Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง ปี 2559 9

คู่มือการปฏิบัติงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง ปี 2559 9

Description: คู่มือการปฏิบัติงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง ปี 2559 9

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน แก้ไฟฟ้าขัดข้อง Power System Recovery Handbook การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค 2559

คมู่ อื การปฏิบตั ิงานแก้ไฟฟ้าขดั ข้อง ก-1 คานา การไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาคให้บริการจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า ให้แกป่ ระชาชน ครอบคลมุ พนื้ ที่ 74 จงั หวัด นอกเขตพน้ื ทกี่ รุงเทพมหานคร นนทบรุ ี และสมุทรปราการ คิดเปน็ พ้นื ที่ มากกว่า รอ้ ยละ 99 ของพ้นื ทปี่ ระเทศไทย มรี ะบบไฟฟ้าทตี่ ้องดแู ลรับผิดชอบ ตงั้ แตส่ ายสง่ ไฟฟ้า 115 เควี ระบบจาหน่ายไฟฟ้า 22 เควี 33 เควี และระบบจาหน่ายไฟฟา้ แรงต่า เชือ่ มต่อผ้ใู ชบ้ ริการมากกว่า 18 ลา้ นราย การจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า ซ่งึ เปน็ พลงั งานทไ่ี มส่ ามารถจัดเก็บไวใ้ ช้งานได้ จึงตอ้ งสง่ พลังงานไฟฟา้ ให้ผู้ใชบ้ ริการอยา่ งตอ่ เน่อื ง และจากการทีพ่ ลังงานไฟฟ้าในปัจจุบนั ถอื เปน็ สิ่งทม่ี ี ความสาคญั ตอ่ ชวี ิตประจาวันของประชาชน จนเกือบจะเรียกว่าปัจจยั ที่ 5 ของการดารงชวี ิตของ มนษุ ย์ในโลกปจั จบุ นั นอกจากนีย้ ังเปน็ ปัจจยั สาคญั ต่อภาคอตุ สาหกรรม ตลอดจนความม่นั คงของ ประเทศชาติ ดังนัน้ การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค จงึ ไดพ้ ยายามลดการเกดิ ระบบไฟฟ้าขดั ข้อง ดว้ ยการ ทุม่ เท ออกแบบ กอ่ สร้าง และบารุงรักษาระบบการจ่ายพลังงานไฟฟา้ ไม่ใหเ้ กดิ การหยุดจา่ ย พลังงานไฟฟา้ จากเหตปุ จั จยั ต่างๆ ทีส่ ามารถปอ้ งกัน และควบคมุ ได้ อยา่ งไรกต็ าม เหตุการณ์ที่ไมค่ าดคดิ ยังอาจเกดิ ขึ้นได้ และเป็นเหตใุ หร้ ะบบไฟฟ้าต้อง หยุดชะงัก ทาใหผ้ ใู้ ช้บริการไดร้ ับผลกระทบ ดงั นั้นการมรี ะบบการแก้ไฟฟ้าขัดข้อง จึงยังเป็นส่ิงที่ จาเปน็ และมีความสาคัญอย่างยง่ิ ในการนาระบบไฟฟ้ากลับเขา้ สู่ภาวะปกติ เพ่อื จา่ ยพลังงาน ไฟฟ้าให้แกผ่ ้ใู ชบ้ รกิ าร ภายในเวลาอันส้นั ดว้ ยความรวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ และเกดิ ความ ปลอดภยั ในการปฏิบัติงาน คมู่ ือการปฏิบตั กิ ารแก้ไฟฟา้ ขัดข้องเล่มนี้ จงึ ไดถ้ ูกจดั ทาขึน้ เพอ่ื ใชเ้ ป็น แนวทางในการดาเนินการแก้ไฟฟ้าขดั ขอ้ งให้เป็นมาตรฐานเดียวกนั ทง้ั องคก์ ร และใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือ ในการยกระดับงานแก้ไขไฟฟ้าขดั ข้องของการไฟฟ้าสว่ นภูมิภาคต่อไป คณะผู้จดั ทา การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค 2559

คมู่ ือการปฏิบตั งิ านแกไ้ ฟฟ้าขัดข้อง ค-1 สารบรรณ หน้า บทท่ี 1 ความรูพ้ ้นื ฐานทสี่ าคญั 1 1.1 เสาไฟฟ้า 1 1.2 ระบบตอ่ ลงดิน 2 1.3 ลกู ถว้ ยไฟฟา้ 3 1.4 สายไฟฟ้า 6 1.5 อปุ กรณ์ตอ่ สายในระบบจ่าหนา่ ยแรงตา่ 7 1.6 อปุ กรณป์ อ้ งกนั และตดั ตอน 9 1.7 กบั ดักเสิร์จ หรอื กบั ดกั ฟ้าผา่ หรอื ลอ่ ฟา้ 9 1.8 หมอ้ แปลงไฟฟ้าระบบจ่าหน่าย 10 1.9 ระยะหา่ งความปลอดภัย 11 1.10 ดรอปเอาทฟ์ ิวส์คัทเอาท์ 13 บทท่ี 2 ขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐาน 14 2.1 งานแก้ไขสายไฟฟ้าแรงตา่ ขาดหรอื ชา่ รดุ 14 2.2 งานแก้ไขสายแรงตา่ ลัดวงจรกับสายสอื สารหรอื ไฟถนน 18 2.3 งานแกไ้ ขขัว้ ต่อสายมเิ ตอร์หลวมหรอื ไหม้ 23 2.4 งานแก้ไขเสาไฟฟา้ แรงสูงช่ารุดกรณีภยั ธรรมชาติ 27 วนิ าศกรรมและรถยนต์ชน 2.5 งานแกไ้ ขหมอ้ แปลงไฟฟา้ ชา่ รุด 31 2.6 งานแกไ้ ขฮอทไลน-์ เบลแคลม้ ปไ์ ลนแ์ ยกช่ารดุ 35 2.7 งานแก้ไขมิเตอร์ไฟฟา้ ชา่ รุด 40 2.8 งานแก้ไขฟวิ สแ์ รงตา่ ขาด 43 2.9 งานต่อกลับมิเตอร์ 46 2.10 งานแกไ้ ขฟิวส์แรงสูงขาด 50 2.11 งานแก้ไขสายไฟฟ้าแรงสูงขาดหรือช่ารดุ ทลี กู ถ้วยก้านตรง 55 เสาตน้ DDE บทที่ 3 เครือ่ งมือประจาชดุ แกไ้ ฟฟา้ ขดั ขอ้ ง 63 บทท่ี 4 เอกสารและแบบรายงานต่างๆ 65 การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค 2559

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านแก้ไฟฟ้าขัดขอ้ ง 1 บทที่ 1 ความรพู้ ืน้ ฐานทีส่ าคญั การไฟฟ้าสว่ นภูมิภาค 2559 Important Basic Knowledge ในบทนี้จะกล่าวถึงข้อมูล คุณสมบัติ ข้อกาหนด มาตรฐาน เบ้ืองต้นเกี่ยวกับอุปกรณ์ท่ีถูกใช้งานใน ระบบไฟฟ้า และการตดิ ตัง้ ใช้งานอปุ กรณ์ตา่ งๆ เพ่อื ใชเ้ ป็นข้อมูลในการปฏิบัตงิ านแกไ้ ฟฟ้าขัดข้อง 1.1 เสาไฟฟ้า เสาใชส้ าหรบั ติดตั้งอุปกรณต์ ่างๆและสายไฟฟ้า โดยมรี ะดับความสงู และระยะห่างความปลอดภัยตาม ระดบั แรงดันต่างๆ ตามมาตรฐาน กฟภ. สามารถแยกไดด้ งั น้ี 1.1.1 เสาไฟฟ้าระบบสายส่ง เสาไฟฟ้าที่ใช้ในระบบสายส่ง 115 kV ของ กฟภ. โดยทั่วไปเป็นเสาคอนกรีตอัดแรง มีขนาดความสูง 22 เมตร มีขนาดหน้าตัดหัวเสา 250x250 มม. ขนาดหน้าตัดโคนเสา 440x440 มม.โดยมีสายดินเป็น ลวดเหล็กตีเกลียวขนาด 25 - 35 ตร.มม. อยู่ภายในเสา มีปลายสายดินเหลืออยู่ท่ียอด และโคนเสา เพื่อ เชือ่ มต่อกบั สาย OHGW และสายดินทฐ่ี านเสา แต่เนื่องจากยากต่อการตรวจสอบจึงถกู ปรับปรุงเปน็ รปู ดังน้ี - แบบสายดนิ อยูภ่ ายนอกเสา (External ground) - แบบสายดนิ อย่ภู ายในเสาและมีแผ่นสาหรบั ปลด-เชื่อมตอ่ (Ground plate) นอกจากเสาคอนกรีตอัดแรงขนาดความสูง 22 เมตรแล้วในระบบสายส่ง 115 kV บางส่วนอาจใช้เสาที่ เปน็ โครงเหล็กและเสาคอนกรีตอดั แรงขนาดอน่ื ๆตามสภาพความเหมาะสมของแต่ละพ้ืนท่ี เช่นข้ามแม่น้า หรือ พน้ื ทภี่ ูเขาสูง 1.1.2 เสาไฟฟ้าระบบจาหน่าย 22 และ 33 เควี เสาระบบจาหน่ายเป็นเสาคอนกรีตอัดแรงเช่นเดียวกันกับเสาไฟฟ้าระบบสายส่ง แต่มีความสูงหลาย ขนาดดังน้ี 12 เมตร, 12.20 เมตร, 14 เมตร,14.30 เมตร และ16 เมตร ตามวัตถุประสงค์การใช้งานโดยมี รายละเอียดทางเทคนคิ ตามตารางท่ี 1-1 การไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค (ธันวาคม 2559)

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 2 ตารางที่ 1-1 แสดงคณุ สมบัตขิ องเสาไฟฟ้าระบบจาหนา่ ย 22 และ 33 เควี ขนาดความสงู คา่ ความตา้ นทานโมเมนตท์ ีร่ ะดบั ดิน นาหนักเสา ความลึกในการปกั (เมตร) (kg-m) (กโิ ลกรมั ) (เมตร) 12.00 2,550 2.00 12.30 5,900 1,265 2.00 14.00 3,500 1,490 2.00 14.30 9,000 1,950 2.00 16.00 5,300 2,015 2.00 2,590 1.1.3 เสาไฟฟา้ ระบบจาหน่ายแรงต่า เสาไฟฟ้าในระบบจาหน่ายแรงต่าของ กฟภ. เป็นเสาคอนกรีตอัดแรงที่มีหน้าตัดเป็นส่ีเหลี่ยม รูปทรง เรียว เหมือนเสาไฟฟา้ ในระบบจาหน่าย 22 และ 33 เควี และเสาไฟฟ้าในระบบสายส่ง โดยมีขนาดความสูง 8 และ 9 เมตร โดยมีรายละเอียดทางเทคนิค ตามตารางท่ี 1-2 ตารางที่ 1-2 แสดงคุณสมบัตขิ องเสาไฟฟ้าระบบจาหน่ายแรงต่า ขนาดความสูง ค่าความต้านทานโมเมนตท์ ี่ระดับดนิ นาหนักเสา ความลึกในการปัก (เมตร) (kg-m) (กิโลกรมั ) (เมตร) 8.00 760 490 1.50 9.00 1.070 590 1.50 1.2 ระบบต่อลงดนิ การต่อลงดิน หมายถึง การเชื่อมต่อด้วยตัวนาทางไฟฟ้าระหว่างวงจรหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ากับดิน ซ่ึงมี ความสาคัญหลายประการ เช่น ทาให้ค่าแรงดันเทียบกับดินมีค่าคงตัว หรือมีเสถียรภาพ ในขณะระบบไฟฟ้า ทางานปกติ ทาให้อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินทางานได้รวดเร็วข้ึน เมื่อเกิดการลัดวงจรลงดิน หรือเพื่อจากัด แรงดันเกินชั่วครู่ (Transient Overvoltage) ที่อาจเกิดข้ึนในระบบไฟฟ้า เป็นต้นในทางอุดมคติการรักษา ระดับแรงดันอ้างอิงเพ่ือความปลอดภัยของอุปกรณ์ป้องกันการเกิดไฟฟ้าสถิต และจากัดระดับแรงดันดินของ อปุ กรณ์เพอื่ ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ค่าความต้านทานของระบบการต่อลงดินควรมีค่าเป็น 0 แต่ค่า ดงั กลา่ วไมส่ ามารถทาไดใ้ นทางปฏบิ ัติ อย่างไรก็ตาม ค่าความต้านทานของระบบการต่อลงดินควรมีค่าต่า โดย เป็นไปตามข้อกาหนดของ NEC, OSHA และมาตรฐานความปลอดภัยอน่ื ๆ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ธันวาคม 2559)

คู่มือการปฏิบัตงิ านแก้ไฟฟ้าขัดขอ้ ง 3 1.2.1 ระบบต่อลงดนิ ของระบบสายสง่ 115 kV - คา่ ความตา้ นทานดนิ แต่ละตน้ ไมเ่ กิน 10  - คา่ ความตา้ นทานดนิ รวมของทงั้ ระบบไมเ่ กนิ 2  - คา่ ความตา้ นทานดินตน้ เสาข้ึนเคเบลิ ใต้ดนิ ไมเ่ กิน 2  1.2.2 ระบบตอ่ ลงดินของจาหน่ายแรงสูง 22, 33 kV - คา่ ความตา้ นทานดนิ แตล่ ะจุดตอ้ งไมเ่ กนิ 5  - ซงึ่ หากมกี ารปรบั ปรงุ ค่าความตา้ นทานดนิ แล้วเกนิ 5  ยนิ ยอมใหไ้ ม่เกิน 25  1.2.3 ระบบตอ่ ลงดินของจาหน่ายแรงตา่ - ค่าความต้านทานดินแต่ละจุดต้องไม่เกิน 5  - ซ่งึ หากมีการปรับปรงุ ค่าความต้านทานดินแลว้ เกนิ 5  ยนิ ยอมให้ไม่เกนิ 25  - คา่ ความต้านทานดินรวมของทั้งระบบไมเ่ กิน 2  1.3 ลูกถ้วยไฟฟา้ ลูกถ้วยไฟฟ้าเปน็ อุปกรณท์ ใ่ี ชร้ องรับสายไฟฟา้ ทาหน้าที่เป็นฉนวน และป้องกันมิให้กระแสไฟฟ้าร่ัวลงสู่ ดิน หรือลดั วงจรลงดิน ในระบบสายส่งจะใชล้ ูกถว้ ยแขวนขึงสายไฟฟา้ ในอากาศ เพ่ือรองรับน้าหนักและแรงกล ท่เี กิดขึน้ ดงั นน้ั ลูกถว้ ยจึงมีความสาคญั อยา่ งมากตอ่ ระบบไฟฟ้าเหนือดิน ทง้ั ในระบบสายส่งและระบบจาหน่าย 1.3.1 ลกู ถว้ ยไฟฟ้าระบบสายสง่ ลกู ถ้วยท่ใี ช้ในระบบสายสง่ 115 kV ของ กฟภ. โดยทัว่ ไปมี 3 ชนดิ แบ่งตามวสั ดทุ ่ีใชใ้ นการผลิต คอื 1.) ลกู ถว้ ยฉนวนพอร์ซเลน (Porcelain Insulator) หรือลูกถ้วยฉนวนกระเบ้ืองเคลือบ โดยผวิ ของลูกถว้ ยจะเคลอื บเปน็ มนั เพอื่ ใหน้ ้าฝนชาระส่ิงสกปรกได้ง่าย และเป็นลกู ถ้วยทีส่ ามารถ ถอดเปล่ยี นเฉพาะลูกถ้วยท่ีชารุดได้ใช้ในพืน้ ท่ีที่มลภาวะตา่ -ปานกลาง 2.) ลูกถ้วยฉนวนแก้ว (Glass Insulators) เป็นลกู ถว้ ยทม่ี ีคณุ สมบตั ิไม่แตกร้าวหรือหดตัวใน บริเวณทีม่ ีความแตกต่างของอณุ หภูมิใชใ้ นพื้นทีท่ ่ีมลภาวะต่า-ปานกลาง 3.) ลูกถ้วยโพลเิ มอร์ (Polymer Insulator) หรือลกู ถว้ ยคอมโพสติ (Composite Insulator) เป็น ลกู ถว้ ยทม่ี ีนา้ หนักเบาใช้ในพ้ืนทีท่ ม่ี มี ลภาวะสงู เชน่ ชายทะเล หรือนิคมอุตสาหกรรม การติดต้ังลูกถ้วยชนิดพอร์ตเลน และลูกถ้วยฉนวนแก้ว มีใช้งาน 2 ชนิดคือ แบบ 52-3 ใช้ติดต้ังแบบ หอ้ ยแขวนในแนวด่ิงโดยใช้ลูกถ้วยจานวน 7 ลกู และแบบ 52-8 ใช้สาหรับติดตั้งแบบเข้าปลายสายในแนวนอน (รบั แรงดงึ ) โดยใช้ลูกถ้วยจานวน 10 ลกู การไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาค (ธันวาคม 2559)

คูม่ ือการปฏิบัตงิ านแก้ไฟฟา้ ขัดข้อง 4 1.3.2 ลกู ถว้ ยไฟฟา้ ระบบจาหน่าย 22 และ 33 เควี ลูกถ้วยท่ีใช้ในระบบจาหน่าย 22 และ 33 เควี ของ กฟภ. โดยทั่วไปแบ่งเป็น 4 ประเภทตามลักษณะ การใช้งานดงั นี้ 1.) ลกู ถว้ ยแนวตงั้ เป็นลูกถว้ ยที่ทาหน้าทร่ี องรบั สายไฟในแนวต้ังใชป้ ระกอบตดิ ตั้งรวมกับ คอน คอร. หรอื คอนเหลก็ ฉากรบั สายทางโค้งของสาย SAC ซ่งึ มีหลายชนิดเชน่ Pin Type, Pin post Type, Line Post Type, Fog Typeเปน็ ต้น 2.) ลูกถ้วยแขวน เป็นใช้สาหรบั ติดตั้งแบบเขา้ ปลายสายในแนวนอน (รับแรงดึง)โดยใชล้ ูกถ้วย จานวน 3 ลกู สาหรบั พ้นื ทที่ ี่มีมลภาวะต่า จานวน 4 ลูกสาหรบั พ้ืนทท่ี ่ีมมี ลภาวะปานกลาง และจานวน 5 ลกู สาหรบั พน้ื ทที่ ่มี มี ลภาวะสงู 3.) ลูกถ้วยแยกสาย (Cable Spacer) ใช้สาหรบั สาย และรองรับสายชนิด SAC โดยมี 2 ชนดิ คือ ชนิดพอร์ตเลน และชนิดโพลเิ มอร์ 4.) ลูกถว้ ยยึดโยงมหี นา้ ที่เปน็ ฉนวนปอ้ งกนั กระแสรั่วไหลจากหวั เสาผ่านมาตามสายยึดโยง (ก) Post type (ข) Pin post type (ค) Suspension type รูปท่ี 1-1 แสดงภาพของลกู ถ้วยไฟฟ้าทีม่ ีใช้งานในระบบไฟฟา้ ของ กฟภ. การเลือกใช้ลูกถ้วยไฟฟ้าในระบบจาหน่าย 22 และ 33 เควี ต้องคานึงถึงระดับของมลภาวะในพ้ืนท่ีท่ีมี การใชง้ าน ทงั้ มลภาวะจากไอเกลอื เนอื่ งจากอยูใ่ กลช้ ายทะเล และมลภาวะที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ซซ่ึง จะส่งผลให้เกิดคราบสกปรกจับท่ีผิวของลูกถ้วยไฟฟ้า ทาให้ความต้านทานเชิงผิวของลูกถ้วยไฟฟ้าลดลง จน เป็นเหตุให้เกิดการวาบไฟตามผิว หรือ Surface Flashover ส่งผลให้เกิดการลัดวงจร และทาให้อุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินทางาน ปลดวงจรออก เกิดไฟฟ้าดับข้ึน การเลือกใช้ลูกถ้วยในสภาพมลภาวะต่างๆ ใ ห้ พิจารณาตามตารางท่ี 1-3 และ 1-4 ตามแบบมาตรฐานเลขท่ี SA1-015-59010, SA2-015-54012 และ SA2-015-54011 การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค (ธนั วาคม 2559)

คู่มือการปฏบิ ัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 5 ตารางท่ี 1-3 แสดงการจาแนกพนื้ ทมี่ ลภาวะในระดบั ตา่ งๆ ประเภทพน้ื ท่ี คณุ ลักษณะ มลภาวะระดับเล็กน้อย เปน็ พน้ื ท่ี ซึ่งมลี กั ษณะ เช่น มลภาวะระดับปานกลาง - ปลอดจากอุตสาหกรรม และชุมชนท่ีมีการใช้เคร่ืองทาความร้อนหรือ ความเยน็ นอ้ ย มลภาวะระดับสงู - มีความหนาแน่นของอุตสาหกรรมหรือที่อยู่อาศัยน้อย โดยมีลมพัดผ่าน หรือมฝี นตกบ่อย มลภาวะระดบั สงู มาก - บริเวณเกษตรกรรม หรอื ใกล้ภเู ขา ตอ้ งอยหู่ ่างจากชายฝั่งทะเลเกินกว่า 1 กม. และไม่มีลมทะเลผ่านโดยตรง หรือ มีค่า ESDD บนผิวลกู ถว้ ย ระหว่าง 0.03-0.06 มก./ตร.ซม. เป็นพน้ื ที่ ซง่ึ มลี กั ษณะ เชน่ - เขตอุตสาหกรรมท่ีไม่ได้มีการสร้างฝุ่นหรือควันออกมา หรือชุมชนท่ีมี การใชเ้ คร่อื งทาความรอ้ นหรือความเย็นในระดับปานกลาง - ยา่ นชมุ ชนหรอื เขตอุตสาหกรรมหนาแน่น แต่ต้องมีลมพัดผ่านหรือมีฝน ตกบอ่ ย - บริเวณทมี่ ีลมทะเลพัดผ่าน และอย่หู ่างจากชายฝั่งทะเลไมเ่ กนิ 1 กม. - มคี ่า ESDD บนผวิ ลูกถ้วย ระหวา่ ง 0.10-0.20 มก./ตร.ซม. เป็นพืน้ ท่ี ซ่ึงมลี กั ษณะ เช่น - เขตอุตสาหกรรมหนาแน่น หรือบริเวณชานเมืองของเมืองใหญ่มีการใช้ เคร่อื งทาความร้อนหรอื ความเยน็ สูง - บริเวณท่ีอยู่ห่างจากชายฝ่ังทะเลไม่เกิน 1 กม. หรือท่ีได้รับลมทะเลท่ี รุนแรง แตม่ ีสิง่ ปลูกสรา้ งหรอื ตน้ ไม้กาบงั - มคี ่า ESDD บนผวิ ลูกถว้ ย ระหว่าง 0.30-0.60 มก./ตร.ซม. - บริเวณในเขตเมือง หรือชมุ ชนหนาแนน่ ทีม่ กี ารจราจรคับค่ัง เป็นพน้ื ท่ี ซ่งึ มีลกั ษณะ เชน่ - บริเวณท่ีรับฝุ่นควันจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยตรง โดยเฉพาะฝุ่นท่ี เป็น Thick conductive deposite เช่น ปูนซีเมนต์ ฝ้าย ฝุ่นแป้ง หรือ อาหารสตั ว์ เปน็ ตน้ - บริเวณที่อยู่ห่างจากชายฝั่งทะเลไม่เกิน 1 กม. และได้รับไอทะเล โดยตรง หรอื รับทงั้ ลมและมลภาวะท่ีรุนแรงมาก จากทะเลโดยตรง และ เปิดโล่ง - บริเวณทม่ี ีความช้นื สงู กอ่ ให้เกดิ หมอกหรอื ตะไคร่จับ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ธนั วาคม 2559)

คมู่ ือการปฏิบัติงานแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง 6 ตารางท่ี 1-4 แสดงการเลือกใชล้ กู ถ้วยไฟฟ้าตามลักษณะพื้นทที่ ่ีมีสภาพมลภาะตา่ งๆ ประเภทพ้นื ท่ี ระบบ 22 เควี การเลอื กใช้ลูกถ้วย ระบบ 115 เควี มลภาวะระดับเลก็ น้อย ระบบ 33 เควี ลกู ถ้วยไลน์โพสท์ 57-2 ลกู ถว้ ยแขวนพอร์ซเลน 52-3 มลภาวะระดับปานกลาง ลกู ถ้วยพนิ โพสท์ 56/57-2 ลกู ถ้วยไลน์โพสท์ 57-3 ลูกถว้ ยแขวนพอรซ์ เลน 52-8 มลภาวะระดับสงู ลกู ถ้วยพินโพสท์ 56/57-3 มลภาวะระดับสูงมาก ลกู ถ้วยพนิ โพสท์ 56/57-2 ลูกถว้ ยแกว้ เหนยี ว 52-3 ลกู ถว้ ยแบบฟ็อก ลูกถ้วยแก้วเหนียว 52-8 ลูกถว้ ยพินโพสท์ 56/57-3 ลกู ถ้วยพินโพสท์ 56/57-4 ลกู ถ้วยแขวนคอมโพสติ ลกู ถ้วยแท่งคอมโพสติ ลกู ถว้ ยพินโพสท์ 56/57-4 ลูกถ้วยแขวนคอมโพสติ ลูกถ้วยพนิ โพสท์ 56/57-3 ลกู ถ้วยแท่งคอมโพสติ ลกู ถ้วยแทง่ คอมโพสติ ลูกถว้ ยแทง่ คอมโพสติ ลูกถ้วยแขวนคอมโพสติ 1.4 สายไฟฟา้ สายไฟฟ้าทาหน้าที่ส่งผ่านและเชื่อมต่อพลังงานไฟฟ้าจากสถานีไฟฟ้าไปยังจุดรับไฟ การพิจารณาเลือก ชนิดของวัสดุต้องคานึงถึงความสามารถในการนาไฟฟ้า (Conductivity) ความสามารถในการรับแรงดึง (Mechanical Strength) น้าหนักสาย (Weight) และราคา (Price) ปัจจุบันมีการใช้งานใน กฟภ. อยู่ 2 ชนิด คือสายอลูมิเนียมเปลือย (All Aluminium Conductor-AAC, All Aluminium Alloy Conductor-AAAC, Aluminium Conductor Steel Reinforced-ACSRและสายอลูมิเนียมหุ้มฉนวน (Partially Insulated Cable-PIC , Spaced Aerial Cable-SAC, Twist Aerial Cable-TAC) 1.4.1 สายไฟฟา้ ในระบบสายส่ง สายไฟท่ีใช้ในระบบสายส่ง 115 kV ของ กฟภ. จะใช้สายอลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย (AAC) ขนาด 400 ตร.มม. เพียงขนาดเดยี ว 1.4.2 สายไฟฟ้าในระบบจาหนา่ ย 22 และ 33 เควี สายไฟท่ีใช้ในระบบจาหน่าย 22 และ 33 เควี ของ กฟภ. ใช้สายอลูมิเนียมเปลือย และสายอลูมิเนียม หุ้มฉนวน ดงั นี้ - สายไฟฟา้ เปลอื ย มีรายละเอยี ดตามท่แี สดงในตารางท่ี 1-5 การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค (ธันวาคม 2559)

คู่มือการปฏิบัตงิ านแก้ไฟฟา้ ขัดข้อง 7 ตารางที่ 1-5 แสดงรายละเอียดของสายไฟฟ้าเปลอื ยชนิดต่างๆ ชนดิ สาย พื้นท่หี น้าตัด ระยะหา่ งช่วงเสาไฟฟา้ พ้ืนทีใ่ ช้งาน (ตารางมิลลเิ มตร) (เมตร) ท่ัวไป หา่ งทะเล All Aluminium Conductor 50, 95, 120, 185 ไมเ่ กิน 80 (AAC) ใกล้ทะเล 50, 95, 120, 185 มากกวา่ 80 All Aluminium Alloy Conductor- ทั่วไป ห่างทะเล (AAAC) 50, 95, 120, 185 มากกวา่ 80 Aluminium Conductor Steel Reinforced (ACSR) 1.5 อปุ กรณ์ตอ่ สายในระบบจาหน่ายแรงต่า อปุ กรณ์ตอ่ สาย ทใี่ ช้งานในระบบจาหนา่ ยแรงตา่ มหี ลายรูปแบบ สว่ นมากท่จี าเป็ นต้องใช้ในระบบจาหนา่ ย มี ลกั ษณะดงั รูปที่ 1-2 รูปท่ี 1-2 ลกั ษณะคอนเนกเตอร์ทวั่ ไปทม่ี ีใช้งานในระบบจาหนา่ ย โดยแบบทน่ี ิยมใช้และหาซอื้ ได้ท่ัวไป มีดงั น้ี (ซง่ึ ปกติผลติ ตามมาตรฐาน BS 951, specification for clamps for earthing and bonding purpose) การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค (ธนั วาคม 2559)

คมู่ อื การปฏบิ ัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 8 1.5.1 แบบสลกั เกลียว (Bolted type) แบบสลกั เกลยี วมีการใชง้ านอยา่ งกว้างขวางเหมาะสาหรบั ใช้เชอื่ มต่อระหวา่ งตัวนาอลมู เิ นียมกบั ทองแดง รูปที่ 1-3 คอนเนกเตอร์แบบสลกั เกลียว (Bolted type) 1.5.2 คอนเนกเตอรแ์ บบบีบ (Compression connector) เปน็ แบบท่ี กฟภ. ใช้งานอยู่ เปน็ H (H type) ใชส้ าหรบั ต่อแยกจากสายวงจรหลัก (main) ไปยงั สาย ผู้ใช้ไฟหรือเชื่อมต่อกับไฟสาธารณะ คุณสมบตั ิสาหรบั เช่ือมตอ่ ระหว่างสายที่มีขนาดแตกตา่ งและต่างชนดิ กัน ปญั หาทเ่ี กดิ ขึน้ คือมักหลวมเนอื่ งจากใช้เครือ่ งบบี ไม่เหมาะสมหรือบีบด้วยแรงไมถ่ ูกต้อง ข้อดี ข้อด้อยเป็นดัง ตาราง ความตา้ นทานทางไฟฟ้าจะเพิม่ ข้ึนเมื่อรปู รา่ งของคอนเนคเตอร์บิดตวั ไป รปู ท่ี 1-4. คอนเนกเตอร์แบบบีบ (Compression connector) 1.5.3 คอนเนกเตอรแ์ บบล่มิ (Wedge Connectors) ปจั จบุ ัน กฟภ. มีใชง้ านในระบบแรงสงู ยังไม่เคยซ้ือใช้ในระบบแรงต่า มคี วามแข็งแรงในการใช้งานรกั ษา ความต้านทานหนา้ สัมผสั ไดด้ ี การติดตั้งต้องใชป้ นื ยงิ กระสุนดนั ลิม่ ในการยดึ สายและในตอนถอดออกต้องใช้ กระสุนยงิ เช่นกัน ปญั หาการใช้งานเกิดจากการเก็บรักษากระสนุ ซงึ่ ไมท่ นต่อความช้นื ทาให้เม่ือเก็บไว้เปน็ เวลานานและหากเกบ็ รกั ษาไม่ดี กระสนุ อาจใชง้ านไม่ได้ การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค (ธันวาคม 2559)

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟา้ ขัดข้อง 9 รูปท่ี 1-5 คอนเนกเตอร์แบบลม่ิ (Wedge Connectors) 1.6 อปุ กรณป์ ้องกัน และตัดตอน อุปกรณ์ป้องกันทาหน้าท่ีป้องกันกระแสเกินพิกัดในระบบไฟฟ้าโดยสามารถปิด/เปิดวงจรได้ในขณะที่มี โหลด หรือฟอลตไ์ ด้อย่างอตั โนมตั แิ ละสามารถทาหน้าที่เปน็ อุปกรณ์ตดั ตอนได้ อุปกรณ์ตัดตอนทาหน้าที่ ปิด/เปิดระบบไฟฟ้าซึ่งมีท้ังชนิดเปิด/ปิดได้ขณะไม่มีโหลด และมีโหลด และ สามารถแบ่งได้ตามลักษณะของการดับอาร์คเช่น ดับอาร์คด้วยอากาศ ดับอาร์คด้วยน้ามัน และดับอาร์คด้วย แกส๊ SF6 1.6.1 อุปกรณ์ปอ้ งกัน และตัดตอนในระบบสายส่ง เช่น Circuit Switcher, Air Break Switch (ปิด/เปิด ได้ขณะไม่มโี หลด), Load Break Switch (เปดิ /ปดิ ได้ขณะมโี หลด) 1.6.2 อปุ กรณ์ปอ้ งกัน และตัดตอนในระบบจาหนา่ ย - อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ในระบบจาหนา่ ยได้แก่ Recloser, Dropout Fuse Cutout - อปุ กรณ์ตัดตอนท่ีสามารถเปดิ /ปิดได้ขณะไม่มโี หลดได้แก่ Air Break Switch,Disconnecting Switch - อปุ กรณ์ตดั ตอนที่สามารถเปดิ /ปิดได้ขณะมีโหลดไดแ้ ก่ Load Break Switch (Group Switch), Load Break Switch (SF6) 1.7 กับดักเสิรจ์ หรอื กบั ดกั ฟา้ ผ่า หรอื ลอ่ ฟา้ อปุ กรณก์ ับดักเสิร์จมหี น้าทล่ี ดทอนแรงดันเกนิ ที่เดินทางผ่านเขา้ มาในระบบให้มีขนาดแรงดันลดลงจนไม่ เป็นอันตรายต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่อยู่ด้านหลังของกับดักเสิร์จ ในสภาวะแรงดันปกติกับดักเสิร์จจะประพฤติตัว เปน็ ความต้านทานทีม่ ีค่าอนันต์ แต่เมอ่ื มแี รงดนั เกินทม่ี ีขนาดถงึ แรงดันที่ตอ้ งป้องกันเข้ามาทางสายตัวนากับดัก เสิรจ์ จะประพฤติตัวเป็นตัวนา ทาการระบายพลังงานในรูปของกระแสผ่านสายกราวด์ลงสู่พ้ืนดิน โดยท่ี กฟภ. มใี ชง้ านอยตู่ ามที่ระบุในตารางที่ 1-6 การไฟฟ้าสว่ นภูมิภาค (ธันวาคม 2559)

ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง 10 ตารางท่ี 1-6 แสดงคณุ สมบัตทิ างเทคนคิ และการเลอื กใช้งานกบั ดักเสิรจ์ หรือลอ่ ฟา้ พิกดั แรงดนั (kV) Rated Discharge การใช้งาน Current (kA) 21 5 สาหรับปอ้ งกนั หมอ้ แปลงไฟฟ้าและระบบจาหนา่ ย 22 เควี 21 10 สาหรบั ปอ้ งกนั อุปกรณส์ าคญั เช่น Recloser, RCS, Capacitor Bank ในระบบ 22 เควี 24 5 สาหรบั ป้องกนั หมอ้ แปลงไฟฟ้าและระบบจาหนา่ ย 22 เควี ท่ีมีการตดิ ตง้ั NGR 24 10 สาหรบั ป้องกนั อุปกรณส์ าคญั เช่น Recloser, RCS, Capacitor Bank ในระบบ 22 เควี ทมี่ ีการตดิ ตง้ั NGR 30 5 สาหรบั ป้องกนั หม้อแปลงไฟฟ้าและระบบจาหน่าย 33 เควี 30 10 สาหรับปอ้ งกันอปุ กรณ์สาคญั เช่น Recloser, RCS, Capacitor Bank ในระบบ 33 เควี 1.8 หม้อแปลงไฟฟ้าระบบจาหน่าย หม้อแปลงไฟฟ้าระบบจาหน่ายของ กฟภ. เป็นชนิดฉนวนน้ามัน มีขดลวดท้ังแรงสูงและแรงต่าเป็น ทองแดง มกี ารระบายความร้อนดว้ ยอากาศปกติ โดยแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1.8.1 หม้อแปลงไฟฟ้าระบบจาหน่าย 1 เฟส มีการถนอมน้ามันด้วยระบบปิด ที่ใช้พ้ืนท่ีอากาศรองรับ การขยายตวั ของนา้ มันเม่ือเกดิ ความร้อนในขณะจา่ ยโหลด โดยมีพิกัดและลักษณะการติดต้ังดงั นี้ ตารางที่ 1-7 แสดงคณุ สมบัตทิ างเทคนคิ และการเลือกใช้งานหมอ้ แปลงไฟฟา้ ระบบจาหนา่ ย 1 เฟส พกิ ดั กาลัง พกิ ดั แรงดนั ปฐมภูมิ พิกัดแรงดันทุตยิ ภูมิ รปู แบบการตดิ ตั้ง (kVA) (kV) (V) 10, 20, 30 22 460/230 แขวนบนเสาเด่ยี ว และ 50 10, 20, 30 19 460/230 แขวนบนเสาเด่ยี ว และ 50 1.8.2 หม้อแปลงไฟฟ้าระบบจาหน่าย 3 เฟส มีการถนอมน้ามันด้วยระบบปิด ที่ใช้การขยายตัวของ ตัวถัง รองรบั การขยายตวั ของนา้ มันเม่อื เกดิ ความร้อนในขณะจ่ายโหลด โดยมพี กิ ัดและลกั ษณะการติดต้งั ดังน้ี การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค (ธันวาคม 2559)

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟา้ ขัดขอ้ ง 11 ตารางท่ี 1-8 แสดงคณุ สมบัตทิ างเทคนคิ และการเลอื กใช้งานหม้อแปลงไฟฟา้ ระบบจาหน่าย 3 เฟส พกิ ดั กาลัง พิกัดแรงดนั พิกัดแรงดัน รูปแบบการตดิ ตง้ั (kVA) ปฐมภมู ิ (kV) ทุตยิ ภมู ิ (V) 50 และ 100 22 400/230 แขวนบนเสาเดีย่ ว 160 และ 250 22 400/230 แขวนบนเสาเดย่ี ว หรือบนนง่ั รา้ น 315, 400 และ 500 22 33 400/230 บนนั่งร้าน 50 และ 100 400/230 แขวนบนเสาเด่ียว 160 และ 250 33 400/230 แขวนบนเสาเด่ยี ว หรอื บนนัง่ รา้ น 315, 400 และ 500 33 400/230 บนนั่งร้าน หมอ้ แปลงไฟฟ้าระบบจาหน่ายของ กฟภ. ใช้ฟวิ ส์ เป็นเครื่องป้องกันทั้งด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ โดยใช้ Fuse Type K ประกอบติดต้ังกับ Dropout Fuse Cutout สาหรับด้านปฐมภูมิ และ HRC Fuse สาหรับด้าน ทุตยิ ภูมิ มรี ายละเอียดการเลือกใช้ ตามมาตรฐานเลขท่ี S02-015/56004 ดงั ตารางที่ 1-9 และ 1-10 ตารางท่ี 1-9 แสดงการเลือกใช้ฟวิ ส์ป้องกนั หม้อแปลงไฟฟา้ ระบบจาหน่าย 1 เฟส พิกดั กาลงั ขนาดฟวิ สด์ า้ นปฐมภมู ิ ขนาดฟวิ ส์ด้านทุตยิ ภูมิ 22 kV 19 kV 1 เฟส 3 สาย 1 เฟส 2 สาย 10 kVA 1 K 1 K 32 A 50 A 20 kVA 2 K 2 K 50 A 100 A 30 kVA 3 K 3 K 80 A 150-160 A 50 kVA 5-6 K 5-6 K 100 A - 1.9 ระยะห่างความปลอดภยั เน่ืองจากระบบไฟฟ้าของ กฟภ. มีการกาหนดมาตรฐานระยะห่างความปลอดภัยของส่ิงท่ีอยู่ใกล้ระบบ ไฟฟ้าดังน้ี อาคาร ป้าย ส่ิงก่อสร้าง ทางสัญจรฯลฯ หากระยะห่างความปลอดภัยด้านไฟฟ้าไม่เพียงพออาจทา ให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงความม่ันคงต่อระบบไฟฟ้า ดังน้ันระยะห่างความปลอดภัยจึงมี ความจาเป็นที่จะต้องดาเนินการให้ได้ตามมาตรฐานเลขท่ี S02-015/17068 โดยมีตัวอย่างของระยะห่างความ ปลอดภยั ระหวา่ งสายไฟฟา้ และสิ่งกอ่ สร้างตามตารางที่ 1-11 การไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าค (ธันวาคม 2559)

คู่มอื การปฏบิ ัติงานแกไ้ ฟฟ้าขัดข้อง 12 ตารางที่ 1-10 แสดงการเลือกใช้ฟิวส์ป้องกนั หมอ้ แปลงไฟฟ้าระบบจาหน่าย 3 เฟส ขนาดฟิวส์ ขนาดฟวิ ส์ดา้ นทุตยิ ภูมิ พิกดั กาลัง ดา้ นปฐมภูมิ 22 kV 33 kV 1 วงจร 2 วงจร 3 วงจร 4 วงจร 50 kVA 3 K 2 K 80 A 32-36/50 A - - 150-160 A 50/100 A - - 100 kVA 5-6 K 3 K 80/80 A 80/100 A 200 A 80/150-160 A 50/100/100 A 50/50/80/80 A 160 kVA 8 K 5-6 K 80/200 A 80/80/80 A 50/50/80/100 A 100/150-160 A 80/80/100 A 80/100/100 A - 100/200 A 80/80/200 A 80/80/100/100 A 250 kVA 15 K 10 K 150-160/200 A 100/100/200 A 80/80/80/150-160 A 200/200 A 100/100/150-160 A 80/80/100/150-160 A 100/100/100/100 A 315 kVA 15 K 10 K - 200/200 A 100/200/200 A 100/100/150-160/150-160 A 150-160/200/200 A 100/100/150-160/200 A 500 kVA 20 K 15 K - - 200/200/200 A 200/200/200/200 A การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค (ธันวาคม 2559)

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง 13 ตารางท่ี 1-7 แสดงระยะห่างตา่ สุดตามแนวระดับระหว่างสายไฟฟา้ และสงิ่ ก่อสร้าง เมื่อสายไฟฟา้ ไม่ได้ยดึ ติดกบั สิง่ ก่อสร้าง สิ่งท่ีอยูใ่ กล้ ไมเ่ กิน 1 kV ระยะหา่ งตา่ สดุ ตามแนวระดับ (เมตร) 69 kV 115 kV 230 kV สายไฟฟา้ สายเปลือย สายพัน สายหมุ้ สาย 11-33 kV ผ นั งด้ า นปิ ด ข อ ง รว่ มหลาย ฉนวน เปลอื ย 1.80 2.30 3.00 อาคาร, สะพานลอย สายหุ้มฉนวน สายเคเบิล สายเคเบิลอากาศ ค นเ ดิ นข้า ม ถน น แกน 1.50 แบบไม่เตม็ พิกัด อากาศ ชนดิ พนั เกลยี ว 2.13 2.30 3.00 กรณีที่มีแผง หรือ ผ นั ง ก้ั น ร ะ ห ว่ า ง 0.3 0.15 1.80 0.60 0.30 0.15 ส า ย ไ ฟ ฟ้ า กั บ สะพานลอยและ 0.90 0.15 1.50 0.90 0.60 ปา้ ยโฆษณาท่ีติดกับ อาคาร ผ นั ง ด้ า น เ ปิ ด ข อ ง อ า ค า ร เ ฉ ลี ย ง ระเบียง หรอื บริเวณ ที่มี ค นเ ข้ า ถึง ไ ด้ , ส ะ พ า น ทุ ก ช นิ ด สาหรับยานพาหนะ เสาไฟฟ้า เสาไฟ ถนน เสาสัญญาณ ไฟจราจรต่างๆ และ ส่ิงกอ่ สรา้ งอ่นื ๆ 1.10 ดรอปเอาท์ฟวิ สค์ ัทเอาท์ ดรอปเอาท์ฟิวส์คัทเอาท์ เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญในระบบจาหน่าย 22 และ 33 kV ท่ีอยู่เหนือดิน โดยสามารถทาหน้าท่ีไดท้ ั้งการป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า และป้องกันสายป้อน โดยใช้หลักการทางานของฟิวส์ท่ี จะขาดเมอื่ มคี วามร้อนสูงจากการมีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ น ซึ่งอาจเป็นกระแสฟอลต์ หรือการแสเกิน ท่ีเกิดขึ้นใน ระบบไฟฟา้ แต่โดยปกติแล้วจะมีการติดตั้งและเลือกขนาดฟิวส์ไว้เพื่อป้องกันกรณีการเกิดลัดวงจร หรือฟอลต์ เพ่ือตดั แยกระบบไฟฟา้ หรอื สว่ นของระบบไฟฟ้าที่เกิดเหตุออกจากระบบส่วนใหญ่ และจากัดพ้ืนที่ไฟฟ้าดับให้ แคบทีส่ ุดเท่าที่จะทาได้ ทั้งน้ีฟิวส์ท่ี PEA กาหนดใช้งานในระบบคือชนิดขาดเร็ว หรือ Type-K โดยมีคุณสมบัติ ทางเทคนิคของดรอปเอาท์ฟวิ ส์คัทเอาท์ การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค (ธันวาคม 2559)

ค่มู ือการปฏิบัตงิ านแก้ไฟฟา้ ขัดข้อง 14 บทที่ 2 ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านมาตรฐาน Standard Operational Procedure เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง ผู้บริหาร และผู้เก่ียวข้อง สามารถใช้คู่มือน้ีเป็นเอกสารอ้างอิงใน การอบรมให้ความรู้ บริหารจัดการ การตรวจประเมินระบบงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง ตลอดจนใช้เป็นแนวทางใน การพัฒนาการทางานให้เกิดประสิทธิภาพ และความปลอดภัย จึงได้กาหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานแก้ไฟฟ้า ขดั ข้องสาหรับประเภทงานท่ีมีผลกระทบต่อความม่ันคงในการจ่ายไฟ และเกิดข้ึนบ่อย จากประสบการณ์และ การประเมินของคณะทางานฯ ดังน้ี 2.1 งานแก้ไขสายไฟฟ้าแรงต่าขาดหรอื ชา่ รดุ 2.1.1 ข้ันตอนการปฏิบตั งิ านมาตรฐาน 2.1.1.1 การเตรียมงาน 1) ตรวจสอบพนื้ ทก่ี อ่ นการปฏิบัติงานสาหรบั รถแก้ไฟฟา้ ขดั ข้อง 2) ประสานงานหัวหน้าเวรหรอื พนักงาน E/O 3) ดาเนนิ การกิจกรรมความปลอดภยั PSC/KYT 4) ตรวจสอบสภาพหนา้ งานก่อนการปฏบิ ัตงิ าน - สายแรงตา่ ที่ชารุดและอุปกรณป์ ระกอบดว้ ยสายตา - โคนเสาไฟฟ้าม่ันคง ไมม่ รี อยรา้ วทที่ าให้เสาล้ม 5) บันทึกภาพการชารุด เสียหาย และสภาพแวดล้อม ก่อนการแก้ไข (เพ่ือสรุปใน รายงานผลการดาเนนิ งาน) 6) เตรียมการและประสานงานเพอ่ื ความปลอดภัย - ประสานงานหวั หน้าเวร/พนักงาน E/O เพ่ือขอปลด LT Switch ทกุ เฟส - ตดิ ตัง้ ปา้ ยห้ามสับสวติ ช์ - ขึน้ ปฏบิ ตั ิงานบนเสาไฟ (ปนี เสา หรือ ใช้รถกระเชา้ ) - ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า สายแรงต่า ด้วยเครื่องมือตรวจสอบแรงดัน หรือ Voltage Detector การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค (ธนั วาคม 2559)

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานแกไ้ ฟฟ้าขัดข้อง 15 2.1.1.2 การแก้ไข 1) ตดั แตง่ สายไฟฟา้ ใหพ้ ร้อมสาหรบั ต่อสายไฟฟ้าใหม่ 2) กรณสี ายหุ้มฉนวน ให้ปอกฉนวนด้วยเครื่องมอื ปอกสาย 3) ขัดทาความสะอาดสายตัวนา ด้วยแปรงขัดสายไฟ ก่อนต่อสาย หากใช้หลอดต่อสาย ใหบ้ ีบหลอด ดา้ นทีอ่ ย่กู บั พนื้ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ กอ่ น แล้วจงึ ต่อดา้ นท่ีอย่บู นเสา 4) ใช้ Wire Grip หรือ Preformed Armor Grip จับสายไฟฟ้า แล้วใช้ Hoist หรือรอก ดงึ สาย ดงึ สายให้มีระยะหยอ่ นตามมาตรฐาน หรอื ตามความเหมาะสมของพ้ืนท่ี 5) ตอ่ สายไฟฟา้ ดว้ ยหลอดต่อสายรับแรงดึง โดยบีบหลอดตามมาตรฐานที่กาหนด หรือ กรณีจาเปน็ ใหใ้ ช้ PG Clamp โดยกวดขันด้วยประแจทอร์ค พร้อมทั้งติดตั้งน็อตล็อก ดา้ นลา่ งให้ครบถ้วน หรือต่อสายไฟฟา้ แบบ \"ตอ่ ประสาน\" ตามมาตรฐาน กฟภ. 6) ตรวจสอบหน้าสัมผัส ด้วยเครือ่ งมอื เชน่ Contact Resistance Test เปน็ ตน้ (ถา้ ม)ี 7) กรณีสายหุ้มฉนวน ต้องพันเทปท่ีจุดต่อตามมาตรฐาน (ใช้เทปแรงต่า ไม่น้อยกว่า 2 เมตร/จุด) 8) หากมีอุปกรณป์ ระกอบท่ีชารุด ให้ดาเนินการเปล่ียน ตามข้ันตอนการปฏิบัติงานของ อปุ กรณ์น้ันๆ เช่น กรณี แร็คลูกรอกแรงต่า ชารุด หรือ สายหลุดจากลูกรอก แรงต่า ให้ดาเนนิ การแก้ไข ตามขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน การแก้ไขอปุ กรณ์น้นั ๆ 9) ลงจากการปฏบิ ัตงิ านบนเสาไฟ (ปีนเสา หรือ ใชร้ ถกระเช้า) 10) ตรวจสอบขนาดฟวิ ส์แรงต่า ให้ถกู ตอ้ ง ตรงตามมาตรฐาน 11) สับ LT Switch ให้สนิททุกเฟส พร้อมทั้งตรวจสอบแรงดัน และกระแส โดยเฉพาะ เฟสที่ดาเนินการแก้ไข กรณี พบว่าโหลดแต่ละเฟสไม่สมดุล ให้แจ้งส่วนท่ีเก่ียวข้อง เขา้ ดาเนินการแก้ไขตอ่ ไป (Balance Load) 12) บันทกึ ภาพหลงั การแกไ้ ข (เพื่อสรุปในรายงานผลการดาเนนิ งาน) 2.1.1.3 การคืนระบบ 1) ประสานงาน หัวหน้าเวร/พนักงาน E/O เพ่ือตรวจสอบกลับ กับผู้ใช้ไฟ พร้อมแจ้ง รายละเอียดข้อมลู ตา่ งๆ เช่น เวลา และอปุ กรณ์ที่ใช้ เพือ่ บนั ทกึ ข้อมลู 2) ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของ พืน้ ที่ปฏิบัตงิ าน หลงั ปฏิบัติงานแล้วเสร็จ 2.1.1.4 การรายงานผล พนักงาน E/O รายงานให้ แผนกปฏิบัติการฯ รับทราบ ตามแบบฟอร์มที่ กฟภ. กาหนด เช่น SQA P2, P2-TP -02 เปน็ ตน้ การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค (ธันวาคม 2559)

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานแกไ้ ฟฟา้ ขัดข้อง 16 2.1.1.5 การตรวจสอบ ให้มีการตรวจสอบคุณภาพการแก้ไข ทั้งในเรื่องความปลอดภัย และมาตรฐานการติดต้ัง ตา่ งๆ หลงั การแก้ไข (ในวนั ตอ่ มาโดย วศก., ผชน. หรือผ้ทู ่ีได้รับมอบหมายฯ) 2.1.2 ขั้นตอนการปฏบิ ัติงานดว้ ยความปลอดภัย เคร่ืองมือ หรือ อปุ กรณ์ ขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน การควบคุมอันตราย ปอ้ งกนั อนั ตราย หรือ เอกสารอ้างอิง อปุ กรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัย 1. ตรวจสอบพื้นที่ก่อน 1) จอดรถในพ้นื ทท่ี ีป่ ลอดภยั 1) สปอตไลท์ การปฏิบัติงานสาหรับ 2) เปิดไฟวับวาบสีเหลืองและ 2) ป้ายเตือนอันตราย/กรวย รถแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง ไฟหน้ารถ (ตลอดท้ังวัน)ไฟ จราจร สปอตไลท์ (กลางคืน) 3) ตั้งป้ายเตือนอันตราย/ กรวยจราจรในพื้นท่ีทางาน อยา่ งปลอดภยั 2. ประสานงานหัวหน้า 1) พนักง านสั่ง งานเ น้นย้ า 1) วิทยุส่ือสาร เวร/พนักงาน E/O ขั้นตอนความปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน 3. ดาเนินการกิจกรรม 1) หัวหน้างานดาเนินการตาม 1) PPE ตามมาตรฐาน คู่ มื อ ฝึ ก อ บ ร ม PSC/KYT ขั้นตอนมาตรฐาน 2) Check List PSC/KYT จ ป . ( ผู้ ค ว บ คุ ม งาน) ปี 2559 4. ตรวจสอบสภาพหน้า 1) ตรวจสอบหาหม้อแปลงที่ 1) กลอ้ งส่องทางไกล งานก่อนการปฏิบตั งิ าน จา่ ยไฟให้ 5. ประสานงานหัวหน้า 1) ปฏิ บัติ ตา มข้ั นต อน กา ร 1) วทิ ยสุ ื่อสาร เวร/พนักงาน E/O เพื่อ ประสานงานการสั่งการ ขอปลด LT Switch จา่ ยไฟ ทกุ เฟส 6. ตดิ ตัง้ ปา้ ยห้ามสับสวิตช์ 1) ปฏิบัติตามข้ันตอนความ 1) ป้ายหา้ มสบั สวิตช์ ปลอดภัยทมี่ ีอยู่ 7. ขึ้นปฏิบัติงานบนเสาไฟ 1) ปฏิบัติตามข้ันตอนความ 1) ขาปนี เสา (ปนี เสา/ใชร้ ถกระเชา้ ) ปลอดภัยท่ีมอี ยู่ 2) เขม็ ขัดปนี เสา 3) ถุงมือปนี เสา 4) เชือกส่งของพรอ้ มรอก 5) รถกระเช้าแก้ไฟ การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค (ธันวาคม 2559)

คูม่ อื การปฏิบัติงานแกไ้ ฟฟา้ ขัดขอ้ ง 17 เครื่องมอื หรอื อุปกรณ์ ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน การควบคุมอนั ตราย ปอ้ งกนั อนั ตราย หรือ เอกสารอ้างอิง อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัย 8. ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า 1) ปฏิบัติตามข้ันตอนความ 1) Voltage Detector สายแรงต่า ปลอดภัยที่มีอยู่ 9. แก้ไขสายไฟฟ้าแรงต่า 1) ใส่ถุงมือแรงต่าเพ่ือป้องกัน 1) ถุงมือยางและถุงมือหนัง ขาด/ชารุด แรงดนั เหนี่ยวนา Class 1 2) ใช้เครื่องมือต่างๆ ด้วย ความระมัดระวัง 10.ตดั แตง่ สายไฟฟ้า 1) คมี /คตั เตอรต์ ดั สายไฟ 11.ป อ ก ฉ น ว น ด้ ว ย 1) เครือ่ งมือปอกสายไฟฟา้ เคร่อื งมอื ปอกสาย 1) แปรงขัดสายไฟ 12.ขั ด ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด สายตัวนา 1) Wire/Preformed Armor Grip 13.ดึงสายให้มีระยะหย่อน ตามมาตรฐาน หรือตาม 2) Hoist หรือ รอก ความเหมาะสม 14.ตอ่ สายไฟฟา้ 1) เคร่ืองมือบีบหลอด 2) ประแจหรอื ประแจทอร์ค 15.ตรวจสอบหน้าสมั ผสั 3) ไขควง/คีมปากจง้ิ จก 16.พั น เ ท ป ท่ี จุ ด ต่ อ ต า ม 1) เครอ่ื งมอื วดั ความต้านทาน มาตรฐาน หน้าสัมผสั (ถา้ ม)ี 17.สับ LT Switch ให้ 1) ไม้ชกั ฟิวส์ สนิททุกเฟส พร้อมท้ัง 2) Clip Amp Meter ตรวจสอบแรงดัน และ กระแส การไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค (ธนั วาคม 2559)

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟา้ ขัดข้อง 18 2.2 งานแกไ้ ขสายแรงต่าลดั วงจรกบั สายสอื่ สารหรอื ไฟถนน 2.2.1 ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงานมาตรฐาน 2.2.1.1 การเตรียมงาน 1) ตรวจสอบพืน้ ทก่ี ่อนการปฏบิ ตั ิงานสาหรับรถแก้ไฟฟ้าขดั ขอ้ ง 2) ประสานงานหัวหน้าเวรหรือพนกั งาน E/O 3) ดาเนนิ การกจิ กรรมความปลอดภัย PSC/KYT 4) ตรวจสอบสภาพหน้างานก่อนการปฏบิ ตั ิงาน - สายแรงต่าที่ชารุดและอปุ กรณป์ ระกอบดว้ ยสายตา - โคนเสาไฟฟา้ ม่ันคง ไม่มีรอยรา้ วทที่ าให้เสาลม้ 5) บันทึกภาพการชารุด เสียหาย และสภาพแวดล้อม ก่อนการแก้ไข (เพ่ือสรุปใน รายงานผลการดาเนินงาน) 6) เตรยี มการและประสานงานเพอื่ ความปลอดภัย - ประสานงานหวั หนา้ เวร/พนักงาน E/O เพอื่ ขอปลด LT Switch ทุกเฟส - ติดตง้ั ป้ายหา้ มสบั สวติ ช์ - ขึน้ ปฏบิ ัตงิ านบนเสาไฟ (ปีนเสา หรอื ใช้รถกระเชา้ ) - ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า สายแรงต่า ด้วยเคร่ืองมือตรวจสอบแรงดัน หรือ Voltage Detector 2.2.1.2 การแกไ้ ข 1) แยกสายแรงต่า ออกจากสายส่อื สาร และสายไฟถนน โดยให้มีระยะห่างจากสายแรง ตา่ ตามมาตรฐาน กฟภ. (เพ่ือแก้ไขเบ้ืองตน้ ก่อนการปรบั ปรุง) 2) ปลดสายแรงตา่ ออกจากลกู รอกแรงต่า และตัดแต่งปลายสายไฟฟ้า ให้พร้อมสาหรับ ตอ่ สายไฟฟ้าใหม่ 3) กรณสี ายห้มุ ฉนวนปอกฉนวนด้วยเคร่อื งมือปอกสาย เชน่ มดี คัทเตอร์ เป็นตน้ 4) ขัดทาความสะอาดสายด้วยแปรงขัดสายไฟ 5) ใช้ Wire Grip หรือ Preformed Armor Grip จับสายไฟฟ้า แล้วใช้ Hoist หรือรอก ดึงสาย ดึงสายใหม้ รี ะยะหย่อนตามมาตรฐาน หรือตามความเหมาะสมของพน้ื ที่ 6) ตอ่ สายไฟฟ้าดว้ ยหลอดตอ่ สายรับแรงดงึ โดยบบี หลอดตามมาตรฐานท่ีกาหนด หรือ กรณจี าเป็นใหใ้ ช้ PG Clamp โดยกวดขนั ด้วยประแจทอร์ค พร้อมทั้งติดต้ังน็อตล็อก ดา้ นล่างใหค้ รบถ้วน หรอื ตอ่ สายไฟฟ้าแบบ \"ต่อประสาน\" ตามมาตรฐาน กฟภ. กรณี ตอ่ สาย มากกวา่ 1 เสน้ จุดตอ่ ไม่ควรอยใู่ นแนวเดียวกัน การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค (ธนั วาคม 2559)

ค่มู อื การปฏิบัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 19 7) ตรวจสอบหน้าสัมผัส ดว้ ยเครือ่ งมอื เชน่ Contact Resistance Test เปน็ ต้น 8) กรณีสายหุ้มฉนวน ต้องพันเทปที่จุดต่อตามมาตรฐาน (ใช้เทปแรงต่า ไม่น้อยกว่า 2 เมตร/จดุ ) หรอื ใช้ Insulation Cover 9) ตรวจสอบขนาดฟิวส์แรงต่า ให้ถกู ตอ้ ง ตรงตามมาตรฐาน 10) หากมอี ุปกรณ์ประกอบที่ชารุด ให้ดาเนินการเปลี่ยน ตามข้ันตอนการปฏิบัติงานของ อุปกรณ์นั้นๆ เช่น กรณี แร็คลูกรอกแรงต่า ชารุด หรือ สายหลุดจากลูกรอก แรงต่า ให้ดาเนินการแกไ้ ข ตามขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน การแกไ้ ขอุปกรณ์นน้ั ๆ 11) ลงจากการปฏิบัติงานบนเสาไฟ (ปีนเสา/ใช้รถกระเช้า) 12) สับ LT Switch ให้สนิททุกเฟส พร้อมทั้งตรวจสอบแรงดัน และกระแส โดยเฉพาะ เฟสที่ดาเนินการแก้ไข กรณี พบว่า โหลดแต่ละเฟสไม่สมดุล ให้แจ้งส่วนที่เก่ียวข้อง เขา้ ดาเนนิ การแกไ้ ขตอ่ ไป ( Balance Load) 13) บันทึกภาพหลังการแก้ไข (เพ่ือสรุปในรายงานผลการดาเนินงาน หากสายส่ือสาร หรือโคมไฟไมไ่ ดม้ าตรฐาน ต้องแจง้ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบเขา้ ร่วมดาเนินการแกไ้ ข) 2.2.1.3 การคนื ระบบ 1) ประสานงาน หัวหน้าเวร/พนักงาน E/O เพ่ือตรวจสอบกลับ กับผู้ใช้ไฟ พร้อมแจ้ง รายละเอียดข้อมลู ต่างๆ เชน่ เวลา และอุปกรณท์ ีใ่ ช้ เพอื่ บันทึกข้อมูล 2) ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยของ พืน้ ท่ปี ฏิบัติงาน หลังปฏิบตั ิงานแลว้ เสรจ็ 2.2.1.4 การรายงานผล พนักงาน E/O รายงานให้ แผนกปฏิบัติการฯ รับทราบ ตามแบบฟอร์มท่ี กฟภ. กาหนด เช่น SQA P2, P2-TP -02 เป็นตน้ 2.2.1.5 การตรวจสอบ ให้มีการตรวจสอบคุณภาพการแก้ไข ท้ังในเร่ืองความปลอดภัย และมาตรฐานการติดต้ัง ต่างๆ หลงั การแกไ้ ข (ในวนั ตอ่ มาโดย วศก., ผชน. หรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมายฯ) การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค (ธันวาคม 2559)

คูม่ ือการปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟ้าขัดข้อง 20 2.2.2 ข้ันตอนการปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภัย ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน การควบคมุ อนั ตราย เคร่อื งมือ หรือ อุปกรณ์ เอกสารอ้างอิง ป้องกนั อนั ตราย หรือ อปุ กรณ์คมุ้ ครองความ อนุมัติ/คู่มือ/กฏ หมาย...คู่มือการ ปลอดภัย ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ ค ว บ คุ ม 1. ตรวจสอบพ้ืนที่ก่อนการ 1) จอดรถในพนื้ ท่ที ปี่ ลอดภยั ก า ร จ ร า จ ร บ ริ เ ว ณ พ้ื น ท่ี ปฏิบัติงานสาหรับรถแก้ 2) เปิดไฟวับวาบสีเหลืองและ ก่ อ ส ร้ า ง ( ก ร ม ทางหลวง) ไฟฟา้ ขดั ข้อง ไฟหน้ารถ (ตลอดทั้งวัน) คู่ มื อ ฝึ ก อ บ ร ม ไฟสปอตไลท์ (กลางคนื ) จ ป . ( ผู้ ค ว บ คุ ม งาน) ปี 2559 3) ตั้งป้ายเตือนอันตราย/ กรวยจราจรในพน้ื ที่ทางาน อยา่ งปลอดภัย 2. ประสานงานหัวหน้า 1) พนักงานส่ังงานเน้นย้า 1) วทิ ยุสือ่ สาร เวร/พนักงาน E/O ขั้นตอนความปลอดภัยใน การปฏบิ ัตงิ าน 3. ดาเนินการกิจกรรม 1) หัวหนา้ งานดาเนนิ การตาม 1) PPE ตามมาตรฐาน PSC/KYT ขน้ั ตอนมาตรฐาน 2) Check List PSC/KYT 2) วิเคราะห์จุดเส่ียงและเน้น ย้าอันตราย 4. ตรวจสอบกอ่ นการ 1) จดุ ทส่ี ายแรงต่าทล่ี ัดวงจร 1) กล้องส่องทางไกล ปฏบิ ตั ิงาน กับสายสื่อสารหรอื ไฟถนน และอุปกรณป์ ระกอบด้วย สายตา 2) โคนเสาไฟฟ้ามัน่ คง ไม่มี รอยรา้ วทที่ าให้เสาล้ม 5. ประสานงานหวั หนา้ 1) ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนการ 1) วทิ ยุสอ่ื สาร เวร/พนักงาน E/O เพอื่ ประสานงานการสัง่ การ ขอปลด LT Switch จา่ ยไฟ ทกุ เฟสและถอด LT Switch เกบ็ ใวใ้ นรถ 6. ติดตง้ั ปา้ ยหา้ มสบั สวิตช์ 1) ปฏิบัติตามข้ันตอนความ 1) ป้ายหา้ มสับสวิตช์ ปลอดภัยท่มี ีอยู่ การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค (ธนั วาคม 2559)

คมู่ ือการปฏิบัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 21 เครือ่ งมือ หรอื อุปกรณ์ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน การควบคุมอนั ตราย ปอ้ งกนั อันตราย หรือ เอกสารอ้างองิ อุปกรณ์คมุ้ ครองความ ปลอดภัย 7. ขึ้นปฏิบัติงานบนเสาไฟ 1) ปฏิบัติตามขั้นตอนความ 1) ขาปนี เสา (ปนี เสา/ใช้รถกระเชา้ ) ปลอดภัยทม่ี อี ยู่ 2) เข็มขดั ปนี เสา 3) ถงุ มอื ปีนเสา 4) เชือกส่งของพรอ้ มรอก 5) รถกระเชา้ แกไ้ ฟ 8. ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า 1) ปฏิบัติตามขั้นตอนความ 1) Voltage Detector สายแรงตา่ ปลอดภัยทม่ี อี ยู่ 9. ดาเนินการแก้ไขสาย 1) ใส่ถุงมือแรงต่าเพ่ือป้องกัน 1) ถุงมือยางและถุงมือหนัง แรงต่าลัดวงจรกับสาย แรงดันเหน่ียวนา Class 1 สอื่ สารหรอื ไฟถนน 2) ใช้เครื่องมือต่างๆ ด้วย ความระมัดระวงั 10.แยกสายแรงต่า ออก 1) ปฏิบัติตามขั้นตอนความ 1) Tie Wire จากสายสอื่ สาร และ ปลอดภัยทม่ี ีอยู่ 2) ลวด สายไฟถนน โดยให้มี 3) ประแจเลอ่ื น ระยะหา่ งจากสายแรง 4) ประแจแหวน ตา่ ตามมาตรฐาน กฟภ. 5) ค้อน (เพ่ือแก้ไขเบื้องตน้ ก่อนการปรบั ปรงุ ) 11.ปลดสายแรงตา่ ออก 1) ปฏิบัติตามขั้นตอนความ 1) คมี จากลกู รอกแรงต่า และ ปลอดภยั ทมี่ อี ยู่ 2) คตั เตอร์ตัดสายไฟ ตดั แต่งปลายสายไฟฟ้า ใหพ้ รอ้ มสาหรบั ตอ่ สายไฟฟา้ ใหม่ 12.กรณีสายหมุ้ ฉนวนปอก 1) ปฏิบัติตามขั้นตอนความ 1) สายไฟฟา้ ขนาด 35, 50, ฉนวนดว้ ยเคร่ืองมือ ปลอดภัยที่มอี ยู่ 70, 95 ต.มม. ปอกสาย เชน่ มีด คัท 2) เครอื่ งมือปอกสายไฟฟ้า เตอร์ เป็นตน้ 13.ขั ด ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด 1) ปฏิบัติตามข้ันตอนความ 1) แปรงขดั สายไฟ สายตวั นา ปลอดภัยทีม่ อี ยู่ 14.ดึงสายให้มีระยะหย่อน 1) ปฏิบัติตามขั้นตอนความ 1) Wire/Preformed Armor ตามมาตรฐาน หรือตาม ปลอดภยั ทม่ี ีอยู่ Grip ความเหมาะสม 2) Hoist หรือ รอก การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ธนั วาคม 2559)

คู่มือการปฏิบัติงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง 22 เครื่องมือ หรือ อปุ กรณ์ ขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน การควบคุมอันตราย ปอ้ งกนั อนั ตราย หรือ เอกสารอ้างองิ อปุ กรณ์คมุ้ ครองความ ปลอดภัย 15 ต่อสายไฟฟ้าด้วยหลอด ปฏิบัติตามข้ันตอนความ 1) หลอดต่อสายรับแรงดึง ต่อสายรับแรงดึง โดย ปลอดภยั ทีม่ ีอยู่ 25-50 ต.มม. บีบหลอดตามมาตรฐาน 2) หลอดต่อสายรับแรงดึง ท่ีกาหนด หรือกรณี 75-95 ต.มม. จ า เ ป็ น ใ ห้ ใ ช้ PG 3) เครือ่ งมอื บบี หลอด Clamp โดยกวดขัน 4) ประแจหรอื ประแจทอร์ค ด้ ว ย ป ร ะ แ จ ท อ ร์ ค 5) ไขควง/คมี ปากจ้งิ จก พรอ้ มทงั้ ติดตงั้ น็อตล็อก ด้ า น ล่ า ง ใ ห้ ค ร บ ถ้ ว น หรือต่อสายไฟฟ้าแบบ \" ต่ อ ป ร ะ ส า น \" ต า ม มาตรฐาน กฟภ. กรณี ต่อสาย มากกว่า 1 เสน้ จดุ ตอ่ ไมค่ วรอยู่ใน แนวเดียวกนั 16.ตรวจสอบหนา้ สัมผัส 1) เคร่อื งมอื วัดความต้านทาน หนา้ สมั ผสั (ถ้าม)ี 17.กรณีสายหุ้มฉนวน ต้อง 1) ปฏิบัติตามข้ันตอนความ พันเทปที่จุดต่อตาม ปลอดภยั ท่ีมีอยู่ มาตรฐาน (ใช้เทปแรง ต่ า ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 2 เ ม ต ร / จุ ด ) ห รื อ ใ ช้ Insulation Cover 18.สับ LT Switch ให้ 3) ไมช้ กั ฟิวส์ สนิททุกเฟส พร้อมท้ัง 4) Clip Amp Meter ตรวจสอบแรงดัน และ กระแส การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ธนั วาคม 2559)

คูม่ อื การปฏิบัติงานแก้ไฟฟ้าขัดขอ้ ง 23 2.3 งานแกไ้ ขขวั้ ตอ่ สายมิเตอร์หลวมหรอื ไหม้ 2.3.1 ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานมาตรฐาน 2.3.1.1 การเตรยี มงาน 1) ตรวจสอบพนื้ ท่ีกอ่ นการปฏิบัตงิ านสาหรับรถแกไ้ ฟฟา้ ขัดขอ้ ง 2) ประสานงานหัวหนา้ เวรหรือพนกั งาน E/O 3) ดาเนินการกิจกรรมความปลอดภยั PSC/KYT 4) ตรวจสอบสภาพหนา้ งานกอ่ นการปฏิบตั ิงาน - สายแรงตา่ ทชี่ ารดุ และอุปกรณป์ ระกอบด้วยสายตา - โคนเสาไฟฟ้ามน่ั คง ไม่มีรอยรา้ วทท่ี าให้เสาลม้ - จุดท่ีข้ัวต่อ (Terminal) ของมิเตอร์ หลวม/ใหม้ โดยตรวจสอบสายด้านเข้าและ ด้านออกมิเตอร์ด้วยสายตา สภาพทั่วไปของมิเตอร์ เช่น ฝาครอบ ตราตระก่ัว สายเข้า สายออก ขอใบแจง้ หนี้หรือใบเสรจ็ คา่ ไฟพรอ้ มเบอร์โทรศัพทต์ ิดต่อ 5) บันทึกภาพการชารุด เสียหาย และสภาพแวดล้อม ก่อนการแก้ไข (เพื่อสรุปใน รายงานผลการดาเนนิ งาน) 6) เตรยี มการและประสานงานเพื่อความปลอดภัย - ประสานงานหัวหน้าเวร/พนักงาน E/O เพื่อขอปลด LT Switch ทุกเฟสถอด LT Switch .เกบ็ ใว้ในรถ (กรณมี คี วามจาเปน็ ) - ตดิ ตงั้ ปา้ ยหา้ มสับสวิตช์ - ขน้ึ ปฏิบัตงิ านบนเสาไฟ (ปนี เสา หรอื ใชร้ ถกระเชา้ ) 2.3.1.2 การแก้ไข กรณีแกไ้ ขขว้ั ตอ่ สายมเิ ตอร์ ชนดิ 1 เฟส 2 สาย หลวม โดยไม่ดับไฟ 1) แจง้ ผใู้ ช่ไฟตัดวงจรไฟฟา้ ภายในบา้ นดว้ ยการปิดเมนสวิชท์ภายในบ้าน เพื่อป้องกัน การอาร์ค 2) เปิดฝาครอบ ตรวจสอบสายด้านเขา้ -ออก และ Terminal ของมิเตอรป์ กติ หรอื ไม่ เช่น เทอรม์ ินอลหลวมให้กวดขันใหแ้ น่น 3) ถอดสายด้านออก วัดแรงดนั ด้านออกปกตหิ รือไม่ ถ้าไม่มไี ฟดา้ นออกแสดงว่า เทอรม์ นิ อลหลวมอยู่ภายในตัวมิเตอร์ให้ดาเนนิ ต่อไฟตรงหรือเปลีย่ นมเิ ตอรใ์ หม่ 4) แจง้ ผู้ใชไ้ ฟเปิดเมนสวิชท์ตรวจสอบไฟภายในบ้าน 5) บันทึกรายงานมเิ ตอร์ชารุด และออก มต.15 ใหผ้ ู้ใชไ้ ฟเซ็นต์ ตน้ ฉบบั มอบให้ผใู้ ช้ไฟ สาเนาเก็บไว้ในเล่ม เขียน มต.13 กากบั มิเตอรช์ ารุด 6) บนั ทกึ ภาพหลงั การแกไ้ ข (เพือ่ สรปุ ในรายงานผลการดาเนินงาน การไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค (ธันวาคม 2559)

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง 24 กรณีแก้ไขข้ัวต่อสายมเิ ตอร์ ชนิด 3 เฟส 4สาย หลวม โดยไมด่ บั ไฟ 1) แจ้งผู้ใชไ่ ฟตัดวงจรไฟฟา้ ภายในบ้านด้วยการปดิ เมนสวชิ ทภ์ ายในบ้าน เพื่อป้องกนั การอาร์ค 2) ถอดฝาครอบสายออก ตรวจสอบ Terminal และสาย เชน่ ถ้าหลวมให้กวดขนั ให้ แนน่ 3) วัดแรงดันดา้ นออกปกตหิ รอื ไม่ ถ้าไมม่ ีไฟด้านออกแสดงว่าเทอรม์ ินอลหลวมอยู่ ภายในตวั มิเตอร์ใหด้ าเนินตอ่ ไฟตรง หรือเปล่ยี นมิเตอรใ์ หม่ 4) สายเกดิ อ๊อกไซด์ทาความสะอาดสายเข้าสายใหม่ 5) แจง้ ผู้ใช้ไฟเปิดเมนสวชิ ท์ตรวจสอบไฟภายในบา้ น 6) บนั ทึกรายงานมิเตอรช์ ารุด และออก มต.15 ให้ผใู้ ชไ้ ฟเซ็นต์ ต้นฉบับมอบให้ผู้ใชไ้ ฟ สาเนาเก็บไว้ในเลม่ เขียน มต.13 กากบั มิเตอร์ชารุด 7) บันทกึ ภาพหลังการแก้ไข (เพอ่ื สรุปในรายงานผลการดาเนินงาน กรณีแก้ไขข้ัวต่อสายมิเตอร์ ชนิด 1 เฟส 2 สาย ไหม้ โดยดบั ไฟ 1) แจ้งผู้ใช้ไฟปดิ เมนสวิชท์ภายในบ้าน 2) ทาเครือ่ งหมายสายก่อนถอดสายออกจากมิเตอร์ 3) ทาการต่อสายตรงกรณีไม่มีมิเตอร์สารอง หรือสับเปล่ียนมิเตอร์ใหม่ กรณีมีมิเตอร์ สารองในรถแกไ้ ฟ 4) บันทึกรายงานมิเตอร์ชารุดและออก มต.15 ให้ผู้ใช้ไฟเซ็นต์ ต้นฉบับมอบให้ ผู้ใช้ไฟ สาเนาเก็บไวใ้ นเล่ม เขียน มต.13 กากับมเิ ตอรช์ ารดุ 5) บนั ทึกภาพหลังการแก้ไข (เพือ่ สรุปในรายงานผลการดาเนินงาน กรณีแกไ้ ขขัว้ ตอ่ สายมเิ ตอร์ ชนดิ 3 เฟส 4 สาย ไหม้ โดยดบั ไฟ 1) แจ้งผู้ใชไ้ ฟปดิ เมนสวชิ ทภ์ ายในบ้าน 2) ทาเครอ่ื งหมายสายก่อนถอดออกจาก มิเตอร์ 3) ทาการตอ่ สายตรงกรณไี ม่มมี ิเตอร์สารอง หรอื สบั เปลี่ยนมิเตอรใ์ หม่ 4) บนั ทกึ รายงานมเิ ตอร์ชารุด และออก มต.15 ให้ผู้ใช้ไฟเซ็นต์ ต้นฉบับมอบให้ผู้ใช้ไฟ สาเนาเก็บไวใ้ นเลม่ เขยี น มต. 13 กากบั มิเตอร์ชารดุ 5) บันทึกภาพหลังการแก้ไข (เพือ่ สรปุ ในรายงานผลการดาเนนิ งาน การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค (ธันวาคม 2559)

คู่มือการปฏบิ ัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 25 2.3.1.3 การคนื ระบบ 1) ประสานงาน หัวหน้าเวร/พนักงาน E/O เพื่อตรวจสอบกลับ กับผู้ใช้ไฟ พร้อมแจ้ง รายละเอียดข้อมลู ตา่ งๆ เชน่ เวลา และอุปกรณ์ทีใ่ ช้ เพอ่ื บันทกึ ข้อมูล 2) ตรวจสอบความเรยี บร้อยของ พ้ืนทป่ี ฏบิ ัตงิ าน หลงั ปฏบิ ตั งิ านแล้วเสรจ็ 2.3.1.4 การรายงานผล พนักงาน E/O รายงานให้ แผนกปฏิบัติการฯ รับทราบ ตามแบบฟอร์มที่ กฟภ. กาหนด เชน่ SQA P2, P2-TP -02 เป็นต้น 2.3.1.5 การตรวจสอบ ให้มีการตรวจสอบคุณภาพการแกไ้ ข ท้งั ในเรื่องความปลอดภัย และมาตรฐานการติดต้งั ต่างๆ หลังการแกไ้ ข (ในวนั ตอ่ มาโดย วศก., ผชน. หรอื ผทู้ ไี่ ดร้ บั มอบหมายฯ) 2.3.2 ขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภัย เครื่องมือ หรอื ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน การควบคุมอนั ตราย อุปกรณป์ ้องกนั อันตราย หรอื อุปกรณ์ เอกสารอ้างอิง คมุ้ ครองความ ปลอดภัย 1. ตรวจสอบพื้นที่ก่อน 1) จอดรถในพ้ืนทีท่ ่ีปลอดภยั อนุมตั ิ/คู่มือ/กฏ หมาย...คู่มือการ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น 2) เปิดไฟวับวาบสีเหลืองและไฟหน้ารถ ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ ค ว บ คุ ม สาหรับรถแก้ไฟฟ้า (ตลอดทั้งวัน) ไฟ ก า ร จ ร า จ ร บ ริ เ ว ณ พ้ื น ที่ ขดั ขอ้ ง สปอตไลท์ (กลางคืน) 3) ต้ังป้ายเตือนอันตราย/กรวยจราจรใน พ้นื ท่ที างานอยา่ งปลอดภยั ก่ อ ส ร้ า ง ( ก ร ม ทางหลวง) 2. ประสานงานหัวหน้า 1) พนักงานส่ังงานเน้นย้าขั้นตอนความ 1) วิทยสุ อ่ื สาร เวร/พนกั งาน E/O ปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน 3. ดาเนินการกิจกรรม 1) หัวหน้างานดาเนินการตามข้ันตอน 1) PPE ตามมาตรฐาน คู่มือฝึกอบร ม PSC/KYT มาตรฐาน 2) Check List จป.(ผู้ควบคุม 2) วเิ คราะหจ์ ุดเส่ยี งและเน้นย้าอันตราย PSC/KYT งาน) ปี 2559 การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค (ธนั วาคม 2559)

คูม่ อื การปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง 26 เคร่ืองมอื หรือ อปุ กรณป์ ้องกัน ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน การควบคุมอนั ตราย อนั ตราย หรอื อุปกรณ์ เอกสารอ้างอิง คมุ้ ครองความ ปลอดภัย 4. ตรวจสอบกอ่ นการ 1) จุดทสี่ ายแรงตา่ ทล่ี ดั วงจรกบั สาย 1) กลอ้ งส่องทางไกล ปฏบิ ัติงาน สื่อสารหรือไฟถนน และอุปกรณ์ ประกอบดว้ ยสายตา 2) โคนเสาไฟฟ้าม่ันคง ไมม่ ีรอยร้าวท่ีทา ให้เสาล้ม 5. ประสานงาน 1) ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการประสานงาน 1) วทิ ยุสื่อสาร หัวหนา้ เวร/ การส่งั การจ่ายไฟ พนกั งาน E/O เพ่ือ ขอปลด LT Switch ทกุ เฟส และถอด LT Switch เกบ็ ใวใ้ น รถ 6. ติดตั้งป้ายห้ามสับ 1) ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยท่ีมี 1) ปา้ ยหา้ มสบั สวิตช์ สวิตช์ อยู่ 7. ขึ้นปฏิบัติงานบน 1) ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยที่มี 1) ขาปนี เสา เสาไฟ (ปีนเสา/ใช้ อยู่ 2) เข็มขัดปีนเสา รถกระเช้า) 3) ถุงมือปนี เสา 4) เชือกส่งของพร้อม รอก 5) รถกระเช้าแกไ้ ฟ 8. กรณดี ับไฟทางาน 1) ปฏิบัติตามข้ันตอนความปลอดภัยที่มี 1) Voltage Detector อยู่ 9. กรณีไม่ดบั ทางาน 1) ใส่ถุงมือแรงต่าเพ่ือป้องกันแรงดัน 1) ถุงมือยางและถุงมือ เหนย่ี วนา หนัง Class 1 2) ใชเ้ ครื่องมือต่างๆ ด้วยความระมดั ระวัง การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าค (ธันวาคม 2559)

คู่มือการปฏิบัติงานแกไ้ ฟฟา้ ขัดข้อง 27 2.4 งานแก้ไขเสาไฟฟา้ แรงสงู ช่ารดุ กรณีภัยธรรมชาติ วินาศกรรม และรถยนตช์ น 2.4.1 ขั้นตอนการปฏบิ ัติงานมาตรฐาน 2.4.1.1 การเตรยี มงาน 1) ตรวจสอบสภาพพื้นทหี่ น้างาน พบเสาไฟฟา้ ชารุด กอ่ นการปฏบิ ัติงาน 2) ประสานงาน E/O แจ้งบริเวณพ้ืนท่ีท่ีเกิดเหตุเสาไฟฟ้าชารุดหให้ทราบ และให้แจ้ง ศูนย์จ่ายไฟเพ่ือขอสวิติช่งย้ายโหลด กรณีเสาไฟฟ้าหักแต่ไฟไม่ดับ ให้ดาเนินการขอ Off Auto เพ่ือป้องกันอันตราย พร้อมถ่ายรูปภาพจุดเกิดโดยรวม รวมท้ังให้ E/O แจง้ ชุดซอ่ มแซมเสริมเตรียมรถเครนยกเสา , เคร่อื งมือเสรมิ 3) ทาการย้ายโหลดตาม Switching 4) เก็บขอ้ มลู ความเสยี หายของอุปกรณ์ในระบบจาหน่าย และถ่ายรปู ทีเ่ กิดเหตุ เสาล้ม กี่ต้น โครงสร้างเสา อุปกรณ์อื่นๆ ทั้งหมด จานวนหม้อแปลง และจานวนผู้ใช้ไฟ เฉพาะราย 5) ประสานงาน E/O ให้แจ้งข้อมูลกับศูนย์จ่ายไฟ และรายงานหผ.ปบ. รจก.(ท) ผจก. และส่วนเก่ียวข้องต่อไป แจ้งส่วนเกี่ยวข้องประสานงานทีมงานเข้าดาเนินการแก้ไข ตอ่ ไป 2.4.1.2 การแก้ไข 1) เกบ็ ข้อมลู หน้างานที่เกดิ เหตุ - ถา่ ยรูปทีเ่ กิดเหตุ - ขอข้อมูลผู้ขบั ขี่ เชน่ ใบขบั ข่ี,บตั รประชาชน - ขอข้อมลู รถยนต์ เช่นการประกันภยั ,สาเนาคู่มือจดทะเบยี นกรณเี ป็นรถยนต์พ่วง ต้องขอข้อมลู ทั้งสองสว่ น - กรณถี า้ มปี ระกนั ภยั ใหข้ อใบเคลมประกยั ภยั หรือใบแจ้งซ่อมแทนใบเคลม - เกบ็ ข้อมลู อปุ กรณ์ท่ชี ารุด เพื่อนาไปประเมินค่าเสียหาย 2) ให้เจ้าของรถยนต์,ผคู้ รอบครองรถยนต์,ผูข้ บั ขี่ ลงนามในใบบนั ทึกยนิ ยอมชดใช้ ค่าเสยี หาย (แบบฟอร์มของ กฟภ. การคิดคา่ เสียหายไม่สามารถดาเนินการหน้างาน ได้ ต้องการให้พฒั นาการคดิ ค่าเสยี หายหนา้ งานได้หรือไม)่ และหาพยานลงนามด้วย 3) หลังเกดิ เหตุใหแ้ จ้งเจ้าหน้าท่ีตารวจมารบั แจง้ ความ หรือใหพ้ าเจ้าของ ผู้ครอบครอง ผูข้ บั ข่ีรถยนต์ รวมท้งั ตัวแทนประกนั ภยั ไปรว่ มกันแจ้งความทสี่ ถานตี ารวจในพน้ื ที่ เกดิ เหตุ และขอคัดสาเนาการแจ้งความมาเพ่ือประกอบการเรยี กรอ้ งค่าเสียหาย หรอื เอามาเปน็ หลักฐานในกรณมี ีการฟอ้ งร้องใหช้ ดใช้ค่าเสยี หาย (ตอ้ งแจง้ ความทุกครั้ง) การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค (ธันวาคม 2559)

ค่มู อื การปฏิบัติงานแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง 28 4) เมือ่ รวบรวมข้อมลู ได้ครบถว้ นใหแ้ จง้ E/O หรอื หวั หนา้ เวรทาบนั ทกึ แจ้งผ้บู รหิ าร ตามลาดับชน้ั เพ่ือพจิ ารณาดาเนินการต่อไป และนาข้อมูลให้ผรู้ ับผิดชอบทาการ ประเมินค่าเสียหายสง่ ให้ นตก./ผบป. ดาเนนิ การตัง้ หน้ีเรยี กเก็บเงินต่อไป 5) ขนั้ ตอนการแก้ไขเหมอื นกบั กรณีภยั ธรรมชาติ และการก่อวินาศกรรม 2.4.1.3 การคืนระบบ 1) ประสานงาน หัวหนา้ เวร/พนักงาน E/O เพอ่ื ตรวจสอบกลับ กับผู้ใช้ไฟ พรอ้ มแจ้ง รายละเอยี ดข้อมลู ต่างๆ เช่น เวลา และอปุ กรณ์ท่ีใช้ เพื่อบันทกึ ข้อมลู 2) ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของ พื้นทีป่ ฏิบัตงิ าน หลงั ปฏิบตั งิ านแลว้ เสร็จ 2.4.1.4 การรายงานผล พนักงาน E/O รายงานให้ แผนกปฏิบัติการฯ รับทราบ ตามแบบฟอร์มท่ี กฟภ. กาหนด เชน่ SQA P2, P2-TP -02 เปน็ ต้น 2.4.1.5 การตรวจสอบ ให้มีการตรวจสอบคุณภาพการแก้ไข ท้ังในเรื่องความปลอดภัย และมาตรฐานการติดต้ัง ตา่ งๆ หลังการแก้ไข (ในวันตอ่ มาโดย วศก., ผชน. หรอื ผทู้ ่ไี ดร้ ับมอบหมายฯ) การไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาค (ธันวาคม 2559)

คมู่ อื การปฏบิ ัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดข้อง 29 2.4.2 ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั เครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณ์ ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน การควบคมุ อนั ตราย ป้องกันอนั ตราย หรือ เอกสารอ้างอิง อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัย 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ 1) จอดรถในพืน้ ท่ีที่ปลอดภัย 1) สปอตไลท์(กลางคนื ) หน้างาน พบเสาไฟฟ้า 2) ตงั้ ป้าย กรวยยาง เพื่อ 2) กลอ้ งถา่ ยรูป ช า รุ ด ก่ อ น ก า ร ปอ้ งกนั อันตรายจากผู้สัญจร ปฏบิ ัติงาน 3) ต้งั สัญญาณไฟวบั วาบ เพ่อื ป้องกนั อันตรายจากผู้สัญจร 4) เคลียร์อุปกรณ์บางสว่ นให้ พน้ จากพื้นผวิ จราจร เพื่อให้ เกิดความปลอดภยั สปอต ไลท์ (กลางคืน) 5) ตัง้ ป้ายเตอื นอันตราย/กรวย จราจรในพืน้ ทีท่ างานอย่าง ปลอดภยั 2. ประสานงาน E/O 1) พ นั ก ง า น สั่ ง ง า น เ น้ น ย้ า 1) วิทยุสอ่ื สาร ขั้นตอนความปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน 3. ทาการย้ายโหลดตาม 1) สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครอง 1) วทิ ยสุ ่อื สาร Switching ความปลอดภัย (PPE) ให้ ครบถ้วน เช่น หมวกนิรภัย ถุงมือแรงสูง รองเท้านิรภัย แว่นตานิรภยั เปน็ ต้น 4. เ ก็ บ ข้ อ มู ล ค ว า ม 1) ด า เ นิ น ก า ร ด้ ว ย ค ว า ม 2) ปา้ ยเตอื นอันตราย เสียหายของอุปกรณ์ใน ระมัดระวัง 3) กรวยจราจร ระบบจาหนา่ ย 5. หลงั จากแกไ้ ขเสาไฟฟา้ 1) เชอ่ื มระบบไฟฟ้ากลับสภาพ ชารดุ เรยี บรอ้ ย ปกตโิ ดยปฏิบตั ิตามขั้นตอน 2) ปลดสายตอ่ ลงดนิ (Shot Ground) ด้วยความ ระมัดระวัง การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค (ธันวาคม 2559)

คู่มอื การปฏิบัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 30 เคร่อื งมือ หรอื อุปกรณ์ ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน การควบคุมอนั ตราย ปอ้ งกันอนั ตราย หรือ เอกสารอา้ งองิ อปุ กรณ์คมุ้ ครองความ 6. การจ่ายหมอ้ แปลงเข้า ระบบดา้ นแรงสูง ปลอดภัย 1) พนักงานเชื่อมสายใช้แค 1) ปา้ ยห้ามสับสวติ ช์ ล้มป์สติก ขนาด 12 ฟุต 2) Voltage Detector (ปีนเสา) 2) พนักงานเชื่อมสายใชแ้ ค ล้มปส์ ตกิ ขนาด 8 ฟุต (รถ กระเช้า) 3) ยืนปฏบิ ตั ิงานปลดสายด้าน ตรงข้ามไลน์แยก 4) ติดตงั้ การ์ดครอบสายไฟฟา้ ไลน์เมนตามมาตรฐาน โดย ตอ้ งรอื้ ถอนเบลแคล้มป์ทุก เฟสออกกอ่ น 5) นาฮอตไลน์ ติดตั้งกับ Insulated Hanger โดยขนั ให้แน่น 6) ห้ามยกมือเหนอื ศรี ษะ ขณะ ปฏบิ ตั งิ านใกล้สายแรงสูง 7) ระวังสายลีดดีด โดนสายเฟส อืน่ หรอื สายกราวด์ 8) ต้องใสถ่ ุงมือปีนเสา ปฏิบตั ิงาน 9) ระมดั ระวงั สายไฟดดี หลดุ มอื โดนสายไลนเ์ มน 10) ระมัดระวัง ฮอตไลน์-เบล แคลม้ ป์/ประแจแหวน/ไข ควงหลน่ จากทีส่ งู การไฟฟา้ สว่ นภูมิภาค (ธนั วาคม 2559)

คูม่ ือการปฏิบัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 31 2.5 งานแก้ไขหมอ้ แปลงไฟฟา้ ชา่ รุด 2.5.1 ขั้นตอนการปฏิบตั งิ านมาตรฐาน 2.5.1.1 การเตรียมงาน 1) ตรวจสอบพน้ื ที่ก่อนการปฏบิ ตั ิงานสาหรับรถแกไ้ ฟฟ้าขดั ข้อง 2) ประสานงานหัวหน้าเวรหรอื พนักงาน E/O 3) ดาเนินการกิจกรรมความปลอดภยั PSC/KYT 4) ตรวจสอบก่อนการปฏบิ ตั ิงาน ด้วยสายตา - ต ร ว จ ส อ บ ส า ย ไ ล น์ เ ม น ไ ม่ มี จุ ด ส า ย ข า ด โ ด ย เ ฉ พ า ะ ต้ น DDE ทาใหไ้ มม่ ไี ฟจา่ ยใหห้ มอ้ แปลงไฟฟา้ - เบลแคล้มป์ ฮอตไลน์แคล้มป์ สายลีด Dropout fuse cutout กับดักฟ้าผ่า ด้าน เข้าของหม้อแปลงชารุดหรือไม่ - โคนเสาไฟฟา้ มน่ั คง ไม่มรี อยรา้ วท่ีทาใหเ้ สาล้ม - ตรวจสอบระบบแรงตา่ ที่เสาไฟฟ้าต้นที่จะปฏิบัติงานว่ามีการจ่ายไฟหรือไม่ และ มจี ุดตอ่ /จดุ สายเปลอื ย ท่ีเปน็ อนั ตรายขณะขึ้นเสาปฏิบัติงานหรือไม่ - ตรวจสอบบนเสาไฟฟา้ มสี ัตว์มีพิษท่ีเปน็ อนั ตรายหรือไม่ - ตรวจสอบสาย Ground ที่ต่อจากข้ัวหม้อแปลงด้านแรงต่าลงไปที่จุดต่อจนถึง Ground Rod วา่ ชารุด/ขาดหรอื ไม่ เพอ่ื ปอ้ งกันไฟเกินย้อนเข้าระบบ) - ตรวจสอบจุดตอ่ สาย Ground กับสายนวิ ตรัล ว่าชารดุ /ขาดหรอื ไม่ 5) บันทึกภาพการชารุด เสียหาย และสภาพแวดล้อม ก่อนการแก้ไข (เพ่ือสรุปใน รายงานผลการดาเนนิ งาน) 6) เตรียมการและประสานงานเพือ่ ความปลอดภยั 2.5.1.2 การแก้ไข การตรวจสอบหมอ้ แปลงไฟฟ้าช่ารดุ ดา้ นแรงต่า กรณีฟวิ ส์แรงสงู ไม่ขาด 1) ตรวจสอบฟิวสแ์ รงตา่ ฟวิ สข์ าดหรอื ไม่ ถา้ ไมข่ าด ให้ดาเนินการต่อไป 2) ตรวจสอบสายจากบุชชิง่ แรงตา่ จนถึง LT Switch ถึง หางปลา LT Switch เพื่อดูว่า อุปกรณ์ปกติหรือไม่ หากพบว่ามีสายไฟขาด ให้ดาเนินการแก้ไข แต่หากพบว่าปกติ ให้ดาเนินการตอ่ 3) ตรวจสอบบุชชิ่งด้านแรงต่าของหม้อแปลงไฟฟ้า เพื่อดูว่าอุปกรณ์ปกติหรือไม่ หาก ปกติใหด้ าเนินการต่อไป 4) ทดสอบจ่ายไฟด้านแรงต่า โดยปลด LT Switch ออกแล้ววัดแรงดันคร่อม LT Switch ทั้งด้าน Source และด้าน Load หากพบว่ามีแรงดัน 220 V แสดงว่า การไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาค (ธนั วาคม 2559)

คมู่ ือการปฏิบัติงานแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง 32 ขดลวดด้านแรงต่าของหม้อแปลงจ่ายไฟได้ปกติ ถ้าไม่ได้แสดงว่าขดลวดแรงต่ามี ปัญหา หรือ ปลด LT Switch ออก แล้ววัดแรงดันด้าน Source เทียบกับ Ground (กราวด์เสาหรือกราวด์หม้อแปลง) หากพบว่าว่ามีแรงดัน 220 V แสดงว่าขดลวด ดา้ นแรงต่าของหม้อแปลงจ่ายไฟได้ปกติ ถ้าไม่ได้แสดงว่าขดลวดแรงต่ามีปัญหา ให้ ดาเนินการเปล่ยี นหมอ้ แปลงไฟฟ้า การตรวจสอบหมอ้ แปลงไฟฟ้าชา่ รดุ ด้านแรงสงู 1) ตรวจสอบฟิวส์แรงสูง ฟิวส์ขาดหรือไม่ หากฟิวส์ขาด ให้ปลดฟิวส์ออกทั้งหมดและ ดาเนินการต่อไป 2) ตรวจสอบสภาพหม้อแปลงไฟฟ้าชารุดเห็นชัดเจน มีน้ามันหม้อแปลงรั่วหรือไม่ ตัวถังหม้อแปลงบวมและมีกลิ่นเหม็นไหม้ หรือไม่ ถ้าหม้อแปลงชารุดชัดเจนไม่ ต้องทดลองจ่าย ให้ดาเนินการเปล่ียนหม้อแปลงไฟฟ้า หากไม่พบร่องรอยการชารุด ให้ดาเนนิ การตอ่ ไป 3) ตรวจสอบสภาพหม้อแปลงชารุดเห็นไม่ชัดเจน มีเพียงฟิวส์แรงสูงขาด พบว่ามี สาเหตุการเกิดฟอลต์ ให้ตรวจสอบโดยละเอียด หรืออาจใช้การวัดความต้านทาน ฉนวน หรือ Insulation Resistance เพ่มิ เติม 4) หากตรวจสอบโดยละเอียดแล้ว พบว่ามีสาเหตุมาจากปัจจัยภายนอกโดยพบ หลักฐานว่ามีสาเหตุเช่น ซากสัตว์ ก่ิงไม้ หรืออ่ืนๆ หรือพบว่าหม้อแปลงไฟฟ้าไม่ได้ ชารดุ จากภายใน ให้ดาเนนิ การจ่ายหมอ้ แปลงไฟฟา้ คืนระบบดังน้ี - ปลดโหลดด้านแรงตา่ ท้ังหมด - จา่ ยด้วยฟิวส์แรงสงู ขนาดตามพกิ ัดหมอ้ แปลง หากจ่ายได้ วัดแรงดันด้านแรงต่า ท่ี LT Switch ทุกเฟส 5) ตรวจสอบทั้งหมดแล้ว สรุปว่าหม้อแปลงไฟฟ้าชารุด ต้องเปล่ียนหม้อแปลงไฟฟ้า ทดแทน ใหป้ ลด D/F ป้องกนั หมอ้ แปลงไฟฟ้าออกพร้อมทัง้ ปลดสายแรงสูงเชื่อมเข้า หมอ้ แปลงไฟฟา้ ออกท้ังหมด (หมอ้ แปลงน่ังรา้ นถ้า D/F อยู่ด้านบน ไม่ต้องปลดสาย ถ้าหม้อแปลงแขวนต้องปลดสาย) ทาป้ายลาดับเฟสของสายแรงต่าของหม้อแปลง ไฟฟ้าชารุด เพ่ือป้องกันการตอ่ สายผดิ ลาดับเฟส 2.5.1.3 การคืนระบบ 1) ประสานงาน หัวหน้าเวร/พนักงาน E/O เพ่ือตรวจสอบกลับ กับผู้ใช้ไฟ พร้อมแจ้ง รายละเอยี ดข้อมลู ตา่ งๆ เช่น เวลา และอปุ กรณ์ท่ีใช้ เพอ่ื บันทกึ ขอ้ มลู 2) ตรวจสอบความเรยี บร้อยของ พนื้ ทีป่ ฏบิ ตั งิ าน หลงั ปฏบิ ตั งิ านแล้วเสร็จ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ธนั วาคม 2559)

คมู่ ือการปฏิบัติงานแกไ้ ฟฟา้ ขัดข้อง 33 2.5.1.4 การรายงานผล พนักงาน E/O รายงานให้ แผนกปฏิบัติการฯ รับทราบ ตามแบบฟอร์มท่ี กฟภ. กาหนด เช่น SQA P2, P2-TP -02 เปน็ ต้น 2.5.1.5 การตรวจสอบ ให้มีการตรวจสอบคุณภาพการแก้ไข ท้ังในเรื่องความปลอดภัย และมาตรฐานการติดต้ัง ตา่ งๆ หลังการแก้ไข (ในวนั ต่อมาโดย วศก., ผชน. หรอื ผูท้ ีไ่ ด้รบั มอบหมายฯ) 2.5.2 ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานด้วยความปลอดภัย เครื่องมอื หรอื อุปกรณ์ ขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ าน การควบคมุ อนั ตราย ป้องกันอนั ตราย หรือ เอกสารอ้างองิ อปุ กรณ์คมุ้ ครองความ ปลอดภัย 1. ตรวจสอบสภาพพื้นท่ี 1) จอดรถในพ้ืนที่ท่ีปลอดภัย 1) สปอตไลท์(กลางคืน) หน้างาน พบเสาไฟฟ้า 2) ตัง้ ป้าย กรวยยาง เพ่ือ 2) กล้องถ่ายรูป ช า รุ ด ก่ อ น ก า ร ป้องกันอันตรายจากผู้สัญจร ปฏิบัตงิ าน 3) ตั้งสญั ญาณไฟวับวาบ เพอื่ ป้องกนั อันตรายจากผู้สญั จร 6) เคลยี ร์อุปกรณบ์ างสว่ นให้ พน้ จากพื้นผวิ จราจร เพอ่ื ให้ เกิดความปลอดภัยสปอต ไลท์ (กลางคนื ) 7) ตง้ั ป้ายเตือนอนั ตราย/กรวย จราจรในพนื้ ท่ที างานอย่าง ปลอดภัย 2. ต ร ว จ ส อ บ ก่ อ น ก า ร 1) พนกั งานส่งั งานเนน้ ยา้ 1) วทิ ยสุ ือ่ สาร ปฏิบตั งิ าน ดว้ ยสายตา ขน้ั ตอนความปลอดภยั ใน การปฏบิ ัตงิ าน 2) เบลแคล้มป์ ฮอตไลน์แค ล้มป์ สายลีด D/F กับดัก ฟ้าผ่า เข้าหม้อแปลงชารุด หรอื ไม่ การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค (ธันวาคม 2559)

คมู่ อื การปฏบิ ัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 34 เครือ่ งมือ หรอื อปุ กรณ์ ขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ าน การควบคมุ อันตราย ป้องกนั อันตราย หรือ เอกสารอ้างอิง อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัย 3) โคนเสาไฟฟ้าม่ันคง ไม่มีรอย รา้ ว มสี ัตว์มพี ิษ 4) ตรวจสอบระบบแรงต่าทเ่ี สา ไฟฟ้าต้นทจ่ี ะปฏิบัตงิ านว่ามี จดุ ตอ่ /จดุ สายเปลือย ท่ีเป็น อันตรายหรือไม่ 5) ตรวจสอบสาย Ground ที่ ต่อจากขัว้ หมอ้ แปลงดา้ น แรงตา่ 3. ประสานงานหัวหน้า 1) พ นั ก ง า น สั่ ง ง า น เ น้ น ย้ า 1) วิทยุสอ่ื สาร เวร/พนักงาน E/O แจ้ง ขั้นตอนความปลอดภัยใน หมอ้ แปลงไฟฟ้าท่ชี ารดุ การปฏบิ ัติงาน 4. ตรวจสอบพืน้ ทสี่ าหรับ 1) ทาตามขน้ั ตอนความ 1) ข้อมูลการใช้งานเครนรถ รถยกหม้อแปลงก่อน ปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน ยก การปฏบิ ัติงานพร้อม ถ่ายรปู ภาพ 5. การจา่ ยไฟใหห้ ม้อ ) พนักงานเชื่อมสายใช้แคล้มป์ 1) PPE สาหรับงานเชื่อมสาย แปลงไฟฟ้าทนี่ ามา สติก ขนาด 12 ฟตุ (ปีนเสา) 2) เคร่อื งมือวัดลาดบั เฟส เปลี่ยนทดแทน 2) พนักงานเชื่อมสายใช้แค ล้มป์สติก ขนาด 8 ฟุต (รถ กระเช้า) 3) ยืนปฏิบัติงานปลดสายด้าน ตรงขา้ มไลน์แยก 4) ติดตั้งการ์ดครอบสายไฟฟ้า ไลน์เมนตามมาตรฐาน โดย ต้องรื้อถอนเบลแคล้มป์ทุก เฟสออกกอ่ น 5) นาฮอตไลน์ ติดตั้งกับ Insulated Hanger โดยขัน ใหแ้ นน่ 6) หา้ มยกมอื เหนือศรี ษะ ขณะ ปฏบิ ตั งิ านใกลส้ ายแรงสงู การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค (ธนั วาคม 2559)

คมู่ ือการปฏบิ ัติงานแกไ้ ฟฟ้าขัดข้อง 35 ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน การควบคมุ อันตราย เครื่องมอื หรือ อปุ กรณ์ เอกสารอ้างอิง ปอ้ งกนั อนั ตราย หรือ 7) ระวังสายลีดดีด โดนสาย อปุ กรณ์ค้มุ ครองความ เฟสอน่ื หรอื สายกราวด์ ปลอดภัย 8) ต้องใสถ่ ุงมือปนี เสา ปฏบิ ัติงาน 9) ระมัดระวงั สายไฟดดี หลุด มอื โดนสายไลน์เมน 10) ระมัดระวัง ฮอตไลน์-เบล แคลม้ ป/์ ประแจแหวน/ไข ควงหลน่ จากท่สี ูง 11) วัดแรงดนั ด้านแรงต่า ที่ LT Switch พรอ้ มตรวจสอบ Phase Rotation ทง้ั สาม เฟส 2.6 งานแกไ้ ขฮอทไลน์-เบลแคลม้ ปไ์ ลน์แยกช่ารดุ 2.6.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐาน 2.6.1.1 การเตรียมงาน 1) ตรวจสอบพ้ืนท่ีก่อนการปฏบิ ัติงานสาหรับรถแก้ไฟฟ้าขดั ขอ้ ง 2) ประสานงานหวั หน้าเวรหรือพนกั งาน E/O 3) ดาเนินการกิจกรรมความปลอดภัย PSC/KYT 4) ตรวจสอบสภาพหนา้ งานกอ่ นการปฏิบัตงิ าน - สายแรงต่าที่ชารุดและอุปกรณป์ ระกอบด้วยสายตา - โคนเสาไฟฟ้าม่นั คง ไม่มีรอยรา้ วที่ทาใหเ้ สาลม้ - ฮอตไลน์-เบลแคลม้ ป์ทช่ี ารุดและอปุ กรณป์ ระกอบด้วยสายตา - โคนเสาไฟฟ้าม่นั คงไมม่ รี อยร้าวท่ีทาให้เสาลม้ - ตรวจสอบระบบแรงต่าที่เสาไฟฟ้าตน้ ท่จี ะปฏบิ ตั ิงานวา่ มี การจ่ายไฟหรือไม่ และ มจี ุดตอ่ /จดุ สายเปลือย ท่เี ปน็ อันตรายขณะขึน้ เสาปฏบิ ัตงิ านหรอื ไม่ 5) บันทึกภาพการชารุด เสียหาย และสภาพแวดล้อม ก่อนการแก้ไข (เพ่ือสรุปใน รายงานผลการดาเนนิ งาน) การไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค (ธันวาคม 2559)

คูม่ อื การปฏิบัตงิ านแก้ไฟฟ้าขัดข้อง 36 6) เตรียมการและประสานงานเพอ่ื ความปลอดภยั - ประสานงานศูนย์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้าเขต/หัวหน้าเวร/พนักงาน E/O เพื่อขอ Off Auto Reclose และปลดโหลดหลงั จดุ แกไ้ ข - ตดิ ตงั้ ป้ายห้ามสบั สวติ ช์ - ขึ้นปฏิบัตงิ านบนเสาไฟ (ปีนเสา หรือ ใช้รถกระเชา้ ) - ตรวจสอบแรงดนั ไฟฟา้ ด้วยเคร่ืองมอื ตรวจสอบแรงดนั หรือ Voltage Detector 2.6.1.2 การแกไ้ ข 1) ตรวจสอบฮอตไลน์แคล้มป์ เบลแคล้มป์ และสายไฟฟ้าด้วยสายตาอีกคร้ัง ว่าหากจะ ปลดสายอุปกรณ์มีโอกาสหลดุ ลงมาหรอื ไม่ 2) กรณีฮอตไลน์-เบลแคล้มป์ชารุด แต่ กฟฟ. ไม่มีชุดปฏิบัติงานเชื่อมสายหรือชุด ฮอตไลน์ (รอแก้ไขภายหลัง) 3) การปฏบิ ัติงานปลดสายไลน์แยกด้วย DS หรือ D/F หรือที่เช่ือมด้วยฮอตไลน์แคล้มป์ ออก หากเบลแคล้มป์ชารดุ ปลดเบลแคลม้ ปอ์ อกจากสายไลนเ์ มนด้วยแคลม้ ป์สติก 4) โดยพนักงานเชื่อมสายหรือพนักงานฮอตไลน์ สายท่ีไม่ชารุดหลังจากปลดออกให้ ติดต้งั กับ Insulated Hanger 5) ติดตั้งการต่อลงดนิ ชัว่ คราวไลนแ์ ยก 5) รอ้ื ถอนฮอตไลน์แคลม้ ป์ชารดุ ออกจากสายลดี 6) เตรียมฮอตไลน์แคล้มป์และหรือเบลแคล้มป์ใหม่ โดยตรวจสอบด้วยการหมุนและ คายน็อตหว่ งของฮอตไลน์แคลม้ ป์และเบลแคล้มป์กอ่ นการตดิ ตง้ั 7) เชื่อมสายไลน์แยก โดยพนักงานเช่ือมสาย 8) รื้อถอนการต่อลงดนิ ชัว่ คราวไลน์แยก 9) การตรวจสอบความเรียบร้อยของงานที่แก้ไข ก่อนลงจากเสาไฟฟ้า (ปีนเสา/ใช้รถ กระเช้า) 10) สบั D/F หรอื D/S ไลน์แยก 11) ถ่ายรปู ภาพจดุ ท่ีปฏิบตั งิ านหลงั ดาเนนิ การแก้ไขเสร็จเรยี บรอ้ ย 2.6.1.3 การคนื ระบบ 1) ประสานงาน หัวหน้าเวร/พนักงาน E/O เพ่ือตรวจสอบกลับ กับผู้ใช้ไฟ พร้อมแจ้ง รายละเอยี ดข้อมูลต่างๆ เช่น เวลา และอปุ กรณท์ ี่ใช้ เพ่ือบนั ทึกขอ้ มูล 2) ตรวจสอบความเรียบร้อยของ พื้นท่ปี ฏิบตั ิงาน หลังปฏบิ ตั ิงานแลว้ เสรจ็ การไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าค (ธันวาคม 2559)

คู่มอื การปฏบิ ัติงานแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง 37 2.6.1.4 การรายงานผล พนักงาน E/O รายงานให้ แผนกปฏิบัติการฯ รับทราบ ตามแบบฟอร์มท่ี กฟภ. กาหนด เช่น SQA P2, P2-TP -02 เป็นต้น 2.6.1.5 การตรวจสอบ ให้มีการตรวจสอบคุณภาพการแก้ไข ท้ังในเร่ืองความปลอดภัย และมาตรฐานการติดตั้ง ตา่ งๆ หลังการแก้ไข (ในวนั ต่อมาโดย วศก., ผชน. หรือผทู้ ีไ่ ด้รับมอบหมายฯ) 2.6.2 ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภัย เครื่องมือ หรือ อปุ กรณ์ ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน การควบคมุ อนั ตราย ปอ้ งกันอันตราย หรือ เอกสารอา้ งอิง อุปกรณ์คุม้ ครองความ คู่ มื อ ฝึ ก อ บ ร ม ปลอดภัย จ ป . ( ผู้ ค ว บ คุ ม งาน) ปี 2559 1. ตรวจสอบสภาพพื้นท่ี 1) จอดรถในพ้นื ท่ีที่ปลอดภัย 1) สปอตไลท์(กลางคืน) หน้างาน พบเสาไฟฟ้า 2) ตง้ั ป้าย กรวยยาง เพ่ือ 2) กลอ้ งถา่ ยรูป ช า รุ ด ก่ อ น ก า ร ป้องกนั อนั ตรายจากผู้สัญจร ปฏิบตั ิงาน 3) ตัง้ สัญญาณไฟวับวาบ เพือ่ ปอ้ งกนั อันตรายจากผสู้ ญั จร 4) เคลียร์อุปกรณบ์ างสว่ นให้ พ้นจากพน้ื ผวิ จราจร เพือ่ ให้ เกดิ ความปลอดภัยสปอต ไลท์ (กลางคืน) 5) ตงั้ ปา้ ยเตือนอนั ตราย/กรวย จราจรในพน้ื ท่ีทางานอยา่ ง ปลอดภัย 2. ประสานงานหัวหน้า 1) พ นั ก ง า น สั่ ง ง า น เ น้ น ย้ า 1) วทิ ยุสือ่ สาร เวร/พนักงาน E/O แจ้ง ขั้นตอนความปลอดภัยใน หมอ้ แปลงไฟฟ้าที่ชารดุ การปฏบิ ัตงิ าน 3. ดาเนินการกิจกรรม 1) หัวหน้างานดาเนินการตาม 1) PPE ตามมาตรฐาน PSC/KYT ข้ันตอนมาตรฐาน 2) Check List PSC/KYT การไฟฟ้าสว่ นภูมิภาค (ธันวาคม 2559)

คูม่ อื การปฏิบัติงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง 38 เครื่องมือ หรือ อุปกรณ์ ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน การควบคุมอันตราย ป้องกนั อันตราย หรือ เอกสารอ้างอิง 4. ตรวจสอบก่อนการ อปุ กรณ์ค้มุ ครองความ ปฏบิ ตั ิงาน ปลอดภัย 5. ดาเนนิ การแกไ้ ข 1) ตรวจสอบสภาพสายลดี ตรง 1) กล้องสอ่ งทางไกล จุดต่อฮอตไลน์แคล้มปว์ ่ามี การอาร์คจนสายไฟชารดุ หรอื ไม่ 2) รกั ษาระยะห่างความ ปลอดภยั ตามมาตรฐาน 3) ตรวจสอบสภาพสายไฟฟา้ ไลน์เมนตรงจดุ ต่อเชือ่ ม กับเบลแคลม้ ป์วา่ มีการอาร์ กหรือไม่ 4) ตรวจสอบโบลทย์ ึดคอน คอร. ที่เสา ว่าสภาพปกติ หรอื ไม่ (สงั เกตสลกั เกลยี ว หรอื เสาหรือน็อตที่สลกั เกลยี วมรี อยอาร์กหรือไม่ 5) ตรวจสอบสภาพลูกถ้วย แขวน-ลูกถ้วยตงั้ ว่ามรี อย อาร์กแตกชารุดหรอื ไม่ 1) ป ฏิ บั ติ ต า ม ขั้ น ต อ น ก า ร 1) รองเท้านิรภัย ประสานงานการสั่งการ 2) ขาปีนเสา จ่ายไฟให้ตรวจสอบการ 3) เข็มขดั ปนี เสา จ่ายไฟจากแหล่งจ่ายอ่ืน 4) ถงุ มอื ปีนเสา เพ่ือป้องกันอันตรายจากการ 5) ถงุ มือยางและถุงมือหนัง จา่ ยไฟยอ้ น จากอีกด้านหน่ึง 6) เชือกส่งของพร้อมรอก เข้ามาในระบบจาหน่ายไลน์ 7) รถกระเชา้ แกไ้ ฟ แยกที่ปฏบิ ัติงาน 8) ชุ ด เ ค ร่ื อ ง มื อ ต่ อ ล ง ดิ น 2) ต้ อ ง ค ว บ คุ ม ห้ า ม ผู้ ไ ม่ ชว่ั คราว เกี่ยวข้องเขา้ ใกล้จุดต่อลงดิน 9) Clamp Stick โดยเดด็ ขาด 3) ปฏิบัติตามข้ันตอนการปลด สายและเชื่อมสาย 4) กรณปี นี เสา ใช้แคลม้ ปส์ ตกิ ขนาด 12 ฟตุ โดยยนื ดา้ น ตรงขา้ มไลนแ์ ยก การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค (ธันวาคม 2559)

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานแกไ้ ฟฟ้าขัดข้อง 39 เครื่องมอื หรอื อปุ กรณ์ ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน การควบคมุ อันตราย ป้องกนั อันตราย หรือ เอกสารอา้ งอิง อปุ กรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัย 5) กรณีทางานบนกระเช้า ใช้ แคล้มป์สติก ขนาด 8 ฟตุ 6) ติดต้ังการ์ดครอบสายไฟฟ้า ไลน์เมนตามมาตรฐาน โดย ต้องร้ือถอนเบลแคล้มป์ทุก เฟสออกก่อน 7) นาฮอตไลน์ แคล้มป์ ติดต้ัง กบั Insulated Hanger โดย ขันใหแ้ นน่ 8) ห้ามยกมือเหนือศีรษะ ขณะ ปฏิบตั ิงานใกล้สายแรงสูง 9) ระวังสายลดี ดีด โดนสายเฟส อน่ื หรอื สายกราวด์ 10) ระมัดระวัง ฮอตไลน์-เบล แคล้มป์/ประแจแหวน/ไข ควงหล่นจากทสี่ ูง 6. ป ร ะ ส า น ง า น ศู น ย์ 1) ป ฏิ บั ติ ต า ม ขั้ น ต อ น ก า ร 1) วิทยุส่ือสาร ควบคุมการจ่ายไฟฟ้า ประสานงานการส่ังการ 2) โทรศัพท์ เ ข ต / หั ว ห น้ า เ ว ร / จ่ายไฟ พนักงาน E/O เพ่ือ ตรวจสอบการจ่ายไฟ On Auto Reclose และ ตรวจสอบการ จ่ายไฟกับลูกค้า พร้อม แจ้งรายละเอียดเวลา และอุปกรณ์ ท่ีใช้ให้ ห้องเวรบนั ทกึ ข้อมลู 7. ตรว จสอบพ้ืนท่ีหลัง 1) เก็บป้ายเตือนอันตรายและ 1) Voltage Detector ปฏิบัติงานแล้วเสรจ็ กรวยจราจร 2) ปดิ ไฟวับวาบสีเหลืองและไฟ ห น้ า ร ถ ( ก ล า ง วั น ) เกบ็ ไฟสปอตไลท์ (กลางคืน) การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค (ธนั วาคม 2559)

คมู่ อื การปฏบิ ัติงานแก้ไฟฟ้าขัดข้อง 40 2.7 งานแก้ไขมิเตอร์ไฟฟ้าชา่ รดุ 2.7.1 ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน 2.7.1.1 การเตรียมงาน 1) จัดการพน้ื ทปี่ ฏิบตั งิ านก่อนการปฏิบัติงาน เชน่ พน้ื ท่ีจอดรถยนต์ การวางกรวย ปา้ ย ตา่ งๆ ไฟสญั ญาณ ไฟแสงสวา่ ง เปน็ ตน้ 2) ตรวจสอบสภาพหนา้ งานก่อนการปฏิบัตงิ าน - ตรวจสอบมเิ ตอร์ท่ชี ารุดและอุปกรณป์ ระกอบด้วยสายตา - สภาพสายไฟฟา้ เขา้ -ออก มเิ ตอร์ - สภาพฝาครอบขวั้ ต่อมเิ ตอร์ - สภาพตราตะกัว่ - ตรวจสอบสาเหตุ ที่ทาใหม้ เิ ตอรช์ ารดุ - ตรวจสอบขอ้ มูลที่เกย่ี วข้องกับมเิ ตอร์ท่ีดาเนนิ การ เชน่ PEA No. ของมเิ ตอร์ - ถ่ายภาพมเิ ตอร์ไฟฟ้า อุปกรณ์ต่างๆ และสถานที่ ก่อนการแกไ้ ข 3) จัดทากิจกรรมความปลอดภยั PSC/KYT โดยวิเคราะห์จุดเสีย่ งและเน้นย้าอนั ตราย - สวมใส่อปุ กรณ์ PPE ใหค้ รบถ้วน เช่น หมวกนิรภัย ถงุ มอื แรงตา่ รองเท้านิรภยั เป็นตน้ - สวมใสห่ นา้ กากป้องกันอนั ตราย - ตรวจสอบจุดเส่ยี ง เน้นย้าอันตรายก่อนดาเนนิ การ ได้แกแ่ รงดนั ไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ร่ัว 4) ตดิ ต่อผู้ใช้ไฟฟ้า เพ่ือลงนามในหนงั สือแจง้ มิเตอรช์ ารดุ รับทราบการแก้ไข และ ยนิ ยอมการประเมนิ หนว่ ยคา่ ไฟฟา้ ในระหวา่ งการต่อตรง พรอ้ มท้ังขอใบเสร็จและ เบอร์โทรศัพท์ เพ่อื ใชเ้ ป็นเอกสารแนบการรายงาน 5) ขอปลดโหลดของมิเตอร์ โดยปลดเมนเบรกเกอรภ์ ายในของผ้ใู ชไ้ ฟฟ้าทง้ั หมด 6) ประสานงานหัวหนา้ เวร/พนักงาน E/O เพือ่ รายงานมเิ ตอร์ชารดุ 2.7.1.2 การแก้ไข 1) การดาเนนิ การร้ือถอนมิเตอรช์ ารุดออก กรณีมิเตอร์ 1 เฟส 1. ตดั ตราตะก่วั ของมิเตอร์ 2. ปลดสายไฟฟา้ เขา้ -ออก ของมเิ ตอร์ ทาสัญลกั ษณ์ (Marker) ทีส่ ายไฟทุกเฟส ให้ ชัดเจน เพอ่ื ป้องกันความผิดพลาดในการต่อกลบั มิเตอร์ กรณมี ิเตอร์ 3 เฟส 1. แจง้ ผู้ใชไ้ ฟในบริเวณใกลเ้ คียงให้ทราบถึงการดบั ไฟ เพื่อตอ่ กลับมเิ ตอร์ 2. ประสานงานหัวหน้าเวร/พนักงาน E/O ขอปลด LT Switch เพ่ือดับไฟ วงจรทจ่ี ะ ปฏบิ ัตงิ านแก้ไขมิเตอร์ชารดุ 3. ตัดตราตะกว่ั ของมิเตอร์ 4. ปลดสายไฟฟา้ เขา้ -ออก ของมิเตอร์ ทาสญั ลักษณ์ (Marker) ที่สายไฟทุกเฟส ให้ ชดั เจน เพอ่ื ป้องกนั ความผดิ พลาดในการต่อกลับมิเตอร์ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ธนั วาคม 2559)

คู่มอื การปฏิบัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดข้อง 41 2) การสับเปลย่ี นมเิ ตอร์ใหม่ทดแทนมเิ ตอรช์ ารุด กรณีมมี ิเตอร์ส่ารอง ดาเนนิ การสบั เปล่ียนมิเตอรใ์ หม่ โดยต่อสายเข้า-ออก มเิ ตอร์ ให้ถูกต้องตามเฟสที่ทาสญั ลักษณ์ไว้ กรณไี มม่ มี ิเตอร์ส่ารอง ใหต้ ่อตรง โดยต่อสายเขา้ -ออก มิเตอร์ ใหถ้ กู ต้องตามเฟสท่ี ทาสัญลักษณไ์ ว้ แล้วพนั ปลายสายดว้ ยเทปแรงตา่ หรอื ใช้อปุ กรณอ์ ่ืนๆท่ี กฟภ. อนุมัติ ใหใ้ ช้งาน เชน่ การต่อสายแรงต่าดว้ ย Terminal ต่อสาย (นวตั กรรม Direct Box) เป็นต้น 3) ถา่ ยภาพมเิ ตอร์ไฟฟา้ อุปกรณต์ ่างๆ และสถานที่ หลงั การแก้ไขแล้วเสรจ็ 4) สบั LT Switch วงจรท่ดี ับไฟไว้ และจา่ ยโหลดของผ้ใู ช้ไฟ 5) แจง้ ผ้ใู ชไ้ ฟ ตรวจสอบการจา่ ยไฟ ใช้งานได้ปกติหรอื ไม่ 6) นามเิ ตอร์ชารุดกลบั สานักงาน เพื่อจัดสง่ ให้ ผมต. ตอ่ ไป 2.7.1.3 การคนื ระบบ 1) ประสานงานหัวหนา้ เวร/พนักงาน E/O พร้อมแจง้ รายละเอยี ดข้อมลู การแกไ้ ขตา่ งๆ เช่น PEA No. ของมเิ ตอรใ์ หม่ เวลาแล้วเสร็จ และอุปกรณ์ทีใ่ ช้ เพ่อื บันทึกข้อมูล 2) เคลียร์พ้ืนท่ปี ฏบิ ัติงาน หลงั การปฏิบัตงิ านแล้วเสรจ็ เชน่ จัดเก็บกรวย ป้ายต่างๆ ไฟสัญญาณ ไฟแสงสวา่ ง เป็นตน้ 2.7.1.4 การรายงานผล หัวหนา้ เวร/พนักงาน EO รายงานการชารุดของมิเตอร์ตามหนังสือรายงานมิเตอรช์ ารดุ พร้อม เอกสารประกอบตามข้อ 2.2.1.1 ข้อย่อยที่ 4) และรูปภาพก่อนและหลงั ดาเนนิ การ การไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าค (ธันวาคม 2559)

คู่มือการปฏิบัติงานแกไ้ ฟฟา้ ขัดขอ้ ง 42 2.7.2 ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภัย ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน การควบคมุ อนั ตราย เครื่องมอื หรอื อุปกรณ์ เอกสารอา้ งองิ ปอ้ งกันอนั ตราย หรือ 1. จดั การพ้นื ทกี่ ่อน 1. จอดรถในพ้นื ท่ีปลอดภยั อปุ กรณ์คมุ้ ครองความ 1. ข้อกาหนดกรม การปฏิบตั ิงาน 2. เปดิ ไฟวบั วาบ ตารวจ เรื่อง ปลอดภัย กาหนดเง่ือนไขการ สีเหลือง ใช้ไฟสัญญาณ ไฟ 3. เปดิ ไฟหนา้ รถ 1. สปอตไลท์ วับวาบ 2. ป้ายเตอื นอนั ตราย (กลางวนั ) 3. กรวยจราจร 2. หนังสือ กมภ.(วภ) 4. ใช้ไฟสปอตไลท์ เลขที่ 205/2556 ลงวันท่ี 15 พ.ค. (กลางคืน) 2556 เรอ่ื งขอ 5. ต้ังปา้ ยเตือนอันตราย อนมุ ตั ิแบบ 6. ตงั้ กรวยจราจรตาม มาตรฐานอุปกรณ์ แจง้ เตือน การ มาตรฐาน ปฏิบตั งิ านบนถนน หลวง 2. ตรวจสอบสภาพหน้า 1. ตรวจสอบมิเตอร์ที่ชารุด งานกอ่ นการปฏิบตั ิงาน และอุปกรณป์ ระกอบ ต่างๆ ดว้ ยสายตา 2. ตรวจสอบสาเหตุ ทที่ าให้ มเิ ตอรช์ ารุด 3. สภาพสายไฟฟา้ เขา้ - ออก มเิ ตอร์ 4. สภาพฝาครอบข้ัวต่อ มิเตอร์ 5. สภาพตราตะก่ัว 6. ตรวจสอบขอ้ มลู ที่ เกยี่ วข้องกับมเิ ตอรท์ ่ี ดาเนนิ การ เช่น PEA No. ของมเิ ตอร์ การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค (ธนั วาคม 2559)

คูม่ อื การปฏิบัติงานแกไ้ ฟฟา้ ขัดข้อง 43 2.8 งานแก้ไขฟิวสแ์ รงต่าขาด 2.8.1 ข้ันตอนการปฏิบัติงานมาตรฐาน 2.8.1.1 การเตรยี มงาน 1) จดั การพ้นื ทีป่ ฏิบัตงิ านก่อนการปฏิบตั งิ าน เช่น พน้ื ท่ีจอดรถยนต์ การวางกรวย ปา้ ย ต่างๆ ไฟสญั ญาณ ไฟแสงสว่าง เป็นตน้ 2) ตรวจสอบสภาพหนา้ งานก่อนการปฏิบัตงิ าน - ตรวจหาฟวิ สแ์ รงตา่ เฟสท่ีขาด - หาสาเหตุฟิวส์แรงต่าเฟสที่ขาด - ถา่ ยภาพฟิวสแ์ รงต่าขาด อุปกรณ์ตา่ งๆ สาเหตแุ ละสถานที่ กอ่ นการแก้ไข 3) ดาเนนิ การกจิ กรรม PSC/KYT - สวมใสอ่ ุปกรณ์ PPE ให้ครบถ้วน เชน่ หมวกนิรภัย ถงุ มอื แรงต่า รองเท้านิรภยั เปน็ ตน้ - ตรวจสอบจุดเสย่ี ง เนน้ ยา้ อนั ตราย กอ่ นดาเนนิ การ ได้แก่ อนั ตรายจากสภาพ การจราจร อันตรายจากการปฏิบัตงิ านบนเสาไฟฟา้ เชน่ การปนี เสา ฟวิ ส์แรงตา่ ตกจากทีส่ ูงขณะรอื้ ถอน ติดต้ัง 2.8.1.2 การแก้ไข 1) ดาเนนิ การแก้ไขสาเหตทุ ี่ตรวจสอบพบ 2) ดาเนินการแกไ้ ขสาเหตุท่ีทาให้ฟวิ สแ์ รงต่าขาด 3) ร้อื ถอนก้านจับฟวิ ส์ แรงต่าจาก LT Switch โดยใช้ไมช้ ักฟวิ ส์ 4) ถอดฟวิ ส์แรงตา่ เดิมออก พร้อมตรวจสอบ ขนาดฟิวส์เดมิ วา่ ถูกต้องตามมาตรฐาน 5) ใส่ฟวิ ส์แรงตา่ ขนาดมาตรฐานเขา้ กับก้านจับฟิวส์ 6) ถ่ายภาพฟวิ ส์แรงต่า อุปกรณ์ตา่ งๆ และสถานท่ี หลงั การแกไ้ ขแล้วเสรจ็ 2.8.1.3 การคนื ระบบ 1) สบั LT Switch วงจรทด่ี ับไฟไว้ และจ่ายโหลดของผู้ใชไ้ ฟ 2) ตรวจสอบคา่ แรงดนั และกระแสไฟฟา้ ทุกเฟส 2.8.1.4 การรายงานผล 1) ถ่ายภาพอุปกรณ์ตา่ งๆ และสถานที่ หลังการแก้ไข 2) ประสานงานหัวหน้าเวร/พนกั งาน E/O พร้อมแจ้งรายละเอียดข้อมูลการแก้ไขตา่ งๆ เชน่ ขนาดฟิวส์ เวลาแล้วเสรจ็ และอุปกรณอ์ ื่นๆ (ถา้ มี) เพ่ือบันทึกข้อมูล การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค (ธันวาคม 2559)

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานแก้ไฟฟา้ ขัดขอ้ ง 44 2.8.2 ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภัย ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน การควบคมุ อนั ตราย เคร่ืองมอื หรือ อปุ กรณ์ เอกสารอา้ งอิง ปอ้ งกนั อันตราย หรือ อุปกรณ์คุ้มครองความ 1. ขอ้ กาหนดกรม ตารวจ เรอื่ ง ปลอดภยั กาหนดเง่ือนไขการ ใช้ไฟสัญญาณ ไฟ 1. จัดการพ้ืนทก่ี ่อน 1. จอดรถในพื้นท่ีปลอดภัย 1. สปอตไลท์ วบั วาบ การปฏบิ ตั ิงาน 2. เปดิ ไฟวับวาบ 2. ป้ายเตือนอันตราย 2. หนงั สอื กมภ.(วภ) เลขท่ี 205/2556 สเี หลอื ง 3. กรวยจราจร ลงวันที่ 15 พ.ค. 2556 เรื่องขอ 3. เปิดไฟหน้ารถ (กลางวนั ) อนมุ ตั ิแบบ มาตรฐานอปุ กรณ์ 4. ใชไ้ ฟสปอตไลท์ แจ้งเตอื น การ ปฏบิ ัติงานบนถนน (กลางคืน) หลวง 5. ตั้งป้ายเตอื นอนั ตราย 6. ตัง้ กรวยจราจรตาม มาตรฐาน 2. ตรวจสอบสภาพหน้า 1. ตรวจหาฟิวส์แรงต่าเฟส 1. เครื่องมือทดสอบฟวิ ส์ งานกอ่ นการปฏิบัตงิ าน ท่ีขาด แรงตา่ ชารดุ หรอื 2. หาสาเหตุฟิวส์แรงตา่ เฟส นวตั กรรมทดสอบฟวิ ส์ ที่ขาด แรงตา่ ชารดุ 3. ถ่ายภาพฟิวส์แรงต่าขาด อปุ กรณ์ต่างๆ สาเหตุ และสถานท่ี กอ่ นการ แกไ้ ข 3. ดาเนินการกิจกรรม 1. สวมใสอ่ ุปกรณ์ PPE ให้ 1. PPE ตามมาตรฐาน คมู่ อื การทากจิ กรรม PSC/KYT ครบถ้วน เช่น หมวก Check List PSC/KYT PSC/KYT นิรภยั ถุงมอื แรงต่า รองเท้านริ ภยั เปน็ ต้น 2. ตรวจสอบจุดเสย่ี ง เน้น ย้าอันตราย กอ่ น ดาเนนิ การ การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค (ธันวาคม 2559)

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟ้าขัดขอ้ ง 45 ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน การควบคมุ อันตราย เครอ่ื งมอื หรือ อุปกรณ์ เอกสารอา้ งองิ ป้องกนั อนั ตราย หรือ 4. การดาเนินการเปลย่ี น อปุ กรณค์ มุ้ ครองความ ฟิวส์แรงต่า ปลอดภยั 1. ดาเนินการแกไ้ ขสาเหตทุ ่ี 1. ถุงมือยางแรงต่าพร้อม 1. หลักเกณฑ์ปฏิบตั ิ ตรวจสอบพบ ถงุ มือหนัง เกยี่ วกับหม้อแปลง 2. ดาเนนิ การแกไ้ ขสาเหตทุ ่ี ไฟฟา้ ปี 2557 ทาให้ฟิวส์แรงตา่ ขาด 2. มาตรฐาน A0 ของ 3. รื้อถอนก้านจบั ฟิวส์ กฟภ. แรงต่าจาก LT Switch โดยใชไ้ มช้ ักฟิวส์ 4. ถอดฟวิ ส์แรงต่าเดมิ ออก พร้อมตรวจสอบ ขนาด ฟวิ สเ์ ดิมวา่ ถูกต้องตาม มาตรฐาน 5. ใสฟ่ วิ ส์แรงต่าขนาด มาตรฐานเขา้ กับกา้ นจบั ฟวิ ส์ 5. สับ LT Switch วงจรท่ี 1. สับจ่ายฟิวสด์ ้วยแรงสบั 1. ไมช้ กั ฟวิ ส์ ดบั ไฟไว้ และจ่าย พอเเหมาะ ไม่แรง โหลดของผูใ้ ชไ้ ฟ จนเกนิ ไป 2. ใชห้ ัวไม้ชักกระแทกก้าน ฟวิ ส์เบาๆ ใหไ้ ด้แนว ระดบั 3. ตรวจสอบหนา้ สัมผสั สนิท ท้งั หมด 6. ตรวจสอบแรงดัน และ 1. Multi meter กระแสไฟฟา้ ทุกเฟส 8. ประสานงานหัวหนา้ 1. ปฏบิ ัติตามขัน้ ตอน การ 1. วทิ ยสุ ือ่ สาร เวร/พนกั งาน E/O ประสานงานการสงั่ การ พร้อมแจง้ รายละเอยี ด จา่ ยไฟ ขอ้ มูลการแก้ไขต่างๆ เช่น ขนาดฟิวส์ เวลา แล้วเสรจ็ และอุปกรณ์ อนื่ ๆ (ถา้ มี) เพอื่ บนั ทึก ข้อมูล การไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค (ธนั วาคม 2559)

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านแกไ้ ฟฟา้ ขัดข้อง 46 2.9 งานต่อกลับมิเตอร์ 2.9.1 ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านมาตรฐาน 2.9.1.1 การเตรยี มงาน เมื่อหัวหนา้ เวร/พนกั งาน E/O ไดร้ ับชาระเงินค่าไฟฟ้า - ค่าต่อกลับ ตามเอกสาร \"ใบรับฝาก เงนิ นอกเวลา กง.119-ร.56\" ใหน้ ามเิ ตอร์มอบให้ ชุดแก้ไฟฟ้าขดั ข้อง ไปดาเนนิ การ (ตามเวลาที่ผใู้ ชไ้ ฟนดั ไว้) 1) จัดการพ้นื ทีป่ ฏิบัตงิ านก่อนการปฏิบัติงาน เช่น พ้นื ทจ่ี อดรถยนต์ การวางกรวย ป้าย ต่างๆ ไฟสญั ญาณ ไฟแสงสว่าง เปน็ ต้น 2) ตรวจสอบสภาพหน้างานก่อนการปฏิบตั ิงาน - ตรวจสอบมเิ ตอร์ที่ชารุดและอุปกรณ์ประกอบด้วยสายตา เชน่ สภาพสายไฟฟ้า เขา้ -ออก มิเตอร์ สภาพฝาครอบขัว้ ตอ่ มิเตอร์ สภาพตราตะก่วั - ตรวจสอบความถูกตอ้ งของสายไฟฟา้ เพื่อทาสญั ลกั ษณ์ (marker) ไว้ - ตรวจสอบข้อมูลทีเ่ กย่ี วข้องกับมเิ ตอร์ท่ีดาเนนิ การ เชน่ PEA No. ของมเิ ตอร์ ถา่ ยภาพมเิ ตอร์ไฟฟา้ อุปกรณต์ า่ งๆ และสถานท่ี กอ่ นการแก้ไข 1) จัดทากจิ กรรมความปลอดภยั PSC/KYT โดยวิเคราะหจ์ ดุ เสย่ี งและเน้นย้าอันตราย - สวมใส่อปุ กรณ์ PPE ให้ครบถ้วน เชน่ หมวกนริ ภยั ถุงมอื แรงตา่ รองเท้านริ ภัย - ตรวจสอบจดุ เสี่ยง เนน้ ย้าอันตรายกอ่ นดาเนินการ ไดแ้ ก่ แรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าร่ัว 4) ติดตอ่ ผใู้ ช้ไฟฟ้า เพ่ือรับทราบการตอ่ กลับมเิ ตอร์ แบ่งเป็น 2 กรณี - กรณผี ูใ้ ชไ้ ฟฟ้าอยูบ่ ้าน ดาเนินการตามขอ้ 5 - กรณีผู้ใช้ไฟฟา้ ไม่อย่บู ้าน ประสานงานผู้ใชไ้ ฟฟา้ ยนื ยนั ให้ กฟภ. ดาเนนิ การตดิ ตั้ง มิเตอร์ และจา่ ยไฟให้ตามเดิม หากไม่ไดร้ บั การยืนยัน ไมใ่ หด้ าเนนิ การตดิ ต้ัง มเิ ตอร์ เพอื่ ป้องกันไม่ให้เกิดความเสยี หายขนึ้ ขณะดาเนินการตดิ ตั้งมิเตอร์ 5) ขอปลดโหลดของมิเตอร์ โดยปลดเมนเบรกเกอร์ภายในของผใู้ ช้ไฟฟ้าทั้งหมด 2.9.1.2 การแก้ไข การดาเนินการร้ือถอนมิเตอรช์ ารดุ ออก กรณีมิเตอร์ 1 เฟส 1) ตัดตราตะก่ัว ของมิเตอร์ 2) ปลดสายไฟฟ้าเขา้ -ออก ของมเิ ตอร์ ทาสญั ลักษณ์ (Marker) ที่ สายไฟทุกเฟส ใหช้ ัดเจน เพอ่ื ป้องกนั ความผิดพลาด ในการตอ่ กลบั มิเตอร์ กรณีมเิ ตอร์ 3 เฟส 1) ประสานงานหวั หน้าเวร/พนกั งาน E/O ขอปลด LT Switch เพ่อื ดับไฟ วงจรทจี่ ะ ปฏบิ ัติงานแก้ไขมิเตอรช์ ารุด 2) ตดั ตราตะกั่ว ของมิเตอร์ 3) ปลดสายไฟฟ้า เขา้ - ออก ของมิเตอร์ ทาสัญลกั ษณ์ (Marker) ทีส่ ายไฟทกุ เฟส ให้ชดั เจน เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการต่อกลับมิเตอร์ การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าค (ธนั วาคม 2559)

คู่มือการปฏิบัตงิ านแกไ้ ฟฟา้ ขัดขอ้ ง 47 การดาเนินการตดิ ต้งั มเิ ตอร์ กรณีมิเตอร์ 1 เฟส 1) ติดตง้ั มิเตอร์ เขา้ กบั จดุ ติดตัง้ เดมิ 2) ตรวจสอบความถูกต้องของสายไฟฟ้าเพ่อื ทาสญั ลักษณ์ (marker) ไว้ 3) ตอ่ สายเขา้ -ออกมเิ ตอร์ ให้ถูกต้องตามท่ีทาสญั ลักษณ์ไว้ (โดยเฉพาะสาย N ให้ ตรวจสอบให้ถกู ต้อง ก่อนการนาสาย N ต่อเข้ากบั มิเตอร์) 4) สับเมนเบรคเกอร์ พร้อมทง้ั ตรวจสอบสภาพการจา่ ยไฟ หลังการแก้ไข กรณีมิเตอร์ 3 เฟส 1) แจ้งผู้ใชไ้ ฟในบริเวณใกล้เคียงให้ทราบถึงการดับไฟ เพ่อื ต่อกลบั มเิ ตอร์ 2) ประสานงานหวั หนา้ เวร/พนกั งาน E/O ขอปลด LT Switch เพอื่ ดบั ไฟ วงจรท่จี ะ ปฏิบตั งิ านตอ่ กลับมเิ ตอร์ 3) ตรวจสอบความถูกตอ้ งของสายไฟฟ้าิท่ทาสัญลกั ษณ์ (marker) ไว้ 4) ตอ่ สายเขา้ -ออกมิเตอร์ ใหถ้ ูกตอ้ งตามที่ทาสญั ลักษณ์ไว้ (โดยเฉพาะสาย N ให้ ตรวจสอบใหถ้ ูกต้อง ก่อนนาสาย N ต่อเข้ากับตัวมเิ ตอร์) 5) ถา่ ยภาพมเิ ตอร์ไฟฟ้า อปุ กรณต์ า่ งๆ และสถานท่ี หลังการแกไ้ ขแลว้ เสรจ็ 6) สับ LT Switch วงจรทด่ี บั ไฟไว้ และจ่ายโหลดของผใู้ ช้ไฟ 7) แจ้งผ้ใู ช้ไฟ ตรวจสอบการจ่ายไฟ ใช้งานไดป้ กติหรอื ไม่ กรณีไม่มมี ิเตอร์สา่ รอง ใหต้ อ่ ตรง โดยตอ่ สายเข้า-ออก มิเตอร์ ใหถ้ กู ต้องตามเฟสที่ทาสัญลักษณ์ไว้ แล้วพนั ปลาย สายดว้ ยเทปแรงตา่ หรือใชอ้ ปุ กรณอ์ นื่ ๆ ที่ กฟภ. อนมุ ัติให้ใชง้ าน เช่น การต่อสายแรงต่าดว้ ย Terminal ตอ่ สาย (นวตั กรรม Direct Box) เป็นตน้ 2.9.1.3 การคืนระบบ 1) ประสานงานหวั หนา้ เวร/พนักงาน E/O พร้อมแจง้ รายละเอยี ดข้อมูลการแก้ไขต่างๆ เชน่ PEA No. ของมเิ ตอรใ์ หม่ เวลาแล้วเสร็จ และอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ เพอื่ บนั ทกึ ขอ้ มลู 2) เคลยี ร์พ้นื ทีป่ ฏบิ ัตงิ าน หลังการปฏบิ ัตงิ านแล้วเสรจ็ เชน่ จัดเก็บกรวย ปา้ ยตา่ งๆ ไฟสัญญาณ ไฟแสงสว่าง เป็นตน้ 2.9.1.4 การรายงานผล หวั หน้าเวร/พนักงาน EO รายงานการต่อกลับของมิเตอร์ตามหนงั สือรายงานมิเตอรต์ อ่ กลับ พรอ้ มเอกสารประกอบและรปู ภาพก่อนและหลังดาเนินการ การไฟฟา้ สว่ นภูมิภาค (ธนั วาคม 2559)