ภมู ิปัญญาไทย 4 ภาค โดย ชอ่ื : นางสาว ณฐั ริดา ขา่ วดี ชนั้ ม.5/4 เลขท่ี 16
ภมู ิปัญญาไทยภาคกลาง
บา้ นเรือนไทยภาคกลาง บา้ นเรือนไทยภาคกลาง นัน้ เป็นหน่ึงในสี่รูปแบบของเรือนไทยทัง้ สี่ภาคท่ีได้รบั ความนิ ยมสรา้ งขนึ้ เพอื่ อยู่ อาศยั มาตงั้ แต่สมยั โบราณ เรอื นไทยภาคกลางนัน้ จดั วา่ เป็นเรือนไทยที่ได้ รบั ความนิ ยมมากกว่าเรอื นไทย ภาคอน่ื ๆ เรือนไทยในภาคกลาง ถือเป็นแบบฉบบั ของเรือนไทยเดิมที่เราคนุ้ เคยกนั ดี ในรปู แบบ เรอื นฝาปะกนถอื
ขนมไทย ขนมไทยนัน้ เกิดขึนมานานแลว้ ตงั้ แต่ประเทศไทยยงั เป็นสยามประเทศได้ติดตอ่ คา้ ขายกบั ชาวต่างชาติ เชน่ จีน อินเดีย มาตงั้ แตส่ มยั สุโขทัยโดยสง่ เสริมการขายสินค้าซงึ่ กนั และกนั ตลอดจนแลกเปลี่ยนวฒั นธรรมด้าน อาหารการกินรว่ มไป ดว้ ย ตอ่ มาในสมยั อยุธยาและรตั นโกสินทร์ ไดม้ ีการเจริญสมั พนั ธไมตรีกบั ประเทศตา่ ง ๆ อย่างกวา้ งขวาง ไทยไดร้ บั เอา วฒั นธรรมด้านอาหารของชาติต่าง ๆ มาดดั แปลงใหเ้ หมาะสมกบั สภาพท้องถ่ิน วตั ถดุ ิบท่ีหาได้ เครอื่ งมอื เครือ่ งใช้ ตลอดจนการบริโภคนิ สยั แบบไทย ๆ จนทาให้คนรนุ่ หลงั ๆ แยกไมอ่ อกวา่ อะไรคือขนมที่เป็นไทยแท้ ๆ และอะไรดดั แปลง
เครื่องเบญจรงค์ เครื่องเบญจรงค์ จดั เป็นภาชนะตกแตง่ และเป็นเครอ่ื งประดบั ท่ีงดงามซึง่ มีมาตงั้ แต่สมยั อยธุ ยาจนถีงรตั นโกสินทร์ ลวดลายสีสนั ท่ีเขียนลงภาชนะจะสะทอ้ นความรู้สกึ และอารมณ์ที่แสดงออกถึงความเป็นเอกลกั ษณ์ของคนไทยการทา เครอ่ื งเบญจรงคถ์ ือไดว้ า่ เป็นงานดา้ นศิลปหตั ถกรรมของไทยท่ีมมี า ตงั้ แต่สมยั โบราณ และเป็นงานของช่างฝี มอื การทา เครือ่ งเบญจรงค์ถอื ได้วา่ เป็นงานดา้ นศิลปหตั ถกรรมของไทยที่มีมา ตงั้ แตส่ มยั โบราณ และเป็นงานของช่างฝี มอื ท่ีทาขนึ้
ภมู ปิ ัญญาไทยภาคเหนอื
รม่ บอ่ สรา้ ง รม่ บอ่ สรา้ ง เป็นสินคา้ พืน้ เมอื งท่ีไดร้ บั ความนิ ยมอย่างมากในหมนู่ ักท่องเที่ยวทัง้ ชาวไทยและชาว ตา่ งประเทศ สาเหตุที่เรียกวา่ รม่ บอ่ สร้างเพราะรม่ น้ีผลิตกนั ท่ีบา้ นบอ่ สร้าง สมยั กอ่ นชาวบา้ นจะทารม่ กนั ใตถ้ นุ บา้ น แล้วนาออกมาวางเรียงรายเตม็ กลางลานบา้ นเพอื่ ผงึ่ แดดใหแ้ ห้ง สีสนั และลวดลายบน รม่ นัน้ สะดดุ ตาผพู้ บเหน็ มที งั้ หมด 3 ชนิ ดดว้ ยกนั คือ รม่ ที่ทาดว้ ยผา้ แพร ผา้ ฝ้ าย และกระดาษสา แต่ ละชนิ ดมีวิธีทาอย่างเดียวกนั ในสมยั โบราณ มีพระธุดงค์รปุ หนึ่งมาปักกลดที่ตาบลบอ่ สรา้ ง อาเภอสนั
ประเพณีสืบชะตา ชาว ล้านนามีความเชอ่ื วา่ การทาพิธีสืบชะตาจะชว่ ยตอ่ อายุให้ตน เอง ญาติพ่ีน้อง และบา้ นเมอื งให้ยืนยาว ทาให้ เกิดความเจริญรงุ่ เรือง และความเป็นสิริมงคล โดยแบง่ การสบื ชะตาแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ - การสืบชะตาคน นิ ยมทากนั หลายโอกาส เชน่ วนั เกิด วนั ท่ี - ได้รบั ยศตาแหน่ง วนั ขน้ึ บา้ นเมอื ง - การ สืบชะตาบา้ น เป็นการสืบชะตาชมุ ชนหรอื หมบู่ า้ น เพ่อื ใหเ้ กิดสิริมงคลปัดเป่ าทุกภยั ตา่ งๆ นิ ยมจดั เมอ่ื ผา่ น
ประเพณีอ้มุ พระดาน้า เกิดจากตานานที่เลา่ ขานกนั มากวา่ 400 ปี ครงั้ น้ีมชี าวบา้ นกลุ่มหนึ่งมอี าชีพหาปลาขาย และไดไ้ ปหาปลาท่ีแมน่ ้าป่ า สกั เป็นประจาทุกวนั อย่มู าวนั หนึ่งไดเ้ กิดเรื่องที่ไมม่ ใี ครหาคาตอบได้ เพราะนอกจาจะไมม่ ใี ครจบั ปลาได้สกั ตวั แลว้ และแล้วจู่ๆ เหตุการณ์ประหลาดกเ็ กิดขน้ึ บริเวณวงั มะขามแฟบ (ไมร้ ะกา) สายน้าที่กาลงั ไหลเชี่ยวกลบั หยดุ นิ่ งและ ไมน่ านกม็ ีพลายน้าผดุ ขนึ้ มากอ่ นจะดนั ใหพ้ ระพุทธรปู พน้ ข้ึนมาจากน้า แสงระยิบจากริ้วน้า เป็นเหมอื นแสงสะท้อน
ภมู ปิ ัญญาไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ประเพณีบญุ บงั้ ไฟ ประเพณีบุญบงั้ ไฟ เป็นหนึ่งในประเพณีฮีตสิบสองของชาวอีสาน โดยประเพณีน้ีมคี วามเช่ือเร่อื งพระยาแถนเทวดาผู้ บนั ดาลฝน การจดุ บงั้ ไฟกเ็ พ่อื ขอฝน เพ่ือใหพ้ ืชพนั ธุธ์ ญั ญาหารอดุ มสมบูรณ์ กาหนดการจดั งานนิ ยมจดั ในเดอื น 6 หรอื เดือน 7 ตกในราวเดอื นพฤษภาคม อนั เป็นชว่ งฤดูทานาพอดี
ฟ้ อนภไู ท ภไู ท หรือผไู้ ท เป็นกลมุ่ ชาติพนั ธทุ์ ่ีใหญร่ องลงมาจากไทยและลาว ตามตวั เลขที่มีปรากฏราในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือมพี วกผไู้ ทอยู่ประมาณสองแสนคน กลมุ่ ท่ีใหญ่ท่ีสดุ อยูแ่ ถบลุม่ แมน่ ้าโขงและเทือกเขาภูพาน ไดแ้ ก่ จงั หวดั นครพนม สกลนคร เลย และกาฬสินธุ์ ผไู้ ทเป็นคนที่ทางานขยนั ขนั แขง็ มธั ยสั ถ์ และโดยทวั่ ไปแล้วเจริญก้าวหน้ามากกว่าพวกไทย-ลาวท่ีอยูใ่ กลเ้ คียง เป็น กลุ่มชาติพนั ธท์ุ ี่พฒั นาได้เรว็ นอกจากนี้ยงั ปรากฏว่าชาวผไู้ ทยงั คงรกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณี เดิมของตนไวไ้ ด้
การทอผ้า ชาวอีสานถือว่าการทอผา้ เป็นกิจกรรมยามว่างหลงั จากฤดูการทานา หรอื ว่างจากงานประจาอ่ืน ๆ ดงั นัน้ ใตถ้ นุ บา้ นของชาวอีสานในอดีตจะมีการกางหกู ทอผา้ กนั ไวแ้ ทบทุกครวั เรือน โดยผหู้ ญิงในวยั ตา่ ง ๆ จะสบื ทอดการทอ ผา้ ตงั้ แตเ่ ดก็ โดยผา้ ทอมอื เหลา่ น้ีทาจากเส้นใยธรรมชาติ เช่น ผา้ ฝ้ าย และผา้ ไหม และจะถกู นาไปใช้ตดั เยบ็ ทาเป็น
ภมู ิปัญญาไทยภาคใต้
ประเพณีชกั พระ ประเพณีชกั พระ เป็น ประเพณีท้องถ่ินในภาคใตต้ อนกลาง เป็นประเพณีท่ีเกี่ยวข้องกบั ความศรทั ธาในพระ พุทธ ศาสนา และวิถีชีวิตชาวใต้ท่ีมคี วามผกู พนั กบั น้า ประเพณีชกั พระหรอื ลากพระจดั ข้นึ ในช่วงออกพรรษาโดยเฉพาะใน วนั แรม 1 คา่ เดอื น 11 ดว้ ย ความเช่อื วา่ เป็นวนั ที่พระพุทธเจา้ เสดจ็ กลบั จากสวรรค์ชนั้ ดาว ดงึ ส์ลงมายงั โลกมนุษย์ จึง มีการจดั งานเพอ่ื แสดงความยินดี ประชาชนจงึ อญั เชิญพระพทุ ธองคข์ น้ึ ประทบั บนบษุ บกท่ีจดั เตรียมไว้ แลว้ แห่แหนไป
มโนหร์ า โนรา หรอื มโนห์รา (เขียนเป็น มโนรา หรือ มโนราห์ กไ็ ด)้ เป็นการละเล่นพ้ืนเมอื งที่สืบ ทอดกนั มานานและนิ ยมกนั อย่างแพร่หลายใน ภาคใต้ เป็นการละเลน่ ท่ีมที งั้ การรอ้ ง การรา บางส่วนเล่นเป็นเรื่อง และบางโอกาสมี บางสว่ น แสดงตามคติความเชอื่ ท่ีเป็นพิธีกรรม โนรา เป็นศิลปะพ้ืนเมอื งภาคใต้เรียกว่า โนรา แต่ คาว่า มโนราห์ หรือ มโนห์รา นัน้ เป็นคาท่ีเกิด ขน้ึ มาเมอ่ื สมยั
เรือกอและ เรอื กอและ มีลวดลาย สวยงาม ประณีตละเอียดละออ่ น เป็นส่ิงท่ีสะท้อนความภาคภมู ิใจ ท่ีจะบอกใหแ้ กผ่ มู้ าเยือนรู้ ว่า ที่นี่คอื ดินแดนของชาวไทยมสุ ลิมผมู้ พี นื้ ฐาน ในการเขียนลวดลายบนลาเรืออนั เป็นเอกลกั ษณ์มาช้านาน ลวดลายบนลาเรอื กอและ เป็นการผสมผสานระหวา่ งลายมาลายู ลายชวาและลายไทย โดยมสี ดั ส่วนของลายไทย อยมู่ ากที่สดุ เชน่ ลายกนก ลายบวั ควา่ บวั หงาย ลายหวั พญานาค หนุมานเหิรเวหา รวม ทงั้ ลายหวั นกในวรรณคดี เชน่ “บุหรงซีงอ” สิงหปักษี (ตวั เป็นสิงห์หรอื ราชสีห์ หวั เป็นนกคาบปลาไว้ ท่ีหวั เรอื ) เชื่อกนั วา่ มีเข้ียวเลบ็ และมีฤทธ์ิ เดชมาก ดาน้าเกง่ จงึ เป็นที่นิ ยมของชาวเรอื กอและมาแต่โบราณานศิลปะบนลาเรอื เปรียบเสมอื นวิจิตรศิลป์ บน
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: