ก v หนังสือเรียน สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าเลอื ก ความเป็นพลเมอื งไทยในระบอบประชาธปิ ไตย รหสั วชิ า สค02002 ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั เชียงใหม่ สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาํ หน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพอ่ื การศึกษาตลอดชีวติ สาํ หรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็ นของสาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั เชียงใหม่
ก คาํ นํา หนงั สอื เรยี นรายวิชาเลือก วิชาความเปน พลเมอื งไทยในระบอบประชาธปิ ไตย รหสั วิชา สค02002 ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดั บ ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนตน มธั ยมศึกษาตอนปลาย จดั ทําขึ้นเพื่อใหผเู รยี นไดรบั ความรแู ละ ประสบการณ ซึง่ เปนไปตามหลกั การและปรชั ญาการศึกษานอกโรงเรียนและพระราชบัญญัติสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551 ใหผูเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีสตปิ ญญา มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและสามารถดํารงชีวิตอยูในสงั คมไดอ ยา งมีความสุข ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก ารจดั กระบวนการเรยี นรขู องสถานศึกษามปี ระสทิ ธภิ าพ สถานศึกษาตองใชห นงั สอื เรยี นทมี่ คี ุณภาพ สอดคลองกับสภาพปญ หาความตองการของผเู รียน ชุมชน สงั คม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคของสถานศกึ ษา หนังสอื เลม นีไ้ ดประมวลองคความรู กจิ กรรมเสรมิ ทักษะ แบบวัดประเมินผลการ เรียนรไู วอยา งครบถว น โดยองคความรนู นั้ ไดนาํ เนอ้ื หาสาระตามท่หี ลักสตู รกําหนดไว นํามาเรยี บเรียงอยางมี มาตรฐานของการจัดทาํ หนงั สอื เรียน เพื่อใหผูเรียนอานเขา ใจงา ย สามารถอา นและคน ควาดวยตนเองได อยา งสะดวก คณะผจู ดั ทําหวังเปนอยา งยงิ่ วา หนังสือเรยี นสาระรายวชิ า ความเปน พลเมืองไทยในระบอบ ประชาธปิ ไตย รหัสวชิ า สค 02002 เลมน้ีจะเปน สอื่ การเรยี นการสอนท่อี าํ นวยประโยชนต อการเรยี นตาม หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพื่อใหส ัมฤทธิ์ผลตามมาตรฐาน ตัวช้วี ัดทก่ี าํ หนดไวในหลักสูตรทกุ ประการ คณะผจู ัดทํา สาํ นักงาน กศน.จังหวัดเชยี งใหม
ข สารบัญ เรอื่ ง หนา คํานํา ก สารบัญ ข คําอธิบายรายวชิ าความเปน พลเมอื งไทยในระบอบประชาธิปไตย ง แบบทดสอบกอ นเรยี น ฌ บทที่ 1 ประชาธิปไตยสคู วามเปนพลเมอื ง 1 แผนการเรียนรูประจาํ บทที่ 1 2 เร่อื งท่ี 1 ความหมายของ “พลเมืองดี” ตามวถิ ชี ีวิตประชาธปิ ไตย 3 เรอ่ื งที่ 2 หลักการทางประชาธิปไตยท่ีสาํ คญั 3 เรอ่ื งที่ 3 แนวทางปฏิบัตติ นเปนพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย 3 ดา น 5 ดา นสงั คม ดา นเศรษฐกจิ ดานการเมืองการปกครอง 7 เรอ่ื งที่ 4 การจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การเปน พลเมืองตามวิถีประชาธปิ ไตย กจิ กรรมทา ยบทที่ 1 10 11 บทที่ 2 การเสริมสรา งความปรองดองในสงั คมไทย 12 แผนการเรียนรูประจาํ บทท่ี 2 13 เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของการเสรมิ สรา งความปรองดองในสังคมไทย 14 เร่อื งที่ 2 แนวทางการเสรมิ สรางการปรองดองในสังคมไทย 15 - รากฐานความขดั แยงในสังคมไทย 16 - ลักษณะความขดั แยงของสังคมไทยในปจจบุ นั 17 - หนทางสสู ังคมสมานฉันท 18 เร่อื งที่ 3 ตัวอยา งกิจกรรมการเสรมิ สรางความปรองดอง 19 กิจกรรมทา ยบทที่ 2 20 22 บทที่ 3 การเทิดทูนสถาบันพระมหากษตั ริย 25 แผนการเรยี นรปู ระจําบทที่ 3 28 เรื่องที่ 1 ความสาํ คญั ของสถาบนั พระมหากษตั ริย 29 เรอ่ื งท่ี 2 เหตุการณสาํ คญั ๆในการปกครองประเทศของพระมหากษตั ริยไ ทย 30 เรื่องท่ี 3 พระราชกรณียกจิ สําคัญของสถาบันพระมหากษัตริยทีม่ ีตอ ปวงชนชาวไทย เร่อื งท่ี 4 การมสี วนรวมในกิจกรรมเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ กจิ กรรมทายบทท่ี 3
ค สารบัญ (ตอ ) เรอื่ ง หนา บทที่ 4 การเสรมิ สรางคณุ ธรรม จริยธรรม จิตอาสา และความภูมิใจในความเปน ไทย 32 แผนการเรียนรปู ระจําบทที่ 4 33 เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ อาสาและความ 35 ภูมิใจในความเปนไทย 37 เร่อื งท่ี 2 คณุ ธรรม จริยธรรมของการเปนพลเมอื งดี 39 เรื่องที่ 3 การมจี ิตอาสาในการดาํ เนนิ ชวี ติ รว มกบั ผูอ่นื ในชุมชน สังคม 39 เรอ่ื งที่ 4 ความภูมใิ จในความเปนไทยเพอ่ื สงเสรมิ ความปรองดอง 40 กิจกรรมทายบทท่ี 4 42 44 แบบทดสอบหลงั เรยี น 45 บรรณานุกรม 46 คณะผูจัดทํา คณะบรรณาธิการ/ปรับปรุงแกไ ข
ง คาํ อธิบายรายวิชา สค 02002 ความเปน พลเมอื งไทยในระบอบประชาธปิ ไตย สาระการพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน มธั ยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนว ยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.2 มคี วามรคู วามเขาใจ เห็นคณุ คา และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรมประเพณี เพ่อื การ อยูร ว มกันอยา งสนั ติสขุ มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบตั ติ นเปน พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะเพ่ือความสงบสุขของ สังคม ศึกษาและฝกทกั ษะเก่ียวกับเรื่องตอไปนี้ ประชาธปิ ไตยสคู วามเปน พลเมืองดี หมายความวา ความสาํ คัญของความเปนพลเมอื งในระบอบ ประชาธปิ ไตย หลักการทางประชาธปิ ไตยทสี่ าํ คัญ หลักอํานาจอธิปไตย ความเสมอภาค หลกั นติ ิธรรม หลกั เหตผุ ล หลกั การถอื เสยี งขา งมาก หลักประนปี ระนอม แนวทางปฏิบตั ติ นเปนพลเมอื งดี ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย 3 ดาน ดานสงั คม ดา นเศรษฐกิจ ดา นการเมืองการปกครอง การจดั กิจกรรมสงเสรมิ การเปนพลเมืองดตี าม วถิ ีประชาธปิ ไตย การเสรมิ สรางความปรองดองในสังคมไทย ความหมาย ความสาํ คญั ของการเสรมิ สรางความ ปรองดองในสงั คมไทย แนวทางการเสรมิ สรางความปรองดองและตวั อยางกิจกรรมการเสริมสรางความ ปรองดองในสงั คมไทย การเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย ความสําคญั ของสถาบนั พระมหากษัตริย เหตกุ ารณส ําคญั ๆ ในการปรองดองประเทศของพระมหากษัตริยไทย พระราชกรณียกจิ สาํ คญั ของสถาบนั พระมหากษัตริยทม่ี ี ตอ ปวงชนชาวไทย การมสี วนรวมในกจิ กรรมเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ การเสริมสรา งคุณธรรม จรยิ ธรรม จิตอาสา และความภมู ิไทยในความเปน ไทย ความหมาย ความสําคญั ของคณุ ธรรมจริยธรรม จติ อาสา และความภมู ใิ จในความเปนไทย ความจงรักภกั ดีตอชาติ ศาสนา พะมหากษัตรยิ ความมรี ะเบยี บวินัย ความกลา ทางจริยธรรม ความรับผิดชอบ การเสียสละ การตรง ตอเวลา การมจี ติ อาสาในการดําเนินชีวิตรว มกบั ผอู นื่ ในชมุ ชน สังคม ความภูมิใจในความเปนไทยเพอ่ื สง เสรมิ ความปรองดอง เชน วฒั นธรรม การแตงกาย กริ ยิ ามารยาท มสี มั มาคารวะ ฯลฯ การจดั ประสบการณเรยี นรู 1. ผูสอนเปนผูท ม่ี ีบทบาทหนา ที่ในการเอ้อื อํานวยใหผ เู รยี นเกิดการเรยี นรแู บบมสี ว นรว ม ได อยางมีประสทิ ธภิ าพ ผูสอนจงึ ตอ งมที ศั นคติ และพฤตกิ รรมเปนประชาธปิ ไตยไดแ ก - เคารพในความคิดเห็นของผเู รียนทุกคน - ยอมรบั ในความแตกตา งทีห่ ลากหลายของผเู รยี น ทงั้ ดานรางกาย บคุ ลกิ ภาพสตปิ ญ ญา และ อารมณ - รูจักประสานประโยชนโดยถอื ประโยชนข องสว นรวมเปนทีต่ ้งั - ใชเหตุผลและปญญาในการแกไ ขปญหาและความขดั แยง รวมทงั้ ควรไดสังเกตและบันทึกพฤตกิ รรมผเู รียนท่จี าํ เปนตอ งแกไขหรือพฒั นาคณุ ลักษณะ ประชาธปิ ไตยในขณะทดี่ าํ เนินกิจกรรมการเรียนรู
จ 2. จัดกิจกรรมทีเ่ นน ผเู รียนเปน สาํ คญั เพ่อื ใหผ เู รียนมีความรู ความเขาใจ มพี ฤตกิ รรมหรอื วถิ ชี วี ติ ประชาธิปไตย มเี จตคติ คานยิ ม และศรทั ธาการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข ดว ยวิธีการจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ บบมีสวนรวมท่ีเหมาะสมกบั วยั วฒุ ขิ องผูเรยี นในรูปแบบท่ี หลากหลาย ไดแ ก - การเลนเกม และการสังเกตการเลน ตามกฎกตกิ า - การฟง กรณศี กึ ษาและรว มแสดงความคิดเห็น - การแสดงบทบาทสมมุติ และรวมอภิปราย - การวาดภาพ การเลาเรอ่ื งจากภาพ การเขยี นบรรยายโดยเสรี - การสรางแผนผังความคิด การจัดนิทรรศการ การประกวดผลงาน - การสาํ รวจสภาพปจจบุ ันของหองเรียน สถานศึกษา ตลาด ชมุ ชน ทองถิน่ และประเทศ - การรวบรวมขอ มลู จากการสัมภาษณ การศึกษาแหลง เรียนรู การทาํ โครงงาน - การศกึ ษาเอกสารและตอบประเดน็ คําถาม การวิพากษ การวิจารณ ขา วสารขอ มลู - การฝกปฏิบัติ ฝกการวิเคราะหจากสถานการณตา ง ๆ - ฝก ฝนทักษะการคิดวิเคราะหจ ากสถานการณจริงดวยการตัง้ ประเด็นคาํ ถามทีเ่ หมาะสม - สงั เกตและเปรยี บเทียบความเหมอื นและความตางของการดําเนินชีวิตในสงั คมโดยใชเหตุผล และ เคารพในความแตกตาง - ฝก ฝนการแกไ ขความขดั แยง ดวยการฟง และสอ่ื สารอยา งสนั ติ - แสดงความเชื่อและความคดิ เห็นอยา งเสรี โดยผสู อนมีบทบาทในการเช่อื มโยงทศั นคติ คานยิ ม และพฤติกรรมทเี่ หมาะสมในการดาํ เนนิ ชวี ติ อยางเทาเทียมกันตามวิถีประชาธิปไตย - ฝกฝนและเหน็ คุณคา ของการปฏิบตั ติ ามกฎกตกิ าระเบยี บของสงั คมโดยเรม่ิ ตนตงั้ แตกฎกตกิ า ของ เกม กฎติกาของครอบครัว กฎระเบยี บของสถานศึกษา ขอบังคบั ของชุมชน กฎหมายของ บานเมอื ง รวมท้ัง ขนบธรรมเนียม ประเพณแี ละวฒั นธรรมของชาติ - การทํางานเปน กลมุ ทเี่ นน บทบาทของผนู ําและบทบาทของสมาชิกกลมุ ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย - ไดเขา รวมกิจกรรมเพอ่ื สวนรวมของครอบครวั สถานศึกษา ชุมชนและทองถิน่ ของตนตาม สถานการณจ ริง - ไดสาํ รวจ เผชญิ ปญ หาและมสี วนรวมในการแกไขปญหาของครอบครวั ชมุ ชนทองถิ่นของตนเอง - ไดม ีสวนรวมในกิจกรรมประชาธปิ ไตยในระดบั ตาง ๆ เชน รณรงคก ารเลอื กตงั้ และการออก เสยี งประชามติ เปน ตน - ไดร ว มกจิ กรรมทีเ่ ปน ประโยชนต อสวนรวม เชน การรักษาสิ่งแวดลอ ม การบําเพ็ญประโยชนใน กจิ การสาธารณะ เปน ตน - ฝก ฝนใหเปนผมู จี ติ สาธารณะ เชน การแบง บัน การใหค วามชวยเหลือผอู ่นื โดยไมหวงั สง่ิ ตอบแทน และดาํ รงตนเปน ผยู ึดมัน่ ในคณุ ธรรมและจริยธรรม เปนตน 3. จัดใหผูเรยี นไดพัฒนาตนเองและมสี วนรว มในการพฒั นาชุมชนทองถิน่ และประเทศชาติตาม วิถีประชาธิปไตย สง เสรมิ ใหผ เู รียนเหน็ ความสําคญั ของการเรียนรูดวยตนเอง การตดิ ตามขอ มลู ขาวสารท่ี เปนปจจบุ ันสนใจเรียนรูท งั้ เรอ่ื งของไทย ประเทศเพื่อนบา นและเรยี นรคู วามเปน สากล เพอ่ื สรางความเขาใจ อนั ดตี อ กนั ไดแก
ฉ - ฝก ฝนทกั ษะในกจิ กรรมที่เปน ผลใหผ เู รยี นรบั รูศักยภาพของตนเอง ทง้ั ทางรา งกายสติปญ ญา อารมณ เพอ่ื การพฒั นาตน - มกี จิ กรรมท่ใี หผ เู รยี นตรวจสอบและประเมนิ พฤตกิ รรมของตนเองและเพ่ือน ๆ - มกี จิ กรรมทีส่ ง เสรมิ ใหผเู รียนรเู ห็นคุณคาของการปรบั ปรงุ และแกไขขอ บกพรอ ง - ฝกฝนทกั ษะวเิ คราะหขา วสารบานเมอื งการวิพากษว จิ ารณ โดยใชเ หตุผลและขอ เท็จจรงิ ท่ถี กู ตอง - วิเคราะหป ญ หาทางการเมอื งท้งั ของไทยและตา งประเทศดว ยขอ เทจ็ จริงและเหตผุ ล ท้ังน้ี เพ่อื ใหผเู รียนเห็นคุณคา ของการเปน พลเมืองไทยในระบอบประชาธปิ ไตยการเลอื กคนดีมี ความสามารถในการปฏบิ ตั ิหนา ทต่ี ามบทบาทตา ง ๆ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพเพอื่ ประโยชนต อ สวนรวม อยา ง แทจริง เหน็ คุณคา และมีเจตคติทด่ี ีตอ การพฒั นาประชาธิปไตย และพรอมทจี่ ะมสี ว นรว มในการบริหารดแู ล ประเทศ และพฒั นาสังคมใหม ีความผาสุก และเจริญรงุ เรืองตอไป การวัดและประเมนิ ผล จากการสังเกต การมีสวนรว มในการเขา รวมกจิ กรรมการเรียนรู การอภปิ รายเชิงเปรียบเทียบ สง รายงานและการทดสอบ
ช รายละเอยี ดคําอธบิ ายรายวิชา สค 02002 ความเปน พลเมอื งไทยในระบอบประชาธิปไตย สาระการพฒั นาสงั คมและชุมชน ระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย จาํ นวน 1 หนวยกิต 40 ชว่ั โมง มาตรฐานที่ 5.2 มคี วามรคู วามเขา ใจ เห็นคณุ คาและสืบทอดศาสนา วัฒนธรรมประเพณี เพือ่ การ อยูร วมกันอยางสันตสิ ขุ มาตรฐานท่ี 5.3 ปฏิบัตติ นเปน พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย มีจิตสาธารณะเพื่อความสงบสุข ของสังคม ท่ี หัวเรือ่ ง ตวั ชีว้ ดั กรอบเนอื้ หาสาระ ชั่วโมง 1. ประชาธปิ ไตยสคู วาม 1. อธิบายความหมาย ความสาํ คญั - ความหมาย ความสําคัญ ของความเปน 4 เปน พลเมอื ง ของความเปน พลเมืองดใี นระบอบ พลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตย ประชาธิปไตย - หลกั การทางประชาธิปไตยทีส่ ําคญั อาทิ 2. การเสรมิ สรา งความ 2. อธบิ ายหลักการทาง หลกั อํานาจอธปิ ไตย หลกั ความเสมอภาค ปรองดองในสงั คมไทย ประชาธิปไตยทีส่ าํ คญั หลกั นิติธรรม หลักเหตุผล หลกั การถือ 3. อธบิ ายแนวทางการปฏิบตั ิตน เสยี งขา งมาก หลักประนีประนอม เปนพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย - แนวทางการปฏิบัติตนเปน พลเมืองดี 4. จดั กิจกรรมสง เสรมิ การเปน ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย 3 ดาน คือ ดา น พลเมืองดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย สงั คม ดา นเศรษฐกจิ ดานการเมอื งการ ปกครอง - การจัดกจิ กรรมสง เสริมการเปน พลเมอื ง ดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย 1. บอกความหมาย ความสาํ คญั - ความหมาย ความสาํ คญั ของการ 15 ของการเสริมสรางความปรองดอง เสรมิ สรา งความปรองดองในสงั คมไทย ในสงั คมไทย - แนวทางการเสริมสรางความปรองดอง 2. อธิบายแนวทางการเสรมิ สราง ในสงั คมไทย รากฐานความขัดแยง ใน ความปรองดองในสงั คมไทย สังคมไทย ลักษณะความขดั แยงของ
ซ ท่ี หวั เร่ือง ตัวชวี้ ดั กรอบเนื้อหาสาระ ชั่วโมง 3. นําแนวทางการเสรมิ สรางความ สงั คมไทยในปจ จุบัน แนวทางสูสังคม ปรองดองไปประยุกตใ ชในการ สมานฉันท ดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วนั - ตวั อยา งกิจกรรมการเสริมสรางความ ปองดองในสงั คมไทย 3. การเทดิ ทนู สถาบัน 1. อธิบายถึงความสาํ คัญของการมี - ความสําคัญของสถาบนั พระมหากษัตริย 6 พระมหากษตั ริย สถาบนั พระมหากษตั ริย - เหตกุ ารณส ําคัญ ๆ ในการปกครอง 2. อธบิ ายพรอ มยกตัวอยาง ประเทศของพระมหากษตั ริยไทย เหตกุ ารณส าํ คญั ๆ ในการปกครอง - พระราชกรณียกจิ ทีส่ าํ คญั ของสถาบัน ประเทศของพระมหากษัตรยิ ไทย พระมหากษัตรยิ ทม่ี ีตอ ปวงชนชาวไทย 3. มสี ว นรวมในกจิ กรรมเทดิ ทนู - การมสี วนรวมในกจิ กรรมเทดิ ทนู สถาบัน สถาบนั พระมหากษตั รยิ พระมหากษัตริย 4. การเสรมิ สรางคุณธรรม 1. อธิบายความหมาย ความสาํ คญั - ความหมาย ความสาํ คัญของคณุ ธรรม 15 จรยิ ธรรม จิตอาสา และ ของคณุ ธรรมจริยธรรม จติ อาสา จริยธรรม จิตอาสา และความภาคภมู ิใจ ความภาคภมู ใิ จในความ และความภาคภมู ิใจในความเปน ในความเปนไทย เปนไทย ไทย 2. อธบิ ายคุณธรรม จรยิ ธรรมของ - คุณธรรมจรยิ ธรรมของการเปนพลเมอื ง การเปน พลเมอื งดี ดี ไดแ ก ความจงรกั ภกั ดตี อ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย ความมีระเบียบวินัย ความซื่อสัตย ความกลา ทางจริยธรรม ความรบั ผดิ ชอบ การตรงตอเวลา ความ สามคั คี 3. มจี ิตอาสาในการดําเนนิ ชวี ติ - การมจี ติ อาสาในการดาํ เนินชีวติ รวมกับ รวมกบั ผูอ่นื ในชุมชน สงั คม ผอู ื่นในชุมชน สงั คม 4. แสดงออกถงึ ความภมู ิใจในความ - ความภมู ิใจในความเปนไทยเพ่อื สง เสรมิ เปนไทย ความปรองดอง เชน ความภูมิใจใน แผน ดินไทยทต่ี อ งรวมปกปอ งดแู ลรักษา/ ความภมู ิใจในความเปนไทยทเี่ ปน คนรัก สันตเิ ออ้ื อาทรตอกันไมเ หน็ แกตัว รบั ฟง เหตุผล ใหอ ภยั มสี มั มาคารวะ ฯลฯ
ฌ แบบทดสอบกอนเรียน คําชี้แจง จงเลอื กคําตอบทีถ่ กู ตอ งท่สี ุด 1. ขอใดคอื ความหมายของ “พลเมอื งด”ี ที่ถูกตอง ก. คนทม่ี ีจติ ใจดี ข. คนที่นบั ถือศานาพทุ ธ ค. คนที่ปฎบิ ตั ิตนตามประเพณี ง. คนทีป่ ฎิบตั ิตนตามหนา ท่พี ลเมอื ง 2. ความหมายของคําวา “ประชาธปิ ไตย” ขอใดถกู ตอ งทส่ี ุด ก. ประชาชนผูม อี ํานาจ ข. ประชาชนผเู ปน ใหญ ค. ประชาชนตองพง่ึ พาอาศยั กัน ง . ประชาชนตองตัดสนิ ใจในทกุ ๆ เร่อื ง 3. จงบอกความหมายของ “พลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตย” ไดถูกตองทีส่ ดุ ก. พลเมอื งดําเนินชวี ิตบนทางสายกลาง ข. พลเมืองท่ยี ดึ หลกั ประชาธปิ ไตยในสงั คม ค. พลเมืองทีย่ ดึ หลักประชาธิปไตยในการดาํ รงชวี ิต ง. พลเมืองที่ดําเนนิ ชีวติ แบบครอบครวั ประชาธปิ ไตย 4. ใครเปน พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย ก. ตายขับไลแมวทชี่ อบแอบเขา บา น ข. ตกุ ตาลุกใหคนชราน่ังบนรถเมล ค. ตาลจงู คนแกวงิ่ ขามถนนตอนรถกาํ ลงั ว่งิ ง. ตวิ้ ชอบเด็ดดอกไมในสวนสาธารณะไปใหค รู 5. ขอ ใดคอื หลกั ธรรม 3 ประการ ของการเปนพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย ก. คารวธรรม สามคั คีธรรม เมตตาธรรม ข. คารวธรรม สามคั คธี รรม ปญญาธรรม ค. คารวธรรม เมตตาธรรม ปญญาธรรม ง. สามัคคธี รรม ปญ ญาธรรม เมตตาธรรม 6. ถา นกั เรียนกําลังมีขอขดั แยง กบั เพื่อน นกั เรียนจะแกปญ หาน้อี ยา งไร ก. ยอมรับเม่ือเพอื่ นมเี หตผุ ลที่ดกี วา ข. ใหเ พื่อนในหอ งตดั สนิ ขอขัดแยง ค. ตดั สนิ ใจปญ หาตามความคิดตนเอง ง. แจงครูประจาํ ช้นั ใหเ ปน ผูตดั สินขอ ขดั แยง 7. ขอใดแสดงถงึ ความเคราพในศักดิ์ศรีและความเทาเทียมกนั ของมนุษย ก. รัฐบาลจัดสรรเงนิ สงเคราะหคนพิการ ข. ใหค นพิการใชหอ งนํา้ รวมกบั คนปกติ ค. ใหค นพกิ ารใชบนั ไดรวมกบั คนปกติ ง. การจดั ใหคนพกิ ารเรยี นรวมกับคนปกติ
ญ 8. มานะถกู เพือ่ นตอย เขาโกรธมากแตไ มโ ตตอบเพ่ือน แสดงวา มานะยดึ การปฎบิ ตั ติ นตามวถิ ี ประชาธิปไตยขอ ใด ก. รจู ักคิดอยางมเี หตุผล ข. รูจักการประนปี ระนอม ค. รจู กั ใชป ญญาในการแกปญ หา ง. รูจักควบคมุ อารมณของตนเอง 9. ใครตอ ไปนปี้ ฎบิ ัตติ นตามจารตี ประเพณี วฒั นธรรมไดถูกตอ งท่สี ดุ ก. ปาสีทาํ บญุ ตกั บาตรทุกวัน ข. ลุงไทไมน บั ถือศาสนาใดเลย ค. ปา สมใจไปรว มงานผีตาโขน ง. ลงุ ทองแดงราํ เซง้ิ บง้ั ไฟในงานแหบ ง้ั ไฟ 10. ถา ทุกคนปฎบิ ัตติ นเปนพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย จะเกิดผลอยางไร ก. ทกุ คนมฐี านะดขี ึ้น ข. ชุมชนจะไมเ กิดการขดั แยง ค. ชุมชนมีวิถีชวี ติ เรียบงายแบบชนบท ง. ทกุ คนในชุมชนไมต องทํางานหนกั
1 บทท่ี 1 ประชาธิปไตยสูความเปนพลเมอื ง
2 แผนการเรียนรูประจาํ บทท่ี 1 บทที่ 1 ประชาธปิ ไตยสูความเปนพลเมอื ง สาระสําคญั หลกั การสําคญั ทางประชาธิปไตย แนวทางปฏิบัติตนเปน พลเมืองดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตย สงผลใหเ กิด ความเปน พลเมืองไทยในวถิ ีชวี ิตประชาธิปไตย ท่ีมคี ณุ ลกั ษณะทส่ี ําคญั คอื เปน ผทู ่ยี ึดมัน่ ในหลกั การทาง ประชาธปิ ไตยในการดาํ รงชวี ติ ปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย และเปน ประโยชนต อ สังคม มีการชว ยเหลอื เก้ือกลู ซึ่ง จะกอใหเ กิดการพฒั นาสังคมและประเทศชาติใหเปน สงั คมและประเทศประชาธิปไตยอยางแทจรงิ หลักการทาง ประชาธปิ ไตย ผลการเรยี นรูท่คี าดหวงั 1. อธบิ ายความหมาย ความสําคัญ ของความเปน พลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตยได 2. อธบิ ายหลักการทางประชาธปิ ไตยท่สี ําคญั ได 3. อธิบายแนวทางการปฎบิ ัติตนเปนพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตยได 4. อธบิ ายการจัดกิจกรรมสงเสริมการเปน พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตยได ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องท่ี 1 ความหมายของความเปน พลเมอื งในระบอบประชาธิปไตย เร่อื งที่ 2 หลักการทางประชาธปิ ไตยท่สี ําคัญ เร่อื งท่ี 3 แนวทางการปฎบิ ัตติ นเปนพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย เรือ่ งท่ี 4 จดั กิจกรรมสงเสรมิ การเปน พลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กจิ กรรมการเรียน 1. ศึกษาเอกสารการสอน 2. ปฎิบัติกจิ กรรมตามทไี่ ดรบั มอบหมายในเอกสารการสอน 3. ศึกษาคน ควาหาความรจู ากแหลง เรยี นรตู างๆ เชน ตําราเรยี น ส่อื ส่งิ พมิ พตา งๆ กศน.ตาํ บล หองสมดุ และอนิ เตอรเ น็ต สอ่ื การสอน 1. เอกสารการสอนบทท่ี 1 2. แหลงเรียนรตู างๆ เชน ตําราเรยี น สอ่ื สิง่ พิมพต างๆ กศน.ตาํ บล หองสมดุ และอินเตอรเ น็ต 3. ใบงาน 4. กระดาษปรูฟ 5. ปากกาเคมี การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค โดยใชแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค 2. สังเกตทกั ษะกระบวนการ โดยใชแบบประเมินทกั ษะและกระบวนการ 3. ตรวจผลงาน โดยใชแบบประเมินผล
3 บทท่ี 1 ประชาธปิ ไตยสูความเปนพลเมอื ง เรือ่ งที่ 1. ความหมายของความเปน พลเมืองดีในระบอบประชาธปิ ไตย ความหมายของ “พลเมอื งดี” ตามวถิ ีชีวติ ประชาธปิ ไตย พลเมือง หมายถึง พละกําลงั ของประเทศ ซ่งึ มีสวนเปนเจาของประเทศ หมายถงึ ประชาชนท่ีมี สญั ชาตไิ ทย มีสทิ ธิ หนาที่ เสรีภาพภายใตก ฎหมายไทย แตกตา งจากชาวตางชาติท่ีเขาเมืองมาเพื่อประกอบ ธรุ กิจ เพอ่ื การทองเทีย่ วหรือหลบหนเี ขา เมือง บุคคลเหลานเ้ี ขามาอยใู นประเทศไทยเปน การช่ัวคราว ไมถ อื วา เปนพลเมอื งไทย พลเมอื งไทย หมายถึง บุคคลท่ีมีความเปน ไทย มศี ลิ ปวทิ ยา มธี รรมเนียม ประเพณี ความเชอื่ ถือ ความคิดจติ ใจทีจ่ ะรกั ษาความสามัคคี ความเปนปก แผนอยูใ นตนเองและสามารถท่จี ะถา ยทอดความเปน ไทย สบื ตอไปยังคนรุนหลังอยา งถูกตอ งและเหมาะสม ความเปนพลเมืองไทย หมายถึง การนําความเปน ไทยมาใชใหเ กดิ ประโยชน รวมทั้งการคิดคน ปรับปรุง ดดั แปลงความเปน ไทยใหก ับสถานการณท เี่ ปน อยูจรงิ ท้งั ทางเศรษฐกจิ และการเมอื ง ระบอบ ประชาธิปไตย คือ ระบบการเมอื งทป่ี ระชาชนเปน เจา ของประเทศ เจาของอาํ นาจอธิปไตยท่ีปกครอง โดย ประชาชนเพอ่ื ประชาชน มหี ลกั การทส่ี าํ คัญคือหลกั สิทธิเสรภี าพ ความเสมอภาค หลัดนติ ิธรรม หลกั การใช เหตผุ ล และหลักการยอมรบั เสยี งขางมากท่ตี องเครพสิทธิของเสยี งขางนอ ย วิถปี ระชาธิปไตย หมายถึง วถิ กี ารปฎบิ ัติตนท่เี กิดจากการผสมผสานระหวา งการดาํ รงชีวติ ตามความ เปน ไทยกบั การเขา ไปในสวนรวมทางการเมอื งและการบรหิ าร “พลเมืองดีในวถิ ชี ีวติ ประชาธปิ ไตย” หมายถึง พลเมอื งที่มคี ุณลกั ษณะท่ีสาํ คัญ คอื เปน ผูท่ยี ดึ มน่ั ใน หลักการทางประชาธปิ ไตยในการดาํ รงชวี ิต ปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย และเปนประโยชนตอสังคม มกี าร ชวยเหลือเกอ้ื กลู ซ่งึ จะกอ ใหเ กิดการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติใหเปน สังคมและประเทศประชาธปิ ไตยอยา ง แทจ ริง เร่อื งท่ี 2 หลกั การทางประชาธิปไตยทส่ี าํ คัญ อํานาจอธิปไตบ อาํ นาจอธิปไตย (Sovereignty) หมายถึง อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองรฐั หรือประเทศ ดังน้นั ส่งิ อืน่ ใด จะมีอํานาจยงิ่ กวา หรือขัดตออาํ นาจอธปิ ไตยไมได อํานาจอธปิ ไตยยอมมคี วามแตกตา งกันไปในแตละระบอบ การปกครอง เชน ในระบอบประชาธิปไตย อาํ นาจอธิปไตยเปนของประชาชน กลาวคอื ประชาชนคอื ผูมอี ํานาจ สงู สดุ ในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าช อํานาจอธิปไตยเปนของพระมหากษัตริย คอื กษัตริย เปน ผมู อี าํ นาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ เปนตน อนึง่ อาํ นาจอธปิ ไตยนน้ี ับเปนองคประกอบสําคัญ ท่สี ุดของความเปน รัฐเพราะการที่จะเปน รัฐไดน นั้ นอกจากจะตอ งประกอบดว ยอาณาเขต ประชากรและรฐั บาล แลวยอมตองมีอํานาจอธิปไตยดวยกลาวคือประเทศนน้ั ตองเปน ประเทศทส่ี ามารถมีอํานาจสูงสุด (อาํ นาจ อธิปไตย) ในการปกครองตนเองจึงจะสามารถเรียกวา “รฐั ” ได ลักษณะสาํ คญั ของอํานาจอธปิ ไตย มีดงั ตอไปน้ี 1. มคี วามเด็ดขาด (Absoluteness) หมายถึง การไมม อี ํานาจทางกฎหมายอืน่ ใดในรฐั เหนอื กวา อาํ นาจอธิปไตย และอํานาจนติ บิ ัญญตั ขิ องรัฐยอมไมอาจจะถูกกาํ จดั โดยตัวบทกฎหมายใดๆ ได 2. มคี วามถาวร (Permanence) หมายถงึ อํานาจอธปิ ไตยมีลกั ษณะถาวร ซึ่งตางกนั กบั รฐั บาล โดย รฐั บาลอาจมกี ารเปล่ียนแปลงได แตอาํ นาจอธิปไตยตอ งอยตู ลอดไปหากอาํ นาจอธิปไตยถูกทําลาย รัฐน้ันจะสูญ สลายไปดวย หรอื พูดไดอ ีกอยางหนงึ่ วา รัฐทสี่ ญู เสียอาํ นาจอธิปไตยจงึ หมดสน้ิ ความเปน รัฐไปนั้นเอง
4 3. ใชไดเปนการทัว่ ไป (Comprehensiveness) หมายถึง อาํ นาจอธิปไตยยอมมีอํานาจเหนือบุคคล ทุกคนทอี่ ยูอ าศยั ในรฐั นั้นอยา งไมม ีขอยกเวน และเปน ไปอยางกวา งขวา งท่ีสดุ แลว แตผใู ชอํานาจจะเห็นสมควร และองคก ารทกุ แหง บรรดาที่มอี ยูในรฐั ก็อยภู ายใตอ ํานาจอธปิ ไตย แตหากการท่ผี แู ทนทางการฑตู ไดรบั สิทธิ พิเศษบางประการเปน เพยี งถอยทถี อยปฎบิ ัติตอ กนั ตามมารยาทการฑูตเทา นนั้ 3. แบง แยกไมได (Indivisibility) หมายถงึ ในรัฐหนึง่ ๆ จะตอ งมอี าํ นาจอธปิ ไตยเพียงหนว ยเดยี ว หากมี การแบง แยกอํานาจอธิปไตยแลว กเ็ ทา กับวาอาํ นาจอธปิ ไตยไดถกู ทาํ ลาย ซง่ึ จะทําใหรัฐแตกสลายตวั ไป ตัวอยางเชน ประเทศเกาหลอี าํ นาจอธปิ ไตยเปนอันหนึ่งอนั เดียวกนั แตเ ม่อื มกี ารแบงอํานาจอธปิ ไตยออกไป ทาํ ใหเกดิ รฐั ใหมข ึ้น คอื เกาหลีใตกับเกาหลเี หนอื เปนตน อาํ นาจอธปิ ไตย เปน อํานาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ ซึ่งตามระบอบประชาธปิ ไตยถอื วา เปน อํานาจของประชาชน แบงออกเปน 3 สว น คอื 1. อํานาจนติ ิบญั ญตั ิ เปน อํานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการทํางานของรฐั บาลเพื่อประโยชน ของประชาชนและประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใชอาํ นาจนโี้ ดยการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผูแ ทนราษฎรไปทํา หนาทแ่ี ทนในรัฐสภา 2. อาํ นาจบรหิ าร เปนอํานาจการบรหิ ารราชการแผน ดินและการปกครอง ซ่งึ มคี ณะรัฐมนตรหี รือ รฐั บาลเปน ผใู ชอาํ นาจและรบั ผดิ ชอบในการบริหารราชการแผนดินใหเปน ไปตามนโยบายทแี่ ถลงตอ รฐั สภา 3. อาํ นาจตลุ าการ เปน อํานาจในการวนิ จิ ฉัยตัดสินคดคี วามตามกฎหมาย โดยมหี นว ยงานศาลและ กระทรวงยุตธิ รรมเปน ผูใชอ ํานาจ ระบอบประชาธปิ ไตย อยบู นรากฐานหลกั การท่ีสาํ คญั 6 ประการ คือ 1. หลักการอาํ นาจอธปิ ไตยเปน ของปวงประชาชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเปนเจา ของโดยใช อํานาจท่ีมีตาม กระบวนการเลือกตั้งอยา งอิสระและทว่ั ถึงในการใหไ ดม าซ่งึ ตัวผูปกครองและผูแ ทนของตน รวมทงั้ ประชาชนมอี าํ นาจในการคดั คานและถอดถอนผูปกครองงและผูแ ทนท่ีประชาชนเหน็ วา มิไดบ ริหาร ประเทศในทางทเ่ี ปน ประโยชนตอ สงั คมสวนรวม เชน มพี ฤตกิ รรมรา่ํ รวยผิดปกติ 2. หลักความเสมอภาคการเปดโอกาสใหประชาชนทกุ คนสามารถเขา ถึงทรัพยากรและคุณคาตางๆ ของสังคมที่มีอยูจาํ กดั อยา งเทาเทียมกนั โดยไมถกู กีดกนั ดว ยสาเหตแุ หง ความแตกตา งทางชน้ั วรรณะทางสังคม ชาติพันธุ วฒั นธรรมความเปนอยู ฐานะทางเศรษฐกิจหรอื ดว ยสาเหตอุ ืน่ 3. หลักนิติธรรม หมายถงึ การใชห ลักกฎหมายเปน กฎเกณฑก ารอยรู วมกัน เพื่อความสงบสขุ ของ สังคม 4. หลักเหตผุ ล หมายถึง การใชเหตผุ ลทถ่ี กู ตองในการตดั สินหรือยุติปญหาในสงั คม ในวถิ ีชีวิตของ สงั คมประชาธิปไตย ผคู นตอ งรจู กั รับฟงเหตผุ ลของผูอ ่นื ไมดือ้ ดงึ ในความคิดเห็นของตน จนคนอนื่ มองเราเปน คนมี มิจฉาทฐิ ิ
5 5. หลักการเสียงขางมาก ( Majority rule) ควบคไู ปกบั การเคารพในสิทธิของเสยี งขางนอย ( Majority Rights) การตดั สนิ ใจใดๆ ท่ีสง ผลกระทบตอประชาชนหมมู าก ไมวา จะเปน การเลือกต้งั ผูแทนของประชาชน เขา สรู ะบบการเมอื ง การตดั สนิ ใจของฝา ยนิตบิ ัญญัติ ฝา ยบริหาร หรือฝา ยตลุ าการ ยอ มตอ งถอื เอาเสยี งขาง มากทีม่ ตี อเร่ืองนั้นๆ เปนเกณฑในการตัดสินทางเลือก โดยถอื วา เสียงขางมากเปนตวั แทนที่สะทอ นความ ตองการ ขอ เรียกรองของประชาชนหมมู าก หลกั การน้ี ตองควบคูไปกบั การ เคารพและคุม ครองสิทธเิ สยี งขา ง นอ ยดวย ทง้ั น้กี เ็ พอื่ เปนหลกั ประกนั วา ฝา ยเสยี งขา งมากจะไมใชว ิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน ความเห็น หรอื กระแสความนยิ มของพวกตนอยางสดุ โตง แตตอ งดําเนนิ การเพื่อประโยชนความเห็นของ ประชาชนท้ังหมดเพือ่ สรา งสังคมทปี่ ระชาชนเสยี งขา งนอ ย รวมท้ังชนกลุมนอ ยผูด อ ยโอกาสตางๆ สามารถอยู รว มกันไดอยางสนั ตสิ ขุ โดยไมม กี ารเอาเปรียบกนั และสรางความขัดแยง ในสังคมมากเกินไป 6. หลกั ประนีประนอม หมายถงึ การลดความขัดแยง โดยการผอนหนักผอนเบาใหกนั รวมมอื กนั เพอ่ื เหน็ แกประโยชนข องสวนรวมเปนสําคญั เรื่องที่ 3 แนวทางการปฎบิ ัติตนเปน พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตย คุณลกั ษณะของพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยควรมแี นวทางทางปฎิบัตติ นดงั นี้ คอื 1). ดานสงั คม ไดแก - การแสดงความคดิ อยางมีเหตผุ ล - การรบั ฟง ขอ คิดเห็นของผอู น่ื - การยอมรับเมอื่ ผอู ่ืนมเี หตผุ ลท่ดี กี วา - การตัดสินใจโดยใชเหตุผลมากกวาอารมณ - การเคราพระเบยี บของสงั คม - การมีจติ สาธารณะ คือ เหน็ แกป ระโยชนของสวนรวมและรกั ษาสาธารณสมบตั ิ 2). ดานเศรษฐกิจ ไดแก - การประหยัดและอดออมในครอบครวั - การซือ่ สัตยส ุจริตตอ อาชีพท่ที าํ - การพัฒนางานอาชีพใหกาวหนา - การใชเ วลาวางใหเปน ประโชยนต อ ตนเองและสังคม - การสรางงานและสรา งสรรคส ง่ิ ประดิษฐใหมๆ เพือ่ ใหเ กดิ ประโชยนตอสังคมไทย และสังคมโลก - การเปนผูผ ลติ และผูบ ริโภคทด่ี ี มีความซื่อสตั ย ยดึ มน่ั ในอุดมการณทดี่ ีตอชาติ เปน สาํ คญั 3). ดานการเมืองการปกครอง ไดแก - การเคราพกฎหมาย - การรับฟงขอคิดเห็นของทุกคนโดยอดทนตอความขัดแยง ท่ีเกดิ ข้นึ - การยอมรับในเหตผุ ลทีด่ กี วา - การซื่อสตั ยตอหนาทโี่ ดยไมเ หน็ แกป ระโยชนสว นตน - การกลาเสนอความคดิ เห็นตอ สว นรวม กลา เสนอตนเองในการทําหนาท่ี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรอื สมาชิกวุฒิสภา - การทาํ งานอยา งเต็มความสามารถเตม็ เวลา
6 การสนบั สนนุ สง เสริมบคุ คลอนื่ ใหปฎิบัติตนเปนพลเมอื งดี สังคมไทยในปจจบุ นั เปน สังคมทีม่ ีความซบั ซอนสงู มาก ในสังคมและมบี คุ คลท่มี คี วามคิดและความเชื่อ ทีห่ ลากหลาย ดงั น้นั นอกจากบุคคลจะปฎบิ ตั ิตนเปน พลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธิปไตยแลว บคุ คลจะตอ งพยายาม สนบั สนนุ และสงเสริมใหบ คุ คลอื่น โดยเฉพาะบุคคลในครอบครัว เพอ่ื นฝูงใหปฎบิ ัตติ นเปนพลเมืองดีได วิธีการ สนบั สนุนและสงเสรมิ บคุ คลอ่นื ใหเ ปนพลเมอื งดี มดี งั น้ี 1. สงเสริมความสามัคคี ประวตั ศิ าสตรชาติไทยไดพ ิสูจนใ หเห็นชัดเจนวา ยามใด ท่สี งั คมขาดไรซ ง่ึ ความสมัครสมานสามคั คี ยามนั้นสังคมจะประสบกับมหันตภยั ความรักใครสามัคคีทาํ ใหป ระเทศชาตสิ ามารถตง้ั มนั่ อยูไ ดตราบทุกวันนี้ ดงั คําสุภาษติ ท่วี า “สามัคคีคอื พลัง” ท่ชี ใี้ หห น็ คุณคา อนั สงู สงของความสามคั คี การปฎบิ ตั ิหนา ที่ การทํางานท่ี ไดรบั มอบหมาย บางครั้งเปนการยากทจ่ี ะทําใหส ําเรจ็ ดวยคนเพียงคนเดียว การสง เสริมใหบ ุคคลเขามาชว ยกัน ทํางานดว ยความเตม็ ใจและตงั้ ใจจงึ เปน ส่งิ ท่ีสาํ คัญ ความสามคั คีจะเกิดขึน้ ไดจะตองมีพื้นฐานของความจรงิ ตอ กัน เพราะหากคนในสงั คมขาดความจรงิ ใจตอ กัน การทาํ งานหรอื การติดตอ สมาคมระหวา งกันจะติดขัดไม ราบรนื่ เนือ่ งจากแตล ะฝายจะไมไ ววางใจกนั ซงึ่ นอกจากความจรงิ ใจตอ กนั จะตอ งปราศจากอคตติ อกนั เพราะ มเิ ชนนัน้ จะมกี ารนําความรูส ึกสว นตน ความชอบ ความโกรธ ความเกลียดมาใชใ นการประกอบกิจกรรมตา งๆ รวมกัน หากเปน เชนน้แี ลวความสามัคคีสมานฉนนั ทยอ มไมอ าจเกิดขึ้นได สังคมน้ันจะอุดมไปดวยความ หวาดระแวง ไมมพี ลงั เชิงสรางสรรคท จ่ี ะผลกั ดนั สังคมใหก าวหนา อยา งตอ เนอ่ื ง การสงเสริมความสามัคคี สามารถทําไดหลายประการ เชน การจัดใหม กี ารประชุมหรอื ปรึกษากิจการตา งๆ อยางสมํ่าเสมอ และลงมือทํา กจิ กรรมตา งๆ อยางพรอมเพียงเปน นา้ํ หน่ึงใจเดยี วกันจนกระท่งั สาํ เรจ็ ลุลวง การระดมสมองเพ่อื คน หาปญหา สาเหตุและแนวทางการแกไข การสรางทีมงานโดยมกี ารแบงงานกนั ทําตามความชํานาญเฉพาะ และมีการ เช่ือมโยงงานท่ที าํ ใหประสานสอดคลองกัน 2. ไมชกั นําเพ่อื นไปในทางทผ่ี ดิ สงั คมไทยในปจ จุบันใหความสําคญั กับความเจริญทางดา นวตั ถุมากกวา คุณคา ทางจิตใจ สังคมวตั ถนุ ิยม สงั คมบริโภคนิยม สังคมที่บรโิ ภคเงนิ ตรา และโภคทรัพยก ลายเปนเครือ่ งชีว้ ัด คุณคาของคนโดยไมค ํานงึ ดา น คณุ ธรรม จริยธรรม คนทีม่ เี งินไดร ับการยกยอ งวาเปนคนดี ความมหี นา มีตา มเี กยี รติของบคุ คลวัดดว ยจํานวน เงนิ ดว ยเหตนุ ี้คนจึงตอ งแสวงหาเงินใหมากท่สี ุดโดยไมคํานงึ วา จะเปน วิธีการท่ีถกู ตอ งหรือไม หรอื ไมชอบตอ คุณธรรม จริยธรรม กฎหมายและสงั คมจะเสยี หายหรอื ไม เชนการเลนการพนนั การฉอราษฎรบังหลวง การ เสพยาเสพติด พฤติกรรมดงั กลาวจะทาํ ใหผปู ฎบิ ตั ิเสอ่ื มเสยี แลว ยังทําให สงั คมเสื่อมทรามดว ย เชน การเลน การ พนนั เปนสิ่งท่ีผิดกฎหมาย ประเทศชาติขาดแรงงานสาํ คญั ในการพัฒนาประเทศ สังคมจงึ ควรชี้ชวนคนในสังคม ใหเ กดิ มโนสาํ นึกตอ ความถกู ตอ งดีงามคํานงึ ถงึ ประโยชนต อสว นรวม และสนบั สนุนสง เสริมใหบุคคลอ่นื ปฏิบัติ ตนเปนพลเมอื งดี 3. สง เสริมสนั ตวิ ธิ ี ในสงั คมประชาธปิ ไตยเคารพและใหค วามสาํ คัญกับการแตกตางหลากหลายทั้งในนติ ขิ องความคดิ เห็น วัฒนธรรม คา นยิ ม ความเชอื่ ศาสนา ฯลฯ ความแตกตางหลากหลายนนั้ หากไมม กี ารจดั การอยา งเหมาะสม อาจจะนําไปสูค วามขัดแยงในสงั คมไดง าย ในสังคมประชาธิปไตย มนษุ ยต อ งอยรู วมกนั บนพน้ื ฐานของหลกั การใหความเคารพในเหตุผล การ เคารพซ่ึงกนั และกนั ในฐานะท่เี ปนมนษุ ย การใหความชวยเหลอื เกือ้ กูลยอมทําใหส ังคมอยูรวมกนั อยางสนั ตสิ ุข สงั คมไทยมีความหลากหลายดานเชือ้ ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม การประกอบอาชีพ การศกึ ษา แตพลเมืองกย็ ัง
7 สามารถดํารงชีวิตรว มกนั ไดอยา งผาสกุ ใชหลกั ความสันติเปน แนวทางสาํ คญั ในการขจดั ความขดั แยง ทงั้ ความ รุนแรงและเรอ่ื งทัว่ ไปเปน อยางดี การสงเสรมิ สันติวธิ สี ามารถกระทาํ ไดโ ดยการยึดหลักเหตผุ ล การเปด กวาง การยอมรับความแตกตา ง ในมิตติ า งๆ ทม่ี ีในสงั คมจะนาํ ไปสสู นั ตวิ ิธอี ันเปนหลักการสาํ คัญของประชาธิปไตย 4. การชน่ื ชมบุคคลอนื่ เมอ่ื มีการกระทาํ ความดีเกดิ ขึ้น เชน การชวยเหลือเพอ่ื น การเกบ็ ของไดส ง คนื เจาของ การแสดงความ กตัญูตอ บุพการี การรวมกิจกรรมอนุรกั ษม รดกไทยของโรงเรยี นและชุมชน การชืน่ ชมบคุ คลทท่ี าํ ความดี เหลา น้สี ามารถกระทําไดหลายรูปแบบ เชน การประกาศความดหี นา เสาธงใหส มาชกิ ในโรงเรยี นไดร บั ทราบ การประกาศยกยองชมเชยผานการจัดปา ยนเิ ทศ การมอบรางวัลความดี จะชว ยใหบุคคลอน่ื เหน็ คณุ คา และหนั มาทําความดีมากขึ้น ในสงั คมไทยไดมกี ารแสดงออกลกั ษณะในระดบั ชาติดวย เชน การยกยอ งบคุ คลใหเ ปน พลเมอื ง การยกยองใหรับรางวลั แมด ีเดน การยกยองบุคคลใหเ ปนศลิ ปน แหงชาติ เปนตน 5. สง เสรมิ ใหรักความยุติธรรม สงเสรมิ ใหย ึดมั่นในความดี ความถกู ตอง ไมล ําเอยี ง กระทาํ การทั้งปวงโดยปราศจากอคติ ใช ปญ ญาไตรตรองวิเคราะหเหตผุ ลอันจะเกิดขึ้น โดยสมควรแกเ หตุ และตระหนกั รวู าพงึ ปฎบิ ตั ิอยา งไรจงึ จะ พอเหมาะ พอควรแกเหตุนัน้ ๆ การสงเสรมิ ความยตุ ิธรรมสามารถทาํ ไดโ ดยรูจกั จาํ แนกผลประโยชนสว นตนออก จากผลประโยชนสาธารณะ ยดึ ถือหลักเหตผุ ลและความสมเหตุสมผล โดยไมเลอื กปฎบิ ตั ิและไมป กปองส่งิ ท่ีไม ถูกตอ ง 6. การสรางมิตรภาพ ในการเปนมติ รท่ดี ีตอกนั เราตอ งพยายามทจ่ี ะเขา ใจผูอ ่นื กอ นท่ีจะเรียกรอ งใหค นอื่นมาเขา ใจเรา นอกจากน้คี วามเขาใจระหวาง “เรา” และ “เขา” จะตองเปนความเขาใจรวมกันโดยมุงผลประโยชน สวนรวมเปนหลัก และในการทํางานรวมกนั นน้ั ทง้ั “เรา” และ “เขา” จะตอ งทาํ แบบ “สนบั สนนุ ” และ “สง เสรมิ ” ไมข ดั แยงกนั และไมม ุง ทําลายกัน 7. การแสดงความไมลาํ เอยี ง ความลาํ เอียงทส่ี ําคญั มี 4 ประการ คือ ความลาํ เอียงเพราะรกั ใคร ความลาํ เอยี งเพราะไมช อบ กนั เพราะความลําเอยี งเพราะโงเ ขลา ความลาํ เอียงเพราะกลวั หรอื เกรงใจกนั ซง่ึ สงิ่ เหลานจ้ี ะกอใหเ กิดปญ หามาก เพราะถาเห็นวา การปฎิบัติแบบน้ีทําใหไ ดดี คนก็จะปฎิบัตติ ามและจะนําไปสคู วามวุนวายในสงั คมได ดังน้ันการ แสดงความไมล าํ เอยี งจงึ มคี วามสาํ คัญ การไมล ําเอยี ง หมายถึง การกระทําดว ยความเปนกลาง ปราศจากอคตทิ ง้ั ปวง กระทาํ ส่งิ ตา งๆอยา งมี สติปญ ญา คอื พิจารณาเห็นผลอนั เกดิ ข้ึนโดยสมควรแกเหตผุ ลรูวาพึงปฎบิ ัติอยางไรจึงเหมาะสมกับเหตนุ ัน้ รวู า ส่ิงใดผิด ส่ิงใดถกู ผใู ดท่ีกระทาํ ผิดก็ไมป กปอ ง บคุ คลทก่ี ระทําไดย อ มไดร บั การยอมรบั การยกยองวาเปน ผทู มี่ ี ความยตุ ิธรรม และยงั จะเปนแบบอยา งที่ใหบ คุ คลอนื่ ถือปฎบิ ัตไิ ดดี เร่อื งที่ 4 การสง เสรมิ การเปน พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย การท่สี มาชิกในสงั คมประชาธปิ ไตยรูจ กั ปฎบิ ตั ติ นเปนพลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย ยอมเกดิ ผลดี ตอ สังคมและประเทศ ดังนี้ 1. ทําใหส งั คมและประเทศชาตมิ ีการพฒั นาไปไดอ ยางมนั่ คง เพราะการทที่ ุกคนมสี ว นรวมในการแสดง ความคิดเห็นอยางหลากหลาย และมีเหตุผลในงานหรอื โครงการตา งๆ ท้ังในระดบั ชุมชนถึงระดับประเทศ
8 ตลอดจนเปดโอกาสใหคนท่ีมีความรคู วามสามารถไดร ว มการทาํ งาน ยอมสงผลใหก ารทํางานและผลงานน้นั มี ประสทิ ธภิ าพ 2. ทําใหเกิดความรกั และความสามคั คีในหมคู ณะ เพราะเม่ือมีการทาํ กจิ กรรมรวมกันยอ มมีความ ผกู พัน รว มแรงรวมใจในการทาํ งานทั้งปวงใหบ รรลเุ ปา หมายได 3. สงั คมมีความเปน ระเบียบเรยี บรอย เพราะทกุ คนตอ งปฎิบตั ิตามระเบียบกติกาของสังคม ซงึ่ เปน กฎเกณฑท ่ีทกุ คนยอมรับ 4. สงั คมมคี วามเปนธรรม เมอื่ สมาชกิ ทุกคนไดร บั สทิ ธิ หนา ท่ี เสรภี าพ จากกฎหมายเทาเทยี มกันทําให สมาชกิ ทกุ คนไดรบั การปฎิบตั ิอยา งยุติธรรม กอใหเกดิ การเปน ธรรมในสงั คม 5. ทาํ ใหส มาชิกทุกคนในสังคมมคี วามเอือ้ เฟอ เผอื่ แผแ ละมนี ํ้าใจตอกัน โดยยึดหลักศีลธรรมเปน พ้นื ฐานในการปฎบิ ัติตอกนั ตามวถิ ีประชาธิปไตย การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองท่อี ํานาจมาจากประชาชนและจะถอื มตขิ องเสียง สวนใหญ การดาํ เนนิ ชีวติ ของสมาชกิ ในสงั คมประชาธิปไตยจะอยบู นพ้ืนฐานหลักการของประชาธปิ ไตย จะอยู บนพื้นฐานหลกั การของประชาธิปไตย เชน หลักอาํ นาจเปนของปวงชน หลักความเสมอภาค หลักสทิ ธิเสรภี าพ และหนา ท่ี เปนตน ประชาชนในสงั คมประชาธปิ ไตยจะมีสิทธแิ ละเสรีภาพเทาเทียมกันและถา ประชาชนปฎิบตั ิ ตนเปน พลเมืองดตี ามวถี ีประชาธิปไตย จะทําใหส งั คมและประเทศมคี วามเจรญิ กา วหนา และสามารถอยูร ว มกนั ในสังคมไดอยา งสันตสิ ุข การเปนพลเมอื งดีไมเพยี งพอแตป ฎบิ ตั ิตนตามสทิ ธิเสรีภาพ ปฎิบตั หิ นา ท่ีตามกฎหมาย โดยไมกระทาํ การใดๆ ท่จี ะกอ ใหเ กดิ ความเดอื ดรอน หรือกอ ใหเ กดิ ความเสียหายแกผอู นื่ ประชาชนทกุ คนจะตองคํานงึ ถงึ หลักการสําคัญท่วี า จะตองดูแลตนใหเปน คนมีคุณภาพ ชว ยเหลือและรบั ผดิ ชอบตนเองได รวมท้ังชวยเหลอื ดแู ลคนรอบขาง ชว ยกันดูแลชุมชนและสังคม ดังน้ัน การเปนพลเมอื งดีในสงั คมประชาธิปไตยจึงตอ งเปน คนมี คณุ ภาพท้งั 3 ดา น คือ สตปิ ญ ญา จติ ใจ และพฤตกิ รรมที่ดี
9 กิจกรรมบทที่ 1 คาํ ชแ้ี จง จงตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. พลเมอื งดีในวิถปี ระชาธปิ ไตย หมายถงึ อะไร ......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... ..... ..............................................................................,.,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,.,.......................... 2. ในฐานะที่นกั เรยี นเปนสมาชกิ ในสังคมประชาธปิ ไตย จะมแี นวทางในการประพฤติปฎิบตั ติ นอยางไร .......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... 3. ในการขจดั ความขดแยง ที่เกดิ ข้ึนท้งั ดานความคดิ อุดมการณ นกั เรยี นคิดวาวิธกี ารใดท่เี หมาะสมจะ นํามาแกไ ขความขัดแยง .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... 4. นายกวี ประกอบอาชีพขายอาหารตามส่ัง นายกวจี ะตองปฎบิ ตั ติ นอยา งไรจึงจะไดชอื่ วาเปน พลเมืองดตี ามวิถีประชาธิปไตยดานเศรษฐกจิ .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
10 บทท่ี 2 การเสรมิ สรา งความปรองดองในสังคมไทย
แผนการเรยี นรูประจาํ บทที่ 2 11 บทที่ 2 การเสรมิ สรา งความปรองดองในสังคมไทย สาระสําคญั การขดั แยง ทางความคดิ ในกลุมคนยอ มมบี างเปนเร่อื งธรรมดา แตถ าหากการขัดแยง ทางความคิดไดร ับ การไกลเกล่ยี ไดรบั รู ขา วสารหรือไดร บั การอธิบายจนเกดิ ความรู ความเขาใจทีถ่ กู ตอ ง การขดั แยง ทางความคดิ เหลา นัน้ ก็จะหมดไป ไมก อใหเกิดความแตกแยกสามคั คี ดงั นนั้ ประชาชนคนไทยตองรวมใจกนั เสริมสรางความ ปรองดองในสังคมไทย เพ่ือประเทศชาตเิ กดิ ความสามคั คี นาํ สูก ารพัฒนาประเทศชาตติ อ ไป ผลการเรยี นรูท่คี าดหวัง 1. บอกความหมาย ความสาํ คัญของการเสริมสรางความปรองดองในสงั คมไทย 2. อธบิ ายแนวทางการเสริมสรา งความปรองดองในสงั คมไทย 3. นาํ แนวทางการเสริมสรางความปรองดองไปประยกุ ตใชใ นการดาํ เนนิ ชีวิตประจําวัน ขอบขายเนื้อหา เร่อื งที่ 1. ความหมาย ความสําคัญ ของการเสรมิ สรางความปรองดองในสังคมไทย เรือ่ งที่ 2. แนวทางการเสริมสรางความปรองดองในสังคมไทย รากฐานความขัดแยง ในสังคมไทย ลักษณะความขัดแยงของสงั คมไทยในปจ จุบนั แนวทางสูสงั คมสมานฉนั ท เรือ่ งท่ี 3. ตวั อยางกจิ กรรมการเสริมสรางความปรองดองในสังคมไทย กิจกรรมการเรยี น 1. ศึกษาเอกสารการสอน 2. ปฎิบตั ิกิจกรรมตามที่ไดรับมอบหมายในเอกสารการสอน 3. ศึกษาคนควา หาความรจู ากแหลง เรยี นรตู า งๆ เชน ตาํ ราเรียน สอ่ื ส่ิงพมิ พต า งๆ กศน.ตําบล หองสมุด และอนิ เตอรเน็ต สอ่ื การสอน 1. เอกสารการสอนบทที่ 2 2. แหลงเรียนรตู า งๆ เชน ตําราเรียน สอื่ ส่งิ พิมพตางๆ กศน.ตาํ บล หองสมุด และอินเตอรเ นต็ 3. ใบงาน 4. กระดาษปรฟู 5. ปากกาเคมี การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค โดยใชแบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค 2. สังเกตทกั ษะกระบวนการ โดยใชแ บบประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการ 3. ตรวจผลงาน โดยใชแ บบประเมินผลงาน
12 บทที่ 2 การเสริมสรา งความปรองดองในสงั คมไทย เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั ของการเสรมิ สรางความปรองดองในสงั คมไทย “การเสรมิ สรา งความปรองดองในสังคมไทย” หมายความถงึ “การเพิ่มพูนใหดขี น้ึ หรอื มั่นคงยง่ิ ขนึ้ ดว ย ความพรอมเพรยี งกัน หรอื การเพมิ่ พนู ใหด ขี ้นึ ดว ยการออมชอม ประณีประนอม ยอมกนั ไมแกง แยงกัน ตก ลงดวยความไกลเ กลีย่ ตกลงกันดวยความมไี มตรีจิต ของประชาชนคนไทย” คนไทยสว นใหญ ลวนมีความรกั ใครแ ละสามัคคปี รองดองกันอยแู ลวในทกุ ถนิ่ ดวยความมีจารีต วฒั นธรรมประเพณกี ับความมศี ลี ธรรม ในสายเลือดและในจิตใจ สืบทอดตอตอ กันมา การขัดแยง ทางความคิด ในกลุมคนยอ มเกดิ มไี ดบา งเปน เรื่องธรรมดา แตถา หากการขัดแยง ทางความคดิ ไดร ับการไกลเกลย่ี , ไดร ับ ความร,ู ไดร ับขา วสารหรือไดรับอธบิ ายจนเกิดความรู ความเขา ใจที่ถกู ตอ ง การขดั แยง ทางความคิดเหลานน้ั ก็ จะหมดไปได ไมก อใหเกดิ ความแตกแยกสามัคคี ไมกอใหเกิดความรุนแรงใดใด ทงั้ ทางวาจาและทางกาย เพราะ คนไทย เปนชนชาตทิ ่รี ักสงบ รกั พวกพองและรกั แผนดนิ ถน่ิ เกิด ประเทศไทย มกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ เ ปน ประมุขมากวา 70 ป ลม ลกุ คลุกคลานมาโดยตลอด มกี ารปฎวิ ตั ิรัฐประหารเกิดขึน้ หลายคร้งั สาเหตุเกดิ จาก การท่ีบรรดา นกั การเมอื ง หรือกลมุ บคุ คลทางการเมือง ประพฤติปฎิบัติ บรหิ ารจัดการ ไปในทางทที่ ําใหเ กิดความเสียหายตอ ประเทศชาติและประชาชน แตก ็มีกลมุ ประชาชน นักการเมือง กลมุ นกั วชิ าการบางกลุม และกลมุ ผูใชห รอื อาศยั ระบอบการปกครองเปนเคร่ืองมอื ในการแสวงหาและปกปองผลประโยชน มกั เรยี กรองใหคืน ประชาธิปไตย กลา วหาวา การปฎวิ ัตริ ัฐประหารเปน เผด็จการ โดยความรูเ ทาไมถ งึ กาล ดวยความไมร ูจ ริงไมร ู แจง ในระบบการปกครองท้ังหลาย ความจริงแลวระบบการปกครองแบบไหนๆ กด็ ีเหมอื นกนั ท้ังนน้ั ข้นึ อยูกับ ความเหมาะสม การประพฤติปฎิบตั ิ การบรหิ ารจดั การหรือการใช วา จะมีความเหมาะสมสามารถประพฤติ ปฎิบตั ิ บริหารจัดการหรือใช ตามรูปแบบของระบอบประชาธิปไตยนน้ั ๆ ใหเกิดผลดไี ดเ พียงใด อีกทัง้ ยงั มีปจ จัย อน่ื ๆ หลายปจจัย อันเปน สว นประกอบทีจ่ ะทาํ ใหป ระเทศนั้นๆ ควรใชร ะบอบการปกครองรปู แบบใด เพื่อให เกดิ ประโยชน เกดิ ความสุข เกิดความม่ันคงตอประเทศชาติและประชาชน สาํ หรบั นกั การเมอื งและกลมุ บุคคลท่เี ก่ียวขอ ง ควรมศี ลี ธรรมจรรยา ยดึ ถือหลักศลี ธรรมในศาสนาอยู เปนนจิ มคี วามรกั ประเทศชาตบิ านเมือง เห็นประโชยนของประเทศชาติและประชาชนสาํ คญั กวาประโยชน สวนตน การขดั แยงทางความคิดของกลมุ นกั การเมืองและผูท ่เี ก่ยี วของยอ มเกิดขน้ึ ไดน อยมากหรืออาจไม เกดิ ขึ้นเลย น่นั ยอมเปนสง่ิ แสดงวา จะมผี ูท่ีไมป ระสงคด ตี อ ประเทศชาติของประชาชน ไปยยุ งเสี้ยมสอนหรือให อามิสสนิ จางกบั ประชาชนเพือ่ ใหเกดิ ความคดิ ที่ขดั แยง แตกแยกความสามคั คี กอการชมุ นุม นาํ ไปสกู ารใช ความรุนแรง กอการจลาจล เกดิ ความเดอื ดรอนความเสียหายตอประชาชนและ ประเทศชาตบิ านเมือง ประชาชนสวนใหญ เกิดความขัดแยงเกีย่ วกบั ความตองการมีรายไดท่พี อเพียง มอี าชีพมงี านทํา การ ไมถูกเอารดั เอาเปรียบหรือแยง การประกอบอาชีพ ความตองการมีท่ีทาํ กนิ ของเกษตรกร ปลดเปลอ้ื งหนส้ี นิ ความตอ งการขายสินคาทางการเกษตรกรรมใหไดราคาท่เี ปนธรรม การกนิ ดอี ยดู ี ความปลอดภัยในชีวติ และ ทรพั ยสนิ ความเสมอภาคหรือความเทาเทยี มกันในการศึกษา การเขา ถึงหรอื ไดรับสทิ ธขิ ้ันพน้ื ฐานและ สวัสดกิ ารตา งๆ อยา งเทาเทียม และอ่ืนๆ ถึงแมวา อาจจะมีการแขงขันกนั บา งในบางเรอื่ งบางอยา ง อีกทั้งการ ไดรบั การดูแลเอาใจใสจากรฐั บาล ผแู ทนราษฎร และหนว ยงาน ขา ราชการทกุ แขนงอยางเต็มกําลังสามารถ ถา หากประชาชน ไดรบั สิง่ ทต่ี อ งการตามท่กี ลาวไปตามสมควร รวมไปถงึ รัฐบาล ผูแทนราษฎร และหนว ยงาน ขา ราชการทุกแขนง มคี วามเอาใจใส ดแู ลประชาชนในทุกดาน ตามบทบาทหนาท่ี อยา งเตม็ กําลังสามารถ การ ขัดแยง ทางความคดิ ยอ มไมเกดิ ข้ึน หรอื อาจจะมคี วามขัดแยงทางความคิดบางเลก็ นอ ยเปน ธรรมดา ไมถึงกับ
13 เปนสาเหตุทาํ ใหเกดิ ความแตกแยกสามคั คี นําไปสกู ารชมุ นมุ และยอ มจะมีแตค วามสามัคคี ความรกั ใคร ปรองดอง อยา งแนนแฟนของคนในชาติ อกี ประการหนึ่งเกีย่ วกบั การกาํ หนด นโยบาย แผนงาน โครงการฯและ การปฎบิ ัติ ของแตล ะกระทรวง ทบวง กรม ที่ไมสอดคลอ งไมส ัมพันธก ัน กเ็ ปนสาเหตหุ นงึ่ ที่ทําใหเกิดความ ขัดแยงทางความคิด เปนสาเหตุทําใหประชาชนบางสว นหรอื สวนมากไมไ ดรับความเปนธรรม ดังนัน้ กระทรวง ทบวง กรม ตางๆ “อาจจะตอง” มกี ารประชุมปรกึ ษา ในการกาํ หนดนโยบาย แผนงาน โครงการฯและการ ปฎบิ ตั ิ รว มกนั สอดคลองสัมพันธกนั เอื้ออํานวยซ่ึงกันและกนั ตงั้ แตล ะดับสงู ไปจนถงึ ระดับปฎบิ ตั งิ าน ยอม สามารถลดการขัดแยงทางความคดิ ของประชาชนลงได หรอื ไมมกี ารขัดแยง ทางความคิดเกดิ ข้ึนเลย ประชาชนควรไดร ับความรู หรือมคี วามรูค วามเขา ใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบระเบยี บ วิธกี ารทํางานหรอื กลวธิ ีของพรรคการเมอื ง และควรไดรับความรู มคี วามเขา ใจ เกี่ยวกบั กลวธิ ใี นการทุจรติ คอรร ัปชัน่ ประพฤติมิชอบ การรับเงินสมนาคณุ หรือกฎหมายท่เี กยี่ วขอ งกบั พรรคการเมืองและนกั การเมอื งทุก รูปแบบ รวมถงึ ความรู เกยี่ วกับกฎหมายท่ีสาํ คญั ในชีวติ ประจาํ วันและอ่ืนๆ เพ่อื ใหประชาชนเกดิ การเคารพใน กฎหมาย ประพฤตปิ ฎบิ ตั ิตามกฎเกณฑก ติกาหรือตามกฎหมาย, ประชาชนทกุ หมูเหลา ทกุ สาขาอาชีพ ควร ไดรับการพฒั นาทางดา นจติ ใจใหมคี ณุ ธรรมทางศาสนา ใหเกดิ มีความรู มีความเขา ใจในหลักการหรอื หลกั คาํ สอนทางศาสนา อนั จะเปนบรรทัดฐานหรือเปนแนวทางในการประพฤติปฎิบตั ติ ามหนาท่ี แหง ความเปน ประชาชนชาวไทย เพื่อใหเกดิ ความมรี ะเบียบ มีวนิ ัย ทั้งความคดิ ทงั้ จติ ใจ ในทุกดาน อันจกั ทําใหการขัดแยง ทางความคดิ ในทุกชมุ ชน ทุกสงั คม ทุกหนวยงาน ทุกกลุมบุคคล ลดนอ ยลงหรือไมม ีการขัดแยงทางความคดิ ท่ี รนุ แรงเกดิ ขน้ึ นั้นยอมแสดงใหเ ห็นวา คนไทย ไดเ สริมสรา งความสามัคคี คือ ไดเพิม่ พูนใหด ขี น้ึ หรือมั่นคงยง่ิ ขน้ึ ดว ยความพรอมเพยี งกัน ออมชอม ประนปี ระนอม ยอมกนั ไมแกง แยง กนั ฯ ตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี ตามหลกั กฎหมาย ตามหลักศีลธรรมในศาสนา ซง่ึ “การเสริมสรา งความสามัคคขี องคนไทย” จะสําเร็จได ก็ ดว ยคนไทยรว มมอื รวมใจกนั ประพฤตปิ ฎบิ ตั ิ เพอ่ื ประเทศไทย และเพ่ือคนไทย เร่อื งที่ 2 แนวทางการเสริมสรางการปรองดองในสงั คมไทย ปจ จบุ ันสังคมไทยกาํ ลังประสบกับวิกฤตการณความขดั แยงการแตกแยกของคนในชาติ ซง่ึ ไดท วีความ รนุ แรงและยืดเยือ้ มากในทกุ วินาที ซ่งึ มสี าเหตเุ กดิ จากความรนุ แรงทางโครงสรางทไ่ี ดฝงรากลกึ อยา งยาวนานใน สงั คมไทย ทาํ ใหเ กิดความไมเ สมอภาคเทา เทียมระหวา งชนช้นั ของคนไทยในสังคม รัฐไมสามารถรกั ษาผลประโยชนของประชาชนไดอยา งแทจ ริง เกิดการเสอ่ื มสลายของความไวว างใจใน สังคม ท่มี ีตอรฐั เกิดปรากฏการณการแบง พวกของประชาชนเปน ฝก ฝา ยอยา งชดั เจนซึ่งเปนการสรา งสถานะ ของความเปน พวกเขาพวกเราหรือความเปนอน่ื และเปน การสรา งความเกลียดชังจนมาสกู ารทําลายกันทาง ความคิด คําพดู และการกระทาํ ของประชาชนในประเทศไทยอยา งไมเคยปรากฏมากอน จนทาํ ใหเกิดปฎิกริ ยิ า ของสาธารณชนในเชงิ ตอตานอาํ นาจรัฐอยางชัดเจน เชน การตอ ตา นการจัดระเบียบสงั คม การตอ ตา นการ บงั คับใชกฎหมายของภาครฐั การชมุ นมุ ประทว งดวยสันติวิธจี นถึงขนั้ ใชกําลงั และความรุนแรง ภาพของประชาชนชาวไทยท่ีประหัตประหารกนั เองถูกถา ยทอดมาสูสายตาของคนไทยทัง้ ประเทศ และประชาคมโลกผา นสอ่ื ตางๆ อยางตอ เน่อื งเปรยี บเสมือนการตอกยํา้ ความขดั แยง ความรนุ แรงใหฝงรากลึก ลงไปในจิตใจของคนไทยทกุ คนในขณะเดยี วกนั เปรียบเสมอื นการกระตนุ เตอื นจิตใจวา ถึงเวลาแลว ทป่ี ระชาชน ชาวไทยทกุ คนและทกุ ภาคสว นของสังคมจะรวมกันปรบั เปลี่ยนวกิ ฤตการณค รั้งยิ่งใหญค รงั้ น้ีใหกลายเปนโอกาส ครงั้ ประวตั ิศาสตรข องประเทศชาตดิ ว ยการรว มกันสรา งสังคมไทยใหเปนสงั คมแหง สมานฉนั ท ดว ยการ เสรมิ สรา งแนวคดิ ในการเคราพซึ่งความแตกตา ง หรือความเห็นตาง เชน ความแตกตางทางความคดิ แตกตา งทาง วัฒนธรรม เช้อื ชาติ และศาสนา รว มกนั ฟนฟูกระบวนการหลอ หลอมคณุ ธรรมจริยธรรม การเสยี สละเพื่อ สวนรวม และจติ สํานกึ สาธารณะ ประกอบการเสรมิ สรา งวฒั นธรรมแหง สนั ตวิ ธิ ที ีต่ งั้ อยบู นพน้ื ฐานของหลัก
14 คณุ ธรรมรวมกันสรางชุมชนเขมแขง็ ทีม่ คี วามพรอ มและมศี กั ยภาพในการจัดการกบั ปญหาขอ ขัดแยงทเ่ี กดิ ขึน้ ใน ชุมชนของตนเองไดกอ นท่จี ะลุกลามใหญโตกลายเปน ปญหาความขัดแยง รนุ แรงของประเทศชาติ ท้ังน้เี พอื่ นําไปสูการมีจุดมงุ หมายรว มกนั ของคนทั้งชาติ น่ันคือ การรว มกันแกป ญ หาความขัดแยง ความ แตกแยกของคนในชาติท่ีประสบอยใู นปจ จุบัน และรวมกนั ฟน ฟา อุปสรรคไปสเู สน ทางของการเปนสังคมแหง ความเปน สมานฉันท และเปนสงั คมทีม่ ีความพรอ มในการรบั มอื กับปญ หาและสามารถปองกนั ความขัดแยง ได อยางยั่งยนื เพราะความสมานฉนั ทในสังคมเปนพน้ื ฐานสาํ คัญของความสงบสุข เพราะหากคนไทยทุกคนมคี วาม รักความสามัคคีมีจดุ มงุ หมายเปน หนง่ึ เดียวกันและมีความตองการรว มกนั กย็ อมเปน การยากย่ิงทีศ่ ตั รูตางๆ จากภายนอกและศัตรภู ายในประเทศจะสามารถบอนทาํ ลายได รากฐานของความขดั แยงในสงั คมไทย รากฐานของความขัดแยง ในสงั คมไทย มีสาเหตหุ ลกั ๆ สรุปไดดังน้ี สงั คมไทยมปี ญ หาความรุนแรงทางโครงสรางทเี่ ปนเง่อื นไขของการทาํ ใหเ กดิ ความขดั แยงในตัวเอง เนือ่ งจากอํานาจนยิ มและระบบอปุ ถัมภยังคงฝง รากลกึ อยใู นสังคมไทย โครงสรางทางอํานาจยงั เปนของคนชั้น นําและนกั การเมอื งท่มี ผี ลประโยชนรว มกบั กลมุ นายทุน เกิดปญหาความเลอื่ มล้ําทางสังคมเนือ่ งจากการ กระจายรายไดท ่ไี มเปนธรรม เกดิ ชอ งวา งระหวางคนจนกับคนรวย จนกอ ใหเกิด ความแตกแยกทางชนชน้ั ของ สงั คม ผูดอยโอกาสไมมสี วนรว มอยางจริงจงั ในการตดั สินนโยบายทจ่ี ะสง ผลกระทบตอตนเอง ประชาชนไมม ี สวนรวมทางการเมอื งอยางแทจรงิ ความไมเ ทาเทียมกันทงั้ หมดนก้ี อ ใหเกดิ ความขดั แยง ท่นี าํ ไปสคู วามรนุ แรงใน สงั คมย่งิ ชอ งวา งระหวางสิง่ ท่ีควรจะเกดิ กบั ส่งิ ท่เี กิดข้ึนจรงิ ในสงั คมยง่ิ หา งกนั เทา ใด ความรุนแรงเชงิ โครงสรา ง ทางสังคมจะย่งิ มีมากขึน้ เทาน้ัน (ฉนั ทนา บรรพศริ ิโชค, 2550) จากความรนุ แรงเชงิ โครงสรา งทางสงั คมไดนํามา สกู ารขาดความไวว างใจทางสงั คมของประชาชน เน่อื งจากสถาบนั ทางสงั คมและผนู ําไมส ามารถปกปอง ผลประโยชนข องสาธารณชนได ขาดความยตุ ธิ รรมและความเสมอภาคเทาเทยี มในการดาํ เนินงาน ขาดความ สํานึกรับผิดชอบตอสว นรวม จึงสง กระทบตอ สมั พนั ธภาพและความคาดหวงั ของประชาชนทม่ี ตี อ รฐั การขาดความไววางใจทางสังคมของประชาชนทาํ ใหเ กดิ ความขดั แยงที่ปญ หาอัตวสิ ัย ไดแ ก เรื่อง ของ อคติ ซงึ่ จะนําไปสกู ารรบั รทู ี่ผิด เขาใจผิดในประเดน็ ทเี่ กีย่ วขอ งกบั ความขัดแยง ซึง่ เกิดจากการสื่อสารท่ถี ูก เบยี่ งเบนไปจากความจรงิ การขาดความรแู ละความรทู ีไ่ มเทาเทยี มกนั ของแตบคุ คลเปน ตัวปดกัน้ ความเขาใจที่ ถกู ตอ งและทาํ ใหเ กิดการตีความสถานการณความขดั แยง แตกตา งกนั ซ่งึ ปญ หาอัตวสิ ยั ทแ่ี กไขไดยาก คอื อคตทิ ่ี มอี ยูร ะหวางผมู อี ํานาจกบั ประชาชน กลมุ คนเมอื งกับกลุมคนชนบท และกลุมผูชมุ นมุ ประทวง อคติระหวา ง กลุมคนที่เกดิ ขน้ึ มผี ลตอ การกอตวั และการขยายตวั ของการขดั แยงไดส่งิ ตา งๆ เหลานจ้ี ะนาํ มาสกู ารเกดิ อคติ
15 หรือการยึดเอาตัวเองหรอื พวกเดยี วกนั เปน ศูนยก ลางโดยการสรา งสัญญลกั ษณข องกลมุ รวมกนั และไมสามารถ ยอมรบั ความเห็นทต่ี า งจากกลุมของตนไดมกี ารรณรงคสรางความเกลียดชังฝา ยตรงขา ม ผานการปลกุ ระดมของ กลุมแกนนาํ ดวยวิธีตางๆ จนทําใหสงั คมไทยในปจ จบุ นั มีลกั ษณะของการแบงฝกฝา ยของประชาชน เกดิ การ เกลียดชังกลมุ ทม่ี คี วามคิดเห็นตา งจากกลมุ ของตน จนถงึ ขั้นทําราย ทาํ ลายฝายตรงขาม ดังคํากลา วของ มหาตมะ คานที “เมือ่ เรา เหน็ วาคนอ่ืน ไมใ ชค นเหมือนเรา การทจี่ ะใชความรนุ แรงกับเขาก็เปน เร่อื งยาก” (ฉนั ทนา บรรพศริ ิโชค, 2550) ลกั ษณะความขดั แยง ของสงั คมไทยในปจ จบุ นั สงั คมไทยในปจจุบันมพี ฒั นาการของความขดั แยงอยใู นระยะที่ 3 คือ ความขัดแยง ทีป่ รากฏชดั เจน เปนระดบั ของความขัดแยงท่มี ีการเรียกรองและมกี ารแสดงออกถงึ ความไมพ งึ พอใจอยา งชดั เจน และจนจึงข้นั ใชค วามรนุ แรงในขอ ขดั แยง นนั้ เกิดปรากฎการณก ารรวมตัวของประชาชนโดยมีการแบงฝก ฝายอยา งชดั เจน เพ่อื ตอ ตานการกดดันรัฐใหกระทาํ และตอบสนองในส่ิงทตี่ นตอ งการ โดยปฎิกิริยาดงั กลา วอยบู นหลักเกณฑของ การมองประเด็นปญหาแบบความไวว างใจแบบอิงการคาํ นวณหรอื ความไวว างใจที่องิ อยบู นหลกั ประกันทั้งบวก และลบ โดยประชาชนมองวาตนทนุ ท่ีตองเสียไปจากสถานการณความขดั แยงทางการเมือง ไมว า จะเปนการใช ความรุนแรง ของภาครฐั จนทาํ ใหมผี เู สียชีวติ และผูบาดเจบ็ จาํ นวนมาก ภาพลักษณของประเทศท่ีเสียหาย เกิด ปญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่าํ ปญ หาการวางงาน ปญ หาสังคมทเ่ี กิดขึ้นสง ผลตอการดํารงชวี ติ ของประชาชนเปน อยา งมากแตร ัฐไมสามารถแกป ญ หา และสนองทางเลือกใหกับประชาชนได จนทําใหประชาชนคิดวาตนทุนท่ี ตนสูญเสยี ไปกับผลประโยชนทไี่ ดร ับไมมคี วามสมดุล นํามาสกู ารประทวงตอ ตา นรฐั เรยี กรองใหรัฐรบั ผดิ ชอบจน สง ผลกระทบตอเสถยี รภาพของรัฐบาล ทาํ ใหก ารดาํ เนินการแกไขปญ หาขา งตนลา ชา ไมตรงตามความตองการของประชาชน (วนั ชัย วฒั นศพั ท 2550 : 58-61) จึงนํามาสคู วามขดั แยงระหวา งรฐั และประชาชน โดยมลี กั ษณะของความขัดแยง แบบไมสมมาตร ทคี่ ูข ัดแยง มีความไมเ สมอภาคกันหรอื เทา เทียม กัน ผูกุมอาํ นาจ มกี ารใชอาํ นาจเหนอื กวาอกี ฝายทเี่ ปน ผคู ัดคา น เพ่ือใหเ กดิ ความยนิ ยอม ความไมส มมาตรมี แงม ุมของความไมส มมาตรทางกฎหมาย และความไมสมมาตรทางโครงสรา ง ความไมสมมาตรทางกฎหมาย เกดิ จากการยอมรบั หรอื การปฎเิ สธฐานะของอกี ฝา ยหน่ึง ปฎเิ สธสทิ ธทิ ี่จะมีสว นรว มและมีเทาทเี ปนปฎิปกษ โดยยึดกฎหมายท่ีใหป ระโยชนกบั ผกู มุ อํานาจและปฎิเสธฝา ยทตี่ อ ตา น สวนความไมสมมาตรทางโครงสราง ไดแ ก การเขาถงึ อํานาจการตดั สินใจความสามารถในการควบคมุ กลไกลของรฐั เปน ของผูกุมอาํ นาจ ความไม สมมาตรเชนนีส้ งผลใหแตล ะฝา ยมีทศั นะหรือความรับรเู กีย่ วกับปญหาความขดั แยง ไมเหมอื นกนั “กลายเปน ปญ หาความขดั แยง ท่ีมพี ลงั ควบคุมโดยรฐั กับพลังทา ทายโดยประชาชน” (วิศิษฎ ชชั วาลทพิ ากร, 2540)
16 หนทางสูสงั คมสมานฉนั ท มหาตมะ คานธี กลา ววา “ความสมานฉันท ตอ งต้ังอยบู นรากฐานของส่ิงทส่ี ําคญั ทีส่ ดุ สาํ หรับมนุษยนั้น คือ ความจรงิ และความรัก เพราะความสมานฉนั ท และสนั ตวิ ธิ นี ั้นเปนเรอื่ งของความสมั พนั ธ ระหวางบุคคล หวา งกลมุ จะลงรอยได จะสมานความรา วฉานกนั ไดจ ะตองตั้งอยบู นการทําความจรงิ ใหปรากฎการณเ ทานนั้ โดยจรยิ ธรรมของความสมานฉันทจะเรมิ่ ทีเ่ ห็นความสาํ คญั ของความจรงิ ยอมรบั ความจรงิ แมว า ความจริงน้ัน อาจหมายถงึ ความผดิ พลาดของตัวเราเอง หรอื ความผิดพลาดของใครกต็ าม เพราะคนเราจะสมานรอยราวฉาน แตกแยกจนเกิดฉนั ทะ รวมกนั ข้ึนไดน ั้น ตองเผชญิ หนา กับความจรงิ เปน ประการตน หากบดิ เบือนหรือกลบ เกลื่อนความจรงิ ยอ มเปนไปไมไ ดที่ สมานฉนั ทไ ดสาํ เรจ็ ย่ิงกวานนั้ การอาํ พรางความจรงิ ยังสอ เลศนยั ของความ รนุ แรงแอบแฝงอีกดว ย” (เออื้ จิต วโิ รจนไ ตรรัตน,2548) แนวทางสมานฉนั ท คือแนวทางของความปรองดอง เห็นพอ งรวมกนั นนั่ คอื การรบั ฟง ปญ หาเพื่อ เขา ถึง รับฟงความคดิ เห็น ขอเสนอแนะจากทุกภาคสวนเพ่อื แกป ญ หาใหหมดสนิ้ ในระยะยาว โดยไมม งุ เนน การ ใชความรุนแรง แตม งุ สรางความเขา ใจ ความไวว างใจจากประชาชนวารัฐจะอํานวยความยุติธรรม และความ เทาเทียมใหกับประชาชนได รศ.ดร.ชยั วฒั น สถาอานนท (วิยะดาสิมะเสถียร : 2545) กลาวถึงแนวทางการสรา งสมานฉนั ทใน สงั คมไทย ดังน้ี 1. การเปดเผยความจริง ( Truth) ใหความสําคัญกบั ความจริงทง้ั ในฐานะเครื่องมือหรือเปา หมายของ สังคมสมานฉนั ทเพอ่ื สรา งสันติภาพท่ียง่ั ยืน ขณะเดยี วกนั ก็หาหนทางใหสังคมไทยตระหนักถึงความเปด เผย ความจริงนั้นดวย 2. ความยุตธิ รรม (Justice) ใหความสาํ คัญกับความยุติธรรมเชงิ สมานฉนั ท ดวยการเสรมิ สรางแนวคิด วเิ คราะหในสงั คมไทยใหเ รยี นรูวิธีการมองปญหาความรุนแรงใบบริบทเชิงโครงสรางและวฒั นธรรม ใหเ ลง็ เหน็ คนบรสิ ทุ ธ์ิกลุม ตางๆ ท่ตี กเปนเยอ่ื ของความรุนแรง 3. ความพรอมรบั ผิด สงเสรมิ ระบบและ วัฒนธรรมความพรอ มรับผดิ ในระบบราชการ 4. การใหอภัย 5. การเคารพความหลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม ใหค วามสําคญั กับขนั ตธิ รรมในฐานะคุณคา ทาง การเมอื ง การเรยี นรู ศาสนาตา งๆ ทด่ี ํารงอยูในประเทศไทย 6. ถอื สันตวิ ธิ เี ปน ทางเลอื กในการเผชิญกับความขดั แยง 7. การเปด เผยพนื้ ทีใ่ หความทรงจําทีเ่ จบ็ ปวดดวยการเปดพ้ืนท่ีประวัติศาสตรท องถ่นิ เปน สว นหน่งึ ของ ประวัติศาสตรไ ทย 8. มุงแกป ญหาในอนาคตดว ยจินตนาการ 9. การยอมรบั ความเสยี่ งทางสงั คมเพ่อื ความไววางใจระหวางกนั เพราะการยอมรบั ความเส่ยี งเปน เงื่อนไขสายสัมพันธร ะหวางมนษุ ยบ นฐานแหงความไวว างใจอันเปนคุณลกั ษณส าํ คญั ของแนวความคิด สมานฉนั ท
17 เรอื่ งที่ 3 ตวั อยางกจิ กรรมการเสริมสรางความปรองดอง โครงการ Bike For Mom “ปน เพ่อื แม” วัตถปุ ระสงคการจัดกิจกรรม 1. เพอื่ เปนการเฉลิมพระเกียรติ สมเดจ็ พระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เน่อื งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 12 สงิ หาคม 2558 2. เพ่อื ใหพ สกนิกรทกุ หมูเหลา ไดแ สดงออกถงึ ความจงรักภกั ดี ตอสถาบนั พระมหากษัตริย 3. เพื่อเปนการรวมแสดงออกของประชาชน ถึงความรักทมี่ ตี อ แม และแมข องแผนดนิ 4. เพ่อื ใหพสกนกิ รทุกหมูเ หลา ไดม ีโอกาสรวมกจิ กรรมจักรยานเฉลมิ พระเกียรติอยา งทัว่ ถงึ และ เสริมสรา งความสามัคคีของคนในชาติ ท่ีจะรวมกนั จัดกจิ กรรมถวายพระพรแด สมเดจ็ พระนางเจา ฯ พระบรมราชนิ นี าถ 5. เพอ่ื เปนการสง เสริมสุขภาพของประชาชนในการรวมออกกําลังกาย ทาํ ใหส ุขภาพรา งกายสมบูรณ แขง็ แรง ปลกู ฝง ใหประชาชนรักการออกกาํ ลังกาย และเสรมิ สรางความมนี าํ้ ใจเปนนักกฬี า อีกทั้งไดน ํากิจกรรม ดงั กลาวไปตอ ยอดขยายผลตอ ไป รูปแบบการจัดกจิ กรรม ใหพสกนกิ ร ในจงั หวัดตา งๆ ทวั่ ประเทศไทยไดม โี อกาสรวมกจิ กรรมปนเพ่ือแมพ รอ มกนั ทงั้ ประเทศ วนั อาทติ ยท ่ี 16 สิงหาคม 2558 เวลา 15.00 น. เพื่อเปนการแสดงออกถงึ ความจงรักภกั ดี และสราง ความสามัคคีในกลมุ องคกรท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนเปนกิจกรรมท่สี รา งความปรองดองของคนใน ประเทศ โครงการ “รอ ยใจไทย” วตั ถุประสงคการจดั กิจกรรม 1. เสรมิ สรา ง และขยายโอกาส ในการใหค วามรูความเขา ใจถงึ สาเหตุของการแตกแยกและแนว ทางแกไขแกนกั ศึกษาเพอ่ื รว มกนั แกป ญหาในชุมชน 2. เสรมิ สรา ง รูปแบบของการดําเนนิ การสรา งเครอื ขายเพอื่ ความสามัคคี ความรักชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริยใ หห ลากหลายวธิ ี 3. ลดความขดั แยงโดยใหม กี ิจกรรมดนตรีและกิจกรรมสาธารณะเปน จดุ รว ม 4. ปรบั ปรุงแนวทางใหน กั ศกึ ษามสี ว นรว มในการออกความเหน็ เสนอแนะในการสรา งความสามคั คีให มากขน้ึ 5. รกั ษาความดีงามและดํารงเอกลกั ษณข องความเปนไทย 6. ปรบั ปรงุ และเพิม่ ประสิทธภิ าพ ของการเปนเครือขายทาํ ความดี อยางมีระบบ 7. ปรบั ปรงุ เสริมสรา ง การตดิ ตอ ประสานงานในการสรา งความเขาใจทีถ่ กู ตอ งเหมาะสมใหแ กม วลชน 8. สรางพนื้ ฐานใหก ารปรับแนวคิดรกั ษาประโยชนข องสวนรวมใหก ับเครือขา ย 9. ปรบั ปรุงขอ มลู ของเครอื ขา ยใหท นั สมยั ทนั เวลาอยตู ลอดเวลา
18 รปู แบบการจดั กจิ กรรม จดั กิจกรรมหลากหลายวิธี ทง้ั กิจกรรมทางดนตรี กิจกรรมจติ อาสาพฒั นาชุมชน กจิ กรรมชวย ผูประสบภัย กจิ กรรมแสดงความจงรกั ภักดตี อ สถาบนั พระมหากษตั ริย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
19 บทท่ี 3 การเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตริย
20 แผนการเรยี นรูประจาํ บทท่ี 3 บทที่ 3 การเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตริย สาระสาํ คญั สถาบันพระมหากษัตริย เปน หน่งึ ในสถาบันหลักของประเทศชาติ อันประกอบดว ย สถาบนั ชาติ สถาบนั ศาสนา และสถาบันพระมหากษตั รยิ ซงึ่ เปน สถาบันทมี่ คี วามสาํ คัญอยางมากตอ ประเทศชาติ เปน ศูนย รวมจติ ใจของประชาชน เปนสัญลกั ษณข องความเปน ชาติ การปกครองของไทยในอดตี มเี หตกุ ารณส าํ คญั ๆ เกิดข้นึ ทําใหก ารปกครองเปลีย่ นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปน การปกครองแบบประชาธิปไตย ซ่ึงมี พระมหากษตั รยิ ท รงเปนพระประมุข เปน ผนู ําแบบอยางของราษฏร ท่มี ีพระราชกรณยี กิจในการพัฒนา ประเทศชาติและประชาชน ทส่ี าํ คญั มากมาย ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั 1. อธิบายถึงความสําคัญของการมสี ถาบันพระมหากษตั ริย 2. อธบิ าย พรอมยกตัวอยางเหตุการณส ําคัญๆ ในการปกครองประเทศของ พระมหากษัตริยไทยได 3. อธิบายพระราชกรณียกจิ ทสี่ ําคัญของสถาบันพระมหากษตั ริยทม่ี ีตอปวงชนชาวไทยได 4. มีสว นรวมในกจิ กรรมเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ ขอบขายเนอ้ื หา 1. ความสาํ คัญ ของสถาบนั พระมหากษัตริย 2. เหตกุ ารณส ําคัญๆ ในการปกครองประเทศของพระมหากษัตรยิ ไ ทย 3. พระราชกรณยี กิจสาํ คัญของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ท มี่ ตี อปวงชนชาวไทย 4. การมสี วนรวมในกจิ กรรมเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ กิจกรรมการเรียน 1. ศึกษาเอกสารการสอน 2. ปฎิบตั ิกิจกรรมตามท่ีไดร ับมอบหมายในเอกสารการสอน 3. ศึกษาคนควาหาความรูจ ากแหลง เรียนรูตา งๆ เชน ตําราเรยี น สื่อ ส่งิ พิมพต างๆ กศน.ตําบล หอ งสมุด และอนิ เตอรเ นต็ สอ่ื การสอน 1. เอกสารการสอนบทท่ี 3 2. แหลงเรยี นรูต างๆ เชน ตําราเรยี น สื่อ สงิ่ พมิ พต า งๆ กศน.ตําบล หอ งสมดุ และอนิ เตอรเ นต็ 3. ใบงาน 4. กระดาษปรฟู 5. ปากกาเคมี
21 การวดั และประเมนิ ผล 1. สังเกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค โดยใชแ บบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค 2. สังเกตทกั ษะกระบวนการ โดยใชแ บบประเมนิ ทักษะและกระบวนการ 3. ตรวจผลงาน โดยใชแ บบประเมินผลงาน
22 บทที่ 3 การเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั รยิ เรือ่ งท่ี 1 ความสําคญั ของสถาบันพระมหากษัตริย แกนหลักแหงความม่ันคงของชาติ แกนหลกั แหง ความม่นั คงของชาติ ไดแ ก สถาบนั ชาติ สถาบนั ศาสนา สถาบันพระมหากษตั ริย ความสําคัญของสถาบนั ท้ัง 3 ปรากฎอยูในธงไตรรงคเปนธงชาตไิ ทย ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว ไดท รงริเรมิ่ ใหใชธงไตรรงคเปนธงชาตไิ ทยตง้ั แต พ.ศ.2460 เปน ตนมา มาจนถงึ ปจจบุ นั น้ี พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจาอยูห วั ไดทรงพระราชนิพนธค วามหมายของธงไตรรงคไวดงั น้ี แดง คอื โลหติ เราไซร ซง่ึ ยอมสละได เพ่ือรกั ษาชาตศิ าสนา (แดงหมายถึงสถาบนั ชาต)ิ ขาว คอื บรสิ ุทธิ์ศรีสวัสด์ิ หมายถงึ พระไตรรัตน และธรรมคมุ จติ ใจ (ขาวหมายถงึ สถาบนั ศาสนา) นาํ้ เงนิ คอื สโิ สภา อันจอมประชา ธ โปรดเปนสว นพระองค (นาํ้ เงินหมายถงึ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ) สถาบนั ชาติ สถาบนั ศาสนา และ สถาบนั พระมหากษตั ริย จึงเปนอนั หนงึ่ อันเดยี วกัน ไมอ าจแยกจาก กนั ได ตามคํากลาวท่ีวา “พระมหากษัตรยิ คชู าติ พทุ ศาสนคูไทย” ความหมายของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ความหมายของ “พระมหากษัตรยิ ” ตามรูปศพั ท หมายถึง “นกั รบผยู ่งิ ใหญ” ถาจะถือตาม ความหมายที่ใชกนั อยูท่วั ไป และความเขาใจตามธรรมดาแลวพระมหากษัตรยิ กค็ ือ พระเจา แผนดินในภาษา สนั สกฤตคาํ วา กษัตรยิ หมายถึงผปู อ งกันหรอื นักรบ มคี ําเรยี กพระมหากษตั รยิ หลายคําเชน พระราชา หรอื ราชัน หมายถึง ผนู อ มจิตใจของผอู นื่ ไวด ว ยธรรม จกั พรรดิ หมายถึง ผปู กครองท่ีปวงชนพงึ ใจและเปนผมู ี คณุ ธรรมสงู และใกลเคยี งกับคาํ วา ธรรมราชา หมายถึง ผรู กั ษาและปฎิบัติธรรมท้งั เปน ตนเหตแุ หงความ ยุตธิ รรมท้ังปวง คําวาพระเจาอยูหัว หมายถงึ พระผูเปน ผนู าํ หรือประมขุ ของประเทศ และคาํ วา “พระเจา แผนดนิ ” หมายถงึ พระมหากษตั ริยทรงเปน พระเจาแผนดิน ไมว าจะเลือกใชค าํ ใด คาํ วา “ราชา” “กษัตริย” “จกั รพรรดิ” โดยความหมายแลวนา จะใชเหมอื นๆกัน อยา งไรก็ดใี นสงั คมไทยเรยี กพระมหากษัตริย วา “ในหลวง” “พอหลวง” “พอ ของแผน ดนิ ” ความหมายก็คอื เปน ผปู กครองทเี่ ปรียบเสมอื นพอ อยเู หนือเกลาเหนอื ชวี ติ ซ่งึ ชนชาวไทยมีความจงรักภักดีชั่วกาลนาน จากอดีต จนถึงปจ จบุ ัน คนไทยเราอยแู ละคนุ เคยกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ เ ปน อยา งมาก พระมหากษัตริยไทย ทรงบําเพญ็ พระราชกรณยี กิจนานัปการเพอื่ ใหพสกนิกรอยเู ย็นเปน สุข สถาบัน พระมหากษตั รยิ จงึ หมายถงึ สถาบันสงู สดุ โดยทรงเปน พระประมขุ ของชาตทิ รงเปน ศูนยร วมแหงความ จงรักภักดี ทรงเปน ทีย่ ดึ เหนยี่ วจิตใจของประชาชนชาวไทยท้ังชาติ ทรงไวซึง่ คุณธรรมอนั ประเสริฐ และเปน ที่ เคารพรักเทดิ ทนู อยา งสูงยงิ่ ของประชาชนชาวไทยท้ังประเทศ
23 แนวคดิ สถาบันพระมหากษตั ริย พระมหากษตั ริยแ ตเ ดมิ มีแนวคิดสองประการคอื ถือวา พระมหากษัตรยิ คอื หวั หนาครอบครวั ใหญที่มี ความสมั พนั ธก ันทางสายเลือดกับหมูค ณะ ประการที่สองคอื พระมหากษัตริยท รงเปน ประมุขของรฐั ในทาง การเมอื งหรือผูมีอาํ นาจสูงสดุ โดยเฉพาะในยุโรปมคี วามเชื่อในเรอื่ งลัทธิเทวสิทธิ์ และถอื วา พระมหากษตั ริยท รง ไวซงึ่ อํานาจอธิปไตยและมีอํานาจสงู สุดในการปกครองประเทศรวมทงั้ มีอาํ นาจโดยสมบูรณ สาํ หรับประเทศไทยแนวคิดในเร่อื งพระมหากษัตริยเริ่มปรากฏชัดเจนในยคุ กรงุ สุโขทัยโดยใชค าํ วา “พอขุน” ราษฎร มคี วามใกลช ิดกบั พระมหากษัตริย พระมหากษัตริยในสมัยน้นั เรยี กวาพอ ขนุ กพ็ รอมทจี่ ะชว ย ประชาชน โดยประชาชนท่รี อ นอกรอ นใจกส็ ่นั กระด่งิ เพอ่ื รองขอใหพจิ ราณาอรรถคดตี า งๆ ไดท ุกวันพระก็ ชกั ชวนขาราชการบริพารและหมูเ หลา ปวงชนพรอมใจกนั ฟงเทศรบั พร ประชาชนใกลช ดิ ผูปกครองใชห ลกั ครอบครัวมาบรหิ ารรฐั และใชหลักศาสนาเขาผูกใจคนใหอ ยรู วมกนั อยา งปกติสขุ ดงั นั้น พอ ขนุ พรอื พระมหา กษตั ริยใ นสมัยสโุ ขทัยนั้นจึงเรยี กวา “อเนกชนนิกรสโมสรสมมมติ” หมายถงึ พระมหากษตั รยิ ท ่ปี ระชาชนและ เหลา อํามาตย เลือกพระองคข้นึ ปกครองประเทศ อยางไรกด็ ีในชว งการเปลยี่ นแผน ดนิ และศนู ยก ลางความเจริญยา ยลงมาทางใต อาณาจกั รกรุงศรี อยธุ ยาเร่ิมเจริญข้นึ การแพรข องแนวคดิ ตา งๆ ท่อี ยรู อบๆ อาณาจักรใหมท ั้งจากชาติตะวันตกที่เขามาคาขาย และชนชาตเิ ขมรหรือขอมกเ็ ขา สูแ นวคดิ เรอ่ื งพระมหากษัตริยในชว งน้ี แนวคิด เร่อื งพระมหากษัตรยิ จงึ มกี าร ผสมผสาน ดงั นัน้ พระมหากษัตรยิ จงึ ไมใชค นธรรมดาอยางพอขุน แตเปนบุคคลท่ีเปน คนสรางชาติ รวมแผนดิน แนวคดิ ท้ังฝรัง่ และเขมรจึงทาํ ใหพระมหากษตั รยิ มอี าํ นาจในการปกครองสูงสุดดจุ ไดร บั เทวสทิ ธ์ิ และ ขณะเดยี วกันพระมหากษัตริยท รงใชหลักการปกครองโดยมหี ลกั ศาสนากาํ กับ เพราะพระมหากษตั ริยมีนติ ริ าช ประเพณี ทศพิธราชธรรม และทรงมีพระมโนธรรมกํากับ นอกจากนี้พระมหากษัตรยิ ไทยยงั ทรงอยคู ูกับราษฎร ไทยเสมอมา ปจ จบุ นั รัฐธรรมนญู เกือบจะทกุ ฉบบั รบั รองฐานะของพระมหากษัตริยวา “ประเทศไทยเปน ราชอาณาจกั รอนั หน่ึงเดียวจะแบง แยกมไิ ด พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและทรงดํารงตําแหนงจอมทพั ไทย องคพ ระมหากษตั ริย ทรงดาํ รงอยใู นฐานะอันเปนท่ีเคารพสักการะ ผใู ดจะละเมิดมไิ ด และจะกลาวหาหรือ ฟองรองในทางใดๆ มิได” ฐานะของ พระมหากษตั ริยใ นระบอบประชาธิปไตยกค็ อื ทรงเปน ประมขุ ของประเทศ และยังทรงใชอํานาจอธิปไตยทางรฐั สภา คณะรฐั มนตรี และศาล ตามบทบาทบัญญตั ิแหงรัฐธรรมนูญ สถาบนั พระมหากษัตรยิ กอ ใหเ กดิ คุณประโยชนอยา งมากมายมหาศาลตอประเทศชาตมิ าต้ังแตโบราณ จวบจนปจจบุ ันน้ี ท้งั ในฐานะที่กอ ใหเ กดิ การสรางชาติ การกเู อกราชของชาติการรักษาและพัฒนาชาติ มี สาระสําคญั ทค่ี วรแกการนํามาศกึ ษา คือ 1. พระมหากษัตริยท รงเปน ศูนยรวมจิตใจของประชาชน พระมหากษัตรยิ ท รงทาํ ใหเกดิ ความสาํ นกึ เปนอนั หนึ่งอันเดีย่ วกนั แมว า สถาบนั การเมอื งการปกครอง จะแยกสถาบันนติ ิบัญญตั ิ บริหาร ตุลาการ แตต องใหอาํ นาจของตนภายใตพ ระปรมาภิไธย ทําใหทุกสถาบันมี จุดรวมกนั อาํ นาจท่ไี ดม าจากแหลงเดียวกัน คือ พระมหากษตั รยิ นอกจากนพ้ี ระมหากษัตรยิ ยงั ทําใหเ กดิ ความ สํานึกเปน อนั หนึง่ อันเดยี วกัน ระหวา งหมูชนภายในชาติ โดยท่ตี างเคารพสักการะและจงรักภกั ดตี อ พระมหากษตั ริยรวมกัน แมจะมีความแตกตา งกนั ในดา นเช้ือชาติ เผาพนั ธุ ศาสนา กม็ คี วามสมานสามัคคีกลม เกลียวกนั ในปวงชนทงั้ หลาย ทําใหเกดิ ความเปนปกแผน และเปนพลังทส่ี ําคัญย่งิ ของชาติกลา วไดวา พระมหากษัตรยิ เปน ศูนยร วมของชาติเปน ศูนยร วมจิตใจ กอใหเกดิ ความสมานสามคั คี และเปนอันหน่ึงอนั เดียวกันของคนในชาติ เกดิ เอกภาพทง้ั ในทางการเมอื งการปกครองในหมูประชาชนอยา งดียงิ่ พระมหากษตั รยิ
24 ทรงรักใครห ว งใยประชาชนอยา งยงิ่ ทรงโปรดประชาชนและทรงใหเขาเฝา ฯอยา งใกลช ดิ ทาํ ใหเกิดความ จงรกั ภกั ดีแนนแฟน มากขึ้น ไมเ สอื่ มคลายพระองคเ สด็จพระราชดําเนินไปทุกแหง ไมวา จะเปนถิ่นทรุ กันดารหรอื มอี นั ตรายเพยี งไร เพือ่ ทรงทราบถึงทุกขสุขของประชาชน และพระราชทานพระบรมราชานุเคราะหอ ยาง กวา งขวางโดยไมจ ํากัด ฐานะ เพศ วยั ประชาชนก็มีความพูกพันธก ับพระมหากษัตรยิ อ ยางลกึ ซ้ึง กวางขวาง แนนแฟนมนั่ คง จงึ ยากท่จี ะมอี ํานาจใดมาทําใหสัน่ คลอนได 2. พระมหากษตั ริยทรงเปน สัญลัษณแ หง ความตอเนอื่ งของชาติ สถาบันพระมหากษัตรยิ เ ปน สถาบนั ประมุขของชาติสบื ตอกันมาโดยไมข าดสายขาดตอนตลอดเวลาไม วา รฐั บาลจะเปลี่ยนแปลงไปกี่ชดุ กี่สมัยก็ตาม แตสถาบนั พระมหากษตั รยิ ยังคงอยูเปนความตอ เนอ่ื งของ ประเทศชาติ ชวยใหก ารปกครองไมมีชอ งวางแตม ีความตอ เนือ่ งตลอดเวลา 3. พระมหากษัตรยิ เปนพทุ ธมามกะและอคั รศาสนปู ภมั ภก ทําใหเ กิดความสมั พันธแนน แฟน ระหวางคนในชาตแิ มจ ะมีศาสนาตางกัน เพราะพระมหากษัตริยทรง อุปภัมทกุ ศาสนาแมวา พระองคจะทรงเปน พทุ ธมามกะ จึงกอใหเ กดิ พลังความสามคั คใี นชาติ ไมบ าดหมางกนั ดวยการมศี าสนาตา งกัน 4. พระมหากษตั รยิ ท รงเปน พลงั ในการสรา งขวญั และกําลังใจของประชาชน พระมหากษัตรยิ ท รงเปนที่มาแหงเกยี รติยศทัง้ ปวง กอใหเ กดิ ภาคภูมิ ปต ิยินดี และเกดิ กําลังใจในหมู ประชาชนทั่วไปที่จะรกั ษาคุณงามความดี มานะความพยายามกระทําความดี โดยเฉพาะอยางยงิ่ เมอื่ พระองค ทรงไวซึง่ ความดีงามตลอดเวลา ทาํ ใหป ระชาชนปฏิบัติดปี ฏิบตั ชิ อบมีกําลงั ใจทจี่ ะทาํ งานเสยี สละตอ ไป จึง เสมือนแรงดลใจผลกั ดนั ใหผ ูม ีเจตนาดี ประกอบคุณงามความดมี งุ ม่ันในการปฏิบัตอิ ยางเขม แขง็ ทัง้ ในสวน ประชาชน สว นราชการหรอื รฐั บาล 5. พระมหากษตั รยิ ท รงมสี ว นสําคญั ในการรกั ษาผลประโยชนของประชาชนและทําใหก าร บรหิ ารงานประเทศเปน ไปดว ยดี พระมหากษตั ริยท รงขึ้นครองราชยดว ยความเห็นชอบยอมรับของประชาชน โดยมรี ฐั สภาทาํ หนาที่ แทนพระองคจ งึ ไดรับการเทิดทนู ยกยอ งเสมอื นผแู ทน อนั อยใู นฐานะเปนทีเ่ คารพสกั การะของประชาชนดวย การที่พระมหากษตั รยิ ท รงมีพระราชอาํ นาจทจ่ี ะยบั ยงั้ พระราชบญั ญตั ิ หรือพระราชทานคําแนะนาํ ตกั ตอื น คาํ ปรึกษาและการสนับสนุนในกิจการตา งๆทั้งของรัฐบาล รัฐสภา และศาล ตามรัฐธรรมนูญจดั ไดวา พระองค ทรงมสี วนรวมอันสําคญั ในการรักษาผลประโยชนของประชาชนและกอ ใหเกิดผลดีในการบริหารการปกครอง ประเทศ อยางนอยกช็ ว ยใหฝายปฏิบตั ิหนาท่ีทั้งหลายเกดิ ความสํานกึ เกดิ ความระมดั ระวัง รอบคอบมิใหเ กิด ความเสยี หายตอ สว นรวมมากพอสมควร พระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ และทรงเปนกลางทางการเมอื งการ กาํ หนดหลักการสบื สันตตวิ งศไ วอยา งชัดเจน โดยกฏมลเฐยี รบาลและรัฐธรรมนญู เปน เครอื่ งประกนั วา จะทรง เปน กลางทางการเมืองไดอ ยางแทจ ริง และทาํ ใหส ามารถยับยั้ง ทวงตงิ ใหก ารปกครองประเทศเปน ไปโดยสุจริต ยตุ ิธรรมเพือ่ ประชาชนโดยสว นรวม ซ่ึงตางจากประมขุ ของประเทศทีม่ าจากการเลือกตง้ั ทีจ่ ะตองยึดนโยบาย ของกลมุ หรือพรรคการเมืองเปน หลัก 6. พระมหากษัตริยท รงแกไขวิกฤตการณ สถาบนั พระมหากษัตริยเปน กลไกสําคัญในการยบั ย้ังแกไ ขวกิ ฤตการณท่ีรายแรงในประเทศได ไมทาํ ให เกดิ ความแตกแยกภายในชาตอิ ยา งรุนแรงจนถงึ ตองตอ สูก ลายเปน สงครามกลางเมือง หรือแบงแยกกลายเปน ประเทศเลก็ ประเทศนอ ย ขจดั ปดเปามใิ หเ หตกุ ารณลกุ ลามและทําใหประเทศเขาสูภ าวะปกติได เพราะ พระมหากษตั รยิ เ ปน ที่ยอมรับของทกุ ฝา ยไมว าจะเปน ดานประชาชน รัฐบาลหนวยราชการ กองทพั นิสิต นักศึกษา ปญ ญาชนทัง้ หลาย หรือกลมุ ตางๆ แมกระทง้ั ชนกลุมนอ ยในประเทศ อนั ไดแ ก ชาวไทยภูเขา ชาวไทย มสุ ลมิ เปน ตน
25 7. พระมหากษตั ริยท รงสงเสริมความมัน่ คงของประเทศ โดยการยึดเหนยี่ วจิตใจของประชาชนและกองทพั พระมหากษัตริยท รงดาํ รงตาํ แหนงกองทพั ไทยจงึ ทรงใสพ ระทัยในการพฒั นากองทพั ทง้ั ทางวัตถุและจติ ใจ ทรงเยี่ยมเยือนปลอบขวัญทหาร พราะราชทานของใช ทีจ่ าํ เปน ทรงชวยเหลอื อนเุ คราะห ผเู สยี สละเพ่อื ชาติ ทาํ ใหเ กิดขวัญและกาํ ลงั ใจแกทหาร ขา ราชการอยา งดียิ่ง พรอมทจ่ี ะรกั ษาความม่ันคงและเอกราชของชาติอยางแนนแฟน 8. พระมหากษตั ริยท รงมสี วนเสรมิ สรา งสัมพนั ธไมตรีระหวา งประเทศ พระมหากษัตรยิ ใ นอดตี ไดทรงดําเนินวเิ ทโศบายไดอยา งดจี นสามารถรกั ษาเอกราชไวไดโ ดยเฉพาะสมัย การลาเมอื งข้นึ ในรชั กาลที่ 4 และ รชั กาลท่ี 5 แหง กรุงรัตนโกสนิ ทร สาํ หรับพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั รัชกาลปจ จุบันก็ทรงดําเนินการใหเกดิ ความเขา ใจอนั ดี ความสมั พันธอันดรี ะหวางประเทศตา งๆ กับประเทศ ไทย โดยเสดจ็ พระราชดาํ เนินเปน ทูตสันถวไมตรกี ับประเทศตางๆ ไมนอ ยกวา 13 ประเทศ ทําใหน โยบาย ตางประเทศดาํ เนินไปอยางสะดวกและราบร่ืน นอกจากน้นั ยังทรงเปน ผแู ทนประเทศไทยตอ นรบั ประมุข ประเทศ ผนู ําประเทศ เอกอัครราชทตู และทตู สันถวไมตรจี ากตา งประเทศอกี ดวย 9. พระมหากษัตริยท รงเปน ผูนําในการพัฒนาและปฏิรปู เพอ่ื ประโยชนของประเทศชาติ การพัฒนาและการปฏริ ูปทส่ี าํ คญั ๆ ของชาติสวนใหญพ ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ผูน าํ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยหู วั ทรงปูพ้ืนฐานประชาธปิ ไตย โดยการจัดตั้งกระทรวงตา งๆ ทรงสงเสรมิ การศกึ ษาและ เลกิ ทาส ปจจุบนั พระมหากษตั ริยท รงเกือ้ หนนุ วิทยาการสาขาตา งๆ ทรงสนบั สนุนการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ทรงริเรมิ่ กจิ การอนั เปน การแกป ญ หาหลักทางเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ โดยจะเห็นวา โครงการตาม พระราชดําริสวนใหญม งุ แกป ญ หาหลกั ทางเกษตรกรรมเพ่ือชาวนา ชาวไร และประชาชนผูย ากไรและดอ ย โอกาสอันเปนชนสว นใหญของประเทศ เชน โครงการฝนหลวง ชลประทาน พฒั นาท่ีดิน พฒั นาชาวเขา เปนตน 10. พระมหากษตั รยิ ท รงมีสว นเกื้อหนุนระบอบประชาธปิ ไตย บทบาทของพระมหากษตั ริยม ีสวนชวยเปนอยางมากทีท่ าํ ใหป ระชาชนเกิดความเชอื่ ม่ันในระบอบ ประชาธิปไตย เพราะการทีป่ ระชาชนเกดิ ความจงรักภักดแี ละเชอื่ ม่นั ในสถาบันพระมหากษัตริย จงึ มผี ลสง ให ประชาชนเกดิ ความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยเ ปน ประมขุ ดวย เน่ืองจากเหน็ วาเปน ระบอบทเ่ี ชดิ ชสู ถาบันพระมหากษตั ริยอ นั เปน ท่เี คารพสกั การะของประชาชนนนั่ เอง เร่ืองที่ 2 เหตุการณสําคญั ๆในการปกครองประเทศของพระมหากษตั ริยไทย ในอดตี ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย โดยมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุขทรงมพี ระราชอาํ นาจโดยสมบรู ณแ ตเพียงประองคเ ดยี ว ทรงใชอาํ นาจทั้งในดา นนิตบิ ัญญัติอาํ นาจ บริหาร อาํ นาจตุลาการ และทรงแตง ตั้งขาราชการ ขุนนางไปปกครองหัวเมอื งตา งๆ ในทน่ี ีอ้ าจกลาวไดว า พระมหากษตั รยิ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยน น้ั ทรงอยเู หนือรัฐธรรมนูญและกฏหมายใดๆ พระมหากษตั รยิ ทรงเปนผูต รากฏหมาย ทรงตดั สนิ และพจิ ารณาอรรถคดี ทรงบริหารประเทศ ดังน้นั ประชาชนจึงตอ งปฏิบัติตามพระบรมราชโองการ ใครฝาผนื ไมไ ด พระมหากษัตริยทรงมอี าํ นาจ สูงสดุ และประชาชนตองปฏบิ ัตติ ามและทีผ่ านมาประเทศไทยไดมรี ปู แบบการปกครองแบบ สมบูรณาญาสทิ ธิราชย ใน 4 สมัยดังนีค้ อื 1. สมยั อาณาจักรสุโขทยั (พ.ศ.1800-1921) 2. สมยั อาณาจกั รกรงุ ศรีอยธุ ยา (พ.ศ.1897-2310) 3. สมยั อาณาจักรกรุงธนบรุ ี และ สมยั อาณาจักรรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ.2310-2325) 4. สมัยการปฏิรปู การปกครองในสมัยรชั กาลท่ี 5 จนกระทง่ั ถงึ การเปล่ียนแปลงการปกครอง วนั ท่ี 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2475
26 1. สมยั อาณาจกั รสุโขทยั (พ.ศ.1800-1921) ในสมยั น้มี กี ารปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย หรือราชาธปิ ไตย ซ่งึ เปน รปู แบบการปกครอง ทพี่ ระมหากษัตริยท รงเปน ผูใ ชอ ํานาจอธปิ ไตยอนั เปน อํานาจสูงสดุ ในการปกครองและทรงใชอ ํานาจนี้ในการ ออกกฏหมายเรยี กวาอาํ นาจนติ ิบัญญตั ิ ทรงบริหารกจิ การบานเมอื งเรยี กอํานาจนีว้ า อาํ นาจบริหารราชการ แผนดนิ และทรงพิจารณาอรรถคดที รงพพิ ากษาและตัดสนิ คดคี วามตางๆ ทกุ วนั ธรรมะสาวนะดว ยพระองคเอง เรยี กอาํ นาจนี้วาอาํ นาจตลุ าการ จะเหน็ ไดวาพระมหากษัตรยิ ท รงใชอาํ นาจนี้เพยี งพระองคเ ดยี ว และทรงใช อํานาจบนพืน้ ฐานของหลกั ธรรมประชาชนอยรู ม เย็นเปนสขุ ในสมยั อาณาจกั รสโุ ขทยั มีลักษณะการปกครองโดย ใชคตินิยมในการปกครองแบบครอบครัวหรือ “พอ ปกครองลกู ”มาเปน หลกั ในการบริหารประเทศ โดยใสมยั นนั้ พระมหากษัตริยใกลช ดิ กับประชาชนมาก ประชาชนตา งก็เรียกพระมหากษตั ริยวา “พอ ขนุ ”ซ่ึงมีลกั ษณะเดน ที่ สาํ คญั ดงั ตอ ไปนี้ - พอขนุ เปนผใู ชอ ํานาจอธปิ ไตย โดยปกครองประชาชนบนพ้นื ฐานของความรัก ความเมตตา ประดจุ บิดาพึงมตี อ บตุ ร บางตาํ ราอธบิ ายวา เปนการปกครองแบบพอปกครองลกู หรอื แบบ “ปต ุราชาประชาธิปไตย” - พอขุนอยใู นฐานะผูปกครองและประมุขของประเทศที่มีอํานาจสูงสุดแตเพยี งผเู ดียว - ประชาชนมีสทิ ธแิ ละเสรภี าพในการดาํ เนนิ ชวี ติ พอสมควร ดงั จะเห็นไดจ ากศลิ าจารึก อธบิ ายวา “….ใครใครคา คา เอามามาคา เอาขา วมาขาย….” อาจกลาวไดวาผปู กครองและผอู ยูภายใต ปกครองมีฐานะเปนมนุษยเหมื่อนกัน รูปแบบการปกครองเปน ไปแบบเรยี บงา ยไมม ีพธิ อี ะไรมากมายนกั ไมม สี ถาบนั การเมืองการปกครองที่ สลับซบั ซอ นมาก มกี ารพจิ ารณาคดีโดยใชหลกั ประกนั ความยุติธรรม เชน เมื่อพลเมอื งผิดใจเปน ความกนั จะมีการ สอบสวนจนแนชัดจึงตดั สินโดยยตุ ิธรรม ในศิลาจารึกเขยี นไวว า“ลกู เจาลกู ขนุ แลผดิ แผกแสกกวา งกัน สว นดูแล แทจึ่งแลงความแกขา ดว ย ซ่ือ บเ ขาผลู กั มกั ผซู อน….” นอกจากจะทรงวางรากฐานทางการปกครองแลวในสมัยสุโขทัยยงั ทรงประดษิ ฐอกั ษรไทยเปดโอกาสให คนไดเ รียนรูภาษา รธู รรมและกษตั รยิ บางพระองค ก็ไดชือ่ วาเปน กษัตรยิ แ บบธรรมราชา การปกครองจงึ มี รูปแบบธรรมราชาดวย ซง่ึ มหี ลักการ คอื ความเช่ือท่ีวา พระราชอํานาจของกษตั ริยจ ะตอ งถูกกํากบั ดวย หลักธรรมมะ ประชาชนจงึ จะอยูเ ย็นเปน สขุ เมอื่ ส้นิ พระชนมก ็จะไดไปสูสวรรคจ ึงเรียกวาสวรรคตหลกั ธรรม สําคัญทีก่ ํากบั พระราชจริยวตั ร คือ ทศพิธราชธรรม และจักรวรรดวิ ตั ร 12 ประการ 2. สมัยอาณาจักรกรงุ ศรีอยธุ ยา (พ.ศ.1893-2310) พระเจา อูทองทรงเปนพระมหากษัตริยพ ระองคแรกของอาณาจักรกรุงศรอี ยุธยา เปน ชว งของการกอ รา งสรางเมอื งทาํ ใหตอ งมีผนู ําในการปกครองรวบรวมอาณาจกั รใหแ ผข ยาย มกี ารติดตอ กับประเทศเพือ่ นบาน ในเร่อื งการคาและศาสนา และในชวงเวลาน้ันมกี ารเผยแผรลทั ธิฮินดแู ละขอมเขามีบทบาทในอาณาจักร ดงั นน้ั ในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาจึงไดรบั วัฒนธรรมการปกครองแบบขอมและฮนิ ดูเขามาใชเรียกการปกครองแบบน้วี า “การปกครองแบบเทวสทิ ธ”์ิ หรอื “สมมติเทพ”โดยมีหลักการสําคัญ คือ กษตั รยิ เ ปรียบเสมอื นเทพเจา ทมี่ ีอาํ นาจสูงสดุ ทรงเปน เจาชวี ิต คอื พระมหากษัตรยิ ทรงมีพระราช อาํ นาจเหนือชีวติ ของบุคคลทอ่ี ยใู นสังคมทุกคนและทรงเปน พระเจา แผนดิน คอื ทรงเปน เจา ของแผนดนิ ทั่ว ราชอาณาจกั รและพระมหากษัตรยิ จ ะทรงเปน พระราชทานใหใครก็ไดต ามอธยาศัย การท่ีพระมหากษตั ริยทรงอยใู นฐานะเปน สมมตเิ ทพตามคตินยิ มของพราหมณ จงึ ตอ งมรี ะเบียบพิธี การตางๆ มากมายแมแ ตภาษาใชก บั พระมหากษตั ริยก็ไดบญั ญัติขึ้นใชเฉพาะกับพระมหากษตั ริยเ ทา นัน้ ทเ่ี รา เรยี กวา “ราชาศพั ท”
27 กษตั ริยในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาตองเขาพธิ ีปราบดาภิเษก ซงึ่ ถอื วา เปน การขึ้นสรู าชบลั ลงั โดยชอบธรรม ดังนนั้ พระมหากษตั ริยจ ึงจําเปน ตองมกี ลมุ หรือคณะบคุ คลสนบั สนนุ และใหป ระโยชนตอบแทนอนั เปน ยศถาบรรดาศกั ดิ์หรอื ศกั ดนิ าแกกลมุ บุคคลดังกลาว เกิดระบบทาสข้นึ หมายถึง บุคคลทีใ่ ชแ รงงานโดยทาสในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาอนญุ าตใหเ สนาบดี ขา ราช บรพิ ารและประชาชนที่ราํ่ รวยมีทาสได และผูทีใ่ ชแ รงงานเมื่อตกเปน ทาสกถ็ อื วา นายเงนิ เปนเจา ของอาจซอื้ ขาย แลกเปลย่ี น หรอื ยกทาสใหผ ูอ่นื ได ดังนัน้ จึงมาสูการเกิดชนชั้นทางสงั คม อาจกลาวไดวา ประชาชนผูอยใู ต การปกครองมฐี านะไมเ ทา กนั จากการที่อาณาจักรกรงุ ศรีอยุธยา ไดร ับแนวคิดทางการเมืองการปกครองจากเขมรมากข้ึนสงผลใหเกิด การเปลยี่ นแปลงท้ังในดา นการปกครองและในดานสังคมไมวา จะเปน พระมหากษตั ริยท รงเปนเทวราชหรอื เทวดาโดยสมมุติ, การเกิดระบบศกั ดินาขนึ้ ครง้ั แรกในสงั คมไทย , การเกดิ การปกครองแบบนายกบั บา ว , มีการ แบง ชนั้ ทางสงั คมชดั เจน นอกจากนี้ในสมยั อยุธยายังตองทําศกึ สงครามเกอื บตลอดเวลา จึงมคี วามจําเปนทจี่ ะตอ งมีการเกณฑ ไพรพลเพือ่ ปองกันประเทศ จึงเกดิ ระบบไพรและมูลนายดว ยเชนกัน 3. สมัยอาณาจักรกรุงธนบุรี และสมัยอาณาจกั รรัตนโกสินทรต อนตน (พ.ศ. 2310-2325) 3.1 ลักษณะการปกครองสมัยอาณาจกั รกรงุ ธนบรุ ี เนือ่ งจากสมัยอาณาจกั รกรุงธนบุรี ไทยไดเสียกรงุ ใหก บั พมา คร้งั ท่ี 2 ในป พ .ศ. 2310 เกิดความ แตกแยกกนั เปน กก เปน เหลา ยงั รวมกันไมตดิ และสมเดจ็ พระเจากรุงธนบรุ ที รงเห็นวากรุงศรีอยุธยาอยูในสภาพ ท่ไี มส ามารถทํานุบํารุงใหคงสภาพเดิมได อีกทงั้ ขาศกึ ศัตรกู ร็ ูลูท างดีและเมือ่ ถงึ คราวนํ้าหลาก ปญหาตางๆก็ ตามมามาก สมเดจ็ พระเจา กรงุ ธนบุรจี ึงทรงยา ยมาตัง้ เมอื งหลวงที่กรงุ ธนบุรี และตลอดรัชสมยั ของพระองค พระองคท รงทาํ ศกึ สงครามเพือ่ รวบรวมประเทศไทยใหเ ปนฝกแผน ทาํ การกอบกูเอกราชมาโดยตลอด ดงั นนั้ ใน สมยั กรุงธนบุรอี าจกลาวไดวา ยงั คงใชร ปู แบบการปกครองแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยอ ยู 3 .2 ลักษณะการปกครองสมยั อาณาจักรรัตนโกสนิ ทรตอนตน ในสมยั อาณาจักรกรงุ รตั นโกสนิ ทรตอนตน น้นั ประเทศไทยใชรปู แบบการปกครองระบอบ สมบรู ณาญาสิทธิราชยตามแนวของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาไมม กี ารเปลี่ยนแปลงการปกครองเชน กนั เพราะ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงกอ รา งสรา งเมอื งปราบปรามขา ศกึ ศตั รูโดยเฉพาะพมา ทาํ ใหใน เร่อื งการปกครองไมมีสง่ิ ใดเปล่ยี นแปลง แตเ มือ่ เขา สชู วงราชกาลท่ี 3 มีการเขา มาของลทั ธิลา อาณานิคม ประกอบกบั ประเทศมีลักษณะเปนรฐั กันชนทาํ ใหเ ปนทส่ี นใจของมหาอาํ นาจ ดังน้นั จงึ สง ผลใหม กี ารปฏิรปู ทั้งใน ดา นการเมืองการปกครองรวมท้ังทางดา นสังคมและวัฒนธรรม ซงึ่ ปรากฏผลอยา งชัดเจนในรัฐสมยั ของ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยหู วั 4. สมยั การปฏริ ปู การปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 จนกระท่งั ถงึ การเปลยี่ นแปลงการปกครอง วนั ที่ 24 มิถนุ ายน 2475 ผลจากการเขามาของลทั ธลิ าอาณานคิ มและปญ หาความขัดแยง ภายในประเทศ สงผลให พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั ทรงเหน็ ความสาํ คญั ของการปกครอง และความจาํ เปน ในการ เปลีย่ นแปลงการปกครอง จึงไดทาํ การปฎิรปู การปกครองและการบรหิ ารราชการแผน ดนิ ในวนั ทื่ 1 เมษายน 2435 หรอื ร.ศ. 111 ซ่งึ มีหลักการทส่ี าํ คัญ คือ ทรงปฎิรูปการปกครอง โดยการกําหนดใหมกี ารปกครองสว นกลาง มีการจดั ตัง้ กระทรวง ทบวง กรม และนาํ เอาระบบบรหิ ารราชการแบบแบงแยกโครงสรางอํานาจหนาท่ี ( Structural Functionalism) มาใชใน
28 การบริหารประเทศ นอกจากน้ียังไดกําหนดใหม กี ารปกครองสวนภมู ิภาค โดยทรงรวบรวมหัวเมืองใหเปน หนว ย การปกครองใหมเ รยี กวา “มณฑล ” และแบง สว นรับผดิ ชอบ โดยแบง เปน มณฑลเทศาภบิ าล เมอื ง อําเภอ ตําบล หมูบา น นอกจากน้ียงั ทรงจดั ต้ังสขุ าภบิ าลข้ึน และเริม่ ทดลองการกระจายอาํ นาจเปนคร้งั แรกใหกับ หนว ยการปกครองสขุ าภิบาล ทรงทําการปฎิรูปในดา นสงั คมและวฒั นธรรมอยา งชัดเจน เชน การยกเลิกระบบไพร ทาส, การปรับปรุง ดา นการศกึ ษา, การนําเอาวทิ ยาการตางๆ มาปรับใช เชน โทรเลข โทรศพั ท รถไฟและการเปลี่ยนแปลงการแตง กายการเขา เฝา ซึ่งโดยรวมเรียกวาเปน กระบวนการพัฒนาใหเกดิ ความทนั สมยั ในดา นตา งๆ ( Modernization) เพ่อื แสดงใหเหน็ วา ไทยเปนอารยะประเทศ หนงึ่ ในกระบวนการพัฒนาใหเกดิ ความทนั สมยั ทส่ี าํ คัญ ไดแก การทพ่ี ระราชวงศแ ละขุนนางขั้นสูงได เดินทางไปรบั การศึกษายังตางประเทศ ซึง่ เมือ่ เดินทางกลบั มากไ็ ดนําเอาแนวคดิ และอารยธรรมทางตะวนั ตก รวมทงั้ แนวคดิ ทางดานการเมืองการปกครองเขา ดวยเชน กนั สง ผลใหเ กิดแนวคิดในการเปลยี่ นแปลงรปู แบบ ปกครองเพิ่มข้นึ อยา งตอ เนือ่ ง จนกระทง่ั ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจา อยหู วั ไดเกิดเศรษฐกิจตกตา่ํ ทว่ั โลกอนั รวมไปถงึ ประเทศไทยดว ยเชน กนั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห ัว ไดแกไ ขปญหาโดยทําการปลดขา ราชการให มีจํานวนนอยลงเพ่ือการประหยัด ทาํ ใหขาราชการโดยเฉพาะทหารไมพอใจ ตอมาภายหลงั ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยหู วั ไดเ กดิ วิกฤติการณท างการเมอื งข้ึนอีก คร้งั หนงึ่ น่นั คือสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหวั ทรงปลดขาราชการออกมากขึ้นรวมท้งั บรรดานายทหารชั้นนาํ ก็ถกู ลดข้นั เงินเดอื น ซงึ่ แนวคิดและปญหาดงั กลา วไดก ลายเปน สาเหตสุ าํ คัญประการหน่งึ ที่กอใหเ กดิ การปฎวิ ัติการ เปลีย่ นแปลงการปกครองโดยกลมุ บคุ คลท่ีเรียกตนเองวา “คณะราษฎร ” สงผลใหป ระเทศไทยไดเ ปลยี่ น รปู แบบการปกครองจากรูปแบบสมบูรณาญาสิทธริ าชยเ ปน รปู แบบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ ในวนั ท่ี 24 มถิ ุนายน 2475 เรอ่ื งท่ี 3 พระราชกรณียกิจสําคญั ของสถาบนั พระมหากษตั ริยท ีม่ ตี อปวงชนชาวไทย ในฐานะองคพ ระประมขุ ของประเทศไทย พระมหากษตั ริยทรงมีพระราชภารกิจทตี่ อ งทรงปฎิบตั มิ าก เพราะพระองคเทากบั เปน ตวั แทนหรือสัญลกั ษณข องประเทศ และเปน ผนู ําแบบอยา งของทวยราษฎร อาจ จําแนกพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตรยิ ออกไดเปน 4 ดาน คือ 1. พธิ กี ารและศาสนา พระมหากษัตริยทรงเปนองคป ระธานในพิธีการตางๆ ท่สี าํ คัญของชาตมิ ากมาย ไดแ ก การเปดและปดสมยั ประชุมรัฐสภา ทรงเปนผแู ทนทางการฑูตของประเทศในการเจรญิ สมั พัธไตรีกบั ตางประเทศ และทรงตอนรับแขกเมือง พระราชทานปริญญาบัตรและพระบรมราชโอวาทแกบัณฑิตของ มหาวิทยาลยั ตา งๆ ในทางศาสนาพระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะและองคอ ัครศาสนูปถมั ภก พระองคท รง บาํ เพ็ญพระราชกรณยี กิจทางศาสนาเก่ยี วกบั ภารกิจดานพระราชกศุ ลและพิธติ างๆ และทรงมพี ระบรมราชานุ เคราะหเ พื่อความมัน่ คงแหง สถาบันศาสนาตางๆ ทั้งพระพุทธศาสนาและศาสนาอนื่ ๆ 2. สงเคราะหป ระชาชน พระมหากษตั ริยทรงเปน ผูนาํ ในดา นการบาํ เพญ็ สาธารณะประโยชนตางๆ ดว ยการพระราชทานทุนทรัพยส ว นพระองค เพ่อื กจิ การสาธารณกุศลอยูเปนนจิ ไดแกพ ระราชทาน ทุนการศกึ ษา สงเคราะหคนยากจน คนพิการ เจ็บปวยและชราเม่อื ราษฎรประสบภยั ธรรมชาติ หรือความทกุ ข ยาก พระองคพระราชทานความชว ยเหลือ ทรงเปน ผูน ําดา นสังคมสงเคราะหอ ยา งแทจ ริงนอกจากน้นั ยังมี พระราชดําริใหม ีโครงการเพื่อประโยชนสขุ ของปวงชนชาวไทย ไดแ ก โครงการอสี านเขียว โครงการปฎริ ูปทีด่ ิน โครงการ สหกรณแบบตางๆ โครงการดานการเกษตร โครงการฝนหลวง โครงการนาสาธิต โครงการพัฒนา ทด่ี นิ โครงการการศกึ ษา โครงการรมเกลา โครงการแกป ญหาจราจรในกรงุ เทพมหานคร โครงการฝกอาชีพ
29 ตางๆ โครงการท้ังหลายนล้ี วนไดรับการสนับสนนุ จากราษฎร หนวยราชการ เกดิ ผลดตี อ ประเทศชาตแิ ละ ประชาชน 3. พัฒนาสงั คม พระมหากษตั ริยท รงบาํ เพญ็ พระราชกรณียกจิ ทงั้ ปวงเพอ่ื ใหเกดิ ประโยชน และความเจริญแกส งั คม ไดทรงรเิ ร่ิมโครงการตา งทําใหเ กดิ การพฒั นาข้ึนท้ังในดานเศษรฐกิจและสงั คมแหงชาติ พระราชดาํ ริและโครงการท่ที รงรเิ ร่ิมมีมากซง่ึ ลวนแตเปน รากฐานในการพฒั นาชาตทิ ั้งสิน้ โครงการของ พระมหากษัตริยองคปจจบุ ันทีส่ ําคัญไดแก โครงการอสี านเขยี ว โครงการฝนหลวง โครงการปลูกปา โครงการ ขดุ คลองระบายน้ํา โครงการปรบั ปรงุ แหลง ชมุ ชนแออดั ในเมืองใหญ โครงการอนรุ ักษแ ละพฒั นาส่งิ แวดลอ ม และอืน่ ๆ ทรงทําเปนแบบอยางที่ดีประชาชนและหนว ยราชการนาํ ไปปฎบิ ัติกอใหเ กดิ ประโยชนใ นทางการ พฒั นาชาตขิ ้ีนมาก นอกจากนัท้ รงทําใหเกิดความคดิ ในการดําเนนิ ชวี ิตแบบใหม เชน การประกอบอาชพี การใช วิทยาการมาชว ยทําใหสงั คมมกี ารเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ดี ขี ึน้ 4. การเมืองการปกครอง สถาบันพระมหากษัตรยิ ไ ดมีบทบาทเก่ยี วกับการเมอื งการปกครองการรวม ชาติ การสรางเอกราช การวางรากฐานการเมอื งการปกครอง การสรา งเสถียรภาพทางการเมอื งการปกครอง การปฎิรูปการปกครองแผนดินตั้งแตอดีตสบื ตอมาตลอดปจจบุ ันบทบาทของพระมหากษัตริยมสี วนชว ยสราง เอกภาพของประเทศเปน อยา งมาก คนไทยทุกกลมุ ไมวา ศาสนาใดมขี นบธรรมเนียมแตกตางกันอยางไร ความรสู กึ รวมในการมพี ระมหากษตั ริยอ งคเ ดยี วกัน การเสด็จออกเยย่ี มราษฎรในจังหวัดตา งๆแมทอ งถ่ิน ทรุ กนั ดาร หรือมากดวยภยนั ตรายอยูต ลอดเวลาทําใหราษฎรมขี วัญและกาํ ลงั ใจดี มีความรูสึกผูกพนั กับชาตวิ า มไิ ดถกู ทอดทง้ิ พระราชกรณยี กิจดังกลาวของพระองคมีสว นชว ยในการปกครองเปน อยางมาก พระราชกรณียกิจของพระมหากษตั รยิ น นั้ มีมาก และลวนกอประโยชนใหเกิดข้นึ ตอสวนรวมทง้ั สนิ้ แม การปฏบิ ตั ิพระราชกรณยี กิจจะเปนพระราชภาระอันหนกั แตก ไ็ ดท รงกระทําอยางครบถว นสม่ําเสมอจนกระทง่ั สามารถท่ีจะผกู จติ ใจของประชาชนใหเกดิ ความจงรกั ภกั ดี เพราะตระหนักถงึ นา้ํ พระทัยของพระองควา ทรง เหน็ สขุ ของสว นรวมมากกวาพระองคเ อง ทรงเสยี สละยอมทุกขอยางเพ่อื บา นเมืองอยา งแทจ ริงดังพระราช ปณิธานของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั รชั กาลปจ จบุ นั ที่วา “เราจะครองแผน ดนิ โดยธรรม เพ่อื ประโยชนสุขของมหาชนชาวสยาม” เรือ่ งที่ 4 การมีสวนรวมในกจิ กรรมเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ ในฐานะนกั เรียน นกั ศกึ ษา เราสามารถมสี ว นรว มในกิจกรรมเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ ได โดย ผานกจิ กรรมตางๆดงั นี้ 1. เขา รวมกจิ กรรมที่เกยี่ วกับสถาบนั พระมหากษตั ริย ตามที่โรงเรียนและชมุ ชนจดั ขน้ึ ทั้งนีเ้ พอ่ื เปน การศกึ ษาถึงพระราชกรณียกจิ และสํานกึ พระราชสาํ นึกของพระมหากษัตรยิ ไทยที่มตี อ ปวงชนชาวไทย มีการ นอมรับนาํ เอากระแสพระราชดาํ ริ เชน หลักปรัชญาความคิดเศรษฐกจิ พอเพียง มาเปน แนวทางในการดาํ รงชวี ิต ท้งั น้ีเพ่ือแสดงถึงความเขาใจ และความจงรกั ภกั ดที ี่มตี อสถาบัน 2. มีสวนรวมในการจัดกิจกรรมท่เี กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ตามทโี่ รงเรยี นและชมุ ชนจัดข้นึ ให ความรว มมอื ในการจัดกจิ กรรมเพื่อเผยแพร พระราชกรณียกิจของพระมหากษตั ริยใหก ับประชาชนรับทราบ เชน การจดั บอรดในงานนทิ รรศการตางๆ การเขา รวมกจิ กรรมสง เสริมสถาบันพระมหากษัตรยิ เนื่องในวนั พเิ ศษ ตางๆ อาทิเชน วนั พอ วันจกั รี วันปย ะมหาราช เปน ตน 3. ชื่นชมในพระราชกรณยี กิจ พระปรชี าสามารถของพระมหากษตั ริยแ ละพระราชวงศ ศกึ ษาติดตาม และสนใจในพระราชกรณยี กจิ ในโครงการตา งๆ และทราบซึง่ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ุณที่สถาบนั พระมหากษตั ริย มตี อปวงชนชาวไทย
30 กิจกรรมบทที่ 3 คําชีแ้ จง จงตอบคําถามตอไปน้ี 1. จงยกตัวอยางพระราชกรณียกิจสาํ คัญของสถาบันพระมหามหากษตั รยิ ทมี่ ีตอปวงชนชาวไทย มา 2 หัวขอ พรอมอธบิ ายรายละเอยี ด ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................
31 2. จงอธิบายความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตรยิ มา 2 ขอ พรอ มอธิบายรายละเอยี ด ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. .................................................................................................. .......................................................................... ..................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................
32 บทท่ี 4 การเสรมิ สรา งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จิตอาสา และความภูมใิ จในความเปน ไทย
33 แผนการเรียนรูประจาํ บทท่ี 4 บทที่ 4 การเสรมิ สรา งคณุ ธรรม จริยธรรม จิตอาสา และความภมู ใิ จในความเปน ไทย สาระสาํ คญั การเสริมสรางคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ อาสา และความภมู ใิ จในความเปน ไทย เปน สงิ่ สําคัญ และ จําเปนอยางยง่ิ ท่ตี อ งพยายามปลูกฝง ใหเ กดิ ขึ้น สําหรับประชาชนคนไทย เพอื่ ทจ่ี ะสามารถดาํ เนินชวี ิตรวมกับ ผูอ่ืนในชุมชนไดอ ยางมคี วามสุข เกดิ ความสามัคคี ปรองดอง ตลอดจนมีความภาคภมู ใิ จในความเปน ไทย ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง 1. อธบิ ายความหมาย ความสําคญั ของคุณธรรม จริยธรรม จติ อาสา และ ความภมู ใิ จในความเปน ไทยได 2. อธิบายคุณธรรม จรยิ ธรรม ของการเปนพลเมืองดไี ด 3. มจี ติ อาสาในการดาํ เนินชวี ติ รวมกบั ผอู ื่นใน ชุมชน สงั คมได 4. แสดงออกถึงความภูมใิ จในความเปนไทยได ขอบขายเน้ือหา เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั ของคณุ ธรรม จรยิ ธรรมจิตอาสา และความภูมิใจใน ความเปนไทย เรื่องท่ี 2 คุณธรรม จรยิ ธรรมของการเปนพลเมืองดี เร่อื งท่ี 3 การมจี ิตอาสาในการดาํ เนินชีวิตรวมกับผูอน่ื ใน ชุมชน สงั คม เร่ืองที่ 4 ความภูมิใจในความเปน ไทยเพอื่ สงเสรมิ ความปรองดอง กิจกรรมการเรยี นรู 1. ศึกษาเอกสารการสอน บทที่ 4 2. ศกึ ษาคนควาหาความรจู ากแหลงเรยี นรตู า งๆ 3. ปฎิบัตกิ จิ กรรมตามท่ีไดรบั มอบหมายในเอกสารการสอน 4. ศกึ ษาจาก ซีดี 5. มสี ว นรว มในกิจกรรมประชาธปิ ไตยในระดับตา งๆ ส่ือการสอน 1. เอกสารการสอนบทท่ี 4 2. แหลง เรียนรตู างๆ เชน ตาํ ราเรยี น สอื่ ส่งิ พิมพตางๆ กศน.ตาํ บล หองสมดุ และ อินเตอรเ นต็ 3. ใบงาน 4. ซดี เี ร่ือง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของการเปนพลเมอื งดี 5. กระดาษปรฟุ 6. ปากกา
34 การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค โดยใชแ บบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค 2. สงั เกตทกั ษะกระบวนการ โดยใชแ บบประเมนิ ทักษะและกระบวนการ 3. ตรวจผลงาน โดยใชแ บบประเมินผลงาน 4. การรว มกจิ กรรมประชาธิปไตยในระดบั ตา งๆเชน รณรงคก ารเลอื กตั้งและการออกเสียง ประชามติ
35 บทที่ 4 การเสริมสรางคณุ ธรรม จริยธรรม จิตอาสา และความภูมิใจในความเปน ไทย เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของคุณธรรม จรยิ ธรรม จิตอาสาและความภมู ิใจ ในความเปนไทย คุณธรรมและจรยิ ธรรม คําวา “คุณธรรม” ตามความหมายในพจนานุกรม หมายถงึ สภาพของคณุ งามความดี สว นคาํ วา จรยิ ธรรม ตามความหมายแยกออกเปน 2 คําคือ “จรยิ ” หมายถงึ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ และ “ธรรม”หมายถงึ คณุ ความดี ความจริง ความถกู ตอง กฎ กฎเกณฑ กฎหมาย หลกั คําสอนในศาสนาหากจะสรปุ รวมทั้งคุณธรรม และจริยธรรม ตามความเขาใจของผเู รียบเรยี งคงหมายถึง การประพฤติปฏิบตั ิตนใหตงั้ ม่นั อยูในความดี ท้งั กาย วาจา และใจ ในเร่อื งของคณุ ธรรม และจริยธรรม พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู ัวทรงพระราชนพิ นธ หลกั ราชการ ซง่ึ ถือไดวาเปนหลกั คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมในวิชาชพี ขา ราชการทีส่ าํ คัญยิง่ สาํ หรับใหข า ราชการพึง ยึดถอื เปน แนวทางปฏิบตั ริ าชการ 10 ประการ มีใจความสาํ คญั สรุปไดด ังนี้ 1. ความสามารถหมายถึง ความชาํ นาญในการปฏิบตั ิงานในดานตา งๆใหเ ปน ผลสาํ เรจ็ ไดดยี ิ่งกวาผมู ี โอกาสเทาๆกัน 2. ความเพยี ร หมายถงึ ความกลา หาญไมย อ ทอ ตอความลําบาก และบากบัน่ เพื่อจะขา มความขดั ของ ใหจงไดโ ดยใชค วามวิรยิ ภาพมิไดลดหยอน 3. ความมีไหวพรบิ หมายถงึ รจู ักสงั เกตุเห็นโดยไมต องมใี ครวา เม่ือมีเหตเุ ชนนั้นจะตอ งปฏิบตั ิการอยา ง นัน้ เพ่อื ใหบงั เกดิ ผลดที ีส่ ุดแกก ิจการทัว่ ไปและรบี ทาํ การอนั เห็นควรน้ันโดยฉับพลัน 4. ความรูเทาถึงการ หมายถงึ รจู ักปฏบิ ัติการอยา งไรจึงจะเหมาะสมแกเ วลาและอยา งไรทีไ่ ดร บั สมเหตุสมผลถึงจะเปน ประโยชนท่ีสดุ 5. ความซือ่ ตรงตอ หนาท่ี หมายถงึ ตัง้ ใจกระทํากิจการซึ่งไดรบั หมอบใหเ ปนหนาทีด่ ว ยความซอื่ สตั ย สุจรติ 6. ความซ่ือตรงตอ คนทว่ั ไป หมายถึง ใหป ระพฤติซอ่ื ตรงตอคนท่วั ไป รักษาตนใหเปน คนทเี่ ขาทงั้ หลาย จะเชอื่ ถอื ได 7. ความรจู กั นสิ ยั คน ขอ นเ้ี ปน ขอสําคัญสําหรับผทู มี่ ีหนา ท่ีตดิ ตอกับผูอื่น ไมว า จะเปน ผใู หญหรอื ผนู อย 8. รูจ ักผอ นผัน หมายความวา ตอ งเปนผทู ร่ี จู ักผอ นส้ันผอ นยาววาเมือ่ ใดควรตัดขาดและเม่อื ใดควรโอน ออ นหรือผอนผันกนั ไดม ใิ ชแตจ ะยดึ ถือหลักเกณฑหรือระเบียบอยางเดยี่ วซึง่ จะกอ ใหเ กดิ ผลเสยี ควรจะยืดหยนุ ได 9. ความมหี ลกั ฐาน ขอนปี้ ระกอบดวยหลกั สาํ คญั 3 ประการคอื มบี านอยเู ปนท่ีเปน ทางมคี รอบครวั อนั มัน่ คงและตั้งตนไวในท่ีชอบ 10. ความจงรักภักดี หมายความวา ยอมเสียสละเพ่ือประโยชนแหง ชาติศาสนาและพระมหากษัตริย พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัวภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชพระราชทานคณุ ธรรม 4 ประการ แก ขาราชการและประชาชนในคราวสมโภชกรงุ รัตนโกสินทร 200 ป มขี อ ความดงั น้ี ประการแรก คอื การรักษาความสจั ความจรงิ ใจตอ ตนเองรจู กั สละประโยชนสว นนอ ยเพอ่ื สว น ใหญของบานเมืองทจ่ี ะประพฤตปิ ฏบิ ตั แิ ตส ิ่งทเี่ ปนประโยชนและเปน ธรรม
36 ประการท่ีสอง คอื ความรจู ักขมใจตนเองฝกใจตนเองใหประพฤติปฏบิ ัติอยใู นความสตั ย ความดี น้นั ประการท่ีสาม คอื ความอดทน อดกลั้น และอดออม ไมป ระพฤตลิ วงความสัตยส จุ รติ ไมว า จะดวย เหตุประการใด ประการท่สี ี่ คือ การรูจ ักละวางความชวั่ ความทจุ รติ และรจู กั เสยี สละประโยชนส ว นนอ ยของตน เพือ่ ประโยชนส ว นใหญข องบานเมือง คณุ ธรรม 4 ประการ ถา แตล ะคนพยายามปลูกฝงและบํารุงใหเ จรญิ งอกงามขนึ้ โดยทัว่ กันแลวจะชว ย ให ประเทศชาติบงั เกดิ ความสขุ ความรม เย็น และมโี อกาสทีจ่ ะปรบั ปรงุ พัฒนาใหม ่นั คงกาวหนา ตอ ไปไดดัง ประสงค จิตอาสา เมอ่ื กลาวถึง “จิตอาสา” อาจจะเปนคาํ ใหมที่เริ่มเปน ทีร่ ูจักกนั ในวงกวา งไมถ งึ 10 ป ผนู าํ คํานีม้ าใชค ร้งั แรกนา จะเปนเครือขายพทุ ธิกา ในโครงการ “ฉลาดทําบญุ ดว ยจติ อาสา” ตอมาคําน้ีไดน ําไปใชอ ยางแพรหลาย พระไพศาล วิสาโล ไดใ หความหมาย “จิตอาสา” วา คอื จิตที่ไมนิ่งดูดายตอสังคม หรือความทกุ ขยากของผคู น และปรารถนาเขาไปชวย ไมใ ชด วยการใหท าน ใหเ งิน แตดวยการสละเวลา ลงแรงเขาไปชว ย ดวยจิตทเี่ ปนสุขท่ี ไดช ว ยผูอนื่ จะเนนวา ไมใ ชแ คทาํ ประโยชนเ พือ่ ผูอ่นื อยา งเดยี ว แตเปนการพฒั นา “จติ วิญญาณ” ของเราดว ย “จิตอาสา” คือ ผูท่มี ีจติ ใจท่เี ปน ผใู ห เชน ใหส ่ิงของ ใหเงนิ ใหความชว ยเหลือดว ยกาํ ลังแรงกาย แรงสมอง ซงึ่ เปน การเสยี สละ สงิ่ ทตี่ นเองมี แมกระทัง่ เวลา เพอื่ เผ่อื แผ ใหกบั สว นรวม อกี ทง้ั ยังชว ยลด “อัตตา” หรอื ความเปน ตัว เปน ตนของตนเองลงไดบา ง “อาสาสมคั ร” เปนงานทีเ่ กดิ จากผูทม่ี ี จติ อาสา ซึ่งมคี วามหมายอยา งมาก กับสังคมสวนรวม เปนผทู ่ี เอื้อเฟอ เสียสละ เวลา แรงกาย แรงใจ เพ่อื ชว ยเหลอื ผอู ืน่ หรือ สังคมใหเกิดประโยชนและความสขุ มากขนึ้ การ เปน “อาสาสมัคร” ไมวา จะเปนงานใดๆ ก็แลว แตท ่ีทําใหเ กิดประโยชนใ นทางบวก ลว นแตเปนส่งิ ท่เี ราควรทํา ทั้งสิน้ คนท่ีจะเปน อาสาสมคั รไดนัน้ ไมไ ดจํากดั ที่ วยั การศึกษา เพศ อาชพี ฐานะ หรือ ขอ จํากัด ใดๆ ทง้ั สนิ้ หากแตตองมจี ิตใจเปน “จติ อาสา” ที่อยากจะชวยเหลอื ผูอน่ื หรอื สงั คม เทา น้ัน ภูมิใจในความเปนไทย เอกลักษณแ หงความเปนไทย คอื สงิ่ ท่บี ง บอกความเปนไทยไดอยางดีทีส่ ดุ เพราะประเทศไทยนน้ั ไดช อ่ื วา เปนประเทศเอกลักษณเ ปน ของตนเองชาตหิ นง่ึ ของโลก มอี ักขระ ตวั อักษรท่เี ปนเฉพาะของตวั เอง พรอมกบั การแตงกายแบบฉบบั ไทย ที่มีรูปแบบลวดลายที่สวยงามออ นชอย อีกท้งั การแตง กายแบบฉบบั ไทยในสมัย ปจ จบุ นั ไดน ําเอาไปประยกุ ตในแบบสากลจนเปนที่โดง ดงั ไปทว่ั ในเรอ่ื งความสวยงาม นอกจากความสวยงามทไ่ี มเหมือนใครของเครอื่ งแตง กายแบบนน้ั ความสวยที่สอ่ื ออกมาจากตวั ตนแหง คนไทย กจ็ ะเปน “การไหว” ที่เปน เอกลกั ษณชาตเิ ดยี วในโลกท่ีไมมใี ครเหมือน เอกลกั ษณของไทยนัน้ ไมไดมี เพยี งแคการไหวท ี่สวยเพยี งอยางเดยี วเทา น้ัน ยงั มสี ถาปต ยกรรม แบบไทยๆ ทสี่ ามารถเห็นไดต ามศาสนสถาน (วัด) โบสถวหิ าร ปราสาทพระราชวงั และอาคารบา นทรงไทยอนั สวยสดงดงาม เอกลกั ษณท างศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณที เี่ ห็นเดน ชดั กค็ อื การแสดงราํ ไทย ท่สี ะทอนใหเ ห็นถึงวถิ ี ชวี ิตของคนไทยไดอ ยา งดี เอกลกั ษณท างดนตรีไทยนั้นกไ็ มเ ปนรองชาติใดในโลกเหมือนกนั ซง่ึ สามารถขับขาน บรรเลงเสยี งที่ชาว ไทยและชาวตางประเทศ ตองมนตสะกดของเสยี งเพลงเลยทีเดยี ว เสนหของดนตรไี ทยยงั สามารถนํามาผสาน รวม รว มกับดนตรสี ากลเพิม่ ความไพเราะไปอีกในรูปแบบหนึ่ง นอกจากนป้ี ระเทศไทยยงั มกี ารละเลนและดนตรี
37 ท่สี ืบสานประเพณี เชน ในงานสงกรานต เราจะพบเห็นประจํากับการละเลน ท้งั ดนตรีพื้นบา น และการละเลน อนั เปน คณุ ลักษณะทีโ่ ดดเดนของคนไทย เชน การเลน สบา การเลนซอนหา การเลนว่งิ ผลดั การละเลนดนตรี ไทย ซ่ึงเปนดนตรพี ืน้ เมอื ง ซึ่งจะไมพ บเห็นในยคุ ปจจบุ ัน ปจ จุบันจงึ เปนท่นี าเปนหว งและนาเสียดาย ทีเ่ ราจะ พบเห็นเดก็ ๆ ลกู หลานเลน แตเกมสต า งๆ ในอินเทอรเน็ต ท่ไี ดทง้ั ปญ ญาและทําใหเ สียผเู สยี คน ทาํ ใหห ลงลืม ความสาํ คญั ในวิถชี ีวติ และดํารงไวซง่ึ ประเพณีอนั ดีงาม นอกจากนเ้ี มืองไทยเปนเมืองพทุ ธท่หี ลากหลายดว ยพิธีกรรมอนั งดงาม ที่มมี าแตนานเปน พิธีกรรมสรา ง ความหวงหาอาทร สรา งความสัมพันธ การประกอบพิธีกรรมจะสรางความสัมพันธทางดา นจติ ใจอยา งลึกซ้ึง กับ ผูใหแ ละผรู ับ สง เสรมิ ความเคารพนับถือซง่ึ กันและกนั ระหวางหลากหลายอายุ วันสาํ คญั ที่เปน เอกลักษณข องไทยคือ วันสงกรานต ซ่ึงเปนวนั แหง ความผูกพนั ของสมาชกิ ในครอบครวั อยางแทจริง เม่ือกอนพอแมเ ตรียมเครือ่ งแตง กายใหมๆ ไวใหลกู หลานรวมทัง้ เครอื่ งประดับ ใชส ําหรับตกแตง เพือ่ ความบรสิ ุทธิ์ในกายไปทาํ บญุ ท่ีวัดในหมูบาน นอกจากน้ันลูกหลานจะเตรียมเสื้อผา เคร่ืองนุงหม ใหพอแม ปู ยา ตา ยาย ไดส วมใส หลังพธิ ีรดนาํ้ ดําหวั เพ่ือขอพร ซึง่ เปนความรกั ความผูกพนั อยางแทจริงของลกู หลานใน ครอบครัว พอ แมม คี วามสขุ ความปลืม้ ใจ ท่ไี ดเห็นลูกหลานมากนั พรอ มหนา เรอ่ื งท่ี 2 คุณธรรม จริยธรรมของการเปนพลเมืองดี คุณธรรมและจริยธรรมระดับบคุ คลในสังคมประชาธิปไตย คณุ ธรรม และจริยธรรมระดับบคุ คล หมายถึง สภาพคุณงามความดที ่ีเปนประโยชนป จ เจกบคุ คล แนวความคดิ เกยี่ วกับคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมระดับบุคคล มผี จู าํ แนกบคุ คลออกไปตามสภาพในสังคม เชน ใน ฐานะเปน สมาชิกรัฐ และในฐานะผนู ําหรอื ผปู กครองรัฐ การมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรมระดบั บคุ คล มคี วามสาํ คญั ตอการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เน่ืองจากหลกั การอิสรภาพ เสรีภาพ และความเสมอภาพของ ประชาธิปไตยมีความเส่ยี งตอ การทาํ ใหเ กดิ ความเหลอื่ มล้าํ ในสังคม ถา สมาชิกในสงั คมขาดคณุ ธรรม คุณธรรมและจรยิ ธรรมระดบั บุคคลในสงั คมประชาธปิ ไตย จาํ แนกออกเปน สองสวน คอื การมี คณุ สมบตั ขิ องมนษุ ยท ดี่ ี และการเปนประชาชนที่ดใี นสังคมประชาธิปไตย ในสวนแรก จะไดนําเสนอคณุ สมบัติ รว มของศาสนาที่กลา วถึงความดที ่พี ึ่งมีในตวั บคุ คล อาทิ ความสอ่ื สตั ย การทาํ ความดี ความเมตตา การยึดมน่ั ในหลกั ธรรม ในสวนทสี่ องจะไดน ําเสนอ คณุ สมบตั ิรวมของสงั คมท่ีคาดหวงั ในตัวบุคคล เชน การทาํ ตามกฎ กตกิ าของสงั คม การไมล ะเมิดกฎหมาย การไมกอ ใหเกิดความไมสงบเรียบรอยในสงั คมการมีสัมมาชีวะ เปน ตน การเปนประชาชนทีด่ ีในสงั คมประชาธปิ ไตย จะไดช ีใ้ หเห็นลักษณะเฉพาะของสงั คมประชาธปิ ไตย ท่เี ปนเรอื่ ง จาํ เปนสาํ หรับ ประชาชน ท่ตี องมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมแตกตางไปจากสังคมในระบอบการปกครองอนื่ ซ่งึ อาจ เรียกไดวา เปนคุณลกั ษณะทางจติ บคุ คล ตองสอดคลอ งกับการพิทักษค วามเปนอิสรภาพ เสรีภาพ และเสมอ ภาพของตนเองไปพรอมกบั การเคารพในสทิ ธิศกั ดิ์ศรขี องมนษุ ยโ ดยเทา เทียมกัน การยอมรบั ความแตกตา งทาง ความคดิ ความเคารพสิทธิใ์ นการแสดงความคิดเห็นของผอู ่นื การตระหนกั และแสดงความรบั ผิดชอบตอ สาธารณะ การตระหนกั ในหนา ท่ขี องพลเมอื งท่มี ตี อ สวนรวม การเห็นแกประโยชนสาธารณะมากกวา ประโยชนส วนบุคคล เพราะหากบคุ คลคํานงึ ถึงแตส ทิ ธิเสรีภาพของตนเองโดยไมสนใจสิทธิเสรภี าพของคน อื่น กจ็ ะความเหน็ แกต วั ยง่ิ ถา มกี ารพัฒนาการข้ึนเปนผปู กครองกจ็ ะกลายเปน ผปู กครองที่เผดจ็ การณ คณุ สมบตั ทิ างคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของพลเมอื งดี - การยดึ และปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา - การเปนคนดีในสงั คม - การเคารพในสิทธิศักด์ศิ รีของมนุษยโดยเทาเทียมกัน
38 - การยอมรบั ความแตกตางทางความคดิ - ความเคารพสทิ ธิ์ในการแสดงความคดิ เหน็ ของผอู น่ื - การตระหนักและแสดงความรับผดิ ชอบตอ สาธารณะ - การตระหนักในหนาที่ของพลเมืองทมี่ ตี อ สว นรว ม - การเหน็ แกป ระโยชนสาธารณะมากกวา ประโยชนสวนบคุ คล คณุ ธรรมและจริยธรรมของบุคคลทม่ี ีตอ สังคมในสังคมประชาธปิ ไตย คุณธรรมและจริยธรรมของบคุ คลทีพ่ งึ มตี อ สงั คม หมายถงึ การมคี ุณงามความดใี นการทาํ หนาท่ี พลเมืองของประธปิ ไตย ความสําคญั ของประเดน็ น้อี ยทู ี่การเมืองการปกกครองในระบอบประชาธิปไตยทด่ี ีไมใ ช ข้นึ อยูกับการมผี ปู กครองท่ีดีมคี ุณธรรม การทาํ หนา ที่ใหบ ริการประชาชน บําบัดทุกข บํารงุ สุข ใหก ับประชาชน เทานั้น แตย ังข้ึนอยูกบั การทาํ หนา ทต่ี อ ประเทศชาติของประชาชนดวยคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของบุคคลท่ีมีตอ สงั คมในสงั คมประชาธปิ ไตย ประกอบดว ย การมีรูปแบบความคดิ สรา งสรรคทางบวกในการแสดงบทบาทอยา ง แขง็ ขันในการรว มพัฒนา และแกไขปญ หาของสงั คมดว ยตา งๆเชน - การมีสว นรว มในการตดั สินใจประเดน็ สาธารณอยางแข็งขนั - การมสี ว นรวมในการกระทาํ เพื่อสว นรวมดวยความเตม็ ใจ - การสนบั สนนุ การเสริมสรา งความแข็งขนั ของชุมชน - การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและระเบียบของบานเมอื ง/เคารพในกฎกตกิ าของสงั คม - การตดิ ตามตรวจสอบการทาํ งานของผูบริหารและหนว ยงานของรฐั ท้งั นก้ี ารมีบทบาทดังกลา วหากทําดวยความไมม คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม กก็ อ ใหเกิดความวนุ วายเดอื ดรอ น และทาํ ใหเ กิดความแตกแยกในสังคม จนถึงการลม ลา งระบบการเมืองการปกครองกลายเปนอนาธปิ ไตยแทน ประชาธปิ ไตยไดในบางกรณีกอ็ าจกลายเปนเครื่องมือของคนท่ไี มห วังดตี อประเทศชาติ คุณธรรมจรยิ ธรรมของนกั พฒั นาในสงั คมประชาธปิ ไตย คุณธรรมจรยิ ธรรมของนกั พัฒนา หมายถงึ จรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั หิ นาท่ีวิชาชีพของนักพฒั นาท่ดี ี และ การดํารงตนในสังคมอยางนักพฒั นาท่ีดี มีความสาํ คัญตอการพฒั นาและรักษาดาํ รงไวซึ่งระบบการเมอื งการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยของบานเมือง อาจกลา วไดว าเปนจรรยาบรรณ หรือ มาตรฐานวิชาชีพของ นกั พฒั นากไ็ ดจ ริยธรรมในการปฏิบัติหนา ที่ในวิชาชพี ของนกั พัฒนาที่ดี และการดาํ รงตนในสงั คมอยา ง นกั พฒั นาทีด่ ี ประกอบดว ย - ความรับผิดชอบในการนาํ ความรูไปใชในทางการเมอื งการปกครอง - เผยแพรความรคู วามเขา ใจดวยการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแกสังคม - ความสุจริตในการแสดงความคดิ เหน็ ตอระบบการเมืองการปกครองและสงั คม - ปกปองหลักการอสิ รภาพ เสรีภาพ และความเสมอภาค - สนับสนนุ และการปกปองการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย - ตอ ตา นการใชอํานาจการเมอื งการปกครองในทางทผ่ี ิดและเสียหายตอประเทศชาติ
39 เรือ่ งท่ี 3 การมจี ติ อาสาในการดาํ เนนิ ชีวติ รวมกบั ผูอ นื่ ในชุมชน สังคมกจิ กรรมอาสาสมคั ร เปนกระบวนการของการฝก “การให” เพอื่ ขดั เกลาละวางตวั ตน บม เพาะ ความรัก ความเมตตาผอู ่ืน โดยไมมเี ขือ่ นไข ท้ังน้ีกระบวนการของกิจกรรม ซ่ึงเปนการยอมสละตนเพอื่ รับใช และชวยเหลือแกไ ขวกิ ฤตปิ ญหาของสังคม อาสาสมคั รจะไดเรียนรูละเอยี ดออนตอ สิ่งทเี่ กดิ ขนึ้ รอบตัวมากขนึ้ สมั ผสั ความจรงิ เช่อื มโยงเหตุและปจ จยั ความสขุ และความทุกข เจรญิ สตใิ นการปฏิบตั ิงานทศี่ าสนาพุทธเรียกวา พรหมวหิ าร 4 คอื เมตตา กรุณา มทุ ิตา และอุเบกขาเพือ่ ใหเกิด “การให” ที่ดีกิจกรรมอาสาสมัคร จึงเปน กระบวนการทชี่ ว ยใหบ ุคคลไดขัดเกลาตนเองเรยี นรูภ ายในและเกดิ ปญญาได ทีผ่ า นมาไทยอาจเคยชนิ กบั การทําความดดี ว ยการใชเ งินลงทนุ ใน บุญ ไมค อยอยากออก แรงชว ยเหลอื เพราะถือวา การทาํ บุญกับส่งิ ศกั ด์สิ ิทธิ์ หรือผูท่มี บี ุญบารมจี ะทําใหค นๆ น้นั ไดบุญมากขนึ้ คน ไทยจงึ มักทาํ บญุ กบั พระบรจิ าคเงนิ สรา งโบสถ แตล ะเลยการ “ชวยเหลอื เพอ่ื นมนุษย” นอกเหนอื จากการอาสาทําดีในรปู แบบกิจกรรมแบบนารักๆ ดว ยการปลุกปา ขจ่ี กั รยานลดโลกรอน ชวยเหลือเด็ก ชวยเรอ่ื งการศกึ ษา ฯลฯ โดยไมไ ปขวางทางโจรหรอื ทางโกงแลว ยงั มีกิจกรรมทําดีในรปู แบบใหม ซง่ึ อาจถอื เปน การเติมเต็มการทาํ ประโยชนต อสงั คมท่ผี ูส นใจ ในดา นการอาสาทาํ ดีสามารถนาํ ไปใชได เร่ืองท่ี 4 ความภูมิใจในความเปนไทยเพ่ือสงเสริมความปรองดอง ความเปน ไทยเราพอจะแยกไดห ลายระดับตามความต้ืนลกึ ของความเปน ไทย เมอื่ มองอยางผิวเผนิ ก็ ตอบไดวา “อยทู ค่ี นไทย” หรือ “อยทู ีป่ ระเทศไทย” ซึ่งยงั มองเพียงผวิ เผินเทานนั้ แตถา จะมองใหลึกขึ้นไปอกี ความเปน ไทยจะอยทู ส่ี ถาบนั ทง้ั 3 คือ “ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ” ถาขาดสงิ่ ใดสง่ิ หนึ่งไปความเปน ไทยก็ จะไมม ี ถาจะมองใหลึกขึ้นไปอีก ความเปน ไทยจะอยทู ่ี “เอกลกั ษณเ ฉพาะของคนไทย” เชน ภาษาไทย เครื่อง แตงตวั กิรยิ ามารยาท ศาสนา ศลิ ปะ ดนตรไี ทย กีฬา ขนบธรรมเนียมประเพณี เปนตน ถา ไมมีสง่ิ เหลานีค้ วาม เปน ไทยกไ็ มม ี ถา จะมองใหลกึ ข้ึนไปอกี ความเปนไทยจะอยูที่ “ชวี ติ ที่เรียบงายสงบไมเ บียดเบียนใคร”คือคนไทยนน้ั มี ความเปน อยูทไ่ี มฟ งุ เฟอ ฟมุ เฟอย และใจดีชอบชวยเหลือคนอ่นื นค้ี อื ความเปนไทยทส่ี ําคัญอยางหน่ึง ถาจะมองใหล ึกเขาไปอกี ความเปนไทยทจี่ ะอยู “คณุ ธรรมภายในจติ ใจ”คอื คนไทยจะเปนคนกตัญู กตเวที ซ่อื สตั ย จิตใจ เสยี สละ สามคั คี อดทน เอ้อื เฟอ เผ่ือแผ เชื่อฟง และเคารพผใู หญคนแกค นเกง เปน ตน ซ่งึ คนไทยแทๆ จะมีคุณธรรมเหลา นี้ ถา จะมองใหล ึกถงึ ทีส่ ุดแลว ความเปนไทยจะอยูท ี่ ’’ความเปนอสิ ระ’’คอื ไมข นึ้ กับใคร ไมชอบเปน ทาส ใคร ท้งั ทางรา งกายและจิต ซ่งึ คําวา ’’ไทย’’ ก็แปลวา อิสระ คือท้ังรางกายเปนอิสระ และจิตใจกเ็ ปนอิสระ ซ้ึง อิสระทางจิตใจก็คือ ไมถกู อาํ นาจฝายต่ําครอบงาํ สรปุ วา ความเปน ไทยน้ีมีหลายระดับ ซึง่ ปจ จบุ ันเราจะเหลอื ความเปน ไทยกนั สักเทาใดกล็ องมองดู เพราะปจ จุบนั วฒั นธรรมตา งชาตไิ ดเขามาครอบงําเดก็ และเยาวชนของเรากนั จนไม รเู สยี แลววา ความเปน ไทย อยทู ่ตี รงไหน มองไปทางไหนกเ็ หน็ แตร างกายเทานนั้ ทเี่ ปน คนไทย แตการปฏบิ ัตกิ ลบั แทบไมมีความเปนไทย เลย จงึ ทาํ ใหท ง้ั นา เสียดายวาส่ิงท่ีดงี ามจะสูญหายไป และนาอับอายตางชาตทิ ่เี ขายังรักษาเอกลักษณข องชาติ เขาเอาไวไ ด ถา ทุกคนสามารถรกั ษาเอกลกั ษณค วามเปนไทยไวไ ด ปญ หาความขดั แยงตางก็จะนอยลง หรือหมด ไปได เพราะโดยพ้ืนฐานเอกลักษณความเปน ไทยแลว น้นั มแี ตส ง เสรมิ ใหเกดิ ความสามัคคีไมแตกแยก
Search