ประวตั ิ อาเภอสัตหบี
ประวตั ิความเปน็ มาอาเภอสตั หบี สมยั รัชกาลท่ี 5 และรัชกาลที่ 6 สัตหีบเป็นเพยี งหมบู่ า้ นชายทะเล ชาวบ้านประกอบอาชพี ทา้ ไรท่ า้ นา หาของป่า และประมง การคมนาคมจะใชท้ างน้าโดยเรอื เมลห์ รือเรือใบ ส่วน ทางบกมีแตท่ างเกวยี น ถนนไปชลบรุ ยี งั ไมม่ ี ภมู ิประเทศส่วนใหญย่ งั เป็นปา่ รกทึบ การเดินทางระหว่างเมืองจึงใชเ้ รอื เปน็ หลกั ในหมบู่ า้ นสัตหีบ มีผู้ที่ชาวบ้านนับหน้าถือตามากอยู่ คนหน่ึง ชาวบา้ นเรยี กว่า \"ยายแจง\" แกมีฐานะดี มีทด่ี นิ เรือกสวนไร่นามากมาย ตลาดสัตหีบหนองตะเคยี นและโรงเรียนสิงหส์ มุทรรวมถงึ บริเวณเขาแหลมเทียนอนั เปน็ ทต่ี งั้ ของฐาน ทพั เรอื สตั หีบในปัจจบุ นั ก็เคยเปน็ ของแก ต่อมาเมือ่ กรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศกั ดท์ิ รงฝึกภาคทะเลกับกองเรือและทรงพกั ท่ีอา่ วสตั หีบ ทรงเห็นว่าอ่าวสตั หบี เหมาะเป็นท่ีตั้งหนว่ ยเรือ เพราะมเี กาะใหญ่น้อยช่วยก้าบังคลนื่ ลม พระองค์จงึ ได้บอกถึงพระประสงค์ทีจ่ ะใช้บรเิ วณเขาแหลมเทยี นเป็นทตี่ ั้งหนว่ ยทหารเรอื ยายแจงก็ยินดที จ่ี ะถวายให้ มีเร่อื งเล่ากันว่า ตา กัน เป็นผูม้ าตงั้ รกรากทีส่ ัตหีบเปน็ คนแรก และบริเวณชายทะเลตะวันออกแถวๆสัตหีบมโี จรสลดั ชุกชุมมากเปน็ พวกทค่ี อยปลน้ สดมภ์เรือต่างๆมากมายตากันเป็นผู้มีความสามารถ และมวี ชิ าอาคม ไม่กลัวโจรสลัดได้มาต้ังรกรากอยู่ท่ี อ่าวไก่เตีย้ ตอ่ มาเสดจ็ ในกรมหลวงชมุ พร เขตอุดมศักดิ์ เร่ิมปรับปรุงสัตหีบเป็นฐานทัพเรือได้ทรงคุ้นเคยกับตากันและท่านยัง ไดร้ บั ของขลังจากตากันหลายอย่าง ตอ่ มาทางทหารเรือต้องการอ่าวตากันท้งั หมดตากนั จึงย้ายมาอยบู่ รเิ วณหลงั ตลาดสตั หีบ ท่มี า : https://goo.gl/kvPU1J
ทีม่ าของชื่อสตั หีบ ส้าหรับที่มาของชื่อ สัตหีบ น้ัน มีหลายคนให้ความคิดเห็นว่า \"สัตต\" แปลว่า เจ็ด ในขณะที่ \"หีบ\" หมายถึง หีบ ฉะนั้น ค้าว่า \"สัตหีบ\" ก็น่าจะแปลว่า \"หีบเจ็ดใบ\" ซึ่งสอดคล้องกับต้านาน ประวัติเจ้าแม่แหลมเทียน ท่ีได้น้าพระราชาลงในหีบเจ็ดใบเพ่ือ หลบหนียักษ์ ส่วนอีกหลักฐานหนึ่งมาจากกองประวัติศาสตร์ทหารเรือ โดยระบุว่า เม่ือ พ.ศ. 2464 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ได้เสด็จตรวจเยี่ยมหัวเมืองชายทะเล เพ่ือ จะสร้างแนวป้องกันชายฝ่ังทะเลด้านนอกเพิ่ม เพราะป้อมพระ จุลจอมเกล้าท่ีปากน้าสมุทรปราการ ใกล้เมืองหลวงมากเกินไป ทรงด้าริหัวเมืองชายทะเลฝั่งตะวันออกเป็นท่ีตั้งกองทัพเรือ เพ่ือ ตรวจตรารักษาฝั่งและเขตน่านน้าใหญ่ จึงพระราชทานนามว่า \"สัตตหีบ\" เน่อื งจากพระองคท์ รงเหน็ เกาะ 7 เกาะ เป็นท่ีก้าบังลม ให้แก่หมเู่ รือได้ดี คา้ ว่า \"สัตหีบ\" หมายถึง ที่ก้าบังเจ็ดแห่ง (หีบ = ท่ีบัง) อันหมายถึงเกาะต่าง ๆ กล่าวคือ เกาะพระ เกาะยอ เกาะ หมู เกาะเตาหมอ้ เกาะเณร เกาะสนั ฉลาม และเกาะเลา ท่มี า : https://goo.gl/ZSwnPB
อ้าเภอสัตหีบมพี นื้ ที่ 348.122 ตร.กม. ขอ้ มูลท่วั ไปของอาเภอสตั หบี รหสั ทางภูมศิ าสตร์ 2009 รหสั ไปรษณีย์ 20180, 20250 ท่ีมา : https://goo.gl/kvPU1J (เฉพาะตา้ บลนาจอมเทียนและบางเสร่), 20251 (เฉพาะภายในบริเวณศูนยฝ์ ึกทหารใหมแ่ ละ โรงเรียนชมุ พลทหารเรือ), 20182 (เฉพาะภายในฐาน ทพั เรอื สัตหบี ) ทวี่ า่ การอา้ เภอสัตหีบ ต้ังอยถู่ นนเลยี บชายทะเล, ต้าบลสตั หบี อา้ เภอสัตหบี จงั หวดั ชลบุรี, 20180 พิกัด 12°39′47″N 100°54′20″E หมายเลขโทรศัพท์ 0 3843 7508, 0 3843 7946 หมายเลขโทรสาร 0 3843 7508, 0 3843 7946 สภาพภมู อิ ากาศโดยทวั่ ไป มี 3 ฤดูฤดหู นาวต้ังแต่ เดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ ฤดรู อ้ นต้งั แต่ เดือนมนี าคม - มถิ นุ ายน ฤดูฝน ตั้งแต่ เดือน กรกฎาคม - ตุลาคม
ท่ตี ั้งและอาณาเขต ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับอา้ เภอบางละมุง ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั อา้ เภอบา้ นฉาง (จังหวัดระยอง) ทศิ ใต้ จรดอา่ วไทย ทศิ ตะวันตก จรดอ่าวไทย การปกครองสว่ นภูมิภาค อา้ เภอสัตหบี แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 5 ต้าบล 41 หมูบ่ า้ น ไดแ้ ก่ 1. ตา้ บลสัตหีบ (Sattahip) 2. ต้าบลนาจอมเทียน (Na Chom Thian) 3. ต้าบลพลตู าหลวง (Phlu Ta Luang) 4. ต้าบลบางเสร่ (Bang Sare) 5. ต้าบลแสมสาร (Samaesan) ที่มา : https://goo.gl/kvPU1J
อนุรกั ษเ์ ต่าทะเล เสน่ห์ธรรมชาติ อภวิ าทหลวงพอ่ อ๋ี เขาชีจรรย์พระใหญ่ ไหว้กรมหลวงชมุ พร ถิ่นขจรราชนาวี
แผนทีท่ ่องเทย่ี วอาเภอสตั หีบ การเดินทาง ใชเ้ ส้นทางถนนสายบางนา-ตราด เป็นทางหลวงหมายเลข 34 ขับรถผ่านจังหวดั ชลบุรี ผ่านอา้ เภอศรรี าชา ผ่านเมอื งพัทยาโดยใชเ้ ส้นทาง ถนนสุขมุ วิทเปน็ หลกั จนถงึ อ้าเภอสัตหบี หรือใชเ้ สน้ ทางถนนเล่ียงเมืองไป ใช้ถนนวงแหวนรอบนอก เพื่อหลกี เลยี่ งการจราจรที่ตดิ ขัด ที่มา :https://goo.gl/ZSwnPB
ทีป่ รกึ ษา นางสุรสั วดี เล้ียงสุพงศ์ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอสัตหบี ขอ้ มูล คณะครูกศน.อาเภอสตั หบี ผู้จดั ทา นางสาวศริ ทิ รพั ย์ กิตติภญิ โญวฒั น์ บรรณารกั ษ์ นางสาวพรทพิ ย์ พลอยประไพ บรรณารักษ์ (อัตราจา้ ง)
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: