หลกั สูตรทอ้ งถ่ิน เรอื่ ง มังคุด ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔-๖ โรงเรยี นบา้ นตลาด สงั กัดเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต ๑ จัดทำโดย นางสาวพมิ พ์จฑุ า เทพรนิ ทร์ รหัสนสิ ติ ๖๑๑๐๕๐๑๐๐๗๖ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา เป็นส่วนหนึ่งของรายวชิ า ปถ ๓๔๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สำหรับครปู ระถมศึกษา ๒ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
ก คำนำ หลกั สตู รทอ้ งถน่ิ เรือ่ ง มังคดุ สำหรับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ โรงเรยี นบา้ นตลาด ตำบลเขาแกว้ อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราชเล่มนี้เป็นสว่ นหน่ึงของรายวิชา ปถ ๓๔๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม สำหรบั ครูประถมศกึ ษา ๒ ที่พัฒนาขนึ้ โดยมจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือให้นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับ ความเปน็ มาของมงั คุด ลักษณะทั่วไปของมงั คดุ ประโยชน์ของมงั คุด การขยายพันธ์ุมังคุดและการเพ่มิ มลู ค่า ให้กับมังคุดในรปู แบบตา่ งๆ ให้นักเรยี นสามารถนำความร้ไู ปเผยแพร่ สร้างรายไดเ้ สริม หรอื นำไปประกอบ อาชีพไดใ้ นอนาคต ซงึ่ มรี ายละเอียดประกอบดว้ ยความเป็นมาของหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลกั สูตร ข้อมูล สถานศึกษา คำอธบิ ายรายวิชา โครงสรา้ งรายวชิ า ผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอยา่ งย่งิ วา่ หนังสอื เล่มนจ้ี ะเป็นประโยชนแ์ ก่ผู้อา่ นและนำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการ พฒั นาหลักสตู รท้องถน่ิ ต่อไป หากมสี ่งิ ใดในรายงานฉบบั นจ้ี ะต้องปรบั ปรงุ ขอนอ้ มรบั ในข้อชีแ้ นะและจะนำไป แกไ้ ขหรอื พัฒนาให้ถูกต้องสมบูรณ์ตอ่ ไป ผู้จัดทำ
ข สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ คำนำ .............................................................................................................................................................. ก สารบัญ ข ความเปน็ มาของหลักสูตร........................................................................................................................๑ จุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร .........................................................................................................................๑ ความเป็นมาของมังคดุ .............................................................................................................................๒ ทีต่ ้ังโรงเรียน ...........................................................................................................................................๓ วิสัยทศั น์โรงเรยี น....................................................................................................................................๓ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น .....................................................................................................................๓ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ......................................................................................................................๔ คำอธบิ ายรายวิชาชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔.................................................................................................๕ โครงสร้างรายวชิ าชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔.................................................................................................๖ คำอธิบายรายวิชาชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕.................................................................................................๗ โครงสร้างรายวิชาชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕.................................................................................................๘ คำอธบิ ายรายวิชาชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖.................................................................................................๙ โครงสร้างรายวชิ าชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖.............................................................................................. ๑๐ อา้ งอิง.......................................................................................................................................................... ๑๑
๑ ความเป็นมาของหลักสูตร หลักสตู รทอ้ งถิน่ เป็นหลักสูตรสถานศกึ ษาจัดทำขึน้ ตามวตั ถุประสงคท์ ี่เกีย่ วกับสภาพปัญหาในชุมชน สังคม และภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น กำหนดใหผ้ ู้เรียนในระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐานไดเ้ รียนรเู้ กีย่ วกับท้องถนิ่ ที่ตน อาศยั อยู่ ทั้งในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดล้อม ประเพณีวัฒนธรรม ตลอดจนอาชพี ภูมิปัญญาท้องถ่ินทง้ั ดา้ น ทฤษฎแี ละปฏิบัติ ทงั้ ในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น เพื่อให้ผเู้ รยี นไดเ้ หน็ คุณค่าของภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ของ ตนเอง ร้จู กั รักและหวงแหนความเป็นไทยในทอ้ งถ่ินตนเอง ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ มาตราที่ ๒๗ ท่ีมงุ่ เนน้ ความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวติ และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อในระดับสงู ต่อไป หลักสูตรท้องถ่ิน เรอื่ ง มังคดุ เปน็ หลกั สูตรท้องถิน่ ท่จี ดั ทำขึ้นเนอ่ื งจากคนในท้องถ่ินสว่ นใหญป่ ระกอบ อาชีพทางการเกษตรทำสวนยางพารา สวนผลไม้ ซงึ่ หนึ่งในนั้นมีมงั คดุ มังคุดท่เี ป็นผลไม้ที่มชี ื่อของอำเภอลาน สกา ซ่ึงมีการปลูกมังคดุ ทัว่ ไปทว่ั ทง้ั พนื้ ที่ เปน็ รายได้หลักของคนในท้องถิน่ ควบค่กู ับการทำสวนยางพารา ด้วย เหตุนท้ี างผู้จดั ทำจงึ ต้องการใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษาเก่ยี วกับมังคุดเพ่ือให้ผเู้ รียนเหน็ ความสำคัญของส่งิ ท่ีมีอยูภ่ ายใน ชมุ ชน ร้จู กั พึง่ ตนเอง ดำรงชีวติ อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุขตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร หลกั สตู รท้องถิ่น เร่ือง มังคดุ สำหรบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖ โรงเรียนบา้ นตลาด ตำบลเขาแก้ว อำเภอลานสกา จังหวดั นครศรีธรรมราช มีจุดม่งุ หมายของหลกั สูตร ดังนี้ ๑. เพื่อให้ผู้เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั มังคดุ ๒. เพือ่ ให้ผู้เรยี นทราบถงึ ประโยชนเ์ อามงั คุด ๓. เพื่อให้ผู้เรยี นได้รูจ้ กั วธิ กี ารขยายพนั ธ์ุมงั คดุ ๔. เพือ่ ให้ผู้เรียนไดร้ ูจ้ ักวธิ ีการดูแลมงั คดุ ๕. เพื่อให้ผู้เรยี นสามารถเรียนร้วู ิธเี พิ่มมูลค่าใหแ้ ก่มงั คดุ ได้ ๖. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความร้ทู ไี่ ด้ไปเผยแพร่ สรา้ งเสริมรายได้ หรือนำไปประกอบอาชพี ได้
๒ ความเปน็ มาของมงั คุด มงั คดุ เป็นพืชทีม่ แี หลง่ กำเนิดอยู่ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ อาจจะเปน็ บรเิ วณประเทศ อินโดนีเซีย ซ่ึงเป็นท่รี จู้ ักของชาวโลกตะวนั ตกตั้งแต่ปี พ.ศ 2174 จากแหล่งกำเนิดนี้พบการแพรก่ ระจายแต่ ยงั คงอยู่ในพ้นื ท่บี รเิ วณรอบๆ แหลง่ กำเนิดเดิม เนื่องจากมงั คดุ เป็นพชื ที่มีเมล็ดสดทำให้มีการสญู เสยี ความงอก ไดง้ า่ ย ดังนน้ั จึงพบการกระจายอยบู่ ริเวณคาบสมทุ รมาเลย์ ประเทศพมา่ ไทย เขมร เวยี ดนามและหมู่เกาะซนุ ดาร์ อยา่ งไรกต็ าม ในปี พ.ศ. 2503 ได้มกี ารศึกษาถึงแหล่งกำเนดิ ที่แน่ชดั โดยสันนษิ ฐานว่าคาบสมุทรมาเลเซยี น่าจะเปน็ แหล่งกำเนิดเพราะพบว่าสายพันธุท์ ี่เป็นพ่อและแม่ของต้นมงั คุดอยู่ในบริเวณน้ี นอกจากนมี้ ีการ สันนษิ ฐานว่ามังคดุ เร่ิมมีการปลูกเป็นพืชพืน้ บ้านครั้งแรกในประเทศไทยหรือประเทศพม่า มงั คุดจะนำมาปลูกในประเทศไทยเม่ือไรไม่ทราบได้แนช่ ัด แตค่ าดวา่ จะมีมาก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะฝง่ั ธนบุรแี ถบท่ีต้งั โรงพยาบาลศริ ิราช ณ ปจั จบุ นั เดิมเรียกวา่ วงั สวนมังคุด นอกจากน้ยี งั พบหลักฐานว่า สมยั เริ่มตั้งกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ มงั คุดนา่ จะเป็นผลไม้ทีม่ ีการปลูกกนั มาตั้งแตส่ มัยกรงุ ศรีอยธุ ยา เพราะปรากฏใน จดหมายเหตุของฑูตชาวลังกา ทมี่ าขอพระสงฆ์ไทยไปอปุ สมบทชาวลังกา เมอื่ ประมาณ 212 ปมี านี้ “เม่ือคณะ ฑตู มาถึงธนบรุ ี ข้าราชการหลายแผนกไดน้ ำทุเรียน มังคุด มะพร้าว และอื่นๆ ใหค้ ณะฑูต แล้วจึงเดนิ ทางตอ่ ไป ยงั กรุงศรีอยธุ ยา” (ไพโรจน์มาศผล) สำหรบั แหล่งทคี่ ้นพบการปลูกมงั คุด พบวา่ มีการปลูกมากในแถบภาคใต้ ของประเทศไทย คดิ เป็นเปอร์เซ็นต์พนื้ ท่ีปลูกประมาณ 61 เปอรเ์ ซน็ ต์ของพน้ื ที่ปลูกทง้ั หมดในประเทศ สำหรับ ภาคใตพ้ บว่ามีการปลูกในทุกจงั หวัดของภาคใต้ จงั หวดั ทม่ี ีพ้ืนท่ปี ลูกมาก ได้แก่ จังหวัดชุมพร นครศรีธรรมราช ระนอง พังงา นราธวิ าส และจังหวดั สุราษฏร์ธานีตามลำดับ และเนื่องมาจากลักษณะภูมปิ ระเทศของภาคใต้ เป็นคาบสมทุ รท่ีทอดยาว ประกอบกับมภี เู ขาสูงอยกู่ ลางพ้ืนท่ี ทำให้ชว่ งออกดอกและการเกบ็ เก่ยี วแตกตา่ งกัน คือ แหล่งปลกู บริเวณฝง่ั อนั ดามัน ไดแ้ ก่ จงั หวดั ระนองและจังหวดั พังงา มังคุดจะออกดอกประมาณเดือน กรกฎาคม ซ่ึงจะมีการออกดอกก่อนแหล่งปลกู ทางฝง่ั อ่าวไทย คือประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถงึ เดอื นมีนาคม แหล่งปลูกทางฝงั่ ตะวนั ออกของคาบสมทุ ร การออกดอกจะไลจ่ ากพน้ื ที่ตอนบนลงมา คือการออกดอกจะเร่ิม จากจงั หวัดชมุ พร สรุ าษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช พทั ลงุ สงขลา ปัตตานี และนราธวิ าสตามลำดบั ทำใหช้ ่วง เก็บเกี่ยวผลผลิตของภาคใต้ตอนบนเร็วกว่าการเก็บเก่ียวผลผลิตของภาคใต้ตอนล่าง และการเกบ็ เกี่ยวผลผลิต ของภาคใตจ้ ะลา่ ช้ากว่าแหลง่ ปลูกในภาคตะวันออกของประเทศไทย นอกจากน้ใี นพืน้ ที่ปลูกบางแหล่งของ ภาคใตย้ ังสามารถให้ผลผลิตนอกฤดกู าลได้ เช่น จงั หวัดนครศรีธรรมราช ในอำเภอพรหมคีรี อำเภอทา่ ศาลา อำเภอเมืองและอำเภอลานสกา เพราะอิทธพิ ลของสภาพภูมิประเทศทมี่ ีภเู ขาสงู ทำใหเ้ กิดความแห้งแล้งในช่วง เดือนกรกฎาคมถงึ เดือนสงิ หาคม ซง่ึ ส่งผลใหม้ ังคุดออกดอกได้ในช่วงปลายปีได้ ซึ่งนับวา่ เปน็ ผลดีเพราะผลผลิต ท่ีออกนอกฤดกู าลจะมรี าคาสงู กวา่ ผลผลิตในฤดูกาลประมาณ 4 ถงึ 5 เทา่ ดว้ ย
๓ ทตี่ ้งั โรงเรยี น ปัจจบุ ันโรงเรยี นบา้ นตลาดต้งั อยู่หม่ทู ี่ ๑ ถนนกะโรม ตำบลเขาแกว้ อำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรีธรรมราช วิสยั ทัศน์โรงเรียน โรงเรยี นบา้ นตลาดสถานศึกษาเขม้ แขง็ ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อชมุ ชนมี สว่ นรว่ ม สืบสานภูมิปญั ญา พัฒนาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาชาติ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรยี นบ้านตลาด มุ่งเนน้ ให้ผ้เู รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ คอื ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรับและการสง่ สาร และวฒั นธรรมในการใช้ ภาษาทอ้ งถิ่นและภาษากลางในการสื่อสาร แลกเปล่ียนข้อมูลขา่ วสารและประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อ การพฒั นาตนเองและสังคม สร้างความเข้าใจอันดีดว้ ยการสื่อสารอยา่ งมเี หตผุ ลและมีประสทิ ธภิ าพ ในสงั คม ท้องถ่นิ และสังคมชาติ ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคดิ สงั เคราะห์การคดิ อยา่ ง สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดอยา่ งเป็นระบบ เพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้ หรือสารสนเทศเพ่ือ การตัดสินใจเกยี่ วกบั ตนเอง สงั คมท้องถน่ิ และสังคมชาติ ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ทีเ่ ผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรม และข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณต์ า่ งๆในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรมู้ าใชใ้ นการป้องกันและแก้ปญั หา และมกี ารตัดสินใจท่ีมีประสิทธภิ าพ โดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ งๆไปใช้ในการ ดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอย่รู ว่ มกันในสังคม ดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขดั แย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตัวใหท้ นั กับการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม และการร้จู กั หลีกเลยี่ งพฤติกรรมไม่พึง ประสงคท์ ี่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ่ืน ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆและ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพอื่ การพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรยี นรู้การสื่อสาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม
๔ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต ๓. มีวินยั ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มงุ่ มั่นในการทำงาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ
๕ คำอธิบายรายวิชา หลักสูตรท้องถ่นิ มังคุด ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑๐ ชัว่ โมง สังเกต ศึกษา วิเคราะห์เกย่ี วกับความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ลักษณะทัว่ ไปของมังคุด ประโยชน์ของมังคดุ และการขยายพนั ธุ์มังคุดโดยวิธกี ารเพาะเมลด็ โดยใช้กระบวนการทำงานอย่างเปน็ ระบบผ่านการเรยี นรู้จากผู้รู้ภายในทอ้ งถ่ินและกระบวนการปฏิบตั ิ จรงิ เห็นความสำคัญและประโยชนข์ องการทำงานแล้วนำมาวเิ คราะห์ วางแผน ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเก่ยี วกับ การแสวงหาความรูด้ ว้ ยวิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกิดทกั ษะ มีความรบั ผิดชอบ มุ่งม่นั ในการทำงาน พึ่งพาตนเอง ไดเ้ หน็ ภาพและปฏิบตั ิ โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรู้ ๑. ผเู้ รียนเกิดทกั ษะการเรยี นรู้จาการลงมือปฏิบตั ิ ๒. ผ้เู รยี นบอกถึงลักษณะทัว่ ไปของสว่ นประกอบของมังคดุ ได้ ๓. อธบิ ายประโยชนแ์ ละสรรพคุณของมังคดุ ได้ ๔. ผเู้ รียนสามารถอธิบายข้ันตอนการขยายพันธ์ุมังคุดได้ ๕. ผเู้ รยี นสามารถขยายพันธ์ุมังคุดโดยวิธกี ารเพาะเมลด็ ได้ ๖. ผู้เรยี นสามารถแปรรปู มงั คดุ ได้ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
๖ โครงสรา้ งรายวชิ า หลักสตู รท้องถิ่น มังคุด ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๑๐ ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรู้ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา(ชม.) น้ำหนกั คะแนน ๑ ราชินีมังคดุ มงั คุดเป็นไม้ผลเขตร้อน ๒ ๒๐ ๒ หนึ่งในผลไมท้ ้องถิ่นของ ๒ ๒๐ ๓ หน่ึงส่งิ สารพดั ไทย สามารถเจริญเติบโตได้ ๒ ๒๐ ประโยชน์ ในดนิ เกือบทุกชนิด แต่ดิน ๔ ที่เหมาะสมควรเป็นดิน ๔ ๔๐ การปลกู มังคดุ เหนียวปนทราย ๑๐ ๑๐๐ มะดันเป็นไม้ผลที่มี สร้างมลู คา่ ประโยชน์มากมายทัง้ เปน็ ยา อาหาร และแปรรปู เปน็ รวม ผลติ ภัณฑต์ า่ งๆมากมาย มงั คุดสามารถขยายพันธ์ไุ ด้ หลายวธิ ี เชน่ การเพาะ เมลด็ เสียบยอด และทาบ กิ่ง การแปรรูปมงั คดุ (มังคุด กวน) จะช่วยให้มีอาหารท่ี สะอาด ปลอดภัยบรโิ ภค ตลอดทง้ั ปีและแก้ไขปญั หา การขาดแคลนอาหาร ทงั้ นี้ ยังเป็นการประหยัดและ เพิม่ รายได้ใหก้ บั ครอบครวั ไดเ้ ปน็ อย่างดี
๗ คำอธิบายรายวชิ า หลักสตู รท้องถ่ิน มงั คุด ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๐ ชั่วโมง สงั เกต ศกึ ษา วเิ คราะหเ์ กย่ี วกับความรู้เบอ้ื งต้นเกย่ี วกับการขยายพนั ธ์มุ งั คุดโดยวธิ เี สยี บยอดและทาบ กง่ิ หลกั การการถนอมอาหาร วิธถี นอมอาหาร การแปรรปู มังคดุ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ โดยใชก้ ระบวนการทำงานอย่างเปน็ ระบบผ่านการเรยี นรู้จากผรู้ ้ภู ายในทอ้ งถน่ิ และกระบวนการปฏบิ ัติ จริง เห็นความสำคัญและประโยชนข์ องการทำงานแล้วนำมาวิเคราะห์ วางแผน ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเกย่ี วกับ การแสวงหาความร้ดู ว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกดิ ทักษะ มีความรบั ผิดชอบ มุ่งมั่นในการทำงาน พ่ึงพาตนเองโดยยึด หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรู้ ๑. ผู้เรยี นเกิดทักษะการเรยี นร้จู าการลงมือปฏบิ ัติ ๒. ผ้เู รยี นสามารถอธิบายขน้ั ตอนการขยายพันธ์ุมังคุดโดยวิธเี สยี บยอดและทาบกิ่งได้ ๓. ผู้เรยี นสามารถขยายพันธ์มุ ังคุดได้ ๔. ผูเ้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการถนอมอาหาร ๕. ผ้เู รยี นสามารถแปรรูปมังคุดได้ ๖. ผู้เรยี นเลอื กเคร่ืองมือและวสั ดอุ ุปกรณ์ในการแปรรูปมังคุดได้ ๗. ผูเ้ รยี นสามารถออกแบบบรรจุภณั ฑ์ได้ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
๘ โครงสร้างรายวชิ า หลักสูตรท้องถนิ่ มังคดุ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๑๐ ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นรู้ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา(ชม.) นำ้ หนกั คะแนน ๔ ๒๐ มงั คุดสามารถขยายพนั ธไ์ุ ด้ ๔ ๘๐ ๑ การปลูกมังคุด หลายวธิ ี เช่น การเพาะ เมล็ด เสียบยอด และทาบ ๒ ๒๐ ๑๐ ๑๐๐ กิง่ การแปรรปู มงั คุด(แยม มงั คดุ ) จะช่วยให้มอี าหารท่ี สะอาด ปลอดภยั บรโิ ภค ๒ สร้างมูลค่า ตลอดทงั้ ปีและแกไ้ ขปัญหา การขาดแคลนอาหาร ท้ังนี้ ยังเปน็ การประหยัดและ เพ่มิ รายไดใ้ หก้ ับครอบครัว ไดเ้ ปน็ อย่างดี การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ ๓ การออกแบบ การคุ้มครองป้องกนั ไมใ่ ห้ บรรจภุ ัณฑ์ สินคา้ เสียหาย เพ่ิมมูลคา่ และเพ่ิมความน่าสนใจ ให้กบั ผลิตภณั ฑ์ รวม
๙ คำอธิบายรายวชิ า หลักสตู รท้องถิน่ มังคุด ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๐ ชว่ั โมง สังเกต ศกึ ษา วิเคราะหเ์ กีย่ วกับความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั สร้างผลิตภณั ฑจ์ ากมังคดุ โดยวิธีการทำสบู่ การนำผลติ ภัณฑ์ออกส่ตู ลาดเพ่ือเพิ่มรายไดใ้ ห้กบั ผูเ้ รียน การทำบญั ชีรายรับ-รายจ่าย เทคโนโลยกี บั การคา้ ขาย โดยใชก้ ระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบผ่านการเรยี นรจู้ ากผรู้ ภู้ ายในทอ้ งถ่นิ และกระบวนการปฏบิ ัติ จริง เห็นความสำคัญและประโยชนข์ องการทำงานแล้วนำมาวเิ คราะห์ วางแผน คน้ คว้ารวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั การแสวงหาความร้ดู ว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกดิ ทกั ษะ มีความรับผิดชอบ มุ่งมนั่ ในการทำงาน พึ่งพาตนเองโดยยึด หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ผลการเรียนรู้ ๑. ผเู้ รียนเกิดทักษะการเรียนรู้จาการลงมือปฏบิ ตั ิ ๒. ผเู้ รียนอธบิ ายขั้นตอนการทำสบจู่ ากเปลอื กมงั คุดได้ ๓. ผู้เรยี นสามารถสร้างผลิตภัณฑ์จากมังคุดโดยวิธกี ารทำสบู่ได้ ๔. ผ้เู รยี นเลือกเครื่องมือและวัสดุอปุ กรณ์ในการสร้างผลติ ภัณฑ์จากมังคุดโดยวิธีการทำสบู่ได้ ๕. ผเู้ รียนสามารถทำบัญชีรายรบั -รายจ่ายได้ ๖. ผู้เรยี นสามารถประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยกี ับการคา้ ขายได้ รวม ๖ ผลการเรยี นรู้
๑๐ โครงสร้างรายวิชา หลักสตู รท้องถน่ิ มังคดุ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลา ๑๐ ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา(ชม.) น้ำหนักคะแนน - สบ่เู ปลอื กมงั คุด เพิ่ม ๔ ๔๐ คุณค่าให้แก่มังคุด ลด ๖ ๖๐ ๑๐ ๑๐๐ ปัญหาขยะเปลือกมงั คุด และมีคุณสมบตั ใิ นการ ป้องกันเชื้อรา ยับย้งั เชือ้ แบคทีเรีย บรรเทาอาการ คันและดบั กลนิ่ กาย ๑ สร้างมูลค่า - การแปรรูปมังคุด(น้ำ มังคุด) จะชว่ ยใหม้ ีอาหารท่ี สะอาด ปลอดภัยบริโภค ตลอดท้งั ปีและแก้ไขปญั หา การขาดแคลนอาหาร ทงั้ น้ี ยงั เปน็ การประหยัดและ เพ่มิ รายไดใ้ ห้กบั ครอบครวั ได้เป็นอย่างดี การนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ ๒ การค้าขาย ตลาดสามารถเพิ่มรายได้ ให้กบั ผูเ้ รียนและครอบครัว รวม
๑๑ อา้ งองิ ไมตรี ลำดบั พงค.์ (2562). โรงเรียนบ้านตลาด. สบื ค้นเม่ือ 15 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://data.bopp-obec.info/web/index_view_history.php?School_ สำนกั งานพัฒนาการวจิ ยั การเกษตร. (2564). มงั คุด. สืบคน้ เม่ือ 15 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://www.arda.or.th/kasetinfo/south/mangosteen/
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: