Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังสมองของตำบล กศน.อำเภอเชียงของ ปี 2565

คลังสมองของตำบล กศน.อำเภอเชียงของ ปี 2565

Description: Brain Bank 2022

Search

Read the Text Version

คำนำ คลงั สมองของตำบล เป็นคลงั ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ินระดับตำบลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้แก่ประชาชน รวมทั้งเป็นการสืบสานและ อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณี ที่สร้างขึ้นจากประสบการณ์ และความรอบรู้ รวมทั้งที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษไว้ไม่ให้สูญหายไปจากชุมชน และเพื่อเผยแพร่ ใหแ้ ก่ผู้ท่ตี อ้ งการใช้ประโยชน์ในการดำเนินงานต่อไป คลังสมองของตำบลของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเชยี งของฉบับน้ี ประกอบดว้ ย คลงั สมองของตำบล 7 ตำบล ไดแ้ ก่ 1. คลังสมองของตำบลเวียง การแปรรปู สาหร่ายแม่น้ำโขง 2. คลังสมองของตำบลรมิ โขง การทำกระเป๋าผา้ 3. คลงั สมองของตำบลสถาน ผลิตภณั ฑ์ไม้กวาดดอกหญา้ 4. คลังสมองของตำบลศรดี อนชัย ผา้ ทอไทลอื้ ศรีดอนชยั 5. คลังสมองของตำบลครงึ่ ผลิตภณั ฑ์จากหวาย 6. คลงั สมองของตำบลบญุ เรอื ง ผลติ ภัณฑจ์ ากกา้ นมะพร้าว 7. คลังสมองของตำบลห้วยซ้อ ผลติ ภัณฑ์จากเสน้ สานพลาสตกิ โสภา กายสิทธิ์ บรรณารักษป์ ฏิบัตกิ าร ผู้รวบรวม ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... (นายประจันทร์ อนิ ประสงค์) ผูอ้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเชยี งของ

คำชีแ้ จง นยิ ามศพั ท์ 1. ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ หมายถึง องค์ความรู้ทเ่ี กิดจากส่ังสมความรู้เปน็ รากฐานความรขู้ องชาวบ้าน ทสี่ ร้างขน้ึ จากประสบการณแ์ ละความรอบรู้ รวมทัง้ ได้รบั การถา่ ยทอดมาจากบรรพบุรุจากร่นุ ส่รู ุ่น จนเป็นวถิ ี ชวี ติ มรดกทางวฒั นธรรมที่มีคณุ ค่า และเปน็ อัตลักษณข์ องแตล่ ะท้องถ่นิ รวมถึงองค์ความรู้ที่ได้มีการปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงใหเ้ ข้ากบั สภาวะแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมท่มี ีการเปล่ียนแปลง เพือ่ นำมาใช้ประโยชน์ ในการดำรง ชวี ติ ได้อยา่ งเหมาะสมของผ้คู นแต่ละยคุ แตล่ ะสมัย 2. ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ แบง่ ออกเปน็ 11 สาขา ดังน้ี 2.1 สาขาเกษตรกรรม หมายถงึ ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และเทคนคิ ดา้ นการเกษตรกับเทคโนโลยีการพัฒนาบนพน้ื ฐานคุณคา่ ด้ังเดิม ซ่ึงคนสามารถพ่ึงพาตนเองในภาวการณต์ ่าง ๆ ได้ เช่น การทำเกษตรแบบผสมผสาน การแก้ปัญหาการเกษตรดา้ นการตลาด การแกป้ ัญหาด้านการผลิต การแก้ไข โรคและแมลง และการรจู้ ักปรับใช้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับการเกษตร 2.2 สาขาอุตสาหกรรมและหัตกรรม (ด้านการผลติ และการบริโภค) หมายถึง การรจู้ ักประยกุ ต์ ใชเ้ ทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ นการแปรรูปผลผลติ เพือ่ ชะลอการนำเขา้ ตลาด เพื่อแกป้ ัญหาด้านการบรโิ ภคอยา่ ง ปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อนั เปน็ กระบวนการให้ชุมชนทอ้ งถนิ่ สามารถพึง่ ตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทัง้ การผลติ และการจัดจำหน่ายผลผลิตทางหตั ถกรรม เชน่ การรวมกลมุ่ โรงงานยางพารา กลุม่ โรงสี กลุ่มหตั ถกรรม เป็นตน้ 2.3 สาขาการแพทยแ์ ผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกันและรกั ษาสุขภาพ ของคนในชุมชน โดยเน้นใหช้ มุ ชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสขุ ภาพและอนามยั ได้ 2.4 สาขาการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม หมายถงึ ความสามารถเกย่ี วกับ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทั้งอนรุ ักษ์ การพัฒนา และใชป้ ระโยชนจ์ ากคุณคา่ ของทรัพยากร ธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อมอย่างสมดลุ และยง่ั ยนื 2.5 สาขากองทนุ และธุรกิจชมุ ชน หมายถงึ การจัดการดา้ นสมทบและบริการกองทนุ ในการประกันคุณภาพชีวติ ของคน ใหเ้ กิดความม่นั คงทางเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม 2.6 สาขาศิลปกรรม หมายถึง ผู้ทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มผี ลงานโดดเด่น 2.6.1 ดา้ นจติ รกรรม คือ การวาดภาพฝาผนัง การเขยี นภาพลงผา้ หน้าผา การสักลาย ฯลฯ 2.6.2 ดา้ นประตมิ ากรรม คือ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และมฝี ีมอื ใน การป้นั แกะสลกั การหล่อ เช่น หลอ่ พระพทุ ธรูป ปั้นโอง่ สลักลวดลาย ประดับต้นเทียน สิ่งกอ่ สร้าง ฯลฯ 2.6.3 ด้านสถาปัตยกรรม คือ ผู้ทีม่ ีความรู้ ความสามารถ ประสบการณเ์ รื่องการก่อสรา้ ง อาคาร บา้ นเรือน โบสถ์ ศาลา ศาลพระภมู ิ ฯลฯ 2.6.4 ด้านหัตถกรรม (งานฝีมอื ชา่ ง) คือ ผู้ทมี่ ีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มผี ลงานในสง่ิ ที่ทำมือ เช่น เครอ่ื งจกั สานตา่ ง ๆ 2.6.5 ดา้ นงานประดิษฐ์ คือ ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ด้านการจัดทำ ผลงานเลยี นแบบธรรมชาติ เช่น การประดษิ ฐ์ดอกไม้ บายศรี การแต่งลวดลายบนแผ่นผ้า ฯลฯ

2.6.6 ด้านดนตรี นาฏศลิ ป์และการเลน่ พื้นบ้าน คอื ผู้ทมี่ ีความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ ด้านการเลน่ ดนตรี การขบั ลำ การฟ้อนรำ การคดิ วิธีการเลน่ พืน้ บา้ น หมอลำ การเล่นหนงั ปราโมทัย ลเิ ก เพลงกนั ตรึม เจรียง ฯลฯ 2.7 สาขาการจัดการองคก์ ร หมายถงึ ความสามารถในการบรหิ ารจดั การดำเนนิ งานขององค์กร ชุมชนต่าง ๆ ใหส้ ามารถพัฒนาและบรหิ ารองค์กรของตนเองไดต้ ามบทบาทหน้าท่ีขององคก์ ร เชน่ การจัดการ องค์กรของกลมุ่ แม่บา้ น 2.8 สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถงึ ความสามารถในการผลติ ผลงานเกยี่ วกับภาษา ท้งั ภาษาถิน่ ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช้ภาษา ตลอดท้งั ดา้ นวรรณกรรมทกุ ประเภท 2.9 สาขาศาสนาและประเพณีหมายถงึ ความสามารถในการประยุกต์และปรบั ใชห้ ลกั ธรรม คำสอนทางศาสนา ความเชอ่ื และประเพณีดั้งเดิมทม่ี ีคุณคา่ ใหเ้ หมาะสมต่อการประพฤติปฏบิ ตั ิใหบ้ งั เกดิ ผลดี ตอ่ บคุ คลและสง่ิ แวดล้อม เชน่ การถา่ ยทอดหลักธรรมทางศาสนา การบวชป่า การประยุกตป์ ระเพณี บญุ ประทายข้าว 2.10 สาขากองทนุ และสวัสดิการ หมายถงึ การจดั การด้านสมทบและบริการกองทุนใน การประกนั คณุ ภาพของคน ใหเ้ กดิ ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม 2.11 สาขาการศึกษา หมายถึง ความสามารถในการถ่ายทอด การอบรมเลีย้ งดู การบม่ เพาะ การสั่งสอน การสร้างสื่อและอปุ กรณ์ การวดั ความสำเรจ็

บ้านหาดไคร้ หมู่ 7 ต.เวียง สาขา พาณชิ ยกรรม อ.เชียงของ จ.เชียงราย 57140 062032-5172 การแปรรูปสาหร่ายแม่นา้ โขง @Chiang Khong (นไากง)มานี จินะราช บ้านหาดไคร้ หมู่ 7 ต.เวียง อ.เชียงของ จ.เชียงราย 57140 ไก/เทา อยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนริมน้าโขงมาช้านาน กลุ่มผู้หญิงจะลงเก็บ หรือ “จก” ไกเป็ นหลัก และนับว่าเป็ นการหาอยู่หากินท่ีสนุกสนานเม่ือ จากข้อมูลของนกั วิจยั ชาวบ้านท่ีเชียง รวมกันไปหลายคน คนภาคเหนือนิยมกินไกเป็ นอย่างมาก และไกแม่น้า ของ-เวียงแก่ง เชียงราย มีการจาแนก โขงขึน้ ช่ือว่าเป็ นไกท่ีอร่อย หอม กว่าไกที่อื่น อาหารที่นิยมทาคือ เจ๋ียวไก ไก ออกเป็ น 4 ประเภท คือ (1) ไกหิน อกี ท้ังยังมีการแปรรูปเป็ นไกแผ่นใส่งา ไกทรงเคร่ือง และนา้ พริกไก เป็ นท่ี หรือไกไหม เส้ นยาวคล้ายเส้ นผม นิยมของนักท่องเท่ียว นอกเหนือจากนี้ยังมีการคิดพฒั นาทาเป็ นคุกกีไ้ ก ชอบอยู่กับหินและจุดท่ีน้าไหลแรง และเค้กไกอีกเช่นกัน ในภาคอีสานน้ันต่างกับทางเหนือเร่ืองความนิยม ซึ่งชาวบ้านนยิ มใช้ไกชนดิ นีป้ ระกอบ กินไกน้าโขง โดยคนรุ่นหลังมานี้มองว่าสาหร่ายแม่น้าโขงสกปรก ส่วน อาหาร (2) ไกต๊ะ คล้ายกับไกหินแต่ หน่ึงเพราะติดภาพท่ีมีคนตายลอยมากับน้าโขงในช่ วงท่ีลาวมีสงคราม ชอบอยู่กับน้าน่ิงและในห้วย (3) ไก กลางเมืองมาจนถึงช่วงท่ีมีการปฏวิ ัติ ปี 2518 อย่างไรก็ตามยังมีการใช้ไก ค่าว เส้นจะยาวและเหนียวกว่าไกหิน หรือไคตามชื่อเรียกท้องถิ่นในแกงอ่อม และใช้เทาทาลาบ แม้ยังไม่ค่อยมี และ (4) ไกหางหมาซ่ึงมีลักษณะ การเอามาประยกุ ต์ทาเป็ นแผ่น นา้ พริก หรือขนมเช่นภาคเหนือ พเิ ศษคือมเี ส้นเลก็ ๆ แตกออกมาคล้าย หางหมา และจะอยู่รวมกบั ไกหิน สนบั สนุนวทิ ยากรด้านศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน เป็ นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดงู านเก่ียวกบั ศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน ชื่อครู นายทวีศักด์ิ ชอบจิตต์ กศน. ตาบลเวยี ง อ.เชียงของ จ.เชียงราย เบอร์โทรศัพท์ : 062-032-5172

สาขา ศิลปกรรม การทากระเป๋ าผ้า นางฐิตมิ น อูปแก้ว 178 ม.8 ต.ริมโขง อ.เชียงของ เป็ นผลิตภณั ฑ์ที่ทาจากผ้าฝ้าย จ. เชียงราย 57140 มีความคดิ สร้างสรรค์สามารถออกแบบลวดลายเองได้ 0650952291 ประยุกต์ผลิตภณั ฑ์จากผ้าทอไทลอื้ ท่ยี งั คงเอกลกั ษณ์นไี้ ว้ได้ การใช้กระเป๋ าผ้าสามารถลดภาวะโลกร้อนได้ 0650952291 ส่งเสริมสมาชิกกล่มุ ให้มีอาชีพและรายได้เสริม เผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทลือ้ มน ของฝากไทลอื้ ผลิตภณั ฑ์มีความสวยงาม ราคาเหมาะสมกับกล่มุ ผ้บู ริโภค มีการบริหารจดั การภายในกล่มุ ที่เป็ นระบบสามารถตรวจสอบได้ หมู่บ้านหาดบ้ายและบ้านหาดทราย ทอง เป็ นวัฒนธรรมของคนไทลื้อ สนบั สนุนวิทยากรด้านการศึกษาต่อเนื่อง มีผ้าทอไทลื้อท่ีมีลวดลายสวยงามอนั เป็ นแหล่งเรียนรู้เกย่ี วกับการศึกษาต่อเน่ือง เป็ นเอกลักษณ์ กลุ่มทาของชาร่ วย ไทลื้อก่อต้ังขึน้ ในปี พ.ศ.2560 โดยมี นางฐิติมน อูปแก้ว เป็ นผู้ก่อต้ัง เป็ น การรวบรวมกลุ่มสตรีหมู่บ้านหาดบ้าย แ ล ะ บ้ า น ห า ด ท ร า ย ท อ ง ที่ มี ปั ญ ห า ด้านสุขภาพท่ีไม่สามารถทางานหนกั หรือทาการเกษตรได้ มารวมกลุ่ม ส ร้ าง สร ร ค์ ผลิต ภัณฑ์ ต่ าง ๆ ที่ ประยุกต์จากผ้าทอไทลื้อ มาจัดทา เป็ นของชาร่วยต่าง ๆ เช่น กระเป๋ าผ้า ซ่ึงมีราคา 350 – 400 บาท สามารถ ซื้อเป็ นของฝากและใช้เองได้ ชื่อครู นายอดุลย์ อินนันใจ กศน.ตาบลริมโขง อ.เชียงของ จ.เชียงราย เบอร์โทรศัพท์ : 080-0335878

สาขา หัตถกรรม ผลติ ภัณฑ์ไม้กวาดดอกหญ้า นางบานเยน็ ตาอนิ ต๊ะ 185/2 หมู่ 10 ต.สถาน เป็ นผลิตภณั ฑ์ไม้กวาดดอกหญ้า อ.เชียงของ จ.เชียงราย ความหลากหลายของผลิตภณั ฑ์ 0979760320 เป็ นท่ีต้องการของกลุ่มอาชีพ @itim_x มกี ารจัดต้ังเป็ นวสิ าหกิจชุมชน Phatcharin srisook มีการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ให้เหมาะสมกบั ผู้บริโภคและกล่มุ เป้าหมาย มกี ารประชาสัมพนั ธ์และแนะนาสินค้าจากการใช้ตัวผลิตภณั ฑ์ กลุ่มไม้กวาดบ้านน้าม้าใต้ ก่อต้ังขึ้น การบรรจภุ ณั ฑ์สินค้ามีความโดดเด่นและทนั สมยั เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมีประธานกลุ่ม ผลติ ภัณฑ์มคี วามปลอดภยั และราคาเหมาะสมกบั กล่มุ ผู้บริโภค คือ นางบานเย็น ตาอินต๊ะ เป็ นผู้มี มีการบริหารจดั การภายในกลุ่มท่ีเป็ นระบบสามารถตรวจสอบได้ ประสบการณ์ในการทาไม้กวาดดอกหญ้า สมาชิกกล่มุ มรี ายได้จากการขายผลติ ภัณฑ์ภายในกลุ่มอย่างต่อเน่ือง และได้ผ่านการฝึ กอบรมงานอาชีพ งานเฉพาะทาง มากมายจากหลาย ๆ สนับสนุนวิทยากรด้านศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน สถานท่ี มีความสนใจในงานอาชีพ จึง เป็ นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานเกยี่ วกบั ศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน ได้รวบรวมสมาชิกในหมู่บ้านที่สนใจ เป็ นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริหารจดั การเพื่อการจัดต้งั เป็ นวิสาหกจิ การทาไม้กวาดมาร่วมกันจัดต้ังกล่มุ ขนึ้ ชุมชนของ กศน.ตาบลสถาน แ ล ะ จ ด ท ะ เ บี ย น รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ปี 2560 ส ม า ชิ ก มี ท้ั ง ห ม ด 24 ค น จดทะเบียนโดยใช้ บ้านเลขที่ 185 / 2 ห มู่ ท่ี 10 บ้ า น น้ า ม้ า ใ ต้ ต . ส ถ า น อ.เชียงของ จ.เชียงราย ชื่อครู นางพชั รินทร์ ศรีสุข กศน.ตาบลสถาน อ. เชียงของ จ.เชียงราย เบอร์โทรศัพท์ : 087-5459790

สาขา หัตถกรรม ผ้าทอไทลือ้ ศรีดอนชัย นางแว่นแก้ว ภิรมย์พลดั กลุ่มสตรีทอผ้าศรีดอนชัย 41/2 หมู่ 15 ลายผ้าทอผ้าศรีดอนชัย เป็ นลายเอกลักษณ์ของชาวไทลือ้ เรียกว่า ลายน้า ต.ศรีดอนชัย อ.เชียงของ จ.เชียงราย ไหล ภาษาไทลื้อเรียกว่า ซ่ินเกาะล้วง มีหลากหลายลาย เช่น ลายเกาะ 0897596496 พาน ลายเกาะขนั ลายเกาะเครือ คือ เถาวัลย์ต้นไม้ ลายงูลอย (งูลอยอย่ใู น 0897596496 น้า) และลายเกาะยอดหน่อไม้ ซึ่งเป็ นลายจินตนาการของคนเฒ่าคนแก่ ที่ไปในป่ า เหน็ หน่อไม้ก็เอามาเป็ นลายผ้า ถือเป็ นภมู ิปัญญาแบบชาวบ้าน กล่มุ สตรีทอผ้าศรีดอนชัย การแต่งกายที่เป็ นเอกลักษณ์ไทลื้อ สนบั สนุนวทิ ยากรด้านศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน คือ ผ้าซิ่นของผู้หญิงไทลื้อท่ีเรียกว่า เป็ นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานเกี่ยวกับศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน “ซิ่นตา” ซึ่งเป็ นผ้าซิ่นท่ีมี 2 ตะเข็บ เป็ นแหล่งเรียนรู้บ้านหนงั สือชุมชน ของ กศน.ตาบลศรีดอนชัย มีลักษณะโครงสร้างประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ หัวซ่ินสีแดง ตัวซ่ินลาย ขวางหลากสีต่อตนี ซิ่นสีดา ความเด่น อยู่ท่ีตัวซ่ินซ่ึงมีริ้วลายขวางสลับสี สดใส และตรงช่วงกลางมีลวดลายที่ ทอด้วยเทคนิค ขิดจก เกาะหรือล้วง เป็ นลายรูปสัตว์ในวรรณคดี ลาย พรรณพฤกษา และลายเรขาคณิต สี สั นที่งดงามแปลกตา และเป็ น อั ต ลั ก ษ ณ์ อั น โ ด ด เ ด่ น เ ฉ พ า ะ ก ลุ่ ม มีแตกต่างจากกลุ่มชาติพันธ์ุไทกลุ่ม อื่นๆ ชื่อครู นางสาวศิวลกั ษณ์ คาปา กศน.ตาบล ศรีดอนชัย อ.เชียงของ เชียงราย เบอร์โทรศัพท์ : 090-3163659

สาขา หัตถกรรม ผลติ ภณั ฑ์จากหวาย นายประพฒั น์ แก้วตา กาดชุมชนตาบลคร่ึง หมู่ 4 ต.คร่ึง เป็ นผลิตภณั ฑ์หวาย อ.เชียงของ จ.เชียงราย 57140 ความหลากหลายของผลติ ภณั ฑ์ 0846094121/0844899109 เป็ นทีต่ ้องการของกลุ่มอาชีพ @nativeshop มกี ารจดั ต้งั เป็ นวิสาหกิจชุมชน กลุ่มจกั สานหวาย บ้านหลวง หมู่ 4 มกี ารพฒั นาผลิตภณั ฑ์ให้เหมาะสมกบั ผ้บู ริโภคและกล่มุ เป้าหมาย ต.ครึ่ง อ.เชียงของ จ.เชียงราย มกี ารประชาสัมพนั ธ์และแนะนาสินค้าจากการใช้ตัวผลิตภณั ฑ์ การบรรจภุ ัณฑ์สินค้ามคี วามโดดเด่นและทันสมัย บ้านหลวง คือชุมชนท่ีมีป่ าหวายมาก ผลติ ภณั ฑ์มคี วามปลอดภยั และราคาเหมาะสมกบั กล่มุ ผู้บริโภค จึงมีอาชีพตัดหวายควบคู่กับกลุ่ม มกี ารบริหารจดั การภายในกล่มุ ทเี่ ป็ นระบบสามารถตรวจสอบได้ จักสาน หวายในหมู่บ้านหลวง ท่ีมี สมาชิกกลุ่มมรี ายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ภายในกล่มุ อย่างต่อเน่ือง มานานกว่า 30 ปี กลุ่มจักสานหวาย กาดชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านหลวง ตาบล สนบั สนุนวทิ ยากรด้านศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน คร่ึง อาเภอเชียงของ จงั หวดั เชียงราย เป็ นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานเก่ยี วกับศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน เ ริ่ ม จั ด ต้ั ง ก ลุ่ ม โ ด ย ก า ร น า ข อ ง เป็ นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริหารจดั การเพื่อการจดั ต้งั เป็ นวสิ าหกจิ นายประพฒั น์ แก้วตา ประธานกลุ่ม ชุมชนของ กศน.ตาบลคร่ึง เป็ นการรวมตัวของคนในชุมชน ยั ง อ นุ รั ก ษ์ ก า ร จั ก ส า น ห ว า ย แ บ บ ภูมิปัญญาด้ังเดิม หวายท่ีได้แต่ละ ขนาด ก็เหมาะกับชิ้นงาน ของผู้เฒ่า แก่ที่มีประสบการณ์มาช้านาน จึงได้ งานทปี่ ราณตี สวยงาม และมีคุณภาพ แ ข็ ง แ ร ง ข อ รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น จ า ก ช่ือครศู ูนนยา์งสาวนันทพร บดุ ดี กศน.ตาบลครึ่ง อ. เชียงของ จ.เชียงราย เบอร์โทรศัพท์ : 088-2608815

สาขา หัตถกรรม ผลติ ภณั ฑ์จากก้านมะพร้าว นางอารี คายา โรงเรียนผ้สู ูงอายเุ ทศบาลตาบล เป็ นผลติ ภณั ฑ์ก้านมะพร้าวผสมหวายเทยี ม บุญเรือง อ.เชียงของ จ.เชียงราย 57140 ความหลากหลายของผลติ ภณั ฑ์ 0642584470 เป็ นที่ต้องการของกล่มุ อาชีพ @ampar789 มีการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ให้เหมาะสมกับผู้บริโภคและกลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนผู้สูงอายเุ ทศบาลตาบล มกี ารประชาสัมพนั ธ์และแนะนาสินค้าจากการใช้ตวั ผลิตภณั ฑ์ บุญเรือง อ.เชียงของ จ.เชียงราย การบรรจภุ ณั ฑ์สินค้ามีความโดดเด่นและทันสมัย ผลติ ภณั ฑ์มคี วามปลอดภยั และราคาเหมาะสมกบั กล่มุ ผู้บริโภค โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตาบลบุญเรือง มีการบริหารจัดการภายในกล่มุ ทเี่ ป็ นระบบสามารถตรวจสอบได้ อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย สมาชิกกล่มุ มรี ายได้จากการขายผลิตภณั ฑ์ภายในกล่มุ อย่างต่อเน่ือง ได้เล็งเห็นความสาคัญการประยุกต์ใช้ สิ่ ง ข อ ง จาก วัสดุอุป ก ร ณ์ ใน ท้ อ ง ถิ่ น สนบั สนุนวิทยากรด้านศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน จึ ง ไ ด้ มี ก า ร จั ก ส า น ต ะ ก ร้ า ด้ ว ย เป็ นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานเกย่ี วกับศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน ทางมะพร้ าว เป็ นความรู้ ความคิด เป็ นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริหารจดั การของ กศน.ตาบลบญุ เรือง ประสบการณ์ ที่สื บทอดกันมาต้ังแต่ บรรพบุรุษ ปัจจุบันได้พัฒนารูปทรง ผลิตภัณฑ์หลากหลายมากยิง่ ขนึ้ ชื่อครู นางสาวราไพพรรณ ยอดสุวรรณ กศน.ตาบลบุญเรือง อ. เชียงของ จ.เชียงราย เบอร์โทรศัพท์ : 064-2584470

สาขา หัตถกรรม ผลติ ภณั ฑ์จากเส้นสานพลาสตกิ นางสาววรางค์ภรณ์ ปาโท้ 1 หมู่ 20 ต.ห้วยซ้อ อ.เชียงของ เป็ นผลิตภณั ฑ์จากเส้นสานพลาสติก เชือกมัดฟาง ไหมเชือกร่ม จ.เชียงราย 57140 ความหลากหลายของผลิตภณั ฑ์ 0826494192 เป็ นท่ตี ้องการของกลุ่มอาชีพ 0826494192 มกี ารจัดต้ังเป็ นวิสาหกจิ ชุมชน ลาวณั ย์ มหาวรรณ มกี ารพฒั นาผลิตภณั ฑ์ให้เหมาะสมกับผู้บริโภคและกล่มุ เป้าหมาย มีการประชาสัมพนั ธ์และแนะนาสินค้าจากการใช้ตวั ผลติ ภณั ฑ์ สมาชิกกลุ่มตาบลห้วยซ้อ ส่วนใหญ่ ผลติ ภณั ฑ์มรี าคาเหมาะสมกับกล่มุ ผ้บู ริโภค มีอาชีพการเกษตร หากว่างเว้นจาก สมาชิกกล่มุ มรี ายได้จากการขายผลติ ภณั ฑ์ภายในกล่มุ อย่างต่อเน่ือง ภารกิจการเกษตรก็ไม่มีงานทา จึงได้ มกี ารบริหารจัดการภายในกล่มุ ทีเ่ ป็ นระบบสามารถตรวจสอบได้ รวมกลุ่มกันในกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ในการสานโดยใช้วัสดุในการสาน คือ สนบั สนุนวทิ ยากรด้านศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน เส้นสานพลาสติก เชือกมัดฟาง ไหม เป็ นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานเกีย่ วกับศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน เชือกร่ม ออกขายในเขตพื้นที่ตาบล เป็ นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริหารจดั การเพื่อการจดั ต้ังเป็ นวสิ าหกิจชุมชน ห้วยซ้อและตาบลใกล้เคียง รวมไปถึง ของ กศน.ตาบลห้วยซ้อ การออกร้ านแสดงสิ นค้ าในงาน ประจาอาเภอ และแสดงสินค้าในงาน ประจาจังหวัด ตามห้วงระยะเวลา ของกิจกรรมต่างๆ เพ่ือเป็ นรายได้ เสริมให้กบั สมาชิกกลุ่ม โดยมีนางสาว วรางค์ภรณ์ ปาโท้ เป็ นหัวหน้ากล่มุ ช่ือครู นายเจษฎา จันทิมา กศน.ตาบลห้วยซ้อ อ.เชียงของ จ.เชียงราย 57140 เบอร์โทรศัพท์ : 086-4885064