48 1. ค ถ คะแนนระหวา่ งปีการศึกษา : สอบปลายปีการศกึ ษา = 80 : 20 รายการวดั คะแนน * ระหวา่ งภาค 80 มกี ารวัดและประเมินผล ดงั นี้ 10 1. คะแนนระหวา่ งปกี ารศึกษา 10 100 1.1 วัดโดยใช้แบบทดสอบ 1.2 วดั ทกั ษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวดั ตามแผนการจดั การเรยี นร)ู้ 1.2.1 ภาระงานทีม่ อบหมาย - การทำใบงาน/แบบฝึกหัด/สมดุ งาน/ชน้ิ งาน/ภาระงาน - การศึกษาค้นคว้า/การนำเสนองาน - การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 1.2.2 สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 1.3 วัดคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 2. คะแนนสอบกลางปีการศึกษา มีการวัดผลและประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบ *ค ี มกี ารวัดผลและประเมนิ ผลโดยใชแ้ บบทดสอบ รวมท้งั ปี
2. ค 49 คะแนนระหว่างปีการศึกษา : สอบปลายปีการศกึ ษา = 80 : 20 คะแนน รายการวัด 80 * ระหวา่ งภาค 10 มีการวัดและประเมินผล ดงั นี้ 10 1. คะแนนระหวา่ งปีการศึกษา 100 1.1 วัดโดยใชแ้ บบทดสอบ 1.2 วัดทกั ษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวดั ตามแผนการจดั การเรยี นรู)้ 1.2.1 ภาระงานที่มอบหมาย - การทำใบงาน/แบบฝึกหดั /สมดุ งาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน - การศึกษาค้นควา้ /การนำเสนองาน - การรว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ 1.2.2 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 1.3 วัดคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 2. คะแนนสอบกลางปีการศึกษา มีการวัดผลและประเมินผลโดยใชแ้ บบทดสอบ *ค ี มีการวดั ผลและประเมนิ ผลโดยใช้แบบทดสอบ รวมทัง้ ปี
50 3. ณฑ์ ผ ิ ผ 1. การวัดและประเมนิ ผลโดยใช้แบบทดสอบ กำหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแตล่ ะแบบทดสอบ ดังน้ี 1.1 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ พิจารณาจากความถูกผดิ ของการเลือกตอบ ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน 1.2 เกณฑ์ใหค้ ะแนนแบบทดสอบแบบถูกผดิ พิจารณาจากความถูกผิดของคำตอบ ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน 1.3 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเตมิ คำ พิจารณาจากความถกู ผิดของคำตอบ ตอบถกู ให้ 1 คะแนน ตอบผดิ ให้ 0 คะแนน 1.4 เกณฑ์ใหค้ ะแนนแบบทดสอบแบบเขียนตอบ พิจารณาจากคำตอบในภาพรวมทั้งหมด โดยกำหนดระดบั คะแนนเปน็ 4 ระดบั ดงั นี้ ค ณฑ์ ใ ค 4 ตอบได้ถกู ต้อง และสามารถอธบิ ายเหตุผลได้อย่างชดั เจน พรอ้ มทงั้ แสดงแนวคิดเชิงเปรียบเทียบ 3 ตอบได้ถูกต้อง และสามารถอธบิ ายเหตุผลไดอ้ ย่างชัดเจน 2 ตอบได้ถกู ต้อง และสามารถอธบิ ายเหตผุ ลได้เป็นบางส่วน แตย่ งั ไมช่ ัดเจน 1 ตอบได้ถกู ต้อง แต่ไมส่ ามารถอธิบายเหตุผลได้ 0 ตอบไมถ่ ูกตอ้ ง และไมส่ ามารถอธบิ ายเหตุผลได้ 2. การวัดและประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ 2.1 ภาระงานที่มอบหมาย ดงั น้ี - ใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝกึ ทกั ษะ กำหนดเกณฑ์การประเมินผลของการทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝึกทักษะ เป็น 4 ระดบั ดังน้ี คณภ ณฑ์ จิ ณ 4 - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะครบถว้ นและเสร็จตามกำหนดเวลา (ดีมาก) - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝกึ ทักษะไดถ้ ูกต้อง - แสดงลำดับขนั้ ตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะชดั เจนเหมาะสม 3 - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะครบถว้ นและเสรจ็ ตามกำหนดเวลา (ดี) - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝกึ ทักษะไดถ้ ูกต้อง - สลบั ข้นั ตอนของการทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะ หรอื ไมร่ ะบุขน้ั ตอนของการทำ- ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะ
51 2 - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝกึ ทักษะครบถ้วน แต่เสรจ็ หลงั กำหนดเวลาเลก็ น้อย (พอใช)้ - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะไม่ถูกต้อง - สลบั ขน้ั ตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะ หรือไมร่ ะบุขน้ั ตอนของการทำ- 1 ทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะ (ตอ้ งปรับปรุง) - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะไม่ครบถ้วน หรอื ไม่เสรจ็ ตามกำหนดเวลา - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะไม่ถูกต้อง - แสดงลำดบั ข้นั ตอนของการทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝึกทักษไม่สมั พนั ธก์ ับโจทยห์ รือไม่ แสดงลำดบั ขัน้ ตอน 2.2 ิ คิ ิ ค ์ คณ ณ ค์ ใ ผ ิ ็ “ผ ” ไ ผ ณไ ผ ใ ผ ิ็ ่ ผ 1. การสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เป็นการประเมินพัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน ตามที่สถานศึกษากำหนด จะประเมินเป็นราย คุณลักษณะโดยมีการตดั สินผลการประเมินเป็น 4 ระดับ ดังต่อไปน้ี ่ หมายถึง ผู้เรียนปฏบิ ัตติ นตามคุณลักษณะจนเป็นนิสยั และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อ ประโยชนส์ ุขของตนเองและสังคมโดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ดีเยย่ี ม จำนวน 5-8 คุณลักษณะ และ ไม่มี คุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับดี ดี หมายถงึ ผเู้ รียนมีคุณลักษณะในการปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑ์ เพ่ือให้เป็นการยอมรบั ของสังคมโดย พจิ ารณาจาก 1. ได้ผลการประเมนิ ระดับดเี ยี่ยม จำนวน 1 – 4 คุณลกั ษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการ ประเมินตำ่ กว่าระดบั ดี หรือ 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี ทง้ั 8 คณุ ลักษณะ หรอื 3. ได้ผลการประเมินระดบั ดีขึ้นไป จำนวน 5 – 7 คณุ ลกั ษณะ และมบี างคณุ ลักษณะได้ผลการ ประเมนิ ระดบั ผ่าน ผ หมายถงึ ผ้เู รยี นรบั รูแ้ ละปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑแ์ ละเงือ่ นไขทีส่ ถานศกึ ษากำหนดโดยพิจารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับผา่ นทัง้ 8 คณุ ลกั ษณะ หรือ 2. ไดผ้ ลการประเมินระดับดีจำนวน 1 – 4 คณุ ลกั ษณะและคณุ ลกั ษณะท่ีเหลือไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ผา่ น ไ ผ หมายถึง ผเู้ รยี นรับรู้และปฏิบัติได้ไมค่ รบตามกฎเกณฑ์และเง่อื นไข ที่สถานศึกษากำหนด โดย พิจารณาจากผลการประเมิน ระดบั ไม่ผา่ น ต้ังแต่ 1 คุณลกั ษณะขนึ้ ไป 2. การสรปุ ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน เพอ่ื การเล่ือนชั้นและจบการศกึ ษา สถานศึกษาจึงกำหนดและตัดสินผลการประเมนิ เป็น 4 ระดับ ดังต่อไปนี้
52 ่ หมายถงึ มีผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนท่มี ีคุณภาพดีเลิศ อยเู่ สมอ หมายถึง มผี ลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนท่ีมคี ุณภาพเป็นท่ี ยอมรบั ผ หมายถึง มีผลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนท่มี ีคุณภาพเป็นท่ี ยอมรบั แตย่ ังมขี ้อบกพร่องบางประการ ไ ผ หมายถึง ไม่มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ นคดิ วเิ คราะห์และเขียนหรือถ้ามผี ลงาน นน้ั ยงั มีข้อบกพร่องท่ตี ้องไดร้ ับการปรบั ปรงุ แกไ้ ขปลายประการ
53 ภ คผ
54 ภิ ์ ำิ เป็นการทำงานในชวี ิตประจำวันเพื่อชว่ ยเหลอื ตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสังคม ทว่ี ่าดว้ ย งานบา้ น งานเกษตร งานชา่ ง งานประดษิ ฐแ์ ละงานอนื่ ๆ เป็นกระบวนการในการทำงานกลุ่ม มีขั้นตอน ดังน้ี การเลือกหวั หนา้ กลุ่ม การกำหนดเปา้ หมาย หรอื วัตถุประสงค์ของงาน วางแผนการทำงาน แบ่งงานตามความสามารถของแตล่ ะกลุม่ ปฏิบตั ติ ามบทบาทหนา้ ท่ี ประเมินผลและปรบั ปรุงการทำงาน ำ ่ ำิ เป็นการทำงานทีจ่ ำเปน็ เกีย่ วกบั ความเป็นอยใู่ นชีวติ ประจำวัน ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัวและสงั คม ได้ในสภาพเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เนน้ การปฏิบัตจิ ริงจนเกดิ ความมั่นใจและภมู ใิ จใน ผลสำเร็จของงาน เพอื่ ให้ค้นพบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของตนเอง คณ จ ิ จ ค ิ ณ ิ ใ ำ ประกอบด้วย ความซื่อสตั ย์ เสยี สละ ยตุ ิธรรม ประหยดั ขยัน อดทน รับผิดชอบ ตรงเวลา รอบคอบ ปลอดภัย ค้มุ ค่า ย่ังยืน สะอาด ประณตี มเี หตุผล มีมารยาท ชว่ ยเหลือตนเอง ทำงานบรรลุ เปา้ หมาย ทำงาน ถกู วธิ ี ทำงานเป็นขน้ั ตอน ทำงานเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ มีประสิทธภิ าพ รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม ฯลฯ ญั เป็นกระบวนการท่ตี ้องการให้ผู้เรยี นไดเ้ กดิ ความคิดหาวิธีการแกป้ ญั หาอยา่ งมีข้ันตอน การสงั เกต การ วิเคราะห์ การสรา้ งทางเลอื กและการประเมนิ ทางเลือก จ ความพยายามของบคุ คลท่ีจะจัดระบบงาน (ทำงานเปน็ รายบุคคล) และจัดระบบคน (ทำงานเป็นกลมุ่ ) เพอื่ ให้ทำงานสำเร็จตามเป้าหมาย ำ การลงมือทำงานด้วยตนเอง โดยมุง่ เน้นการฝึกวิธีการทำงานอย่างสม่ำเสมอ ทง้ั การทำงานเปน็ รายบุคคลและการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อใหส้ ามารถทำงานได้บรรลเุ ป้าหมาย ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์งาน การ วางแผนในการทำงาน การปฏิบตั งิ านตามลำดบั ข้นั ตอนและการประเมินผลการทำงาน
55 ำ การทำงานเปน็ กล่มุ สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่นื ได้อยา่ งมคี วามสุข โดยมุง่ เนน้ ใหผ้ ้เู รียนได้ทำงานอย่าง มกี ระบวนการตามข้ันตอนของการทำงานและฝึกหลกั การทำงานกลมุ่ โดยรูจ้ ักบทบาทหน้าที่ภายในกล่มุ มี ทกั ษะในการฟงั -พดู มีคุณธรรมในการทำงานร่วมกนั สรุปผลและนำเสนอรายงาน ทักษะการแสวงหาความรู้ วธิ กี ารและกิจกรรมที่มุ่งเน้นใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สวงหาข้อมลู ความรูต้ ่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องหรือเน้ือหานัน้ ๆ ไดแ้ ก่ การศึกษาค้นควา้ การรวบรวม การสังเกต การสำรวจและการบันทึก ความคิดสรา้ งสรรค์ เป็นความสามารถของสมองมนุษยท์ ่ีคิดไดก้ ว้างไกล หลายแงม่ ุม หลายทิศทาง นำไปสูก่ ารคดิ ประดิษฐ์ สิ่งของและแนวทางการแก้ปัญหาใหม่ ลักษณะการคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ มี 4 ลกั ษณะ ประกอบด้วย 1. ความคิดรเิ รมิ่ (Originality) คือ ลกั ษณะความคิดที่แปลกใหม่ แตกต่างจากความคิดเดิมประยุกต์ ให้เกิดส่ิงใหม่ข้นึ ท่ีไมซ่ ้ำกับของเดมิ ไม่เคยปรากฏมาก่อน 2. ความคล่องในความคิด (Fluency) คือ ความสามารถในการคดิ หาคำตอบได้อยา่ งคล่องแคลว่ รวดเร็วและมปี รมิ าณทมี่ ากในเวลาจำกัด เชน่ ใหผ้ ู้เรียนวาดภาพตอ่ เติมรูปที่กำหนดให้ได้มากท่สี ดุ ภายใน 10 นาที 3. ความยืดหยนุ่ ในการคดิ (Flexibility) คือ ความสามารถคิดหาคำตอบได้หลายประเภทและหลาย ทศิ ทาง ดดั แปลงจากสงิ่ หน่ึงไปเปน็ หลายสง่ิ ได้ เชน่ ให้ผู้เรยี นบอกวิธีการนำขวดน้ำพลาสติกที่เหลือใช้ นำไปทำ อะไรให้เกิดประโยชน์ได้บา้ ง 4. ความคิดละเอยี ดลออ (Elaboration) คอื ความคดิ ในรายละเอยี ดเพื่อตกแตง่ หรอื ขยายความคิด หลักให้สมบูรณ์ยิง่ ขน้ึ ค ภใ ำ เป็นการใชอ้ ปุ กรณ์ เคร่ืองมือในการทำงานเพ่ือสร้างชนิ้ งานอยา่ งปลอดภยั และเลอื กใช้ได้เหมาะสมกับ ประเภทและลักษณะการใช้งานของอุปกรณ์และเครอื่ งมือน้ัน ๆ ผ ค่ คิ concept Mapping เปน็ การถา่ ยทอดความคิด หรือข้อมูลตา่ ง ๆ ในภาพรวม เพ่ือแสดงการเชอ่ื มโยงข้อมลู เก่ยี วกบั เรื่องใด เร่อื งหนง่ึ ระหว่างความคิดหลัก ความคดิ รองและความคิดย่อยทเ่ี กีย่ วข้องสัมพันธ์กนั นำเสนอเป็นข้อความ สัญลกั ษณ์ หรือภาพ โดยใช้สีและเส้น
56 จำ เปน็ การจดั กิจกรรมเพอื่ การเรียนร้เู กีย่ วกับอาชีพทีส่ ถานศึกษาจัดทำใหเ้ สมือนจรงิ เพ่ือให้ผเู้ รียนมี ทกั ษะการทำงานอาชีพ เห็นคุณคา่ ของงานอาชีพและเห็นแนวทางในการประกอบอาชพี เช่น การจัด นิทรรศการ บทบาทสมมติ ิ เป็นการรูจ้ กั ตนเองด้านความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วสิ ยั ทศั น์ แนวโนม้ ด้านอาชพี ที่ ต้องการของตลาดแรงงานท่เี หมาะสมกบั ความสนใจ ความถนัดและทกั ษะทางดา้ นอาชีพกอ่ นตดั สนิ ใจเลือก อาชีพ เปน็ สาระทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทักษะท่ีจำเป็นต่ออาชีพ เหน็ ความสำคญั ของคุณธรรม จริยธรรมและเจตคตทิ ี่ ดตี ่ออาชีพ เห็นคุณคา่ ของอาชพี สจุ ริตและเห็นแนวทางในการประกอบอาชพี จ่ ำ ็ ประกอบด้วย ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทำงานรว่ มกนั ทักษะการแสวงหาความรูแ้ ละทกั ษะการจัดการ ณใ์ เปน็ การจดั ให้ผูเ้ รียนได้เรยี นรู้ ไดเ้ หน็ และไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ิกจิ กรรมที่เกย่ี วกบั อาชีพทตี่ นเองถนดั และสนใจ
คณ ผจ ำ 57 1. นางรตั นา บณั ฑติ เอกตระกูล ประธานกรรมการ 2. นางสาวกัลยกร สพุ ิณวงศ์ กรรมการ 3. นางนภาพร แพทย์ยา กรรมการ 4. นางสาวกรรณกิ าร์ คำยาว กรรมการ 5. นางสาวจารณุ ี คำยี กรรมการ 6. ว่าที่รอ้ ยตรีหญงิ นัทธมน คำตา กรรมการและเลขานุการ
41
Search