Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาไทย4ภาคค

ภูมิปัญญาไทย4ภาคค

Published by benjarat16478, 2021-04-03 07:35:26

Description: ภูมิปัญญาไทย4ภาคค

Search

Read the Text Version

ภมู ปิ ญั ญาไทย 4 ภาค โดย ช่อื : ธนดล หอมกระแจะ ช้นั ม.5/4 เลขท่ี 3

ภมู ปิ ญั ญาไทยภาคเหนือ

ร่มบ่อสรา้ ง ร่มบอ่ สรา้ ง เป็นสนิ คา้ พ้นื เมอื งทไี่ ดร้ บั ความนิยมอย่างมากในหมู่นกั ท่องเทย่ี วทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ สาเหตทุ เี่ รยี กว่ารม่ บอ่ สรา้ ง เพราะรม่ น้ผี ลติ กนั ทบี่ า้ นบอ่ สรา้ ง สมยั ก่อนชาวบา้ นจะทารม่ กนั ใตถ้ นุ บา้ น แลว้ นาออกมาวางเรยี งรายเตม็ กลางลานบา้ นเพอื่ ผงึ่ แดดใหแ้ หง้ สสี นั และลวดลายบนรม่ นน้ั สะดดุ ตาผูพ้ บเหน็ มที งั้ หมด 3 ชนดิ ดว้ ยกนั คอื รม่ ทท่ี าดว้ ยผา้ แพร ผา้ ฝ้ าย และกระดาษสา แตล่ ะชนิดมวี ธิ ที า อย่างเดยี วกนั ในสมยั โบราณ มพี ระธดุ งค์รปุ หนงึ่ มาปกั กลดทต่ี าบลบอ่ สรา้ ง อาเภอสนั กาแพงจงั หวดั เชียงใหม่ปรากฎว่ามลี มแรงพดั กลด เสยี หายใชก้ ารไม่ได้ชายชราชอื่ นายเผอื ก เป็นชาวบา้ นบอ่ สรา้ งไดซ้ ่อมให้แลว้ ก็เกิดความคิดวา่ ถา้ กลดมคี นั ยาวก้็จะใชถ้ อื ไปไหนมาไหนได้ สะดวกจงึ คดิ ดดั แปลงจากกลดโดยใสค่ นั ร่มเขา้ ไปจนกลายเป็นร่ม ในสมยั แรก ๆ ก็ใชส้ ขี องเปลอื กไมท้ าเป็นลกั ษณะสพี น้ื สเี ดยี วคอื สแี ดง ครน้ั ต่อมาไดว้ วิ ฒั นาการเขยี นลวดเป็นดอกไม โ้ ดยทาพน้ื เป็นสตี า่ งๆตงั้ แตอ่ ดีตจนปจั จบุ นั หมู่บา้ นตาบลบอ่ สรา้ งก็ยงั คงทาร่มกนั ทกุ ครวั เรอื นและเป็นหมบู่ า้ นเดียวใน ประเทศไทยทยี่ งั รกั ษาเอกลกั ษณ์ในการทารม่ น้ไี ว้

ประเพณีสบื ชะตา ชาว ลา้ นนามคี วามเชอ่ื วา่ การทาพธิ สี บื ชะตาจะช่วยต่ออายุใหต้ น เอง ญาตพิ น่ี อ้ ง และบา้ นเมอื งใหย้ นื ยาว ทาใหเ้กิดความเจรญิ รงุ่ เรอื ง และ ความเป็นสริ มิ งคล โดยแบง่ การสบื ชะตาแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ - การสบื ชะตาคน นิยมทากนั หลายโอกาส เช่น วนั เกิด วนั ท่ี - ไดร้ บั ยศตาแหน่ง วนั ขน้ึ บา้ นเมอื ง - การ สบื ชะตาบา้ น เป็นการสบื ชะตาชมุ ชนหรอื หม่บู า้ น เพอ่ื ใหเ้กิดสริ มิ งคลปดั เป่าทกุ ภยั ต่างๆ นิยมจดั เม่ือผ่านช่วงสงกรานตไ์ ป แลว้ การสบื ชะตาเมอื ง เป็นพธิ กี รรมทจ่ี ดั ข้นึ ดว้ ยความเชอ่ื วา่ เทวดาจะช่วยอานวยความสุขใหบ้ า้ น เมอื ง เจรญิ รงุ่ เรอื ง อดุ มสมบรู ณ์ ในสมยั โบราณพระเจา้ แผ่นดนิ เป็นประธานในพธิ สี บื ชะตาเมอื ง

ประเพณีอุม้ พระดานา้ เกดิ จากตานานทเ่ี ล่าขานกนั มากวา่ 400 ปี ครงั้ น้มี ชี าวบา้ นกลุ่มหนง่ึ มอี าชพี หาปลาขาย และไดไ้ ปหาปลาทแ่ี ม่นา้ ป่าสกั เป็นประจาทกุ วนั อยู่มา วนั หน่งึ ไดเ้ กดิ เรอ่ื งทไี่ ม่มใี ครหาคาตอบได้เพราะนอกจาจะไมม่ ใี ครจบั ปลาไดส้ กั ตวั แลว้ และแลว้ จๆู่ เหตกุ ารณ์ประหลาดก็เกดิ ข้นึ บรเิ วณวงั มะขามแฟบ (ไมร้ ะกา) สายนา้ ทกี่ าลงั ไหลเชย่ี วกลบั หยดุ นง่ิ และไม่นานก็มพี ลายนา้ ผดุ ขน้ึ มาก่อนจะดนั ใหพ้ ระพุทธรปู พน้ ขน้ึ มาจากนา้ แสงระ ยบิ จากร้วิ นา้ เป็นเหมอื นแสงสะทอ้ นการตอบรบั ในพลงั ของพทุ ธศาสนกิ ชน ขณะทภ่ี าพของกลุ่มผูค้ นจานวนมาก บอกถงึ ความรกั ความศรทั ธา ทเ่ี ป่ียมลน้ ในองคพ์ ระมหาธรรมราชา พระพทุ ธรูปคู่บา้ นคู่เมอื งเพชรบูรณ์ และน.ี่ .เป็นอกี หน่ึงประเพณอี นั ยง่ิ ใหญ่ทมี่ คี วามหมายมากกว่า ความศรทั ธา ความรกั ความผูกพนั เพราะเกดิ ขน้ึ ท่ามกลางความเป็นมงคลของ สายนา้ แห่งน้ี

ภมู ิปญั ญาไทยภาคกลาง

บา้ นทรงไทย บา้ นทรงไทยนบั ว่าเป็นภูมปิ ญั ญาไทยของบรรพบรุ ษุ ทคี่ ดิ สรา้ งทอี่ ยู่อาศยั ทเี่ หมาะสมกบั ภูมปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ และประโยชนใ์ ช้ สอยคอื เป็นเรอื นยกพ้นื สูงเพอื่ ป้องกันนา้ ท่วมตวั เรือน เพราะในฤดฝู นจะมนี า้ ป่าไหลหลากมาจากทางเหนอื มาทว่ มพ้นื ทลี่ มุ่ ใน ภาคกลาง

ขนมไทย ขนมไทยนนั้ เกิดขนึ มานานแลว้ ตงั้ แต่ประเทศไทยยงั เป็นสยามประเทศไดต้ ดิ ต่อคา้ ขายกบั ชาวต่างชาติเช่น จนี อนิ เดยี มาตง้ั แต่สมยั สโุ ขทยั โดย ส่งเสรมิ การขายสนิ คา้ ซง่ึ กนั และกนั ตลอดจนแลกเปลยี่ นวฒั นธรรมดา้ น อาหารการกินรว่ มไปดว้ ย ตอ่ มาในสมยั อยุธยาและรตั นโกสนิ ทร์ ไดม้ กี าร เจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั ประเทศตา่ ง ๆ อยา่ งกวา้ งขวาง ไทยไดร้ บั เอาวฒั นธรรมดา้ นอาหารของชาตติ า่ ง ๆ มาดดั แปลงใหเ้หมาะสมกบั สภาพทอ้ งถนิ่ วตั ถดุ ิบทห่ี าได้ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ ตลอดจนการบรโิ ภคนิสยั แบบไทย ๆ จนทาใหค้ นรนุ่ หลงั ๆ แยกไมอ่ อกว่าอะไรคือขนมทเ่ี ป็นไทยแท้ ๆ และอะไร ดดั แปลงมาจากวฒั นธรรมของชาตอิ น่ื เช่น ขนมทใี่ ชไ้ ข่ และขนมทต่ี อ้ งเขา้ เตาอบ ซงึ่ เขา้ มา ในรชั สมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากคณุ ทา้ วทองกบี มา้ ภรรยาเช้อื ชาตญิ ่ปี ่นุ สญั ชาตโิ ปรตเุ กส ของเจา้ พระยาวิชเยนทร์ ผูเ้ป็นกงศุลประจาประเทศไทยในสมยั นนั้ ไทยมใิ ช่เพยี งรบั ทองหยบิ ทองหยอด และฝอยทองมาเท่านน้ั หากยงั ใหค้ วามสาคญั กบั ขนมเหล่าน้โี ดยใชเ้ ป็นขนมมงคลอกี ดว้ ย ส่วนใหญ่ตารบั ขนม ทใี่ ส่มกั เป็ น \"ของเทศ\" เช่น ทองหยบิ ฝอยทอง ทองหยอดจากโปรตเุ กส มสั กอดจากสกอตต์

เคร่อื งเบญจรงค์ เครอื่ งเบญจรงค์ จดั เป็นภาชนะตกแตง่ และเป็นเครอื่ งประดบั ทง่ี ดงามซงึ่ มมี าตง้ั แต่สมยั อยธุ ยาจนถงี รตั นโกสนิ ทร์ ลวดลายสสี นั ทเ่ี ขยี นลง ภาชนะจะสะทอ้ นความรสู้ กึ และอารมณ์ทแ่ี สดงออกถงึ ความเป็นเอกลกั ษณ์ของคนไทยการทาเครอ่ื งเบญจรงค์ถอื ไดว้ า่ เป็นงานดา้ น ศิลปหตั ถกรรมของไทยทม่ี มี า ตง้ั แต่สมยั โบราณ และเป็นงานของช่างฝีมอื การทาเครอื่ งเบญจรงค์ถอื ไดว้ า่ เป็นงานดา้ นศลิ ปหตั ถกรรมของไทย ทมี่ มี า ตงั้ แต่สมยั โบราณ และเป็นงานของช่างฝีมอื ทท่ี าขน้ึ เพอ่ื ใช้การทาเครอื่ งเบญจรงคถ์ อื ไดว้ า่ เป็นงานดา้ นศลิ ปหตั ถกรรมของไทยทมี่ ี มา ตง้ั แต่สมยั โบราณ และเป็นงานของช่างฝีมอื ทท่ี าขน้ึ เพอื่ ใชใ้ นราชวงศช์ น้ั สูงเทา่ นนั้ เป็นงาน เป็นงานศิลปหตั ถกรรมทแี่ สดงถงึ ลกั ษณะเฉพาะ ของไทยเครอื่ งเบญจรงค์เป็นเครอ่ื งถว้ ยทม่ี กี ารลงสที พ่ี น้ื และลวดลายเป็นเครอ่ื งปนั้ ดนิ เผา ประเภท เซรามคิ ส์ (Ceramics)

ภมู ปิ ญั ญาไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

มดั หมี่ เป็นกรรมวธิ กี ารทอผา้ แบบหน่ึง ทอี่ าศยั การยอ้ มเสน้ ดา้ ยก่อนการทอ ทงั้ ทยี่ อ้ มเฉพาะดา้ ยพงุ่ และยอ้ มดา้ ยยนื เพ่ือใหเ้มอ่ื ทอผา้ ออกมา้ เป็นผนื แลว้ เกดิ เป็นลวดลายและสสี นั ตามทต่ี อ้ งการ เดิมนนั้ นิยมใชเ้สน้ ไหม แต่ปจั จบุ นั พบการมดั หมที่ ง้ั เสน้ ไหม ฝ้ าย และเสน้ ใยสงั เคราะหค์ าว่า \"มดั หม\"่ี มา จากกรรมวธิ กี าร \"มดั \" เสน้ ดา้ ยเป็นกล่มุ ๆ ก่อนการยอ้ มสี ส่วน \"หม\"่ี นน้ั หมายถงึ เสน้ ดา้ ย การมดั หมใี่ ชข้ นั้ ตอนยุ่งยาก ตง้ั แต่การเตรยี มเสน้ ดา้ ย และมดั เพอื่ ยอ้ มสเี ป็นช่วงๆ กระทงั่ ไดส้ ที ตี่ อ้ งการครบถว้ ย ซง่ึ ตอ้ งยอ้ มหลายครงั้ ดว้ ยกนั ในภาคเหนือนิยมเรยี กว่า มดั ก่าน ในต่างประเทศนยิ มใช้ คาว่า ซงึ่ เป็นคาศพั ทภ์ าษาอนิ โดนีเซยี -มลายู อาจมคี วามสบั สนระหว่างคาวา่ มดั หมี่ และ มดั ยอ้ ม ซง่ึ พบไดม้ ากในปจั จบุ นั กล่าวคอื มดั หมี่ นน้ั เป็นการมดั เสน้ ดา้ ยเพอื่ นามาใชท้ อ มหี ลากสี และ มลี วดลายทล่ี ะเอยี ด ส่วน มดั ยอ้ ม นน้ั เป็นการนาผา้ สาเรจ็ มามดั แลว้ ยอ้ มสี (มกั จะยอ้ มครงั้ เดียว สเี ดยี ว) มลี วดลายขนาดใหญ่ ไม่เนน้ ลกั ษณะของ ลวดลายใหช้ ดั เจนนกั

ส้มตำ เป็นเมนูอาหารประจาท้องถนิ่ ของภาคอีสาน มคี วามโดดเดน่ ในเรื่องรสชาตทิ ่ีจดั จ้าน กลน่ิ หอมสดุ ยัว่ ใจจนทาให้นา้ ลายสอ รับประทานแล้วอร่อยแซบเว่อร์ ด้วยความอร่อยและความแซบนเี้อง จึงทาให้เมนสู ้มตามคี นนิยมรับประทานกันกระจายไปท่ัวทุก ภาคของประเทศไทย และยงั ดงั ไกลไปถงึ เมืองนอก แตเ่ คยสงสยั ไหมคะ่ ว่าส้มตามาจากไหนกนั ส้มตำ มตี ้นกาเนิดไม่ชัดเจน แตส่ นั นษิ ฐานวา่ มที ี่มาที่ไปจากทางภาคอีสานของไทยราว ๆ 50 ปีกอ่ นหน้านีเ้ ทา่ นัน้ เพราะในชว่ งสมัย ดงั กลา่ วเป็นชว่ งสงครามเวียดนาม มกี ารสร้างสะพานมติ รภาพขนึ้ เพ่ือลาเลียงยุทโธปกรณต์ า่ ง ๆ พร้อมทงั้ นาเมลด็ พันธ์มุ ะละกอมา ปลูกทงั้ สองข้างทางของถนนมิตรภาพ ด้วยเหตนุ มี้ ะละกอจงึ เป็นพืชทป่ี ลกู ทวั่ ไปในภาคอีสาน และด้วยภมู ปิ ัญญาของชาวอสี านจึง ได้คดิ ค้นอาหารรสแซบ่ จากมะละกอจานนขี้ นึ้ มาน่นั เอง

พณิ หรอื ซงุ เป็นเครอ่ื งดนตรปี ระเภทสายชนดิ ดดี ( Plucked Stringed Instrument) ตระกูลเดยี วกบั ซงึ กระจบั ปี่ จะเข ้ แมนโดลนิ ใชบ้ รรเลงดาเนนิ ทานอง นยิ ม ทามาจากไมท้ อ่ นเดยี ว จงึ เรยี กวา่ ซงุ ปจั จบุ นั เรยี กวา่ พณิ ไมท้ ที่ าพณิ นนั้ ไมท้ ท่ี าพณิ นนั้ ส่วนมากใชไ้ มข้ นนุ เพราะง่ายแก่การขูด เจาะ บาก ไดง้ า่ ย เมอื่ ไมแ้ ก่ เต็มทไี่ มจ้ ะมสี สี ดใสเป็นสเี หลอื งสวยงามตามธรรมชาตพิ ณิ มมี าตงั้ แตส่ มยั สโุ ขทยั อา้ งองิ ไดจ้ ากขอ้ ความในหนงั สอื ไตรภมู พิ ระร่วง ทกี่ ลา่ วถงึ การละเลน่ พน้ื เมอื ง และการเล่นดนตรใี นสมยั นนั้ ว่า ลางจาพวกดดี พณิ และสซี อพงุ ตอและกรบั ฉ่ิง เรงิ ราจบั ระบาเตน้ เล่น ซง่ึ ใหค้ วามหมายว่า พณิ ใช้เลน่ กบั ซอสามสาย ประกอบกบั ฉิ่ง กรบั มาตงั้ แต่สมยั สุโขทยั เป็นราชธานอี กี ประการหนึ่งชาวไทยเรารจู้ กั คาว่าพณิ มาพรอ้ มกบั พทุ ธประวตั ิ ตอนท่ี พระอนิ ทราธริ าชเสด็จลงมาดดี พณิ สามสาย ถวายเพอ่ื เป็นอนุสตแิ ก่พระพทุ ธเจา้ ก่อนทพี่ ระองค์จะตรสั รู้ วา่ การบาเพ็ญเพยี รแสวงหาโฆษกธรรมนนั้ ถา้ เคร่งครดั นกั กเ็ ปรยี บเสอื นการข้นึ สายพณิ ใหต้ รงึ เกนิ ไป แลว้ ย่อมขาด ถา้ หย่อนยานนกั ไม่มเี สยี งไพเราะ แต่ถา้ ทาอยู่ในขน้ั มชั ฌิมาปานกลาง ก็เหมอื นการขน้ึ สายพณิ แตเ่ พยี งพอดีกบั ระดับเสยี ง ยอ่ มใหเ้สยี งดงั กงั วาน ไพเราะ แจม่ ใสดงั ใจความในวรรณคดเี รอื่ ง “พระปฐมสมโพธกิ ถา” พระราชนพิ นธ์ ของ สมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ว่า “ ขณะนนั้ สมเด็จอมรนิ ทราธริ าชทราบ ในขอ้ ปรวิ ติ ก ดงั นนั้ จงึ ทรง พณิ พาทย์ สามสาย มาดดี ถวายพระมหาสตั ย์ สายหนึ่งเคร่งนกั พอดีดก็ขาดออกไปเขา้ ก็ไมบ่ นั ลอื เสยี ง และสายหนึ่งนน้ั ไมเ่ คร่งไม่ หยอ่ นปานกลาง ดีดเขา้ ก็บนั ลอื ศพั ทไ์ พเราะเจรญิ จติ พระมหาสตั ยไ์ ดส้ ดบั เสยี งพณิ ก็ถอื เอานมิ ติ นน้ั ทรงพจิ ารณาเห็นแจง้ วา่ “ มชั ฌิมาปฏบิ ตั นิ น้ั เป็นหนทางพระ โพธญิ าณ ”อสี าน รวมทง้ั การแสดงรว่ มกบั เครอื่ งดนตรสี ากล อกี ดว้ ย

ภมู ิปญั ญาไทยภาคใต้

เรอื กอและ เรอื กอและ มลี วดลาย สวยงาม ประณตี ละเอยี ดละออ่ น เป็นสงิ่ ทสี่ ะทอ้ นความภาคภูมใิ จ ทจี่ ะบอกใหแ้ ก่ผูม้ าเยอื นรวู้ า่ ทน่ี ่ีคอื ดนิ แดนของชาวไทยมสุ ลมิ ผูม้ ี พ้นื ฐาน ในการเขยี นลวดลายบนลาเรอื อนั เป็นเอกลกั ษณม์ าชา้ นาน ลวดลายบนลาเรอื กอและ เป็นการผสมผสานระหว่างลายมาลายู ลายชวาและล ายไทย โดยมสี ดั สว่ นของลายไทยอยูม่ ากทสี่ ดุ เช่น ลายกนก ลายบวั ควา่ บวั หงาย ลายหวั พญานาค หนุมานเหริ เวหา รวม ทง้ั ลายหวั นกในวรรณคดี เช่น “บหุ รงซี งอ” สงิ หปกั ษี (ตวั เป็นสงิ หห์ รอื ราชสหี ์ หวั เป็นนกคาบปลาไว้ทหี่ วั เรอื ) เช่ือกนั ว่ามเี ข้ยี วเลบ็ และมฤี ทธเ์ิ ดชมาก ดานา้ เก่ง จงึ เป็นทนี่ ยิ มของชาวเรอื กอและมา แตโ่ บราณานศิลปะบนลาเรอื เปรยี บเสมอื นวจิ ติ รศลิ ป์บนพล้วิ คลน่ื และเป็นศิลปะเพอ่ื ชีวติ เพราะเรอื กอและมไิ ดอ้ วดโชวค์ วามอลงั การของลวดลายเพยี ง อย่างเดียว ทวา่ ยงั เป็นเครอ่ื งมอื ในการจบั ปลา เล้ยี งชพี ของชาวประมงดว้ ย กล่าวกนั ว่าลูกแม่นา้ บางนราไม่มเี รอื กอและหาปลา ก็ เหมอื นไม่ใส่เส้อื ผา้ ความ นยิ มในการวาดลวดลายขา้ งลาเรอื ใหว้ จิ ติ รตา นบั วนั จะยง่ิ มชี อื่ เสยี งโด่งดงั ไปถงึ ประเทศเพอื่ นบา้ น ปจั จบุ นั เรอื กอและจาลอง เป็นสนิ คา้ ของทรี่ ะลกึ ทม่ี คี ุณค่า สาหรบั ผูม้ าเยอื นบา้ นทอน และกาลงั เป็นทน่ี ยิ มของนกั ท่องเทย่ี วทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ โดยเฉพาะประเทศ พน้ื บา้ นมาเลเซีย ซงึ่ ไดส้ งั่ ซอ้ื เรอื กอและ จาลองเขา้ มามากจนชาวบา้ นผลติ ไมท่ นั จนตอ้ งมกี ารสงั่ จองลว่ งหนา้

ประเพณีชกั พระ ประเพณีชกั พระ เป็น ประเพณีทอ้ งถนิ่ ในภาคใตต้ อนกลาง เป็นประเพณีทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ความศรทั ธาในพระ พทุ ธศาสนา และวถิ ชี ีวติ ชาว ใตท้ มี่ คี วามผูกพนั กบั นา้ ประเพณชี กั พระหรอื ลากพระจดั ขน้ึ ในช่วงออกพรรษาโดยเฉพาะในวนั แรม 1 คา่ เดือน 11 ดว้ ย ความเชือ่ ว่า เป็นวนั ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ เสด็จกลบั จากสวรรค์ชน้ั ดาว ดงึ สล์ งมายงั โลกมนุษย์จงึ มกี ารจดั งานเพอื่ แสดงความยนิ ดีประชาชนจงึ อญั เชิญพระ พทุ ธองคข์ ้นึ ประทบั บนบษุ บกทจ่ี ดั เตรยี มไว้ แลว้ แหแ่ หนไปยงั ทปี่ ระทบั สว่ นใหญ่จะเป็นการจดั ขบวนทางเรอื แตบ่ รเิ วณใดท่ี ห่างไกล แม่นา้ ก็จะจดั พธิ ที างบก

มโนหร์ า โนรา หรอื มโนหร์ า (เขยี นเป็น มโนรา หรอื มโนราห์ ก็ได)้ เป็นการละเลน่ พ้นื เมอื งทส่ี บื ทอดกนั มานานและนยิ มกนั อย่างแพรห่ ลาย ใน ภาคใต้เป็นการละเลน่ ทม่ี ที ง้ั การรอ้ ง การรา บางส่วนเล่นเป็นเรอื่ ง และบางโอกาสมบี างสว่ น แสดงตามคตคิ วามเชื่อทเ่ี ป็นพธิ กี รรม โนรา เป็นศิลปะพน้ื เมอื งภาคใตเ้รยี กวา่ โนรา แต่ คาวา่ มโนราห์ หรอื มโนหร์ า นนั้ เป็นคาทเ่ี กดิ ข้นึ มาเมอ่ื สมยั กรงุ ศรอี ยุธยา โดยการ นาเอา เรอ่ื ง พระสธุ น-มโนราห์ มาแสดงเป็นละครชาตรี จงึ มคี าเรยี กว่า มโนราห์ ส่วนกาเนดิ ของโนรานน้ั สนั นิษฐานกนั ว่าไดร้ บั อทิ ธพิ ลจาก การ รา่ ยราของอนิ เดยี โบราณก่อนสมยั ศรวี ชิ ยั ทม่ี า จากพ่อคา้ ชาวอนิ เดยี สงั เกตไดจ้ ากเครอื่ งดนตรที ่ี เรยี กวา่ เบญ็ จสงั คตี ซง่ึ ประกอบโหมง่ ฉิ่ง ทบั กลอง ป่ี ใน ซง่ึ เป็นเครอื่ งดนตรโี นรา และทา่ ราของโนรา อกี หลายทา่ ทล่ี ะมา้ ยคลา้ ยคลงึ กบั การรา่ ยราของ ทางอนิ เดีย และเรม่ิ มโี นราเป็น กจิ ลกั ษณะข้นึ เมอ่ื ประมาณปี พทุ ธศกั ราชท่ี ๑๘๒๐ ซงึ่ ตรงกบั สมยั สโุ ขทยั ตอนตน้ เช่อื กนั ว่าโนราเกดิ ขน้ึ ครงั้ แรกท่ี หวั เมอื งพทั ลงุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook