วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั (2105-2003) 409 หน่วยท่ี 7 วงจร R-L-C อนุกรม 7.6.3 สภำวะนำหน้ำ (กรณที ่ี XC XL) ในกรณี ที่ XC XL ทาให้แรงดันไฟฟ้า VC มากกว่าแรงดันไฟฟ้ า VL เน่ืองจาก แรงดันไฟฟ้าท้ังสองค่ามีเฟสตรงกันข้ามจึงเกิดการหักล้างกันหมดไป เหลือผลต่างของ แรงดนั ไฟฟ้า VC ส่วนที่เหลือแสดงค่าออกมา VX เกิดแรงดนั ไฟฟ้าแหล่งจ่าย VT มีเฟสลา้ หลงั กระแสไฟฟ้า IT เป็ นมุม นาค่าสัญญาณไฟฟ้าท้งั หมดไปเขียนในรูปเฟสเซอร์ไดอะแกรมได้ ดงั รูปที่ 7.26 XL 0 90° R 90° ZT X XC XL (ก) เฟสเซอร์ในรูปรีแอกแตนซ์และอิมพีแดนซ์ VL 0 90° IT VR VX 90° VT VC VL (ข) เฟสเซอร์ในรูปแรงดนั ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า รูปท่ี 7.26 เฟสเซอร์ไดอะแกรมวงจร R-L-C อนุกรม ในกรณีท่ีค่า C L ครูอบุ ลรัตน์ มณีมยั แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนิคกระบ่ี
วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั (2105-2003) 410 หน่วยท่ี 7 วงจร R-L-C อนุกรม การคานวณหาค่าต่างๆ ในวงจร R-L-C อนุกรม ในกรณีที่คา่ แรงดนั ไฟฟ้า VC มากกวา่ แรงดนั ไฟฟ้า VL หาคา่ ไดด้ งั น้ี 7.6.3.1 ค่ำแรงดนั ทจี่ ่ำยให้วงจร (VT) จากสูตร VT = VR + j VL j VC เม่ือ VC VL จะได้ VT = VR j (VC VL) กาหนดให้ VX = j (VC VL) จะได้ VT = VR j VX = VT (V) ………….. (7-33) 7.6.3.2 ค่ำอมิ พแี ดนซ์รวมของวงจร (ZT) จากสูตร ZT = R + j XT เมื่อ XC XL จะได้ ZT = R j (XC XL) กาหนดให้ XT = j(XC XL) ZT = R jXT = ZT (Ω) ………….. (7-34) 7.6.3.3 มุมต่ำงเฟสของวงจร () เน่ืองจำก XL XC และ VL VC จากสูตร = tan 1 XC XL R = tan 1 VC VL VR = tan 1 X = tan 1 VX ………….. (7-35) R VR ครูอบุ ลรัตน์ มณีมยั แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนิคกระบี่
วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั (2105-2003) 411 หน่วยที่ 7 วงจร R-L-C อนุกรม 7.6.3.4 กาลงั ไฟฟ้า (P) และค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (PF) ที่เกิดข้ึนของวงจร กาลงั ไฟฟ้าท่ีเกิดข้ึนของวงจร P = VT IT cos (W) ………….. (7-36) Q = VT IT sin (Var) ………….. (7-37) S = VT IT (VA) ………….. (7-38) ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (PF) PF = cos = P ………….. (7-39) S ตัวอย่ำงที่ 7.7 วงจรไฟฟ้า R-L-C อนุกรม ตามรูปที่ 7.27 จงหาค่า (ก) ค่าอิมพีแดนซ์ของวงจร(ZT) (ข) กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร (IT) (ค) แรงดนั ไฟฟ้าที่ตกคร่อม (VR, VL, VC และ VX) (ง) มุมต่างเฟสของวงจร () และค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (PF) (จ) กาลงั ไฟฟ้าจริง (P) กาลงั ไฟฟ้าตา้ นกลบั (Q) และกาลงั ไฟฟ้าที่ปรากฏ (S) (ฉ) เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมในรูปความตา้ นทาน และอิมพแี ดนซ์ เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมในรูปแรงดนั ไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า IT R VR 50 W VL VT = 110 0°V XL VC 100 Hz 100 W XC 50 W รูปที่ 7.27 วงจร R-L-C อนุกรม ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ครูอบุ ลรัตน์ มณีมยั แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนิคกระบ่ี
วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั (2105-2003) 412 หน่วยท่ี 7 วงจร R-L-C อนุกรม วธิ ีทำ (ก) ค่าอิมพีแดนซ์ของวงจร (ZT) เมื่อ X = j (XC XL) แทนค่า X = j (150 100) X = j 50 = 50 90 Ω จากสูตร ZT = R j XT แทนค่า ZT = 50 j50 Ω เปล่ียนใหอ้ ยใู่ นรูปแบบเชิงข้วั จากสูตร ZT = X R2 X2 tan1 R แทนคา่ ZT = 502 502 tan 1 50 50 ZT = 70.71 45 Ω ตอบ ค่าอิมพีแดนซ์ของวงจร (ZT) เทา่ กบั 70.71 45 โอห์ม (ข) กระแสไฟฟ้าท่ีไหลในวงจร(IT) เมื่อ VT = 110 0 V VT จากสูตร IT = Z แทนคา่ IT = 110 0 V = 1.56 45 A 70.71 45 W ตอบ กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร (IT) เท่ากบั 1.56 45 แอมแปร์ (ค) แรงดนั ไฟฟ้าท่ีตกคร่อม (VT ,VR, VL และ VC) เมื่อ VT = 110 0 V จากสูตร VR = ITR แทนค่า VR = (1.56 45 A) ( 50 0 Ω) VR = 78 45 V จากสูตร VL = ITXL แทนคา่ VL = (1.56 45 A) (100 90 Ω) VL = 156 135 V ครูอบุ ลรัตน์ มณีมยั แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนิคกระบี่
วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั (2105-2003) 413 หน่วยท่ี 7 วงจร R-L-C อนุกรม จากสูตร VC = ITXC แทนคา่ VC = (1.56 45 A) (150 90 Ω) VC = 234 45 V จากสูตร VX = ITXT แทนคา่ VX = (1.56 45 A) (50 90 Ω) VX = 78 45 V ตอบ แรงดนั ไฟฟ้าท่ีตกคร่อม (VR) เทา่ กบั 78 45 โวลต์ แรงดนั ไฟฟ้าท่ีตกคร่อม (VL) เท่ากบั 156 135 โวลต์ แรงดนั ไฟฟ้าท่ีตกคร่อม (VC) เท่ากบั 234 45 โวลต์ แรงดนั ไฟฟ้าท่ีตกคร่อม (VX) เท่ากบั 78 45 โวลต์ (ง) มุมตา่ งเฟสของวงจร () และคา่ เพาเวอร์แฟกเตอร์ (PF) จากสูตร = tan 1 VC VL แทนคา่ VR 234 156 = tan1 78 = 45 จากสูตร PF = cos = cos 45 = 0.70 นาหนา้ R หรือ PF = ZT = 50 = 0.70 นาหนา้ 70.71 VR 78 PF = VT = 110 = 0.70 นาหนา้ ตอบ มุมตา่ งเฟสของวงจร () เท่ากบั 45 ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (PF) เทา่ กบั 0.70 นาหนา้ (จ) กาลงั ไฟฟ้าจริง (P) กาลงั ไฟฟ้าตา้ นกลบั (Q) และกาลงั ไฟฟ้าท่ีปรากฏ (S) กาลงั ไฟฟ้าจริง (P) จากสูตร P = VT IT cos แทนคา่ P = (110 V) (1.56 A) cos 45 = 121.33 W ครูอบุ ลรัตน์ มณีมยั แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนิคกระบี่
วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั (2105-2003) 414 หน่วยท่ี 7 วงจร R-L-C อนุกรม กาลงั ไฟฟ้าตา้ นกลบั (Q) จากสูตร Q = VT IT sin แทนคา่ Q = (110 V) (1.56 A) sin 45 = -121.33 Var กาลงั ไฟฟ้าท่ีปรากฏ (S) จากสูตร S = VT IT = 171.6 VA แทนคา่ S = (110 V) (1.56 A) ตอบ กาลงั ไฟฟ้าจริง (P) เท่ากบั 121.33 วตั ต์ กาลงั ไฟฟ้าตา้ นกลบั (Q) เทา่ กบั -121.33 วาร์ กาลงั ไฟฟ้าที่ปรากฏ (S) เทา่ กบั 171.6 โวลต์ – แอมแปร์ (ฉ) เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมในรูปความตา้ นทาน และอิมพแี ดนซ์ XL= 100 90°W 0 90° 45° R= 50 0°W 90° ZT = 70.71 -45°W X = 50 -90°W XC= 150 -90°W (ก) เฟสเซอร์ในรูปความตา้ นทาน และอิมพแี ดนซ์ ครูอบุ ลรัตน์ มณีมยั แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนิคกระบ่ี
วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั (2105-2003) 415 หน่วยท่ี 7 วงจร R-L-C อนุกรม เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมในรูปแรงดนั ไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า VL = 156 135°V VR = 78 45°V 135° 45° IT = 1.56 4V5°TA= 110 0°V 45° VX = 78 -45°V VC = 234 -45°V (ข) เฟสเซอร์ในรูปแรงดนั ไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า ตอบ รูปที่ 7.28 เฟสเซอร์ไดอะแกรมวงจร R-L-C อนุกรม ครูอบุ ลรัตน์ มณีมยั แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนิคกระบ่ี
Search