศกึ ษาเลาเรียน การคบเพ่อื น ความรกั การครองเรอื นและ การดาํ เนินชวี ิตดานอนื่ ๆ 2. ถอยคําสํานวน คําพังเพย สุภาษิต สะทอนใหเห็นสภาพการดําเนินชีวิตความเปนอยูของคน สมยั กอนจนถึงปจจบุ นั ในดา นสงั คม การศกึ ษา การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ นิสัยใจคอและอน่ื ๆ 3. สะทอ นใหเหน็ ความเชอื่ ความคดิ วสิ ัยทัศนของคนสมยั กอ น 4. การศึกษาสํานวน คาํ พังเพย สภุ าษติ ชวยใหม ีความคิด ความรอบรู สามารถใชภ าษาไดด ีและ เหมาะสมกับโอกาส กาลเทศะและบุคคล กอปรท้ังเปนการชวยสืบทอดวัฒนธรรมทางภาษาไวใหคงอยู คชู าติไทยตลอดไป กจิ กรรม ใหผูเรียนรวบรวม สํานวน คําพังเพย สุภาษิต จากหนังสือและแหลง ความรูอ ื่น ๆ พรอ มศึกษา ความหมายใหเ ขาใจ เพื่อนําไปใชในการรายงาน การพดู การเขียน ในชีวิตประจาํ วัน

111 เร่ืองท่ี 3 การใชพจนานกุ รมและสารานุกรม ความสาํ คัญของพจนานุกรม พจนานุกรมเปนหนงั สอื อา งองิ ทส่ี าํ คญั และเปน แบบฉบับของการเขียนหนังสือไทยในทางราชการ และโรงเรียน เพ่อื ใหก ารเขยี นหนงั สอื ไทยมีมาตรฐานเดียวกันไมล ักล่ันกอใหเ กิดเอกภาพ ทางภาษา อนั เปน วฒั นธรรมสวนหนง่ึ ของชาตไิ ทย ตามปกติแลวเราจะเปด ใชเ มื่อเกดิ ความสงสัยใครรูใ นการอาน เขียน หรือ แปลความหมายของสํานวน หากเปด ใชบ อย ๆ จะเกิดความรูค วามชาํ นาญ ใชไดร วดเรว็ และถกู ตอ ง ความหมายของพจนานกุ รม คาํ วา พจนานกุ รม เทียบไดกับคําภาษาอังกฤษคือ Dictionary พจนานุกรม หมายถึง หนังสือ รวบรวมถอยคําและสํานวนที่ใชอ ยูในภาษาโดยเรียงลําดับตามอักษรแรกของคํา เริ่มตั้งแตคําที่ขึ้นตน ดว ย ก.ไก ไปจนถงึ คําทขี่ ้ึนตน ดว ย ฮ.นกฮูก ซ่ึงแตล ะคําพจนานุกรมจะบอกการเขียนสะกดการันต บางคํา จะบอกเสียงอานดว ย หากคําใดท่ีมีมาจากภาษาตางประเทศก็จะบอกเทียบไว บางคํามีภาพประกอบ เพื่อเขา ใจความหมายยิ่งขนึ้ และสงิ่ ทีพ่ จนานุกรมบอกไวทุกคําคอื ชนดิ ของคําตามไวยากรณก ับความหมาย ของคํานนั้ ๆ พจนานุกรมจึงทาํ หนาท่ีเปนแหลงเรียนรูทางภาษาคอยใหความรูเกี่ยวกับการอาน การเขียน และบอกความหมายของถอยคาํ สาํ นวนใหเ ปนทีเ่ ขา ใจอยา งส้ัน งาย รวบรดั หนังสือพจนานุกรมภาษาไทยฉบับท่ีไดมาตรฐานและเปน ท่ียอมรับท่ัวไป คือ พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถานฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2525 และฉบบั ปรบั ปรุง ป 2542 กจิ กรรม พจนานกุ รมจะเรยี งคําตามอกั ษรตัวแรกของคาํ โดยลาํ ดบั ตัง้ แต ก.ไก ไปจนถึง ฮ.นกฮกู จงลําดบั คาํ 5 คาํ ตอไปนต้ี ามหลักพจนานกุ รม หมู แมว เปด ไก นก (ถาเรียงไมไดใหเ ปดพจนานุกรมดูหรอื ถามผรู ู) วธิ ีใชพ จนานกุ รม พจนานุกรมจัดเปนหนังสือประเภทไขขอของใจทางภาษา ตามปกติแลว เราจะเปด ใชเ ม่ือเกิด ความสงสัยใครรูในการอาน เขียน หรือแปลความหมายของถอ ยคําสํานวน หากเปด บอย ๆ จะเกิดความ คลองแคลว รวดเรว็ และถูกตอง ถาเปรียบเทียบวธิ ใี ชพจนานกุ รมกับการพิมพดีด วายนํ้า ขับรถ ทอผา หรือทํานา ก็คงเหมือนกัน คอื ฝกบอ ย ๆ ลงมอื ทาํ บอย ๆ ทาํ เปนประจาํ สม่ําเสมอ ไมชาจะคลอ งแคลวโดยไมร ตู ัว

112 การใชพจนานุกรมจงึ ไมใชเรอื่ งยากเย็นอะไร ขอแนะนาํ ข้นั ตอนงา ย ๆ ดงั น้ี ขั้นท่ี 1 หาพจนานุกรมมาใชใ นมือหน่ึงเลมเปด อานคํานําอยางละเอียด เราตองอา นคํานํา เพราะเขาจะอธบิ ายลักษณะและวิธีใชพจนานุกรมเลมนั้นอยา งละเอียด ขนั้ ที่ 2 ศึกษารายละเอียดตาง ๆ ที่จาํ เปนตอ งรู เพอื่ ความสะดวกในการเปด ใช เชน อกั ษรยอ คํายอ เปน ตน เพราะเมอื่ เปดไปดคู าํ กับความหมายแลวเขาจะใชอกั ษรยอ ตลอดเวลา โปรดดูตวั อยา งจาก พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2525 หนา 9 - 10 อักษรยอทใ่ี ชพ จนานกุ รม (1) อกั ษรยอในวงเล็บ (...) บอกทมี่ าของคํา (2) อกั ษรหนา บทนยิ าม บอกชนดิ ของคําตามหลักไวยากรณ (3) อกั ษรยอในวงเล็บหนา บทนยิ าม บอกลกั ษณะของคาํ ที่ใชเฉพาะแหง (4) อกั ษรยอ หนงั สืออา งองิ (5) คําวา “ด” ที่เขยี นตอทา ยคาํ หมายความวาใหเ ปด ดใู นคาํ อ่ืน เชน กรรม ภริ มย ดูกรรภิรมย บญั ชอี กั ษรยอท่ีใชในพจนานุกรมนี้ (1) อกั ษรยอในวงเลบ็ บอกท่ีมาของคาํ ข = เขมร ต = ตะเลง ล = ละติน จ = จนี บ = เบงคอลี ส = สนั สกฤต ช = ชวา ป = ปาลิ (บาลี) อ = อังกฤษ ญ = ญวน ฝ = ฝร่ังเศษ ฮ = ฮนิ ดู ญ = ญ่ปี นุ ม = มาลายู (2) อักษรยอหนา บทนยิ าม บอกชนิดของคําตามไวยากรณ คือ : ก. = กริยา ว. = วิเศษณ (คุณศัพทห รอื กริยาวเิ ศษณ) น. = นาม ส. = สรรพนาม นิ = นบิ าต สัน = สนั ธาน บ. = บรุ พบท อ. = อทุ าน (3) อักษรยอในวงเล็บหนาบทนยิ าม บอกลกั ษณะของคําทใี่ ชเ ฉพาะแหง คือ (กฎ) คอื คําทใ่ี ชในกฎหมาย (กลอน) คือ คาํ ท่ใี ชในบทรอ ยกรอง (คณติ ) คือ คําท่ใี ชในคณติ ศาสตร (จรยิ ) คือ คําทใี่ ชใ นจริยศาสตร (ชวี ) คอื คาํ ท่ีใชในชวี วิทยา

113 (ดารา) คือ คําที่ใชในดาราศาสตร (ถนิ่ ) คอื คําทภี่ าษาเฉพาะถ่ิน (ธรณ)ี คอื คําทีใ่ ชในธรณวี ิทยา (บญั ช)ี คือ คําท่ีใชใ นการบญั ชี (แบบ) คอื คาํ ทใ่ี ชเฉพาะในหนงั สือ ไมใ ชคําท่วั ไป เชน กนก ลปุ ต ลพุ ธ (โบ) คอื คําโบราณ (ปาก) คือ คําทเ่ี ปน ภาษาปาก (พฤกษ) คือ คาํ ทใ่ี ชใ นพฤกษศาสตร (4) อักษรยอหนังสือทอ่ี างองิ มดี งั นี้ คือ กฎมนเทียรบาล ในกฎหมายราชบรุ ี : หนงั สอื กฎหมาย พระนพิ นธในกรมหลวงราชบรุ ดี เิ รกฤทธิ์ ฉบบั โรงพมิ พก องลหุโทษ ร.ศ. 120 กฎ.ราชบรุ ี : หนงั สอื กฎหมาย พระนิพนธใ นกรมหลวงราชบรุ ดี เิ รกฤทธ์ิ ฉบบั โรงพมิ พกองลหุโทษ ร.ศ. 120 กฎหมาย : หนงั สือเร่ืองกฎหมายเมืองไทย หมอปรัดเลพมิ พ จ.ศ. 1235 กฐนิ พยหุ : ลลิ ติ กระบวนแหพระกฐนิ พยุหยาตรา พระนิพนธในสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมมานชุ ติ ชิโนรส. ฯลฯ ขั้นท่ี 3 ศกึ ษาวิธีเรียงคาํ ตามลาํ ดับพยญั ชนะตัวแรกของคํา คือ เรียง ก.ไก ไปจน ฮ.นกฮูก สงั เกต วาเขาเรยี งไวอ ยา งไร ลักษณะพิเศษที่แปลกออกไปคอื ตัว ฤ. ฤๅ. จะลาํ ดับไวห ลังตวั ร. เรือ สว น ฦ. ฦๅ จะอยูหลงั ตัว ล. ลิง และหากคําใดใชพ ยัญชนะเหมือนกนั เขาก็ลําดบั โดยพจิ ารณารูปสระพิเศษอีกดวย การลําดับคําตามรปู สระกม็ ลี ักษณะทตี่ อ งสนใจเปน พเิ ศษ เขาจะเรยี งคําตามรปู ดังนี้ คาํ ทีไ่ มมีรูปสระมากอ น แลว ตอ ดวยคําท่มี รี ูปสระ -ะ -า -ิ -ี -ึ -ื -ุ -ู เ-ะ เ- เ -ะื เ -ื -วั ะ -ัว เ-า เ-าะ -ำ เ -ีะ เ -ี แ- แ-ะ โ- โ-ะ ใ- ไ- โปรดดูตัวอยา งการเรียงคาํ จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2525 และ 2542 ข้นั ที่ 4 ศกึ ษาเครอื่ งหมายวรรคตอนท่ีใชในพจนานกุ รม เคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) ใชค่ันความหมายหรือบทนิยามของคําที่มีความหมาย หลายอยางแตมี ความหมายคลา ย ๆ กันหรอื เปนไวพจนของกัน

114 ตัวอยา ง กระตือรอื รน ก.รีบเรง , เรงรบี , ขมีขมัน, มใี จฝก ใฝเ รารอ น เคร่ืองหมายอฒั ภาค ( ; ) (1) ใชค ่ันเคร่ืองหมายหรือบทนิยามของคําที่มีความหมายหลายอยา งแตค วามหมายมีนัย เนือ่ งกับความหมายเดมิ ตวั อยาง ก่งิ น. สวนที่แยกออกจากลําตน,แขนง;ใชเ รียกสวนยอ ยที่แยกออกไปจากสว นใหญขึ้นอยูก ับ สว นใหญ เชน ก่ิงอําเภอ ก่ิงสถานีตํารวจ; ลักษณะนามเรียกงาชา งวา กิ่ง; เรือ ชนิดหนึ่งในกระบวน พยุหยาตรา (2) ค่นั บทนิยามที่มีความหมายไมสมั พันธกนั เลย ตวั อยาง เจริญ (จะเริน) ก.เตบิ โต, งดงาม, ทําใหง อกงาม เชน เจริญทางไมตรี, มากขึ้น; ท้ิง เชน เจริญ ยา; ตัด เชน เจริญงาชา ง; สาธยาย, สวด (ในงานมงคล) เชน เจริญพระพุทธมนต เปน ตน (3) คนั่ อักษรยอ บอกทม่ี าของคํา ตัวอยาง กณุ ฑล [ทน] น. ตุมห.ู (ป. ; ส.) คัน่ อักษร ป. กบั อักษร ส. ซ่ึงมาจากคําวา บาลีกบั สนั สกฤต เครอ่ื งวงเล็บเหลย่ี ม [ ] คาํ ในวงเล็บเหล่ียมเปน คําทบี่ อกเสียงอา น ตัวอยา ง ราชการ [ราดชะกาน] เปนตน เคร่ืองหมายนขลขิ ิต ( ) อกั ษรยอทอ่ี ยใู นวงเลบ็ บอกทีม่ าของคาํ เชน (ข.) มาจากภาษาเขมร อักษรยอ ท่ีอยูในวงเล็บหนา บทนิยามบอกลักษณะคําท่ีใชเฉพาะแหง เชน (กฎ) ในภาษา กฎหมาย เครือ่ งหมายยัติภงั ค ( - ) (1) เขยี นไวขางหนาคําเพอ่ื ใหส ังเกตวาเปนคําที่ใชพวงทายคําศพั ทอ ื่น ตัวอยา ง - เกง็ กอย ใชเขา คกู บั คํา เขยง เปน เขยง เกงกอย. (2) เขยี นไวห ลังคาํ เพ่ือใหสงั เกตวามีคาํ พว งทา ย ตวั อยาง โ-ขม [โขมะ] (แบบ) น. โกษม, ผาใยไหม (ผา ลินนิ ), ผาขาว, ผา ปา น ประกอบวาโขมพัตถ และ แผลงเปน โขษมพสั ตร กม็ ี. (ป. ; ส. เกษม.)

115 (3) แทนคาํ อานของพยางคทไ่ี มม ปี ญ หาในการอาน ตวั อยาง กุณฑล [-ทน] น. ตมุ หู. (ป.; ส.) เคร่อื งหมายพนิ ทจุ ดุ ไวใตตัว ห ซึ่งเปน อกั ษรนําเวลาอา นไมอ อกเสียง เชน [เหลฺ า] ไมอ า นวา เห-ลา เครื่องหมายพินทุจดุ ไวใตพยัญชนะตวั หนา ทเ่ี ปนตัวอกั ษรควบหรือกลํา้ ในภาษาไทยมี 3 ตัว ร ล ว เทาน้ัน ท่ีออกเสียงควบกล้ํา นอกนั้นไมนิยม ข้นั ที่ 5 ศึกษาตัวเลขทเ่ี ขยี นตอ ทา ยคาํ ตวั เลขทเี่ ขียนตอทา ยคาํ หมายถึง คาํ น้นั มหี ลายความหมายแตกตางกนั ตวั อยา ง กระทิง 1 น. ช่ือวัวปา ชนิด (Bos gaurus) ในวงศ Bovidace ขนยาวตัวสีดําหรือดําแกม นํา้ ตาล ยกเวนแตท ่ีตรงหนา ผากและขาทง้ั 4 เปน ขาวเทา ๆ หรือเหลอื งอยา งสีทอง กระทงิ 2 น. ชอื่ ตน ไมชนิดหน่ึง (Calophyllum inophyllum) ในวงศ Guttiferae ใบและ ผลคลา ยสารภี แตใ บขึ้นสันมากและผลกลมกวา เปลือกเมล็ดแข็ง ใชทําลูกฉลากหรือกระบวยของเลน , สารภที ะเล หรอื กากะทิง ก็เรียก. กระทิง 3 น. ชอื่ ปลานา้ํ จดื จาํ พวกหนง่ึ (Mastocembelus sp.) ในวงศ Mastocembelidae มหี ลายชนดิ ตัวเรียวยาวขา งแบน พ้ืนสีน้ําตาลแก บางตัวมีลายขาวเปน วงกลม ๆ บางตัวมีลายเปนบ้ัง ๆ คาดจากหลงั ถงึ ใตท อ ง มีครบี บนสันหลงั ยาวตดิ ตอ ตลอดถึงหาง ปลายจมูกเล็กแหลมผิดกวาปลาธรรมดา อาศยั อยูในแมน ํา้ ลาํ คลองทัว่ ไป ใหผูเ รียนสังเกตความหมายของคําวา “กระทิง 1” “กระทิง 2” “กระทิง 3” วา เหมือน หรือ แตกตา งกนั เราเรยี ก “กระทงิ 1” วา กะทงิ ในความหมายท่ี 1 หมายถึง ช่ือ วัวปา.... เมื่อศึกษาเขาใจพจนานุกรมทั้ง 5 ข้ันตอนแลว ควรฝกคน หาคําขอ ความหรือฝกใช พจนานุกรมดว ยตนเองใหเกิดความชาํ นาญ ก็จะเปนประโยชนก บั ตนเองตลอดชวี ิตทีเดียว สารานุกรม หนังสือสารานกุ รม เปน หนังสือรวมความรูต า ง ๆ ในทุกแขนงวิชาใหรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติ ความเปนมา วิวัฒนาการตา ง ๆ และความรูท ั่วไป อาทิ ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วิทยาศาสตร ฯลฯ เรียงลาํ ดับไวอยา งดี แตส วนใหญจะเรียงตามตัวอักษรและมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ จะมีการออก หนังสือเปนรายปเพิ่มเติม เพื่อเปนการรวบรวมความรูว ิทยาการใหม ๆ ที่เกิดขึ้นในรอบป การเลือกใช สารานุกรมจึงควรเลือกสารานุกรมท่ีพิมพใ นปล าสุดและเลือกใหสอดคลอ งกับความตองการของตนเอง สารานกุ รมจะมีทงั้ สารานุกรมเฉพาะวิชา สารานุกรมทั่วไป สารานุกรมสําหรบั เยาวชน สารานุกรมสําหรับ ผใู หญ มีทง้ั สารานกุ รมหลายเลม จบและสารานกุ รมเลมเดยี วจบ

116 วธิ ใี ชส ารานกุ รม 1. พิจารณาวา เร่ืองที่ตอ งการคนควาเปนความรูลักษณะใดเปน ความรูท ่ัวไปหรือเปนความรู เฉพาะวิชา 2. เลอื กใชสารานกุ รมตามเร่ืองทต่ี นเองตองการ ตวั อยา ง ถา ตองการคนหาความรูง าย ๆ พื้นฐาน ทวั่ ไปกใ็ หใชส ารานกุ รมทวั่ ไปสาํ หรับเยาวชน แตถ าตองการหาความรพู นื้ ฐานอยา งละเอียดก็ใชสารานุกรม ทัว่ ไปสําหรับผใู หญ หรอื ถาตองการคนหาความรูเ ฉพาะวชิ าก็ใหเลอื กใชส ารานุกรมเฉพาะวชิ า 3. ดูอกั ษรหนา เลม หรอื คําแนะนําที่สนั หนงั สอื จะรวู าเร่ืองน้ันอยูในเลมใด 4. เปด ดูดรรชนีเพื่อดูเร่ืองท่ีตอ งการคน หาวา อยูในเลม ใด หนา ท่ีเทา ไหรและจะตองเลือกดูให ถกู ลกั ษณะของสารานุกรม เชน เปดดดู รรชนีทา ยเลม แตส ารานกุ รมเยาวชนและสารานุกรมบางชดุ ดรรชนี จะอยดู านหนา สวนสารานกุ รมสําหรับผใู หญแ ละสารานุกรมบางชุดใหเ ปดดดู รรชนที ่ีเลมสุดทา ยของชุด 5. อานวธิ ีใชสารานกุ รมแตละชุดกอนใชแ ละคนหาเรอ่ื งทีต่ องการ เรอื่ งที่ 4 คําราชาศพั ท คนไทยมวี ฒั นธรรมทย่ี ดึ ถือกันเปนปกติ คอื การเคารพนบั ถือ ผูที่สูงอายุ ชาติกําเนิดและตําแหนง หนาท่ี สื่อท่ีแสดงออกอยา งชัดเจนคือ การแสดงกิริยามารยาทอันเคารพ นอบนอ มและใชภาษาอยา งมี ระเบียบแบบแผนอกี ดวย ภาษาที่ใชอยา งมีระเบียบและประดิษฐต กแตงเปนพิเศษเพื่อใชกับบุคคลท่ีมีฐานะ ตาง ๆ ทางสังคมดงั กลาวแลวเรยี กวา คาํ ราชาศพั ท คําราชาศัพท คือ คาํ ทีใ่ ชสำหรบั พระเจา แผนดินและพระบรมวงศานวุ งศ แตป จ จุบันคําราชาศัพท มีความหมายรวมถึง คําสุภาพ ท่ีสุภาพชนตอ งเลือกใชใ หเหมาะสมตามฐานะของบุคคลทุกระดับและ เหมาะสมกบั กาลเทศะดวย คําสุภาพ พระยาอุปกิตศิลปสาร ไดอธิบายไวว าไมใ ชคําแข็งกระดา งไมแสดงความเคารพ เชน โวย วาย วะ ไมใ ชคําหยาบ เชน ใหใชอุจจาระแทนขี้ ปสสาวะแทนเย่ียว ไมใชค ําที่นิยมกับของคําหยาบ เชน สากกะเบอื เปรยี บเทียบกบั ของลบั ผูช ายใหใชไ มตพี รกิ แทน เปนตน ไมใ ชคาํ ผวน เชน ตากแดด ใหใช ใหม เปนผง่ึ แดด เปน ตน และไมพูดเสยี งหว น เชน ไมรู ไมเห็น และมีคําวา ครับ คะ คะ ขา ประกอบ คาํ พดู ดว ย ลกั ษณะของคําราชาศัพท 1. คาํ นามทน่ี าํ มาใชเปนราชาศัพท 1.1คาํ ทีน่ ํามาจากภาษาบาลี สันสกฤต เขมรและคําไทย เมือ่ จะใชเ ปน คาํ ราชาศัพทจ ะตอ งใช พระบรมราช พระบรม พระราชและพระนําหนา คอื พระบรม พระบรมราช ใชนําหนาคํานามท่ีสมควรยกยองสําหรับพระเจาแผน ดิน โดยเฉพาะ เชน พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสาธิราช พระบรมราโชวาท พระบรมราชวินิจฉัย พระบรมราช- โองการ พระบรมมหาราชวงั พระบรมราชูปถมั ภ

117 พระราช ใชนาํ หนาคํานามที่สําคญั รองลงมา เชน พระราชสาสน พระราชประวตั ิ พระราชยาน พระราชโทรเลข พระราชวัง พระราชดํารัส พระราชบดิ า พระ ใชนําหนาคํานามท่ัวไปบางคําเชน พระกร พระหัตถ พระเกศา พระอาจารย พระสหาย พระเกา อ้ี พระเขนย พระยี่ภู พระศอ พระอุทร บางท่ีใชพ ระหรือทรง แทรกเขากลาง เพ่ือแตงเปน คํานาม ราชาศพั ทเชน กระเปา ทรงถอื เครือ่ งพระสาํ อาง 1.2คาํ ไทยสามัญ เม่อื ใชเ ปนคําราชาศพั ทต องใชค ําวา หลวง ตน ทรง พระท่ีนั่ง ประกอบหลัง คํานามน้ัน เชน ลูกหลวง เรือหลวง รถหลวง วังหลวง ชางตน มา ตน เคร่ืองตน เรือตน ชางทรง มา ทรง เรือพระที่นงั่ รถพระทีน่ ่ัง ฯลฯ นอกจากน้ียังมีคํานามราชาศัพทท่ีใชค ําไทยนําหนา คําราชาศัพท ซ ่ึงเปนการสรา งศัพทข ึ้นใชใน ภาษา เชน ผา ซับพระพกั ตร ถงุ พระบาท 2. คําสรรพนาม คําสรรพนามราชาศัพทนั้น แบงเปน บุรุษสรรพนามแยกไปตามฐานะของผูใช ราชาศัพท เชนเดียวกนั บรุ ษุ ที่ 1 (ผูพูดเอง) หญงิ ใช หมอ มฉัน ขาพระพทุ ธเจา ชาย ใช กระหมอม เกลากระหมอม ขาพระพทุ ธเจา บุรุษที่ 2 (ผูพ ูดดวย) แยกไปตามฐานะของผูท ีพ่ ูดดวย เชน ใตฝาละอองธลุ พี ระบาท ใชกับพระมหากษตั ริย พระบรมราชินนี าถ ใตฝา ละอองพระบาท ใชก ับพระบรมโอรสาธิราช ใตฝา พระบาท ใชก ับเจา นายชนั้ รองลงมา เจาฟา หรือ เจา นายชั้นผูใ หญ พระบาท ใชกบั เจานายชั้นผูนอ ย เชน ระดบั หมอ มเจา บรุ ุษที่ 3 (ผูพูดถงึ ) ท้ังหญงิ และชายใชว า พระองค พระองคทา น 3. คํากรยิ าราชาศัพท คาํ กริยาราชาศพั ทส าํ หรบั พระมหากษัตรยแ ละเจานายสว นใหญมักจะใช ตรงกนั มีหลกั ในการแตง ดงั นี้ 3.1คํากริยาทเี่ ปนราชาศัพทโดยเฉพาะ เชน โปรด ประทบั ประชวน ประสตู ิ กริว้ ดํารัส เสด็จ บรรทม ฯลฯ คาํ กรยิ าเหลานไ้ี มตอ งมีคาํ วา ทรงนาํ หนาและจะนาํ ไปใชใ นภาษาธรรมดาไมไ ดดวย 3.2คํากริยาท่ใี ชใ นภาษาธรรมดา เมอ่ื ตอ งการแตงเปนกริยาราชาศัพทตอ งเติม ทรง ขางหนา เชน ทรงจาม ทรงขับรอ ง ทรงยนิ ดี ทรงเลาเรียน ทรงศึกษา ทรงเลน ทรงสดับพระเทศนา ฯลฯ 3.3คาํ นามที่ใชราชาศัพทบางคําทีใ่ ชทรงนําหนา เชน ทรงพระกรุณา ทรงพระราชดาํ ริ ทรงพระอกั ษร ทรงพระราชนพิ นธ 3.4คํานามบางคํา เม่ือ ทรง นําหนา ใชกริยาราชาศัพทไดตามความหมาย เชน ทรงเครื่อง (แตง ตวั ) ทรงเครอ่ื งใหญ (ตดั ผม) ทรงศลี ทรงธรรม ทรงบาตร ทรงเรือ ทรงกีฬา ทรงรถ ทรงดนตรี

118 4. คํากรยิ าบางคาํ มใี ชต างกันตามนามชน้ั ตัวอยางเชน กิน เสวย ใชก ับพระเจาแผนดนิ พระบรมวงศานุวงศ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ฉัน ใชก บั พระสงฆ รบั ประทาน ใชก ับสุภาพชนทั่วไป ตาย สวรรคต ใชกับพระเจา แผน ดิน สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช ทวิ งคต ใชก ับสมเดจ็ พระบรมราชชนนี พระราชาตา งประเทศ ส้ินพระชนม ใชก ับพระบรมวงศานวุ งศช ้ันสงู สมเดจ็ พระสงั ฆราช ส้ินชีพตักษยั ใชก บั หมอมเจา ถึงชพี ิตักษัย ใชก บั หมอ มเจา ถงึ แกพริ าลัย ใชก บั สมเด็จเจาพระยา เจา ประเทศราช ถึงแกอสญั กรรม ใชก ับเจา พระยา นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี ถึงแกอนิจกรรม ใชก ับเจาพระยา ขาราชการชนั้ สูง ถึงแกก รรม ใชกบั สภุ าพชนทั่วไป มรณภาพ ใชกบั พระสงฆ การกราบบงั คมทูล 1. ถากราบบังคมทูลพระเจาแผนดนิ เมือ่ มิไดพระราชดํารสั ถามตองขนึ้ ตน ดวยวา “ ขอเดชะ ฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลา ปกกระหมอม ” แลวดําเนินเร่ืองไปจนจบทา ยการกราบบังคมทูลใชว า “ดวยเกลาดว ยกระหมอมขอเดชะ” ใชสรรพนามแทนพระองคทานวา “ ใตฝาละอองธลุ ีพระบาท ” ใชสรรพนามแทนตวั เราเองวา “ ขาพระพทุ ธเจา ” ใชคํารบั พระราชดาํ รัสวา “ พระพุทธเจาขา” 2. ถา มพี ระราชดาํ รสั ถามขน้ึ กอนจะตองกราบบงั คมทูล “ พระพุทธเจาขอรับใสเกลา กระหมอม ” หรอื กราบบังคมทูลยอ ๆ วา “ ดว ยเกลาดว ยกระหมอม หรือจะใชพ ระพุทธเจา ขา ” ก็ได 3. เปน การดว นจะกราบบงั คมทลู เรอื่ งราวกอนก็ได แตเ มอื่ กลาวตอนจบตองลงทายวา “พระพทุ ธเจา ขาขอรับใสเกลาใสกระหมอม ” หรือจะกราบบังคมทูลยอ ๆ วา “ดวยเกลาดวยกระหมอ ม” ก็ได ถา มี พระราชดํารัสถามตดิ ตอ ไปแบบสนทนาก็ไมขึ้นตนวา “ขอเดชะฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลาปกกระหมอม” อกี แตตอ งลงทายวา “ดวยเกลา ดวยกระหมอม” เปน การตอบรับทกุ คร้งั

119 4. ถาจะกราบบังคมทลู ดวยเรือ่ งท่ีไมสมควรจะกราบบังคมทลู หรอื เปน เรอ่ื งหยาบไมส ุภาพตอ งข้ึนตน วา “ไมค วรจะกราบบังคมทลู พระกรณุ า”แลวดาํ เนนิ เรื่องไปจนจบ และลงทา ยดวยวา “ดว ยเกลา ดว ยกระหมอ ม” 5. ถา พระเจาแผนดินทรงแสดงความเอื้อเฟอ อนุเคราะหห รือทรงชมเชยตองกราบทูลเปนเชิง ขอบคณุ วา “พระมหากรุณาธิคณุ เปน ลนเกลา ลน กระหมอ ม” หรือ “พระเดชพระคุณเปนลนเกลาลน กระหมอม” แลว กราบบังคมทูลสนองพระราชดํารัสไปตามเร่ืองที่พระราชดํารัสนั้น แลวจบลง ดวยคําวา “ดวยเกลา ดว ยกระหมอ ม” 6. ถา พระเจา แผน ดินมีพระราชดํารัสถามถึงความเปนอยูเม่ือจะกราบบังคมทูลวา ตนเอง สุขสบายดีหรือรอดพนอันตรายตาง ๆ มา ใหข ึ้นตนวา “ดว ยเดชะพระบารมีปกเกลาปกกระหมอม ขา พระพุทธเจาเปนสุขสบายดี” หรือ“รอดพนอันตรายตา ง ๆ มาอยางไรและจบดว ยวา “ดว ยเกลา ดว ยกระหมอม” 7. เมื่อจะกราบบังคมทูลขอพระราชทานอภัยโทษหรือแสดงความเสียใจในส่ิงที่ตนกระทําผิด ตองขึน้ ตนวา “พระอาญาไมพน เกลา” แลว กราบบังคมทูลเรอื่ งราวท่ีตนทาํ ผดิ และลงทายดวย “ดว ยเกลา ดว ยกระหมอม” หรอื อาญาไมพน เกลา ฯ “ขา พระพุทธเจาขอพระราชทานอภัยโทษ” ดาํ เนนิ เรอื่ งไปจนจบ แลว ลงทายวา “ดว ยเกลาดวยกระหมอ ม” 8. เม่อื จะถวายส่ิงของพระเจา แผนดนิ หากเปนของเล็กหยิบถือไดกราบทูลวา“ขอพระราชทาน- ทลู เกลาถวาย” ถา เปนสง่ิ ของใหญหยิบถือไมไดก ราบทูลวา “ขอพระราชทานนอ มเกลา ถวาย” เมื่อดําเนิน เร่ืองจบแลววา “ดวยเกลา ดว ยกระหมอม” 9. การใชราชาศัพทเ ขียนจดหมาย พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั และสมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ ใชคําขนึ้ ตน วา “ขอเดชะฝาละอองธลุ พี ระบาทปกเกลาปกกระหมอ ม ขา พระพทุ ธเจา .............(บอกชอ่ื )........... ขอพระราชทานกราบบงั คมทูลพระกรุณาทรงทราบ ฝา ละอองธลุ ีพระบาท” ใชส รรพนามแทนพระองควา “ใตฝาละอองธลุ ีพระบาท” ใชส รรพนามแทนตวั เองวา “ ขาพระพทุ ธเจา” ใชค ําลงทายวา “ควรมิควรแลว แตจะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอม ขาพระพทุ ธเจา .........(บอกช่อื ).......... ขอเดชะ ใชเ ขียนหนาซอง “ขอพระราชทานทลู เกลาทลู กระหมอ มถวาย.....(บอกชื่อ)....... กิจกรรม 1. ใหผเู รียนสังเกตการใชคําราชาศัพทจากส่ือสารมวลชน เชน หนังสือพิมพ วิทยุและโทรทัศน โดยเฉพาะขาวพระราชสาํ นักแลวจาํ การใชใหถูกตอง เพ่อื นาํ ไปใชเมอ่ื มีโอกาส 2. รวบรวมคําราชาศัพทห มวดตา ง ๆ เพือ่ ทํารายงานสงครู หรือเพอื่ นาํ ไปใชเมือ่ มีโอกาสใหผูเ รียน หาหนังสือพิมพร ายวันมา 1 ฉบับแลว คน หาคําราชาศัพทแตละประเภทมาเทาที่จะได อยา งละคําก็ตาม

120 พยายามหาคาํ แปลโดยใชพ จนานกุ รมหรอื ถามผรู กู ็ไดนําไปอานใหเ พอื่ นฟง แลว ตอ จากนัน้ จึงนาํ ไปใหค รชู วย ตรวจและขอคําวิจารณเ พ่มิ เติม คาํ ศัพทท่ใี ชสําหรบั พระภกิ ษสุ งฆ เนอื่ งจากพระภิกษุ เปนผูทรงศีลและเปนผสู ืบพระพทุ ธศาสนา การใชถ อ ยคาํ จงึ กําหนดไวเปนอกี หนึ่ง เฉพาะองคสมเด็จพระสังฆราช ซึ่งถอื เปน ประมขุ แหง สงฆนั้นกําหนดใชราชาศัพทเ ทียบเทาพระราชวงศ ช้ันหมอ ม- เจา แตถ าพระภกิ ษุนั้นเปนพระราชวงศอ ยแู ลว ก็คงใหใชร าชาศพั ทต ามลาํ ดับช้ันทเ่ี ปน อยแู ลวน้นั การใชถอยคํา สําหรับพระภิกษุโดยทั่วไปมีขอควรสังเกตพระภิกษุใชก ับพระภิกษุดวยกันหรือ ใชก ับคนธรรมดาจะใชศ ัพทอ ยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสําหรับกษัตริยและพระราชวงศคนอื่น ที่พดู กบั ทานหรอื พูดถึงทานจึงจะใชราชาศัพท แตถาพระองคทา นพูดกับคนอ่ืนจะใชภ าษาสุภาพธรรมดา เชน มผี ูพ ดู ถงึ พระวา “พระมหาสนุ ทรกาํ ลังอาพาธอยูท ีโ่ รงพยาบาล” พระมหาสุนทรพดู ถงึ ตวั ทา นเองก็ยอ มกลา ววา “อาตมากําลังอาพาธอยูโรงพยาบาล” มีผพู ดู ถงึ พระราชวงศพ ระองคหนึ่งวา “พระองคเ จา ดิศวรกมุ ารกาํ ลังประชวร” พระองคเจา เม่ือกลาวถงึ พระองคเองยอมรบั สงั่ วา “ฉันกําลังปวย” ตวั อยางคําราชาศัพทส ําหรบั พระภกิ ษบุ างคาํ คํานาม – ภัตตาหาร (อาหาร) ไทยทาน (สิ่งของถวาย) อาสนะ (ทน่ี ่ัง) กฏุ ิ (ท่ีพกั ในวัด) เภสชั (ยารกั ษาโรค) ธรรมาสน (ทแี่ สดงธรรม) คําสรรพนาม – อาตมา (ภกิ ษุเรยี กตนเองกับผอู น่ื ) ผม กระผม (ภกิ ษุเรียกตวั เอง ใชกบั ภกิ ษุ ดว ยกนั ) มหาบพิตร (ภิกษเุ รียกพระมหากษัตริย) โยม (ภกิ ษุเรยี กคน ธรรมดาทีเ่ ปน ผูใ หญก วา) พระคุณเจา (คนธรรมดาเรียกสมเดจ็ พระราชาคณะ) ทาน (คนธรรมดาเรยี กภกิ ษุทัว่ ไป) คาํ กริยา – ประเคน (ยกของดวยมอื มอบใหพ ระ) ถวาย (มอบให) ฉัน (กนิ ) อาพาธ (ปว ย) มรณภาพ (ตาย) อนุโมทนา (ยินดดี วย) จาํ วัด (นอน) คําลกั ษณะนาม – รปู เปน ลักษณะนามสาํ หรบั นับจาํ นวนพระภกิ ษุ เชน พระภิกษุ 2 รปู (คนท่วั ไปนยิ มใชค าํ วาองค)

121 บทท่ี 6 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชีพ สาระสําคญั ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติ เปนภาษาท่ใี ชสอ่ื สารในชีวติ ประจาํ วัน อกี ทัง้ ยงั เปน ชอ งทาง ทสี่ ามารถนาํ ความรภู าษาไทยไปใชในการประกอบอาชพี ตาง ๆ ได โดยใชศิลปะทางภาษาเปนสอื่ นาํ ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั เม่ือศึกษาจบบทที่ 6 แลวคาดหวังวาผเู รยี นจะสามารถ 1. มีความรู ความเขา ใจ สามารถวเิ คราะหศกั ยภาพตนเอง ถึงความถนดั ในการใชภาษาไทย ดานตา ง ๆ ได 2. เหน็ ชองทางในการนําความรูภ าษาไทยไปใชในการประกอบอาชพี 3. เห็นคณุ คา ของการใชภาษาไทยในการประกอบอาชพี ขอบขายเนือ้ หา เรื่องท่ี 1 คุณคา ของภาษาไทย เร่อื งที่ 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชีพ เรอ่ื งที่ 3 การเพ่ิมพนู ความรูและประสบการณทางดา นภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ

122 เรือ่ งท่ี 1 คณุ คา ของภาษาไทย ภาษาไทยเปนภาษาท่ีบงบอกถึงเอกลักษณความเปนไทยมาชานาน ต้ังแตโบราณจนถึงปจจุบัน ภาษาไทยเปนภาษาที่สุภาพ ไพเราะ ออนหวานและสิ่งที่สําคัญคือ เปนภาษาที่ใชในการส่ือสารของ มนุษยในชีวิตประจําวัน หากมีการพูดภาษาไทยใหถูกตองเหมาะสมตามกาลเทศะแลว จะแสดงถึง กิริยามารยาทท่เี รียบรอย นอบนอมมสี มั มาคารวะ จะทําใหค นอืน่ มคี วามรักใครใ นตวั เรา นอกจากนี้ ภาษาไทยยังสามารถนํามาดัดแปลงแตงเปนคํากลอน แตงเปนเพลงไดอยางไพเราะ เพราะพรงิ้ ทําใหผ ฟู งหรือใครที่ไดยินแลว เกดิ ความหลงใหล เพลนิ เพลนิ ไปกับเสยี งเพลงน้นั ๆ ได ฉะนั้น เพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะอยางถูกตองและเหมาะสมในการสื่อสารกับผูอื่นอยาง มีประสิทธิภาพ รูจักแสวงหาความรูและประสบการณ รักการอาน การเขียน การพูด การบันทึกความรู และขอ มลู ขา วสารทีไ่ ดร ับ เกิดความภาคภูมิใจในความเปนเจาของภาษาและเห็นคุณคาของบรรพบุรุษท่ีได สรา งสรรคผลงานไว ผเู รียนควรทจ่ี ะรซู ง้ึ ถงึ คณุ คา ตลอดจนรกั และหวงแหนภาษาไทย เพอื่ ใหคงอยูค กู บั คนไทย ตลอดไป เรอื่ งท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี ภาษาเปนเคร่ืองมือในการส่ือสารระหวางผูสงสาร (ผูพูด ผูเขียน) กับผูรับสาร (ผูฟง ดู ผูอาน) ท่ีมนุษยใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน โดยเริ่มตั้งแตวัยเด็กที่เริ่มหัดพูด เพื่อสื่อสารกับพอแม พี่นอง บุคคลใกลเคยี ง ตอมาเม่ืออยูในวัยเรียน เริ่มเขาสูระบบโรงเรียนต้ังแตอนุบาล ระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษา ผูเรียนในวัยนี้เร่ิมใชภาษาที่มีระบบระเบียบ มีหลักเกณฑการใชภาษาที่สลับซับซอน ยากงาย ตามระดับการศึกษา ซึ่งสิ่งท่ีผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับภาษาไทยน้ี จะเปนการปูพื้นฐานความรูใหผูเรียน มีความรู ความเขาใจ เกิดความซาบซ้ึงและมีความคิดสรางสรรคของงานท่ีเกิดจากการเรียนภาษาไทย เชน มีผูเรียนที่เรียนอยูในระดับมัธยมศึกษา แตเปนผูใฝรู รักการอาน รักการจดบันทึกเร่ืองราวตาง ๆ เร่มิ จดบนั ทกึ จากสงิ่ ทใี่ กลตัว คือ การจดบันทึกกิจวัตรประจําวัน จดบันทึกเหตุการณท่ีไดประสบพบเห็น ในแตละวัน เชน พบเห็นเหตุการณนํ้าทวมคร้ังยิ่งใหญในกรุงเทพมหานคร พบเห็นชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนเมื่อประสบภัยนํ้าทวม ฯลฯ โดยผูเรียนคนนี้ปฏิบัติเชนนี้เปนประจําทุก ๆ วัน เม่ือผูเรียนคนนี้ เปนคนท่ชี อบเขียน ชอบบันทกึ เร่อื งราวตาง ๆ และแทนท่ีผูเ รียนคนนจี้ ะจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ และเก็บ ไวเปนขอมลู สว นตวั เทา นั้น แตผูเรียนคนนี้ จะนําเร่ืองราวท่ีบันทึกไวเผยแพรในเว็บไซต เปนการบอกเลา เหตุการณท ่ไี ดป ระสบพบเห็นมาใหผูอ่ืนไดรับรู บังเอิญมีสํานักพิมพท่ีไดอานผลงานเขียนของผูเรียนคนนี้ เกิดความ พงึ พอใจ และขออนุญาตนาํ ไปจดั พมิ พเ ปน รูปเลม และจดั จําหนา ย โดยผูเรยี นจะไดร บั คา ตอบแทน ในการเขยี นดว ย อีกกรณีหนึ่ง ผเู รยี นคนหนึ่งเปนนักพูด เวลาโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหรือมีการจัดงานใด ๆ ก็ตาม ผเู รียนคนนี้จะอาสาคอยชว ยเหลือโรงเรียนโดยเปนผปู ระกาศบา ง ผดู ําเนินกจิ กรรมตา ง ๆ บา ง ซึง่ สิ่งเหลา น้ี จะเปน พื้นฐานใหผ ูเรียนคนนี้ ไดเ รยี นรใู นระดับที่สูงข้ึน โดยอาจจะเปนผูทําหนาที่พิธีกร เปนนักจัดรายการ วิทยุ เปน นกั พากยก ารตูน ฯลฯ ท่ีสามารถสรางรายไดใหกบั ตนเองได

123 ฉะนั้น จากตัวอยางที่กลาวมาต้ังแตตน จะเห็นไดวาการเรียนรูภาษาไทย ก็สามารถนําความรู ท่ีไดรับไปสรางงาน สรางอาชีพเลี้ยงตนเอง เล้ียงครอบครัวได เชนเดียวกับการเรียนรูในสาระวิชาความรู อื่น ๆ กอนที่ผูเรียน กศน. จะตัดสินใจใชความรูภาษาไทยไปประกอบอาชีพ ผูเรียนจะตองวิเคราะห ศักยภาพตนเองกอนวาผูเรยี นมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับวิชาภาษาไทยท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวกับการฟง การดู การพูด การอาน การเขียน หลักการใชภาษา วรรณคดีและวรรณกรรม ลกึ ซงึ้ ถูกตองหรือยัง หากวิเคราะห แลวคิดวาผูเรียนยังไมแมนยําในเน้ือหาความรูวิชาภาษาไทยก็จะตองกลับไปทบทวนใหเขาใจ จากนั้น จึงวิเคราะหตนเองวามีใจรักหรือชอบที่จะเปนนักพูดหรือนักเขียน สวนเนื้อหาเก่ียวกับการฟง การดู การอาน หลักการใชภาษาและวรรณคดีและวรรณกรรมเปนขอมูลความรูประกอบในการเปนนักพูดท่ีดี หรอื นักเขียนท่ดี ีได ตอ ไปนีจ้ ะขอนําเสนอขอ มูลและตัวอยา งของการประกอบอาชีพนกั พูด และนักเขยี นพอสังเขป ดงั น้ี การประกอบอาชพี นกั พูด ผเู รยี นที่ไดว เิ คราะหศ กั ยภาพตนเองแลววาเปน ผทู ม่ี ีความสนใจและรกั ทจ่ี ะเปนนกั พดู จะตองเปน ผูที่มีความรู ความสามารถหรือคณุ สมบัตอิ ยางไรบาง โดยขอนาํ เสนอขอ มูลพอเปน สงั เขปได ดังนี้ ก. นกั จดั รายการวทิ ยุ ผูเรยี นทส่ี นใจจะเปน นักจัดรายการวทิ ยุ เรม่ิ แรกผเู รียนอาจจะเปน นักจัดรายการวิทยรุ ะดบั ชมุ ชน เสยี งตามสาย ฯลฯ จนผเู รียนมีทักษะประสบการณม ากขน้ึ จงึ จะเปน นกั จัดรายการวิทยรุ ะดับ จงั หวัด หรอื ระดบั ประเทศตอไป หนาทขี่ องนกั จดั รายการวิทยุ แบง ได 4 ประการ คือ 1. เพือ่ บอกกลา ว เปนการรายงาน ถา ยทอดสง่ิ ทไี่ ดป ระสบ พบเหน็ ใหผ ูฟงไดร บั รู อยางตรงไปตรงมา 2. เพ่ือโนม นาวใจ เปน การพยายามทจี่ ะทําใหผ ฟู งมคี วามเห็นคลอยตาม หรือโตแยง 3. เพอ่ื ใหค วามรู เปน ความพยายามที่จะใหผ ูฟง เกิดความพงึ พอใจ มีความสุขใจ ลกั ษณะของนักจดั รายการวิทยุ (รจู ักตนเอง) มดี งั น้ี 1. เปน ผมู จี ิตใจใฝร ู 2. วองไวตอ การรบั รูข อ มลู ขา วสาร 3. มีมนุษยสมั พันธทดี่ ี 4. มีจิตใจกวา งขวาง เห็นอกเห็นใจผอู ืน่ 5. มคี วามอดทนตอแรงกดดนั ตาง ๆ ข. พิธกี ร - ผูประกาศ ในการทําหนาท่พี ธิ ีกร หรือผูประกาศ การใชเ สียงและภาษาจะตองถูกตอ ง ชดั เจน เชน การออกเสียงตัว ร ล การอา นเวน วรรคตอน การออกเสยี งควบกล้ํา การออกเสยี งสงู ต่าํ นอกจากจะตอ ง

124 มีความรใู นเร่อื งของภาษาแลว ผทู ีท่ ําหนาท่ีพิธกี ร - ผูประกาศ จะตอ งพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ การแตงหนา ตลอดจนเรียนรกู ารทาํ งานของพธิ กี ร - ผปู ระกาศอยา งชดั เจนดวย คุณลกั ษณะของผทู ําหนา ทพี่ ธิ กี ร - ผูประกาศ มดี งั น้ี 1. บุคลกิ ภาพภายนอกตองดดู ี มีความโดดเดน ดูนา ประทบั ใจ มลี ักษณะทเี่ ปน มติ ร เนื่องจาก การเปนพธิ กี ร - ผปู ระกาศ จะตอ งพบปะกบั ผูค นหรอื ผฟู ง 2. น้ําเสยี งนุม นวล นา ฟง การใชน ํ้าเสยี งเปนส่ิงสาํ คัญ การใชอกั ขระจะตอ งถูกตอง ออกเสียงดงั ฟง ชัด การเวน วรรคตอน คาํ ควบกลํ้า จะตองสมํา่ เสมอ นํา้ เสียงนาฟง ไมแขง็ กระดา ง เวลาพดู หรืออานขาว ควรมสี ีหนายม้ิ แยม และนํ้าเสียงที่ชวนฟงเพ่ือใหผฟู ง รสู ึกสบายเมอ่ื ไดฟง 3. ภาพลกั ษณท ด่ี ี ควรเปนตัวอยา งท่ดี ีนา เชอ่ื ถือ สําหรบั ผฟู ง หรอื ผชู ม การปรากฎตวั ในงาน ตาง ๆ ควรมีการแตง กายทสี่ ภุ าพเรยี บรอ ยเหมาะสมกับสถานการณน้นั ๆ 4. ความรูรอบตวั ผทู ี่จะทาํ หนา ทีพ่ ธิ กี ร - ผูประกาศจะตอ งเปนผทู ่สี นใจใฝรูเ ร่อื งราว ขาวสาร ขอมูลท่ีทันสมัย เกาะติดสถานการณวามีอะไรเกิดขึ้นบาง กับใคร ที่ไหน ที่สําคัญตองเปนผูที่พรอมจะ เรียนรูเรื่องราวใหม ๆ อยูเสมอ รูจักวิเคราะหขาวสารที่ไดรับฟงมาใหเขาใจกอนที่จะเผยแพรใหผูอ่ืน ไดรับรู 5. ตรงตอเวลา การตรงตอเวลาถือวาเปนเร่ืองสําคัญมากทั้งผูท่ีทําหนาท่ีพิธีกร - ผูประกาศ จะตองมีเวลาใหท ีมงานไดใหขอมลู อธิบายประเด็นเน้ือหาสาระ กระบวนการขั้นตอนตาง ๆ ถาไมพรอม หลังพลาดพลั้งไป ทมี งานคนอนื่ ๆ จะเดอื ดรอนและเสียหายตามไปดวย 6. รูจักแกปญหาเฉพาะหนา การเปนพิธีกร - ผูประกาศ ถึงแมวาจะมีการเตรียม ความพรอมท่ีเรียบรอยดีแลว แตเหตุการณเฉพาะหนาบางครั้งอาจจะเกิดขึ้นได โดยที่ไมไดคาดหมายไว พธิ กี ร - ผปู ระกาศ จะตอ งมีปฏิภาณไหวพรบิ ในการแกปญหาเฉพาะหนาได ค. ครสู อนภาษาไทยกบั ประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะกาวสูประชาคมอาเซียน ฉะน้ัน ประชาชนคนไทย จําเปนตองเตรียมความพรอม หรือปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงการเปล่ียนแปลงดังกลาว จะกอใหเกิดประโยชนแ ละการเปล่ียนแปลงในดา นตาง ๆ ดังน้ี ประโยชนทจี่ ะไดรบั 1. ประชากรเพิม่ ขึ้น ทําใหเพิม่ ศกั ยภาพในการบรโิ ภค เพ่ิมอาํ นาจการตอ รองในระดบั โลก 2. การผลติ (ยงิ่ ผลติ มาก ยิง่ ตนทุนต่าํ ) 3. มแี รงดงึ ดูดเงินลงทุนท่อี ยนู อกอาเซยี นสูงข้ึน สงิ่ ทส่ี ง ผลตอ การเปลี่ยนแปลงในดา นตา ง ๆ 1. การศกึ ษาในภาพใหญข องโลก มีการเปลีย่ นแปลงอยางรนุ แรง 2. บคุ ลากรและนกั ศึกษา ตอ งเพิม่ ทกั ษะทางดา นภาษาองั กฤษใหสามารถส่ือสารได 3. ปรบั ปรงุ ความเขาใจทางประวัตศิ าสตร เพ่ือลดขอ ขดั แยง ในภมู ิภาคอาเซียน 4. สรางบณั ฑิตใหสามารถแขง ขันไดในอาเซียน เพ่มิ โอกาสในการทํางาน

125 ดังนั้น จะเห็นไดวาตั้งแตป พ.ศ. 2558 เปนตนไป ประชาชนอาเซียนจะเดินทางเขาออก ประเทศไทยเปนจํานวนมาก ไมวาจะเปน แมคา พอ คา นักธุรกจิ นกั ทองเทย่ี ว ฯลฯ ฉะนน้ั เราในฐานะเจาของ ประเทศ เจาของภาษาไทย ทาํ อยางไรจึงจะทาํ ใหป ระชาชนอาเซยี นทเ่ี ขา มาประกอบอาชีพในประเทศไทย ไดเรียนรูภาษาไทย วัฒนธรรมไทย เพื่อเปนพื้นฐานในการสื่อสารที่เขาใจกัน ในที่นี้จึงขอเสนออาชีพ ที่ผูเรียนท่ีสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแลว สามารถประกอบอาชีพ สรางรายไดใหกับ ตนเอง นั่นก็คือ ครูสอนภาษาไทยใหกับประชาชนอาเซียน ภาษาไทยที่สอนนี้เปนภาษาไทยพ้ืนฐาน ที่ประชาชนอาเซยี นเรียนรูแลว สามารถสอื่ สารกับคนไทยแลวเขาใจ สามารถดําเนินชีวิตประจําวันได เชน พอคา แมคา นักทอ งเท่ียว ฯลฯ คุณลกั ษณะของครผู ูสอนภาษาไทยกบั ประชาชนอาเซียน 1. มนั่ ใจในความรูภาษาไทยดพี อ 2. มใี จรักในการถา ยทอดความรู 3. เปน ผมู ีความรูใ นภาษาอาเซียน อยางนอย 1 ภาษา เน้ือหาความรูภาษาไทยทป่ี ระชาชนอาเซยี นควรเรียนรู 1. ทกั ษะการฟง การดู การพดู 2. หลักการใชภ าษา ระดบั พืน้ ฐาน ไดแ ก พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต 3. ทกั ษะการอา น 4. ทกั ษะการเขยี น 5. ทักษะการอาน เขยี นเลขไทย อารบิค การจัดกลุมผเู รยี น 1. แสวงหากลมุ ผเู รยี น ต้งั แต 1 คนขึ้นไป (จํานวนข้ึนอยูกบั ศกั ยภาพของครผู สู อน) 2. กําหนดแผนการสอน (วัน เวลา/สถานทีน่ ัดพบ) 3. เตรียมเนื้อหา สาระ สื่ออปุ กรณก ารจดั กิจกรรมการเรียนรู 4. มกี ารวดั และประเมนิ ผลความกาวหนาของผูเ รยี น การประกอบอาชพี นกั เขยี น จากตัวอยางขางตนที่กลาวถึงผูที่จะเปนนักเขียนมืออาชีพ จะตองเปนผูรูจักจดบันทึก ใฝรู ใฝแสวงหาความรูอยางตอเนื่อง หรือแมแตเปนนักอาน เพราะเชื่อวาการเปนผูอานมากยอม รูมาก มีขอมูลในตนเองมาก เมื่อตนเองมีขอมูลมาก จะสามารถดึงความรูขอมูลในตนเองมาใชใน การสื่อสารใหผูอานหรือผูรับสารไดรับรูหรือไดประโยชน ตัวอยางของอาชีพนักเขียน ไดแก การเขียนขาว การเขียนโฆษณา การแตงคําประพันธ การเขียนเรื่องส้ัน การเขียนสารคดี การเขียน บทละคร การเขียนบทวิทยุ-โทรทัศน การแตงเพลง ฯลฯ ซึ่งตัวอยางเหลานี้ ลวนแตผูเขียน สามารถสรางชิ้นงานใหเกิดรายไดทั้งสิ้น เพียงแตผูเขียนจะมีความรัก ความสนใจท่ีจะเปนนักเขียน หรอื ไม

126 คุณสมบัติของนักเขียนทด่ี ี การจะเปนนกั เขียนมอื อาชพี ทดี่ ีได จะตองเรม่ิ ตนทลี ะขนั้ หรอื เรม่ิ จาก 0 ไป 1 2 3 และ 4 โดยไมค ิดกระโดดขามข้นั ซึง่ มีวธิ กี าร ดังนี้ 1. ตัง้ ใจ นกั เขียนตอ งมีความต้งั ใจและรับผดิ ชอบในทกุ ขอ ความทีต่ นเองไดเขยี นถา ยทอดออกมา ไมใ ชเ พียงตวั อักษร ท่ีเรยี งรอ ยออกมาเปน เนอ้ื หาเทา นนั้ แมแ ตยอหนาหรือเวน วรรคก็นับวาเปนสวนหนึ่งที่ แสดงใหเห็นถึงความต้ังใจของนักเขียน ท่ีนักอานจะสามารถมองเห็นไดเชนกันจุดประสงคของการเปน นกั เขียนไมใชเปนเพื่อเขียนอะไรสักเร่ืองใหจบแลวเลิกราไป แตนักเขียนควรใสใจทุมเทในสิ่งท่ีเขียนและ ลงมือถายทอดเรื่องราวในจินตนาการนั้นอยางสุดความสามารถ หากมีความตั้งใจจริงคนอานจะรับรูได ทนั ที 2. รบั ฟง นักเขียนตองรูจักที่จะรับฟงคําวิจารณของเพ่ือนนักเขียนดวยกันอยางใจกวาง เพราะ ไมว า นักเขยี นจะมฝี ม ือระดับใด ก็สามารถมีขอผิดพลาดไดเชนกัน แมแตความคิดเห็นของนักอานก็มีสวน ชวยใหน กั เขียนปรับปรุงแกไขใหดยี ่งิ ขน้ึ ได เพราะโดยสวนมากนกั อา นมกั จะเหน็ ขอบกพรอ งในบทความของ นกั เขียนมากกวา ตวั นกั เขียนเอง 3. ใฝร ู นกั เขยี นตองรูจกั คนควาหาความรู ขอมูลหรอื แหลง อา งอิงท่ีถูกตอง เพ่ือพัฒนาการเขียน ของตนเอง การเขียนเนื้อหาโดยปราศจากขอมูลจะทําใหเนื้อหาปราศจากสาระและแกนสาร คนอาน จะไมร ูสกึ สนกุ 4. จรรยาบรรณ ไมวาอาชีพใด ๆ จําเปนตองมีจรรยาบรรณเปนของตนเอง นักเขียนก็เชนกัน นักเขียนทม่ี ีจรรยาบรรณ ตองไมลอกของคนอน่ื มาแอบอา งช่ือเปน ของตนเอง นีค่ อื สง่ิ ท่รี า ยแรงท่สี ดุ สําหรบั นักเขยี น 5. ความรับผิดชอบ ไมวาอาชีพใด ๆ ความรับผิดชอบเปนสิ่งสําคัญ ซึ่งในท่ีน้ี หมายถึง ความรับผิดชอบตอทุกถอยคําในเนื้อหา กอนจะแสดงผลงานใหผูใดไดอานไมวาผูเขียนจะต้ังใจหรือ ไมตง้ั ใจก็ตาม 6. ความสุข หลายคนอาจแอบคิดอยูในใจวาการเปนนักเขียนไมใชเรื่องงาย ไมวาอาชีพใด ๆ ตองมีจุดงายจุดยากดวยกันทั้งสิ้น แลวเหตุใดการเปนนักเขียนตองมีความสุข เพราะถาหากนักเขียน เขียนดว ยความทุกขไมรสู กึ มีความสุขกับการเขยี น กแ็ สดงวา นักเขียนผนู น้ั ไมเ หมาะกับการเปน นกั เขียน นักเขียน คือ ผูท่ีแสดงความคิดเห็น ดวยการเขียนเปนหนังสือหรือลายลักษณอักษร ซ่ึงอาจ แสดงออกในรปู แบบเรยี งความ บทความ เรื่องสั้น นวนิยาย ฯลฯ คนท่ีจะเอาดีดานงานเขียน จะตองเปน คนชางฝน มีพรสวรรค และตอ งเรยี นรู พยายามเขียนตามท่ีตนถนดั รจู ักอยูใ นโลกแหง จินตนาการ จึงจะเขียน ใหผอู า นหวั เราะ รอ งไหและรอคอย ถือวา เปน หวั ใจหลกั ของนกั เขียน นอกจากน้ีตองเปนนักอาน นักเขียน ตอ งมีอารมณออ นไหว รูส ึกไวตอ สิ่งเรา ท้ังหลาย นอกจากนย้ี ังตองเปนคนชางคดิ ชา งสังเกต

127 ตวั อยา ง การนาํ ความรภู าษาไทยไปประกอบอาชพี นกั เขยี น 1. นกั ขาว เปนการเขียนขาวที่ใชกระบวนการทางความคดิ ของผสู อ่ื ขา วท่สี ามารถนําไปสกู ารปฏิบัตงิ านขาว ในขั้นตอนการเขียน บอกเลาขอเท็จจริง เพ่ือใหเกิดประโยชน ในการรับใช หรือสะทอนสังคม ซึ่งแตกตางไปจากการเขียนของนักเขียนท่ัวๆ ไป เพราะการเขียนขาวของผูส่ือขาวมีความสําคัญตอการ แสวงหาความจริง ของสงั คม ที่ตองอาศัยรูปแบบ โครงสรางของการเขียนขาวมาชวยนําเสนอขอเท็จจริง อยา งมรี ะบบ อะไรเปน ขาวไดบ า ง ขาว คือ เหตุการณ ความคดิ ความคดิ เห็น อันเปน ขอเท็จจริง ทไ่ี ดรับการหยิบยกขนึ้ มา รายงาน ผา นชอ งทางสอ่ื ทเี่ ปนทางการ นักหนังสือพิมพท่ีมีช่ือเสียงทานหน่ึงชื่อ จอหน บี โบการท กลาววา “เม่ือสุนัขกัดคนไมเ ปน ขาว เพราะเปนเหตกุ ารณป กติท่ีเกดิ ข้นึ บอ ย ๆ แตเมือ่ คนกดั สุนัข นน่ั คือขาว” คาํ กลา วนแ้ี สดงใหเ หน็ วา เรื่องราวทป่ี กตไิ มม คี วามนาสนใจมากพอทจี่ ะเปน ขาว แตถ าเปนเรอ่ื งทนี่ าน ๆ กวา จะอบุ ตั ิขึ้นสักคร้งั หนึง่ กจ็ ะเปนขา วไดง า ย สง่ิ ทจี่ ะเปน ขา วไดค อื สิ่งทมี่ ีลักษณะ ดงั นี้ ความทันดวนของขาว ผลกระทบของขา ว มคี วามเดน ความใกลชิดของขาวตอผอู า นหรอื ผูชม ทง้ั ทางกายและทางใจ เร่อื งราวหรอื เหตุการณท ก่ี ําลงั อยใู นกระแสความสนใจของสาธารณชน หรือเรียกวา “ประเดน็ สาธารณะ” 2. นักเขียนบทวิทยุ - โทรทัศน มีคณุ สมบตั ิโดยทว่ั ไป ดงั น้ี 2.1 ชางคิด เปนคุณสมบัติสําคัญของนักเขียน ความคิดริเร่ิมสรางสรรคเปนพรสวรรคของ แตละบุคคล ความชางคิดในท่ีนี้หมายถึง ความสามารถในการสรางเร่ืองที่สมบูรณจากเหตุการณเล็ก ๆ เพียงเหตุการณเดียว นักเขียนบทละครผูซ่ึงเลนกับถอยคําสํานวนจะใชความพยายามอยางมากท่ีจะ เรียงรอยถอยคําใหสามารถสรางจินตนาการตามทีเ่ ขาตองการ 2.2 อยากรูอ ยากเห็น นกั เขยี นจะตองศกึ ษาเรื่องตาง ๆ ท่ผี ูสอื่ ขาวไดรายงานขาวไว แลวนํามา คิดใครครวญวา อะไร ทําไม สาเหตุจากอะไร อยางไร ท่ีทําใหเกิดเหตุการณหรือสถานการณเชนนั้นขึ้น และเมอื่ เดินทางไปยังพื้นที่ตาง ๆ นักเขียนจะตองมีความพยายามทุกวิถีทางท่ีจะปฏิบัติตนใหคุนเคยกับคน ของทองถ่นิ นนั้ ๆ วาเขามชี ีวติ ความเปนอยูทแ่ี ทจริงอยา งไร 2.3 มีวินยั วทิ ยุและโทรทศั นเปนสือ่ ท่ีมีเวลาเปนเคร่ืองกําหนดท่ีแนนอน นักเขียนควรกําหนด จุดเปาหมายของตนเองวาจะเขียนใหไดอยางนอยกี่คําตอวัน ผูท่ียึดอาชีพนี้จะตองมีวินัยในการเขียน เปน อยา งมาก เพอื่ ใหส ามารถสง บทไดต รงเวลา และผลติ บทออกมาอยางสม่าํ เสมอเพือ่ การยงั ชีพ

128 2.4 รูจักการใชภาษา นักเขียนบทจะตองเปนผูท่ีสามารถสรางคําตางๆ ข้ึนมาไดโดยอาศัย แหลงขาวสารขอมูลตาง ๆ ฟงคําพูดของบุคคลตางๆ ศึกษาจากการอานหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ การเขาเรียนในหองเรียน ฟงวิทยุกระจายเสียง ดูโทรทัศน ภาพยนตร นอกจากนี้หนังสือจําพวก พจนานุกรม ศัพทานุกรม เปนส่ิงที่มีคาสําหรับนักเขียน เพราะสามารถชวยในการตรวจสอบหรือคนหา คาํ ได การเขยี นสาํ หรับสื่อประเภทวิทยุโทรทัศนมีกุญแจดอกสําคัญคือ “ความงาย” เพ่ือผูรับจะไดเขาใจ ไดง ายและเขาใจไดเรว็ 2.5 รูจักส่ือ นักเขียนบทตองรูถึงการทํางานของเครื่องมือของสื่อนั้น ๆ โดยการดู เพ่ือที่จะ เรียนรู อานจากหนงั สือท่อี ธิบายถึงกระบวนการออกอากาศ หรือเยย่ี มชมและสงั เกตการเสนอรายการตา ง ๆ อบรมระยะสนั้ ๆ กบั มหาวทิ ยาลัยตาง ๆ หรอื ศึกษาดูงาน เปน ตน 2.6 มีความเพียร อาชีพนักเขียนตองมีความมานะอดทน มีความเพียรพยายามท่ีจะทําใหได และอาจจะตอ งเขยี นบทจํานวนมากกวาจะมีคนยอมรบั สกั เร่ือง แหลง ขอ มลู สําหรับการเขยี นบทวทิ ยโุ ทรทัศน 1. หนังสือพมิ พ นกั เขียนบทสามารถนําเน้ือหาของขาวสารตางๆ มาพัฒนาเปนโครงสรางของ บทไดอยางดี แมกระทั่งขาวซุบซิบ ขาวสังคมในหนังสือพิมพ ก็สามารถนํามาพัฒนาบุคลิกของตัวละคร แตละตวั ในเรื่องท่เี ขียนได 2. นติ ยสาร เร่ืองราวตา ง ๆ ในนิตยสารแตล ะประเภทเปนขอมูลท่ีดีเย่ียมสําหรับนักเขียนบท ในดานขอมูล ขอ เท็จจรงิ ตลอดจนการสบื เสาะไปสูแ หลงขอ มูลเบื้องตนไดอยา งดี ปจจุบันนิตยสารมีหลาย ประเภทและแยกแยะ เนน ผอู านท่ีสนใจเฉพาะเร่ืองนั้น ๆ ย่ิงทําใหนักเขียนบทแสวงหาขอมูลที่เจาะจงได งายข้นึ 3. รายงานการวิจัย ในการเขียนบทบางคร้ังผลงานวิจัยเขามามีบทบาทสําคัญในการประกอบ การเขียนบท สถานีวทิ ยุโทรทัศนบางแหง หรือบริษทั ผลติ รายการวิทยุโทรทัศน จะมีแผนกวิจยั ไว โดยเฉพาะ เพ่อื ทําหนาที่วจิ ัยหาขอมูลมาประกอบการเขียนบท 4. หองสมุด นักเขียนบทบางทานทํางานอยูในสถานีท่ีไมมีแผนกวิจัย จึงตองหาขอมูลจาก หองสมุดทม่ี ีอยใู นทอ งถ่นิ ซ่ึงเปนแหลงขอ มลู ที่ดอี ีกแหง หนึ่งของนักเขียนบทวทิ ยโุ ทรทัศน 5. หนว ยงานราชการ เม่อื ไดร ับมอบหมายใหเ ขยี นบทใหก ับหนวยงานราชการตา ง ๆ นักเขียน บทจะแสวงหาขอมูลเก่ียวกับเร่ืองนั้น ๆ จากหนวยงานท่ีเก่ียวของโดยตรง เชน เขียนเรื่องเกี่ยวกับปาไม กแ็ สวงหาขอ มูลจากกรมปา ไม เปน ตน นอกจากขอมูลจากแหลงใหญ ๆ ทั้ง 5 แหลงแลว นักเขียนบทสามารถหาขอมูลไดดวยตนเอง จากการคุยกับเพ่ือน ๆ ในวงวิชาชีพตาง ๆ จากการไปอยูในสถานท่ีนั้น ๆ ไปไดพบไดเห็นไดยินมาดวย ตนเอง นกั เขียนบทสามารถบนั ทกึ ไวใ นคลงั สมองของตนเอง แลวนํามาใชไ ดทนั ทเี มอ่ื ตองการ

129 รูปแบบและประเภทของบทวทิ ยุโทรทัศน บทวทิ ยโุ ทรทศั นป ระกอบดวยองคประกอบที่จําเปน 2 สวน คือ สวนของภาพและสวนของเสียง การใหขอมูลที่สมบูรณทั้งดานภาพและเสียงจะทําใหรายการสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ดังน้ัน นักเขียนบท วทิ ยุโทรทศั นค วรทราบขอ กําหนดในการวางรูปแบบโทรทัศน และประเภทของบทวทิ ยุโทรทัศน เพ่ือจะทํา ใหง ายและสะดวกตอการทํางานของฝา ยผลิตรายการ 1. การวางรปู แบบบทวิทยโุ ทรทศั น สวนภาพ การวางรูปแบบบทวิทยุโทรทัศนโดยท่ัวไปน้ัน นิยมเขียนโดยสวนของภาพจะอยู คร่ึงหนากระดาษทางซาย และสวนของเสียงจะอยูทางขวาของคอลัมนภาพ เพื่อผูเขียนตองการเขียน ขอแนะนําเคร่ืองหมายของช็อต (shot) ท่ีสําคัญคือ ตัวหนังสือ ภาพและส่ิงท่ีจําเปนที่สําคัญท่ีเกี่ยวกับ ภาพโทรทัศนใหเขยี นสิง่ เหลาน้ไี วใน “สวนภาพ” ทั้งน้ี ผูเขียนตองเขาใจศัพททางดานโทรทัศนพอสมควร และพยายามใชคําศัพทดานภาพและดานเทคนิคที่ตนเขาใจเปนอยางดี หลีกเลี่ยงการใชศัพทเทคนิคที่ ผเู ขยี นเองยงั ไมเขา ใจความหมายทีแ่ ทจ รงิ ของคํานนั้ ๆ สวนเสียง ผูเขียนจะใสคาํ บรรยาย เพลง เสียงประกอบใน “สวนเสียง” เชนเดียวกับการอธิบาย สิ่งตาง ๆ ใหกับตัวแสดง ผูแสดงแบบ ผูบรรยาย เชน อธิบายการเคล่ือนไหว หรืออารมณ เปนตน จะไมใช สวนภาพสําหรับอธิบายส่งิ ตา ง ๆ ใหกับตัวแสดงไมวาจะอยหู ลงั กลอ งหรอื หนา กลอง คําอธิบายและรายการซ่ึงควรเขียนไวกอนบท ไดแก คําอธิบายเกี่ยวกับลักษณะผูแสดง (character) ฉาก (setting) และอุปกรณท่ีใชประกอบฉาก ตลอดจนงานดานกราฟฟกภาพที่ใชประกอบ เอาไวหนาเดยี วหรอื หลายหนา กไ็ ด จะไมม ีการเขียนสง่ิ เหลา น้ไี วใ นบท เพราะอาจทําใหเกิดการสับสนและ เปน สาเหตุของความผดิ พลาด ขณะที่อานบทอยา งรวดเร็วระหวา งการผลติ 2. ประเภทของบทวิทยุโทรทัศน 2.1 บทวิทยุโทรทัศนแบบสมบูรณ บทประเภทนี้จะบอกคําพูดทุกคําพูดท่ีผูพูดจะพูดใน รายการต้ังแตตนจนจบ พรอมกันน้ันก็จะบอกรายละเอียดเก่ียวกับคําส่ังทางดานภาพและเสียงไว โดยสมบรู ณ รายการทีใ่ ชบ ทประเภทนไ้ี ดแ ก รายการละคร รายการตลก รายการขาว และรายการโฆษณา สินคา สาํ คญั ๆ ประโยชนของการเขียนบทวิทยุโทรทัศนแบบสมบูรณ คือ เราสามารถมองภาพของรายการได ตั้งแตต นจนจบกอ นทจี่ ะมีการซอ ม ทําใหเราสามารถกําหนดมุมกลอง ขนาดภาพและขนาดของเลนสที่ใช ตลอดจนกาํ หนดเวลาการเคลอื่ นไหวของกลอ งไดอยางถูกตอ งแนน อน ขอเสียเปรียบของบทวิทยุโทรทัศนแบบนี้ คือ เราจะปฏิบัติตามบทอยางเครงครัด ถาทุกสิ่ง ทกุ อยางเปนไปตามบท รายการกจ็ ะดาํ เนินไปดว ยดีและสมบูรณ แตหากมีอะไรไมเปนไปตามบท ผูกํากับ รายการและผรู วมทมี งานกจ็ ะเกิดความสับสนและตอ งพยายามแกไ ขปญหาเฉพาะหนา ที่เกดิ ข้ึนใหไ ด 2.2 บทวิทยุโทรทัศนก่ึงสมบูรณ มีขอแตกตางกับบทโทรทัศนแบบสมบูรณ ตรงท่ีคําพูด คาํ บรรยายหรือบทสนทนาไมไดระบหุ มดทกุ ตัวอักษร บอกไวเ พยี งแตหัวขอเรอ่ื ง หรือเสียงที่จะพูดโดยทั่วไป

130 เทานั้น บทดังกลาวใชกับรายการประเภทรายการ เพ่ือการศึกษา รายการปกิณกะและรายการท่ีผูพูด ผูสนทนา หรอื ผบู รรยายพดู เองเปน สว นใหญ ไมม ีระบุในบท สิง่ สาํ คญั ของบทวิทยโุ ทรทัศนแบบกง่ึ สมบรู ณ คอื ตอ งระบคุ าํ สุดทา ยของคาํ พดู ประโยคสุดทาย ท่ีจะใหเปน สัญญาณบอกผกู ํากับรายการวา เม่อื จบประโยคน้จี ะตดั ภาพไปยังภาพยนตร สไลด หรือภาพนิ่ง ซง่ึ ใชประกอบในรายการ หรือตัดภาพไปยังโฆษณา หรือตัดภาพไปฉากอนื่ 2.3 บทวิทยุโทรทัศนบอกเฉพาะรูปแบบ จะเขียนเฉพาะคําสั่งของสวนตาง ๆ ท่ีสําคัญใน รายการ ฉากสําคัญ ๆ ลําดับรายการท่ีสําคัญ ๆ บอกเวลาของรายการแตละตอน เวลาดําเนินรายการ บทโทรทัศนแบบน้ี มักจะใชกับรายการประจําสถานี อาทิ รายการสนทนา รายการปกิณกะ รายการ อภปิ ราย 2.4 บทวิทยุโทรทัศนอยางคราว ๆ บทประเภทนี้จะเขียนเฉพาะส่ิงที่จะออกทางหนาคําสั่ง ทางดานภาพและดานเสียง โดยทั่วไปแลวผูกํากับรายการจะตองนําบทอยางคราว ๆ นี้ไปเขียน กลองโทรทัศนเทานั้นและบอกคําพูดท่ีจะพูดประกอบสิ่งที่ออกหนากลองไวอยางคราว ๆ ไมมีตบแตง ใหม ใหเขาอยูในรูปของบทวิทยุโทรทัศนเฉพาะรูปแบบเสียกอน เพ่ือใหผูรวมงานท้ังหมดไดรูวาควรจะ ทาํ งานตามขัน้ ตอนอยางไร หลักการเขยี นบทวทิ ยุโทรทศั น การเขียนบทวทิ ยุโทรทัศนควรคํานงึ ถึงส่งิ ตอ ไปน้ี 1. เขยี นโดยใชสํานวนสนทนาทีใ่ ชสาํ หรับการพูดคุย มใิ ชเ ขยี นในแบบของหนงั สอื วชิ าการ 2. เขียนโดยเนนภาพใหมาก รายการวิทยโุ ทรทศั นจะไมบรรจุคาํ พูดไวทกุ ๆ วนิ าที แบบรายการ วิทยกุ ระจายเสียง 3. เขียนอธบิ ายแสดงใหเห็นถึงสง่ิ ทก่ี าํ ลังพูดถึง ไมเขียนและบรรยายโดยปราศจากภาพประกอบ 4. เขียนเพื่อเปนแนวทางใหเ กิดความสัมพนั ธร ะหวางผชู มแตละกลุม ผซู ่ึงเปนเปาหมาย ในรายการของทา น มิใชเ ขียนสาํ หรบั ผูชมโทรทศั นส วนใหญ 5. พยายามใชถ อ ยคําสํานวนท่เี ขา ใจกนั ในยุคน้ัน ไมใ ชค าํ ทมี่ ีหลายพยางค ถามีคําเหมือน ๆ กัน ใหเลือก ใหเ ลือกใชค ําท่เี ขาใจไดงา ยกวา 6. เขียนเรื่องที่นาสนใจและตองการเขียนจริง ๆ ไมพยายามเขียนเรื่อง ซ่ึงนาเบ่ือหนาย เพราะความนาเบ่ือจะปรากฏบนจอโทรทัศน 7. เขียนโดยพฒั นารูปแบบการเขียนของตนเอง ไมลอกเลียนแบบการเขยี นของคนอน่ื 8. คนควาวัตถุดิบตาง ๆ เพ่ือจะนํามาใชสนับสนุนเนื้อหาในบทอยางถูกตองไมเดาเอาเอง โดยเฉพาะอยางย่ิงเมือ่ มขี อ เทจ็ จริงเขา ไปเกยี่ วขอ ง 9. เขียนบทเริม่ ตน ใหน า สนใจและกระตุนใหผชู มอยากชมตอ ไป 10. เขยี นโดยเลอื กใชอารมณแ สดงออกในปจจุบนั ไมเปน คนลาสมัย 11. ไมเ ขยี นเพื่อรวมจุดสนใจทัง้ หมดไวใ นฉากเล็ก ๆ ในหองทมี่ ีแสงไฟสลวั ผูชมตอ งการมากกวาน้นั

131 12. ใชเทคนิคประกอบพอควร ไมใชเทคนิคประกอบมากเกินไปจนเปนสาเหตุใหสูญเสียภาพ ทีเ่ ปน สว นสาํ คญั ท่ตี อ งการใหผูชมไดเขาใจไดเห็น 13. ใหความเช่ือถือผูกํากับรายการวาสามารถแปลและสรางสรรคภาพไดตามคําอธิบายและ คําแนะนําของผูเขียน ผูกํากับจะตัดทอนบทใหเขากับเวลาที่ออกอากาศ และไมตองแปลกใจ ถาบรรทัด แรก ๆ ของบทถกู ตดั ออก หรอื อาจผิดไปจากชว งตน ๆ ท่ีเขียนไว ตองใหความเช่ือถือผูกํากับรายการและ ไมพยายามจะเปนผกู าํ กบั รายการเสียเอง 14. ไมลมื วาผูกาํ กับจะแปลความเราใจของผูเขียนบทออกมาไดจากคําอธิบายและคําแนะนําที่ ผเู ขยี นเขยี นเอาไวใ นบท 15. ผูเขียนบทตองแจงใหทราบถึงอุปกรณท่ีตองใชเปนพิเศษ ซึ่งจําเปนและอาจหาไดยาก เวลาเขียนควรคํานึงดวยวาอุปกรณท่ีใชประกอบนั้นเปนอุปกรณซ่ึงไมส้ินเปลืองคาใชจายมากจนเกินไป และอุปกรณน้ันตอ งหาได ขนั้ ตอนการเขียนบทวิทยุโทรทศั น การเขียนบทวิทยุโทรทัศนมีข้ันตอนงาย ๆ 3 ข้นั ไดแก การกําหนดวัตถุประสงคแ ละกลมุ เปาหมาย การกําหนดระยะเวลาและรปู แบบของรายการ และการกําหนดหวั ขอ เรอื่ ง ขอบขา ยเน้อื หา คน ควา และลง มอื เขียน 1. กําหนดวัตถปุ ระสงคแ ละกลมุ เปา หมาย ส่ิงแรกท่ีควรคํานึงกอนลงมือเขียน คือ วัตถุประสงคของการเขียน วาเขียนเพ่ืออะไร เขยี นเพอื่ ใคร ตอ งกําหนดใหแนนอนวา ผเู ขียนตองการใหรายการที่กําหนดใหอะไรแกผ ชู ม เชน ใหความรู ใหค วามบนั เทิง ปลูกฝงความสาํ นกึ ที่ดีงาม เปนตน จากน้ันจึงดกู ลุมเปา หมาย วาผเู ขียนตองการผชู มเพศใด อยใู นชวงอายุ การศึกษา สถานภาพทางสังคม สถานภาพทางเศรษฐกจิ แบบใด เปนตน 2. การกาํ หนดระยะเวลาและรปู แบบของรายการ ผูเขียนตองรูวาเวลาในรายการมีระยะเวลาเทาไร เพ่ือจะไดกําหนดรูปแบบของรายการ ใหเหมาะสมกับระยะเวลาของรายการ รูปแบบของรายการสามารถจัดแบงออกไดหลายแบบ ไดแก รายการขาว รายการพูดกับผูชม รายการสัมภาษณ รายการสนทนา รายการตอบปญหา รายการแขงขัน รายการอภปิ ราย เกม รายการสารคดี รายการปกิณกะ รายการดนตรแี ละละคร 3. การกําหนดหวั ขอ เรอ่ื ง ขอบขา ยเน้อื หา คนควา และลงมอื เขยี น เม่ือทราบเงื่อนไขตาง ๆ ดังท่ีกลาวมาในตอนตนแลว จะทําใหผูเขียนกําหนดหัวขอเร่ืองและ ขอบขายเนื้อหาไดงายข้ึน จากนั้นจึงเริ่มคนควาเพิ่มเติมเพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองที่สุดแลวจึงลงมือ เขยี น โดยคํานึงถึงขอควรคํานึงหลักการเขียนบทวิทยุโทรทัศน 15 ขอที่กลาวมาแลวขางตน หลังจากน้ัน ควรตรวจสอบขอเท็จจริง สํานวนและเขียนอีกเพ่ือพัฒนาบท แกไขปรับบทวิทยุโทรทัศนเพ่ือใหไดบทวิทยุ โทรทัศนท ่ดี ที ส่ี ดุ

132 3. นักเขยี นนิทาน เปนเร่ืองของจินตนาการ ผูเขียนจะตองมีศิลปะในการเขียนเพื่อใหความสนุกสนานปลูกฝง คณุ ธรรม คติแงคดิ มมุ มองตา ง ๆ แกผ ูอา น องคประกอบของนิทาน 1. แนวคิด แกนสาร หรือสาระท่ีจุดประกายใหเกิดเรื่องราว เชน แมกระตายผูรักลูกสุดหัวใจ ยอมสละชีวิตตัวเองเพ่ือแลกกับลูก หรือลูกส่ีคนคิดปลูกฟกทองยักษใหแม หรือลูกไก 7 ตัวที่ยอมตาย ตามแม หรือโจรใจรายชอบทํารายผูหญิงวันหน่ึงกลับทํารายแมตัวเองโดยไมต้ังใจ หรือลูกหมูสามตัว ไมเ ชือ่ แมทําใหเปน เหยือ่ ของหมาปา 2. โครงเร่ืองของนทิ าน โครงเรื่องและเนอื้ หาตองไมซ บั ซอน สน้ั ๆ กระทัดรัด เปนลักษณะ เรอ่ื งเลา ธรรมดา มกี ารลาํ ดบั เหตุการณกอ นหลงั 3. ตวั ละคร ขนึ้ อยกู บั จนิ ตนาการของผเู ขียน เชน คน สัตว เทพเจา แมม ด เจาชาย นางฟา แตไ มควรมีตวั ละครมากเกนิ ไป 4. ฉาก สถานทเ่ี กิดเหตุ เชน ในปา กระทอ มรา ง ปราสาท บนสวรรค แลว แตความคิดสรางสรรค ของผูเขียน 5. บทสนทนา การพดู คุยของตวั ละคร ควรใชภ าษาทเ่ี ขา ใจงา ย กระชบั สนุกสนาน ไมใช คาํ หยาบ 6. คตสิ อนใจ เมือ่ จบนทิ าน ผอู านควรไดแงค ดิ คติสอนใจเพอื่ เปนการปลกู ฝง คณุ ธรรมกลอมเกลา จติ ใจ สรปุ การทจ่ี ะเปนนักเขยี น หรอื นักพูดประเภทใด ๆ ก็ตาม หัวใจสําคัญของนักเขียน หรือนักพูด ก็คือ ความรทู ีน่ กั เขียน หรือนกั พูดไดถายทอดใหก บั ผูฟง หรอื ผูอา น (ผรู ับสาร) ไดเขา ใจในประเด็น หรือส่ิง ทีไ่ ดน ําเสนอ เรื่องท่ี 3 การเพ่ิมพนู ความรแู ละประสบการณท างดา นภาษาไทย เพื่อการประกอบอาชีพ จากการนาํ เสนอแนวทางของการนาํ ความรภู าษาไทยไปเปน ชอ งทางในการประกอบอาชีพประเภท ตาง ๆ เชน การพดู การเปน พิธกี ร ผูประกาศ นักจัดรายการวทิ ยุ โทรทศั น ครูสอนภาษาไทยกับประชาชน อาเซียน การเขียน นกั เขยี นขาว เขียนบทละคร เขียนนทิ าน เขียนสารคดี แลวนั้น เปนเพียงจุดประกายให ผูเรียนไดเรียนรูวาการเรียนวิชาภาษาไทยมิใชเรียนแลวนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันเทาน้ัน แตการ เรยี นรูวิชาภาษาไทยยังสามารถนําความรูประสบการณทางดานภาษาไทยไปประกอบอาชีพ สรางรายได ใหกับตนเองไดดวย แตการท่ีผูเรียนจะเปนนักเขียน หรือนักพูดที่มีชื่อเสียง เปนที่ยอมรับของสังคม ผูเรียนจะตองแสวงหาความรู ทักษะ ประสบการณเพิ่มเติมจากสถาบันการศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชน ท่ีเปน หลักสตู รเฉพาะเร่ือง หรอื หากผูเ รยี นตอ งการศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมในระดับการศึกษาที่สูงข้ึนก็จะ มีสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เชน คณะนเิ ทศศาสตร คณะวารสารศาสตร ฯลฯ ไดอีกทางเลือก หนึ่ง หรือในขณะที่ผูเรียนกําลังศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและตองการที่จะเรียนรูวิชา

133 ภาษาไทย เพื่อตอยอดไปสูชองทางการประกอบอาชีพไดจริง ผูเรียนสามารถเลือกเรียนวิชาเลือกตาม หลักสตู รในระดับเดยี วกนั ท่ีมเี นอื้ หาเฉพาะเรอ่ื งที่สนใจไดอกี ทางเลือกหน่ึงดว ย นอกจากท่ีผเู รยี นจะเลอื กวิธีการศึกษา หาความรูเพิ่มเตมิ โดยวิธศี กึ ษาเปนหลกั สูตรส้ัน ๆ เฉพาะเร่ือง หรือจะศึกษาตอเฉพาะสาขาวิชาในระดับการศึกษาท่ีสูงข้ึนก็ตาม แตส่ิงสําคัญท่ีผูเรียน ควรปฏิบัติอยางตอเนื่อง คือ การฝกฝนทักษะ ประสบการณในการเขียน หรือการพูดอยางสมํ่าเสมอ รวมทง้ั มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลมุ คนท่ีมีความสนใจในอาชพี เดียวกันดว ย กจิ กรรมทายบท กจิ กรรมท่ี 1 ใหผเู รียนแสดงความคดิ เห็นถึงคุณคาของภาษาไทยวามอี ะไรบา ง กิจกรรมท่ี 2 ใหผ เู รยี นวเิ คราะหตนเองวา เปนผทู ี่มีความรคู วามสามารถในการเปนนักพูด หรือนกั เขียน หรอื ไม เพราะเหตุใด กิจกรรมที่ 3 ใหผเู รียนแสดงความคดิ เหน็ วา หากผเู รียนตอ งการจะเปนนกั เขียน หรือนักพูดทดี่ ีแลว ผูเ รยี นจะศึกษาหาความรู ทักษะ ประสบการณจ ากที่ใดไดบ า ง และเพราะเหตุใดจงึ ตดั สนิ ใจ เชนน้ัน

134 บรรณานุกรม การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม ชุดวชิ าภาษาไทย หมวดวชิ าภาษาไทยระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลักเกณฑแ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2544: โรงพิมพอ งคก ารคา ของครุ ุสภา 2546 การศกึ ษานอกโรงเรียน, กระทรวงศึกษาธิการ ชดุ การเรยี นทางไกลระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หมวดวิชาภาษาไทย 2546

135 หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายชื่อผูเขารวมประชุมปฏบิ ัติการพัฒนาหนังสือเรยี นวิชาภาษาไทย ระหวา งวันท่ี 10 - 13 กุมภาพันธ 2552 ณ บานทะเลสีครมี รสี อรท จงั หวัดสมุทรสงคราม 1. นางสาวพิมพใจ สิทธิสรุ ศักด์ิ ขา ราชการบาํ นาญ 2. นางพมิ พาพร อินทจกั ร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 3. นางกานดา ธวิ งศ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 4. นายเริง กองแกว สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดนนทบุรี รายช่อื ผูเขารวมประชุมบรรณาธิการหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ครั้งท่ี 1 ระหวา งวนั ท่ี 7 - 10 กันยายน 2552 ณ โรงแรมอทู องอินน จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 1. นางสาวพิมพใ จ สทิ ธสิ ุรศักด์ิ ขา ราชการบาํ นาญ สํานักงาน กศน. จงั หวดั นนทบุรี 2. นายเรงิ กองแกว กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางนพรตั น เวโรจนเสรวี งศ ครั้งที่ 2 ระหวางวนั ท่ี 12 - 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอทู องอินน จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 1. นางสาวพิมพใ จ สิทธิสรุ ศักด์ิ ขา ราชการบํานาญ สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดนนทบุรี 2. นายเริง กองแกว กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรีวงศ

136 คณะผจู ดั ทํา ที่ปรกึ ษา บญุ เรือง เลขาธิการ กศน. อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชยั ยศ แกว ไทรฮะ ท่ีปรึกษาดา นการพัฒนาหลกั สูตร กศน. 3. นายวัชรินทร ตณั ฑวฑุ โฒ ผูอาํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู 5. นางรักขณา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน คณะทาํ งาน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดิษฐ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผพู มิ พต นฉบบั กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางปยวดี คะเนสม กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา 3. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ ิพฒั น 4. นางสาวชาลนี ี ธรรมธิษา 5. นางสาวอรศิ รา บานชี ผูอ อกแบบปก ศรรี ัตนศลิ ป นายศุภโชค

137 รายชื่อผเู ขารว มประชุมปฏิบตั กิ ารปรบั ปรงุ เอกสารประกอบการใชห ลกั สตู รและสอ่ื ประกอบการเรียนหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระหวางวันที่ 4 - 10 พฤศจิกายน 2554 ณ โรงแรมมิรามา กรุงเทพมหานคร สาระความรพู ้ืนฐาน (รายวิชาภาษาไทย) ผูพัฒนาและปรับปรงุ 1. นางอัชราภรณ โควคชาภรณ หนว ยศกึ ษานเิ ทศก ประธาน 2. นางเกลด็ แกว เจริญศกั ด์ิ หนว ยศกึ ษานิเทศก เลขานกุ าร ผูช วยเลขานุการ 3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรีวงศ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวสมถวลิ ศรีจนั ทรวโิ รจน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาววันวสิ าข ทองเปรม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

138 คณะผปู รบั ปรุงขอมลู เกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560 ที่ปรกึ ษา จาํ จด เลขาธิการ กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1. นายสรุ พงษ ปฏบิ ัตหิ นา ทรี่ องเลขาธกิ าร กศน. 2. นายประเสรฐิ สขุ สุเดช ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. นางตรีนุช ผปู รบั ปรุงขอมูล นางสาวอนงค เช้อื นนท กศน.เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร คณะทาํ งาน 1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5. นางสาวสุลาง เพช็ รสวาง 6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น 8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพิชัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook