Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผักเชียงดา ราชินีผักล้านนา

ผักเชียงดา ราชินีผักล้านนา

Description: ผักเชียงดา ราชินีผักล้านนา

Search

Read the Text Version

ผกั เชียงดา ราชินผี กั ลา้ นนา

เชียงดา ผักพ้ืนบ้าน มากสรรพคุณ

คำ� น�ำ ผักเชียงดา เป็นผักพื้นบ้านท่ีคนไทยในภาคเหนือตอนบน แถบจังหวัด เชยี งใหม่ เชยี งราย ลำ� ปาง พะเยา แพร่ นา่ น และแม่ฮอ่ งสอน นิยมรับประทาน และ มีสรรพคุณทางการแพทย์มากมาย อาทิ มีผลต่อโรคเบาหวานและลดระดับน�้ำตาล ในลำ� ใส้ ชว่ ยลดความดนั โลหติ ขอ้ อกั เสบรมู าตอยด์ เกาต์ และมฤี ทธย์ิ บั ยงั้ การดดู ซมึ อีกทง้ั ยงั เปน็ ผกั ท่ีมศี กั ยภาพในการผลติ เชิงอตุ สาหกรรม ดว้ ยวา่ เป็นผักทีส่ ามารถน�ำ มาใช้ไดท้ กุ สว่ น จึงท�ำใหผ้ กั เชียงดาเรม่ิ เปน็ ท่สี นใจของผูค้ นมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มาของการรวบรวมและเรียบเรียงข้อมูลหนังสือองค์ ความรู้ เรอ่ื ง “ผกั เชยี งดา ราชนิ ผี กั ลา้ นนา” เลม่ น้ี เพอื่ ถา่ ยทอดความรู้ จากการดำ� เนนิ งานศกึ ษา และงานวจิ ยั ทผี่ า่ นมาของคณะผเู้ ขยี น ทไี่ ดเ้ รมิ่ ดำ� เนนิ การตงั้ แตป่ ี พ.ศ.2551 มาสรุปให้อยู่ในรูปแบบหนังสือองค์ความรู้ เพ่ือเป็นการส่งเสริมให้เกิดการสร้าง องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และเกิดการถ่ายทอด องค์ความรู้เหลา่ น้ี สู่ภาคประชาชน ให้ผู้ทกี่ �ำลงั ศกึ ษาหรอื ผ้ทู สี่ นใจสามารถน�ำความ รูท้ ีไ่ ด้รับจากการอา่ นหนังสอื เล่มน้ี ไปใช้ประโยชน์ เพ่อื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการพัฒนา ชมุ ชน สงั คม ประเทศให้เกดิ ความยัง่ ยนื ตอ่ ไป คณะผจู้ ัดทำ�

07 บทนำ� 08 ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั เชยี งดา ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 10 ผลการรับประทาน ผักเชียงดาต่อสุขภาพ

สารบัญ 15 การปลูกผกั เชยี งดา 25 การใส่ปุ๋ย 26 องคค์ วามรกู้ ารแปรรปู ผกั เชยี งดา

ผักเชยี งดา Gymnema 6 inodorum (Lour.) Decne. ผกั เชยี งดา ราชินผี ักล้านนา

บทน�ำ ผกั เชียงดา Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (เตม็ , 2544) หรอื เซยี งดา (สำ� นักงานคณะ 7 กรรมการสาธารณสขุ มลู ฐาน, 2540) เปน็ ผกั พน้ื บา้ นภาคเหนอื ทมี่ ผี ลตอ่ การรกั ษาโรคเบาหวาน รมู าตอยด์ และเก๊าท์ (Shimizu et al., 2001) มสี ารซาโปนิน (saponin) ท่ีมฤี ทธ์ิยบั ยงั้ การดดู ซมึ และลดระดบั น�ำ้ ตาลใน ล�ำไส้ (ประไพภทั ร, 2552) สารสกัดจากใบช่วยท�ำใหน้ ักกีฬาเกดิ การพฒั นากล้ามเนอ้ื มากข้ึน (Preuss et al., 2004) มกี ารวิจัยแสดงวา่ พชื ชนดิ นเี้ ปน็ สมุนไพรทม่ี ีสรรพคณุ ลดน�้ำตาลในเลอื ด และมีศกั ยภาพในการ พฒั นาเปน็ ยารกั ษาโรคเบาหวาน(สำ� นกั งานคณะกรรมการสาธารณสขุ มลู ฐาน,2540) อกี ทง้ั เปน็ ผกั ประจำ� ถิ่นท่ีมีศักยภาพท่ีสามารถผลิตในระดับฟาร์มได้ เป็นพืชท่ีบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของภาคเหนือ ผักเชียงดา เป็นผกั พ้นื บา้ นทีค่ นไทยภาคเหนอื นิยมรบั ประทาน พบมากทางภาคเหนอื เช่น บรเิ วณจังหวดั เชยี งใหม่ เชยี งราย ลำ� ปาง พะเยา แพร่ นา่ น และแม่ฮ่องสอน ในตำ� รายาไทย ใช้ใบผกั เชียงดาต�ำละเอยี ดพอก กระหมอ่ มเพอ่ื รกั ษาไข้ อาการหวดั หรอื นำ� ไปประกอบในตำ� รายาแกไ้ ข้ ปจั จบุ นั บรษิ ทั ยาของประเทศญป่ี นุ่ ไดผ้ ลติ พชื ชนดิ นเี้ ปน็ ชาชงสมนุ ไพร เพอ่ื ลดนำ�้ ตาลในเลอื ด มงี านวจิ ยั หลากหลาย ทพี่ บวา่ สารออกฤทธใ์ิ น ผกั เชียงดา ช่วยบำ� รุงสายตา ควบคุมการทำ� งานของร่างกายใหเ้ ป็นปกติ และเป็นสารตา้ นอนุมูลอสิ ระท่ี เป็นต้นเหตุท�ำใหเ้ กดิ โรคมะเร็งตบั มะเรง็ ในกระเพาะอาหาร โรคเสน้ เลือดหวั ใจอุดตนั โรคตอ้ กระจกใน ผสู้ ูงอายปุ อ้ งกันการแตกของเม็ดเลอื ดแดง และการเสยี หายของ DNA ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ข้ออกั เสบ รมู าตอยด์ และเกา๊ ท์ (Shimizu et al., 2001) มสี ารซาโปนิน (saponin) ที่มีฤทธ์ยิ ับยั้งการดูดซมึ และลดระดับ น้ำ� ตาลในลำ� ไส้ (ประไพภทั ร, 2552) ผผู้ ลติ อาหารเสรมิ ในญ่ปี ุ่นไดร้ ะบถุ งึ สรรพคณุ ใบชาเชียงดา (roasted tea) ว่าสามารถยับยั้งการดูดซึมกลูโคส และสารสกัดจากใบช่วยท�ำให้นักกีฬาเกิดการพัฒนากล้ามเนื้อ มากข้ึน (Preuss et al., 2004) ผกั เชียงดาใชป้ ระโยชน์ได้หลายอยา่ ง เชน่ เปลือกแก้บิด ทอ้ งร่วง แก้ลม อาการชัก รากรสขมเลก็ น้อยชว่ ยขบั ปัสสาวะ แก้ไข้ หมอพื้นบา้ นลา้ นนา ใชท้ ง้ั ต้นเป็นยาชว่ ยลดความดนั โลหติ สงู และเขา้ ยาแกเ้ วยี นศรี ษะใช้ใบตำ� ละเอียดแล้วนำ� มาพอกกระหม่อมรักษาไข้ อาการหวัด หรอื น�ำ ไปประกอบในต�ำรายาแกไ้ ข้ ผักเชียงดาเปน็ ผักทีม่ ีศกั ยภาพในการผลติ และผลผลิตสามารถใช้ประโยชน์ ไดท้ กุ ส่วน เช่น บริโภคสดโดยการประกอบอาหาร ท�ำชาชง นำ้� สกดั เขม้ ขน้ น�้ำสกัดพรอ้ มดืม่ ผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร (ธีรวลั ยแ์ ละคณะ, 2553; ธรี วัลย์และคณะ, 2552) ผกั เชยี งดา ราชนิ ผี ักลา้ นนา

ความรเู้ บื้องต้น เกี่ยวกบั เชียงดา ลกั ษณะทาง พฤกษศาสตร์ ผักเชียงดา หรือ เซียงดา มีชื่อ วิทยาศาสตร์ Gymnema inodorums (Lour.) Decne.จัดอยู่ในวงศ์ ASCLEPIADACEAE มีลักษณะ ทางพฤกษศาสตรท์ สี่ �ำคัญและไดแ้ สดงไวใ้ นภาพที่ 1 ดังน้ี 1. ล�ำต้น ผักเชียงดาเป็นต้นไม้เน้ืออ่อน (herbaceous stem) ล�ำต้นอ่อนมีสีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีน้�ำตาลอ่อน 8 เม่อื ต้นมีอายุมากกว่า 1 ปี หลังจากย้ายปลูก ลักษณะ เปลือกไม้ไม่เรียบ มีการเจริญตามด้านกว้างเล็กน้อย ส่วนของล�ำต้นเจริญข้ึนมาเหนือดิน มีล�ำต้นพันเสา หรือต้นยดึ เกาะ (climbing stem หรือ climber) มลี �ำต้น เลอ้ื ยไต่ขน้ึ ทีส่ ูง โดยใช้ล�ำตน้ พนั รอบส่งิ ทอ่ี ยูใ่ กล้ ๆ แต่ในปัจจุบันหากมีการตัดแต่งความสูงของต้น ประมาณ 40 – 50 เซนตเิ มตร ล�ำตน้ กย็ นื ต้น เป็นพุ่มได้ มีการแตกก่ิงหลายก่ิงแยกออกมา จากตน้ ท�ำให้เปน็ พุ่ม ผักเชยี งดา ราชินีผักล้านนา

3. ดอก เปน็ ดอกสมบรู ณเ์ พศ มที งั้ เกสรตวั ผแู้ ละตวั เมยี อยบู่ น ดอกเดยี วกนั ออกดอกตามซอกใบ ดอกมขี นาดเล็กสีขาวนวลหรอื สีครมี กลิน่ หอมเล็กน้อย มีกลีบดอก 5 กลบี มีกา้ นดอก ออกดอก เป็นช่อต้งั แต่ 19-40 ดอก โดยเรมิ่ ออกดอกตัง้ แตเ่ ดอื นมกราคมถงึ กุมภาพันธ์ และเรมิ่ บานในเดือนเมษายน 2. ใบ ผักเชียงดาเป็นใบประกอบ (compound 4. ผล ลักษณะเป็นฝกั มีรปู 9 leaf) แบบขนนก ปลายใบมีการเรยี งใบแบบตรงข้าม ทรงต่างกันต้ังแต่ส้ันป้อมคล้ายรูป (opposite) การเรียงเส้นใบแบบร่างแหคล้ายขนนก หัวใจจนถึงยาวเรียวปลายแหลม (pinnately netted venation) สีเขียวเข้ม หนา้ ใบเขยี วเขม้ ขนาดยาว 7 – 12 เซนตเิ มตร เสน้ มากกวา่ หลังใบ ขอบใบเรียบหรอื มีคลน่ื เล็กนอ้ ย กา้ นใบยาว ผา่ ศนู ยก์ ลาง 0.7 - 1.7 เซนตเิ มตร 3.5 - 6 เซนตเิ มตร ใบกวา้ ง 9 - 11 เซนตเิ มตร ยาว 14.5 ตดิ ผลเดอื นพฤษภาคม ฝกั เมอื่ แกม่ ี - 18.5 เซนติเมตร ผวิ ใบเรยี บ ไมม่ ีขน สีน�้ำตาลเข้ม และแตกออกใหเ้ มล็ด ที่มีขนสีขาวเป็นพู ลอยปลวิ ไปตาม รูปร่างใบ (leaf shape) มีรูปรา่ งใบเปน็ รปู ไข่ (ovate) ลมแพรพ่ ันธต์ุ ่อไป โดยแผน่ ใบรปู คลา้ ยไข่ มสี ว่ นกวา้ งทส่ี ดุ ของแผน่ ใบคอ่ น มาทางฐานใบแล้วคอ่ ย ๆ เรียวไปทางปลายใบ หรือมี รปู รา่ งใบเป็นรูปรี(eliptic) แผน่ ใบมคี วามกวา้ งมากทสี่ ดุ ตรงกลางแผน่ แล้วค่อยๆเรยี วไปทางปลายและฐานใบ รูปร่างปลายใบ (leaf apex) ผกั เชยี งดาทกุ สายต้นมี รปู รา่ งปลายใบเปน็ แบบเรยี วแหลม(acuminate) ปลายใบสอบเขา้ หา กันแลว้ ยื่นยาวออกไปเล็กนอ้ ย ขอบใบ (leaf margin) ผักเชียงดาทุกสายต้นมีขอบใบเรียบ (entire) ขอบใบเรยี บเปน็ เส้นเดยี วกันตลอด รปู ร่างฐานใบ (Leaf Base) ผกั เชียงดาทกุ สายต้นมรี ูปร่างฐานใบ เปน็ แบบรปู ปา้ น,มน (obtuse) ฐานใบโค้งแคบ ภาพท่ี 1 ภาพแสดงลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ผกั เชยี งดา ราชนิ ีผกั ลา้ นนา

ผลการรับประทาน ผักเชยี งดาตอ่ สุขภาพ 1. แก้ไข้ และอาการหวัด ในประเทศไทยมกี ารใชใ้ บผกั เชยี งดาเปน็ สว่ นผสมในตำ� รายาแก้ไข้ ในสมัยโบราณ โดยนำ� มาตำ� ใหล้ ะเอียดแล้วน�ำมา พอกกระหม่อม เพ่ือรักษาไข้ อาการหวัด 2. รกั ษาโรครูมาตอยด์และเก๊าท์ จากรายงานของ Shimizu et al. (1997) พบว่า ในประเทศอินเดีย มีการศึกษาถึงผลต่อสุขภาพของพืชสกุล (genus) เดียวกันกับผักเชียงดา แต่ต่างชนิดกัน (species) คือ Gymnema sylvestre พบว่า ช่วยรักษาโรครูมาตอยด์และโรคเก๊าทไ์ ด้ 10 3. รกั ษาโรคเบาหวาน มีผลการศกึ ษาและรายงานหลายชิน้ ทกี่ ลา่ ว ถึงคุณสมบัติของผักเชียงดาและสารสกัดท่ีมีผลต่อการลดระดับน�้ำตาลใน เลอื ด เช่น Shanmugasundaram et al., (1981, 1983, 1990) รายงานวา่ ใบผัก เชยี งดาและสารสกดั จากผักเชยี งดา (Gymnema sylvestre) มสี ารท่มี ีฤทธิท์ าง เภสัชวิทยา ได้แก่ กรดจิมเนมคิ (Gymnemic acid) ชว่ ยลดระดับน�ำ้ ตาลในตับ ไต และเซลล์กล้ามเนอ้ื ของสัตว์ท่ีเป็นโรคเบาหวานได้ Shimizu et al. (2001) รายงานว่าสาร triterpenoid saponin ในผกั เชยี งดามฤี ทธ์ิยบั ยัง้ การดูดซมึ และ ลดระดับของนำ้� ตาลในลำ� ไส้ (isolated intestinal tract) และระงับการเพม่ิ ขึ้น ของนำ�้ ตาลในเลอื ดหนู นกั วทิ ยาศาสตร์จากประเทศญ่ีปนุ่ พบว่า ผกั เชยี งดา ที่ปลูกในจงั หวัดเชียงใหม่ มีคุณสมบัติในยับยงั้ การดูดซึมน้�ำตาลในเลอื ด จงึ ให้ความสนใจผักเชียงดาของไทย และมีการน�ำเข้าใบและยอดอ่อนของผัก เชยี งดาจากประเทศไทยไปผลิตเป็นชาชงสมนุ ไพร (herbal tea) เพอ่ื ลดระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ด (ประไพภัทร, 2550) และขนึ้ ทะเบียนสทิ ธบิ ัตรในช่ือ Gymnema inodorum roasted tea and method for preparing the same (Atsuchi et al., 1998) นอกจากนี้ นกั วทิ ยาศาสตรข์ องประเทศญป่ี นุ่ ไดต้ พี มิ พผ์ ลงานวเิ คราะห์ สารบรสิ ทุ ธิ์(purecompound) ทเ่ี ปน็ ตวั ออกฤทธใ์ิ นการลดนำ้� ตาลจากใบของผกั ผกั เชยี งดา ราชนิ ีผกั ล้านนา

เชยี งดาโดยใชว้ ธิ เี ทยี บเคยี ง สตู รโครงสรา้ งของสารออกฤทธติ์ ามธรรมชาตดิ ว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ ดว้ ย 11 เทคนิคท่ีเรียกว่า Structure-activity relationship (SAR) และได้ออกแบบสูตรโครงสรา้ งของสารส�ำคญั 4 ตัว (GIA-1, GiA-2, GIA-5, และ GIA-7) ซงึ่ พิสจู นฤ์ ทธ์ิในหนทู ดลองแล้วว่าสามารถลดระดับนำ้� ตาลได้ จึงท�ำการสังเคราะห์สารส�ำคัญดังกล่าวข้ึนมา วิธีการน้ีได้สารออกฤทธ์ิท่ีแม่นย�ำและมีปริมาณสูง ช่วยลดปรมิ าณความตอ้ งการใชส้ ารออกฤทธิ์ตามธรรมชาตจิ ากใบของผกั เชียงดาอย่างมาก (Shimizu et al., 2001) Daisy et al. (2009) สามารถสกัดสารอนุมลู ของกรดจิมเนมิค ไดแ้ ก่ dihydroxy gymnemic triacetate จากผกั เชยี งดา Gymnema sylvestre มฤี ทธิ์ลดไขมนั ในเลอื ดของหนทู ถี่ ูกเหนย่ี วนำ� ใหเ้ ปน็ โรคเบาหวานโดยการฉดี สาร streptozotocin ได้ บางรายสามารถเลกิ ใชย้ าแผนปจั จุบันโดยใช้แตผ่ ัก เชยี งดาอยา่ งเดยี วสำ� หรบั การคมุ ระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ดของคนเปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี2 แตก่ ารรบั รสความ หวานของผู้ปว่ ยอาจจะลดลง (Baskaran et al., 1990) มคี �ำแนะน�ำให้บริโภคสารสกัดผกั เชียงดาไม่เกิน 400 – 600 มลิ ลิกรัมตอ่ วนั (Mozersky, 1999) ซึ่งสอดคลอ้ งกับผลงานวจิ ัยของ Yadav et al. (2010) ที่พบว่า สารสกัดด้วยเอทานอลจากผักเชียงดา Gymnema sylvestre ช่วยลดระดับน้�ำตาลในเลือด (hypoglycemic and antihyperglycemic activity) ของหนูที่ปว่ ยเปน็ โรคเบาหวาน และสามารถลดการ ใชย้ ารกั ษาเบาหวานแผนปจั จุบนั ได้ เช่น ไกลเบนคลาไมด์ (glibenclamide) นอกจากนยี้ งั มรี ายงานวา่ การบริโภคชาใบเชยี งดา Gymnema inodorum มปี ระสิทธภิ าพสูงสูดในการลด peak plasma glucose ใน คน เมอื่ บรโิ ภคระหวา่ งอาหารหรือหลงั อาหาร 15 นาที (Chiabchalard et al., 2010) Wang et al. (1998) ได้รายงานว่า กรดจิเนมิค (Gymnemic acid) ซ่ึงเป็นสารสกัดผสมในรูปของ triterpene glycosides จาก ใบผักเชียงดา Gymnema sylvestre สามารถยับย้ังการดูดซึมกลูโคสในเลือดของคนและหนูทดลองท่ี ป่วยดว้ ยโรคอ้วนได้ รวมทงั้ ยับยงั้ การดูดซึมกรดโอเลอิค (oleic acid) ในลำ� ไส้ของหนูทดลองได้ นัก วทิ ยาศาสตรไ์ ดร้ ายงานถึงผลของผักเชยี งดาในหนดู ว้ ยการใหส้ ารพษิ ที่ทำ� ลายบตี าเซลล์ ( -cel lines) ในตับอ่อนของหนู พบว่าหนูท่ีได้รับผักเชียงดา Gymnema sylvestre (ทั้งในรูปของผงแห้งและสาร สกดั ) มรี ะดบั น�ำ้ ตาลในเลอื ดกลบั มาเป็นปกติภายใน 20-60 วัน ระดับอินซูลินกลบั มาเป็นปกติ และ จ�ำนวนของบตี าเซลล์เพม่ิ ขึน้ (Persaud et al., 1999) ซง่ึ สอดคล้องกับ Kang et al., 2012 ท่พี บว่า สาร สกัดจากผักเชียงดามีฤทธ์ิลดน้�ำตาลในเลือดและเพ่ิมปริมาณอินซูลินในหนู นอกจากนี้ ยังมีรายงาน อีกว่าสารสกัดผักเชียงดามีฤทธ์ิลดน�้ำตาลในเลือดสูงกว่ายาแผนปัจจุบันที่ใช้รักษาเบาหวานที่มีชื่อว่า ไกลเบนคลาไมด์ (glibenclamide) โดยไมท่ �ำใหเ้ กดิ ความเป็นพิษตอ่ สัตวท์ ดลอง (Shanmugasundaram et al., 1981, 1983, 1990;) ผกั เชยี งดา ราชินีผกั ล้านนา

4. ช่วยเพิ่มสารต้านอนมุ ลู อสิ ระในร่างกาย จากการศกึ ษาของ ธีรวลั ย์ และปทั มา (2552) และ Thanyaluk, et al. (2005) พบวา่ ผกั เชียงดามี ปริมาณสารประกอบฟนี อลิก และปฏกิ ิริยาการตา้ นอนมุ ลู อิสระสงู นอกจาก นี้ ยงั มีการศกึ ษาท่ีพบว่าผักเชียงดาประกอบด้วยสารต้านอนมุ ลู อสิ ระ ได้แก่ สารประกอบฟีนอลิก (phenoilc compounds) คาโรทีนอยด์ (carotenoids) คลอโรฟิลล์ (chlorophyl) และวติ ามนิ อี (Vitamin E) ทมี่ ฤี ทธก์ิ ารตา้ นอนุมูล อสิ ระ (antioxidant activity) อยสู่ ูง (ธัญชนก, 2550; ธรี วลั ย์ และปัทมา, 2552; Chanwitheesuk et al., 2005; Tangkanakul et al., 2005) โดยมฤี ทธ์ิการต้าน อนุมูลอสิ ระหรือคา่ IC50 (คา่ ความเข้มข้นของสารสกดั จากตวั อยา่ งทส่ี ามารถ ก�ำจัดอนมุ ลู อิสระ DPPH สูงสุดได้ 50 %) อย่สู ูง (นชุ นิภาและคณะ, มปป.; ธญั ชนก,2550) สารสกดั ดว้ ยนำ้� จากผกั เชยี งดาสดมคี ณุ สมบตั ติ า้ นอนมุ ลู อสิ ระ ทีเ่ กดิ จากไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide, H2O2) และสารสกัด ดว้ ยเอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) 50 เปอร์เซน็ ต์มปี รมิ าณสารประกอบ ฟีนอลิกสูงสุด ที่ช่วยป้องกันการแตกตัวของเม็ดเลือดแดงและการเสียหาย ของดเี อน็ เอในเซลล์TK6 ซงึ่ เปน็ เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวมนษุ ย์ รวมทง้ั มปี รมิ าณของ วติ ามินอี และเบตา้ -แคโรทนี สูงสดุ (ธัญญาลักษณ,์ 2548) นอกจากน้ี Rachh 12 et al. (2009) ได้รายงานเช่นกันว่า สารสกัดด้วยแอลกฮอล์จากผักเชียงดา (Gymnema sylvestre R. Br.) มีประสิทธิภาพในการต้านอนมุ ูลอสิ ระชนิด 2, 2-diphenyl-1-picrylhaydrazyl (DPPH) ซูเปอร์ออกไซด์ (O2•, superoxide) และไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ได้ ซ่ึงเป็นผลจากสารต้านอนุมูลอิสระท่ีมี ในสารสกดั โดยเฉพาะสารประกอบฟนี อลกิ เชน่ ฟลาโวนอยด์(flavonoids) และ แทนนนิ (tannin) รวมทงั้ สารซาโปนินไตรเทอพีนอยด์ (triterpenoids saponins) ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ผลงานวจิ ยั ของประไพภทั รและคณะ (2552) ทพี่ บวา่ สารสกดั ดว้ ยน้ำ� จากผักเชียงดา (Gymnema inodorum Decne.) มีปริมาณสารประกอบ ฟีนอลิกที่มีสมบัติในการก�ำจัดอนุมูลอิสระชนิดซูเปอร์ออกไซด์ (O2) และ ป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation reaction) ต่อผนังเซลล์เม็ด เลอื ดแดง นอกจากนี้ยงั ได้รายงานอกี ว่า สารตา้ นอนุมูลอิสระในเคร่อื งด่มื ชา ผักเชียงดาพาสเจอร์ไรซ์พร้อมด่มื ในระหวา่ งการเกบ็ รกั ษา 14 วัน ยงั คงมีฤทธิ์ การต้านอนุมูลอิสระได้ดี และไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์ตับ HepG2 (Human liver hepatocarcinoman) ผกั เชยี งดา ราชนิ ผี ักลา้ นนา

5. ลดความอ้วน Mahajan et al. (2011)ไดว้ ิจารณว์ า่ สารสกัดจากใบ 13 Gymnema sylvestreมีคุณสมบัติในการลดไขมนั ในรา่ งกายไดอ้ ย่างดี นอกจาก น้ี ผลการศึกษายังแสดงถึงแนวโน้มในการต้านการเกิดภาวะหลอดเลือดแข็ง ซึ่งเป็นสภาวะที่ผนังหลอดเลือดหนา ซึ่งเป็นผลจากการสะสมของสารที่เป็น ไขมนั เชน่ โคเลสเตอรอล สารสกดั GS มฤี ทธใิ์ กลเ้ คยี งกบั ยาลดไขมนั มาตรฐาน ชนิด คลอไฟเบรท (clofibrate) นอกจากนี้ Preuss et al. (2004) ยงั ไดร้ ายงาน วา่ การใชส้ ารสกัดผสมของกรดไฮดรอกซซี ติ ริก ((-)-hydroxycitric acid) รวม กบั ไนอะซนิ บาวน์ โครเมยี ม (niacin-bound chromium) และ สารสกัดจากใบ Gymnema sylvestre สามารถท�ำหนา้ ทเ่ี ป็นสูตรยาลดนำ้� หนักทมี่ ีประสิทธภิ าพ และมคี วามปลอดภัย ทสี่ ามารถทำ� ใหเ้ กดิ การลดน�ำ้ หนักส่วนเกินของรา่ งกาย และค่าดัชนมี วลกาย (body mass index; BMI) ไดง้ ่ายขึ้น ซงึ่ สง่ เสริมให้ไขมนั ในเลือดอยใู่ นระดบั ปกติ 6. ชว่ ยในการละลายล่ิมเลือด (fibrinolytic activity) Hong et al., (2004) รายงานวา่ สารสกัดจากผักเชียงดามีฤทธิ์ในการละลายโปรตนี ทท่ี �ำให้ โลหติ แขง็ ตวั (fibrin) ได้ และสารนถี้ กู ทำ� ลายไดด้ ว้ ยความรอ้ นทเ่ี กนิ 100 องศา เซลเซียสเป็นเวลา 10 นาที 7. ยับยั้งการหนื ของไขมนั การศกึ ษาของ Tangkanakul et al. (2005) พบวา่ สารสกดั ทไ่ี ดจ้ ากผกั เชยี งดา จำ� นวน 0.4 กรมั ไมว่ า่ จะสกดั ดว้ ยนำ�้ หรอื เอทานอล มีความสามารถในการยบั ยง้ั การหืนของไขมนั ไดด้ กี วา่ การใชส้ าร กันหืนสงั เคราะห์ชนดิ บทู ิเลทไฮดรอกซีอะนโิ ซล (butylated hydroxyanisole; BHA) ในปรมิ าณ 10 มลิ ิกรัมต่อลติ ร 8. แสดงฤทธ์ิยับยั้งเช้ือ Helicobactor pylori สูง ซึ่งเป็นแบคทีเรียชนิดแกรมลบท่ีพบได้ในกระเพาะอาหารมนุษย์ เป็นสาเหตุ ท�ำให้เกิดโรคกระเพาะอาหาร อาหารย่อยผิดปกติ แผลในกระเพาะอาหาร และมะเร็งกระเพราะอาหาร ซ่ึงการก�ำจัดเช้ือแบคทีเรียชนิดน้ีท�ำได้ยากและ ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหลายชนิด โดยผักเชียงดาแสดงฤทธ์ิต้านเชื้อ H. pylori ด้วยค่า MIC เทา่ กบั 2.5 g/ml ในขณะที่คา่ ค่าเทา่ กับ 7.81 µg/ml ซึง่ แสดง ให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการใช้พืชท่ีใช้เป็นอาหารในท้องถ่ินเพื่อป้องกัน โรคแผลในกระเพราะอาหารจากการตดิ เชือ้ H. pylori และมะเรง็ กระเพาะ อาหาร (ลลติ า, 2552) ผักเชยี งดา ราชินผี ักลา้ นนา

14 ผกั เชยี งดา ราชนิ ผี ักลา้ นนา

การปลกู 15 ผกั เชียงดา ผกั เชียงดา ราชินผี กั ลา้ นนา

16 1. สายพันธุ์ที่เหมาะสม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้รวบรวมและศึกษาวิจัย เพื่อคัดเลือกสายพันธุ์ผักเชียงดาที่ให้ผลผลิตสูงเพื่อเป็นต้นพันธุ์ส�ำหรับ การพัฒนาสายพันธุ์ท่ีมีปริมาณกรดจิมเนมิคและสารต้านอนุมูลอิสระ สูง ส�ำหรับใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมผลิตภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร มจี ำ� นวน 2 สายต้นที่มีศักยภาพสงู คอื สายตน้ เบอร์ 4 และ เบอร์ 6 ลกั ษณะทาง พฤกษศาสตรท์ แ่ี ตกตา่ งกนั ทแี่ ตกตา่ งกนั อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั คอื สายตน้ เบอร์ 4 มลี กั ษณะใบกลม หนา และยอดอวบสนั้ สว่ นสายตน้ เบอร์ 6 มลี กั ษณะ ใบยาวรี บาง และยอดยาวยอดยาว และมปี รมิ าณกรดจมิ เนมคิ ในผกั เชยี งดาอบแห้งรอ้ ยละ 1.51 – 1.53 ซง่ึ ปรมิ าณกรดจมิ เนมิคทมี่ ผี ลตอ่ การลดนำ�้ ตาลในเลอื ดควรมีไม่ต่�ำกว่าร้อยละ 1.2 (gravimetric method) ผกั เชยี งดา ราชนิ ผี ักลา้ นนา

คณุ ภาพทางเคมบี างประการของผกั เชยี งดาสายตน้ เบอร์ 4 และเบอร์ 6 เบอร์ 4 เบอร์ 6 0.61 mg/g คลอโรฟลิ ล์ เอ 0.63 mg/g 0.45 mg/g คลอโรฟิลล์ บี 0.23 mg/g 1.06 mg/g คลอโรฟลิ ล์ 0.85 mg/g 61.37 mg/g แคโรทนี อยด์ 51.67 mg/g 8.62 mg/g ฟีนอลิก (น้ำ� หนกั แห้ง) 6.38 mg/g 1.51mg/g กรดจมิ เนมิค 1.53 mg/g 17 ตน้ สายเบอร์ 4 ต้นสายเบอร์ 6 ภาพท่ี 2 สายต้นผักเชยี งดาทค่ี ดั เลอื กโดยสถาบนั วิจยั เทคโนโลยีเกษตร ผักเชียงดา ราชินีผักลา้ นนา

เลอื กก่ิงทม่ี ีสีเขยี ว ประมาณคใู่ บท่ี 4 – 5 กงิ่ พนั ธุแ์ บบข้อส้ันและยาว 2. การเตรียมต้นกล้า ท�ำการขยาย พนั ธโ์ุ ดยการใช้กิ่งคู่ใบท่ี 4 - 5 ข้นึ ไป สขี องกิง่ เปน็ สีเขยี ว มีความยาวกิ่งประมาณ 2 - 4 นิว้ ใช้ 1 - 2 ขอ้ ตอ่ 1 ตน้ น�ำมาแชใ่ นน�้ำยาเพมิ่ 18 รากและยากนั รา ประมาณ5 นาที และผงึ่ ทงิ้ ไว้ ใหห้ มาด ๆ แลว้ ปกั ลงในกระถางหรอื ในแปลง พน่ หมอกทีม่ วี สั ดุช�ำ คอื ถ่านแกลบผสมทราย หรอื ถา่ นแกลบอยา่ งเดยี ว ปกั ชำ� ทง้ิ ไวป้ ระมาณ 45 วนั เมือ่ มรี ากขนึ้ ยา้ ยลงถุงช�ำทีใ่ ส่ดนิ ขนาด ความยาวของกิง่ ประมาณ 15 เซนติเมตร ทกุ กิง่ ควรมคี วาม 3 x 7 นว้ิ นำ� ไปไว้ในเรือนเพาะช�ำอีกประมาณ ยาวใกลเ้ คียงกนั เพอ่ื ความสะดวกในการการดแู ล และได้ต้น พันธุท์ ี่มขี นาดเท่ากัน 45 วัน จึงยา้ ยกลา้ ลงปลกู ในแปลงใหญต่ อ่ ไป ขัน้ ตอนการขยายพันธ์ดุ ังแสดงไว้ในภาพที่ 3 ผกั เชยี งดา ราชนิ ผี กั ลา้ นนา ถา้ หากก่ิงผกั เชยี งดามีขนาดของข้อส้ันเกนิ ไปเม่ือน�ำไปปกั ช�ำจะ มขี นาดความสงู ที่ต่างกนั มาก ดงั นั้นสามารถใชม้ ากกว่า 1 ขอ้ ในการปักช�ำ

อปุ กรณส์ ำ� หรับการขยายพันธผุ์ กั เชียงดา ตดั ก่ิงเหนือคู่ใบ 0.5 เซนติเมตร สำ� หรับกง่ิ พันธทุ์ ีม่ ขี อ้ สน้ั ใช้มากกวา่ 1 ขอ้ 19 ตัดใบด้านบน ออก ¾ เพื่อลดการคายน้�ำ น�ำไปปักชำ� ในขี้เถ้าแกลบทีร่ ดน�ำ้ ใหช้ ุม่ ทง้ิ ไว้ 45 วัน เพอ่ื ให้เกดิ ราก ผักเชียงดา ราชนิ ีผกั ลา้ นนา

ในกรณีต้องการปักช�ำผักเชียงดาในช่วงฤดูร้อนหลังจากปักช�ำในแกลบด�ำแล้วให้น�ำกระถางใส่ในถุง พลาสตกิ ใสขนาด 30 x 40 เซนตเิ มตร น�ำเชือกมามดั แลว้ นำ� ไปโยงไว้ในทรี่ ม่ แตไ่ ม่ตอ้ งปดิ ปากถุงให้สนทิ โดยเหลือรรู ะบายอากาศดา้ นบนความยาวประมาณ 10 เซนตเิ มตร ถ้าทำ� การปดิ ปากถุงสนทิ เหมอื นพชื ชนิด อน่ื ผกั เชียงดาจะเกดิ เชื้อราและเน่าตาย 20 การปักชำ� เพื่อให้ไดต้ ้นกลา้ ผักเชียงดาปริมาณมาก ๆ ในสถานเพาะช�ำ น�ำก่งิ พันธุ์ไปปกั ชำ� ในแกลบด�ำท้ิงไว้ 45 วัน จากน้ันน�ำกงิ่ พันธท์ุ เี่ กิดรากไปยา้ ยปลกู ลงในถงุ เพาะช�ำ ผกั เชยี งดา ราชินผี กั ลา้ นนา

ต้นกล้าทพี่ รอ้ มน�ำไปย้ายปลกู ลงถุงเพาะชำ� ดนิ ปลูกใสใ่ นถงุ เพาะชำ� ขนาด 3 x 7 นวิ้ 21 นำ� ไปย้ายปลกู ลงถงุ ด�ำทใี่ สด่ ินไว้ เจาะเปน็ รูขนาด น�ำตน้ ไปไว้ในเรือนเพาะช�ำและให้น�ำ้ อย่างสม�่ำเสมอ เทา่ ล�ำต้นผกั เชยี งดา น�ำตน้ ผกั เชียงดาปลกู ในถุงดำ� ประมาณ 45 วัน ตน้ กล้าพนั ธท์ุ ่มี ีอายุ 3 เดอื น ตน้ กลา้ ที่พรอ้ มน�ำไปปลูก ภาพที่ 3 ข้นั ตอนการขยายพนั ธผ์ุ กั เชยี งดาโดยวิธีการปกั ชำ� ผักเชยี งดา ราชินีผักลา้ นนา

3. การเตรียมดิน การเตรียมดินเป็นการ ใหน้ ้�ำ 3 – 5 วนั ต่อครง้ั ข้นึ อยกู่ ับสภาพภมู อิ ากาศ ชว่ ยก�ำจดั วชั พืช และถือเป็นสิง่ สำ� คัญในการปลกู ผัก และความชื้นในดิน รองก้นหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมัก เชียงดาเพ่ือให้ได้ผลผลิตสูง การเตรียมดินท่ีดีควรมี ปุ๋ยคอกประมาณคร่ึงกระป๋องนมข้น คลุกดินก่อน การไถดะ และทง้ิ ตากดนิ ไว้5-7 วนั จากนน้ั จงึ ไถแปร ท�ำการปลูก (ภาพท่ี 4) 1 – 2 ครัง้ เพ่อื ย่อยดินใหแ้ ตกละเอยี ดไม่เปน็ ก้อน การยา้ ยปลกู ใหค้ ดั เลอื กตน้ ทม่ี ลี กั ษณะตรงตาม ใหญ่ ก่อนการท�ำร่องหรือแถวปลูกควรมีการหว่าน พันธุ์ และคัดเลือกต้นท่ีมีลักษณะผิดปกติออก เช่น ปุ๋ยคอก อัตราประมาณ 1 ตนั ตอ่ ไร่ ก่อนการไถแปร ตน้ ท่ถี กู ทำ� ลายโดยโรคหรือแมลง และตน้ แคระแกร็น เพอ่ื เปน็ การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของดนิ ใหด้ ขี นึ้ สามารถ ก่อนยา้ ยปลกู ควรงดใหน้ ำ�้ แก่ต้นกล้าประมาณ 2 วนั อมุ้ นำ�้ ไดน้ านขนึ้ และยงั เปน็ การเพมิ่ ธาตอุ าหารใหก้ บั เพื่อให้ต้นกล้ามีการปรับตัวเมื่อปลูกลงแปลง แต่ใน ดนิ ถ้าดนิ มีค่าความเป็นกรดดา่ งต่ำ� กว่า 5.5 ให้หว่าน วันย้ายปลูกควรรดน�้ำให้ชุ่ม เพ่ือลดการฉีกขาดของ ปูนขาวอัตรา 100-200 กโิ ลกรมั ต่อไร่ แล้วพรวนกลบ รากจากการถอนย้าย การปลูกควรให้แนวคอดินลึก 4. การปลกู และปฏิบัตดิ ูแลรกั ษา เตรยี ม กวา่ ระดบั ดนิ ของแปลงประมาณ 1 เซนตเิ มตร เพอ่ื ให้ แปลงปลูกความกว้างขนาด 1 - 1.5 เมตร ความ สว่ นของล�ำตน้ ทต่ี ดิ ดินแตกรากออกมาใหม่ ท�ำให้ต้น ยาวแล้วแต่พ้ืนที่ ใชร้ ะยะระหว่างตน้ 50 เซนติเมตร เจริญเติบโตสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ควรย้ายปลูกในช่วงบ่าย 22 ระหว่างแถว 75 เซนติเมตร ปลูกหลุมละ 1 ต้น ต้ังแต่บ่ายสามโมงเป็นต้นไป เนื่องจากอุณหภูมิของ จำ� นวนตน้ ตอ่ ไรป่ ระมาณ 4,200 ตน้ ปลูกเป็นแถวคู่ อากาศไมส่ งู มากเกนิ ไป ทำ� ใหต้ น้ กลา้ มกี ารฟน้ื ตวั และ รอดตายสูง หลงั จากยา้ ยปลูกควรมีการใหน้ ำ�้ ทันที คดั เลอื กตน้ กล้าทม่ี ีอายุ 3 เดอื นข้ึนไป ระยะปลกู ระหวา่ งตน้ 50 เซนติเมตร ผักเชยี งดา ราชนิ ีผักลา้ นนา ระหว่างแถว 75 เซนติเมตร

แชต่ ้นกลา้ ทมี่ รี ากเดนิ เต็มถงุ ในน�ำ้ ปลกู ในหลุมทขี่ ุดไว้ กลบดิน ภาพท่ี 4 ขั้นตอนการย้ายปลูกผักเชียงดา การใช้วสั ดคุ ลมุ ดนิ วสั ดุทใี่ ช้ส�ำหรบั คลมุ ดินสามารถน�ำวสั ดทุ ่เี หลือใชจ้ ากการเกษตร เช่น ฟางขา้ ว เปลือกถั่ว แกลบดิบ (ภาพที่ 5 ) มาใช้ได้ นอกจากจะเป็นการป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดินแล้ว ยังช่วยรักษาความช้ืนของดิน ป้องกนั วัชพืช และสลายกลายเป็นปยุ๋ เพม่ิ ความอุดมสมบูรณใ์ ห้แกด่ นิ อีกด้วย 23 ภาพที่ 5 การคลมุ ดินแปลงปลูกผกั เชยี งดา ผกั เชียงดา ราชินีผักล้านนา

การใหน้ ำ้� ใหน้ ำ้� ได้สัปดาหล์ ะ 2 ครัง้ (ภาพที่ 6 )จะไม่กระทบต่อการเจรญิ เติบโตและการใหผ้ ลผลติ ผกั เชยี งดาเป็น พืชที่ทนแลง้ แต่จะไมช่ อบนำ้� ขัง ถา้ นำ้� ขงั ใบจะเปล่ียนเป็นสีเหลอื งและรว่ งหล่นใน 1 สัปดาห์ ปล่อยนำ�้ ตามรอ่ ง ปล่อยน�ำ้ เข้าแปลงทมี่ ีพน้ื ท่ีเสมอกนั ภาพที่ 6 วธิ ีการให้น�ำ้ แก่ผักเชยี งดา การตัดแต่งต้น การปลกู โดยไมท่ ำ� ค้างแต่ใช้การตัดแตง่ ทรงพมุ่ (ภาพที่ 7 ) ตัดแต่งใหต้ น้ มีก่ิงหลักประมาณ 4 กิง่ กจ็ ะรักษา 24 สมดลุ ของทรงพมุ่ และใหผ้ ลผลติ สมำ่� เสมอ และมจี ำ� นวนตน้ ตอ่ พน้ื ทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ทำ� ใหส้ ามารถเกบ็ ยอดไดเ้ พม่ิ ขนึ้ วธิ ี นต้ี น้ ผักเชยี งดาสามารถรบั แสงแดดได้เต็มที่ ง่ายต่อการตัดแต่งตน้ ประหยดั คา่ ทำ� คา้ ง ขอ้ เสยี คือ การก�ำจัด วัชพชื จะยากกวา่ การทำ� คา้ งแบบร้าน แต่หากใชว้ สั ดุคลมุ แปลง เชน่ ฟางข้าว เปลือกถ่วั แกลบดิบกจ็ ะสามารถ ลดปริมาณวชั พชื ได้ แตเ่ มื่อต้นผกั เชยี งดามีอายุมากขึ้น อาจใชไ้ ม้หลักช่วยพยงุ ล�ำต้น ไม้หลักสูงประมาณ 1.20 - 1.50 เมตร โดยใชเ้ ปน็ ไม้ไผ่ล�ำเล็ก หรอื ไมร้ วกผ่าซกี ใหม้ ีความแขง็ แรงพอที่สามารถใช้เปน็ หลักยึดต้นไว้ได้ ซง่ึ การทำ� หลกั ใหก้ ับผกั เชยี งดาน้ี อาจจะให้ผกั เชยี งดามีอายปุ ระมาณ 5 ปีถงึ เรม่ิ ทำ� กไ็ ด้ แปลงปลูกผกั เชยี งดาท่ปี ลกู แบบไม่ขึน้ ค้าง ภาพที่ 7 แปลงปลกู ผักเชียงดาทปี่ ลูกแบบไม่ขน้ึ คา้ ง ผกั เชียงดา ราชินีผักลา้ นนา

การใสป่ ยุ๋ 25 การให้ปุ๋ยเคมีแก่ผักเชียงดา จะท�ำให้มีปริมาณคลอโรฟิลล์หรือความเขียวของใบสม่�ำเสมอ อีก ท้ังปริมาณผลผลิตและคุณภาพสม�่ำเสมอในรอบปี มีการให้ผลผลิตและแตกช่อยอดตลอด โดยใช้ปุ๋ย ไนโตรเจนประมาณ 8 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ใส่ประมาณ 3 เดือนตอ่ ครงั้ ในกรณตี อ้ งการปลกู แบบอินทรยี โ์ ดยการใส่ปุ๋ยคอก เชน่ ขี้วัว ขหี้ มู ข้ีไก่ ขไ้ี ส้เดือน หรือป๋ยุ หมัก อัดเมด็ ท�ำให้ต้นผักเชยี งดามกี ารเจริญเติบโตและใหผ้ ลผลติ ได้ดี โดยไม่ตอ้ งใสป่ ุ๋ยเคมกี ็ได้ และใบยงั มคี วามเขยี วตรงตามความต้องการของตลาดบริโภคสด และอตุ สาหกรรม ซ่งึ ใส่ไดใ้ นอัตราต้งั แต่ 0.5 – 2 ตันตอ่ ไร่ ขึน้ อยกู่ บั ความอดุ มสมบูรณ์ของดิน ใส่ทุก 2 เดือน สว่ นใหญ่ปุ๋ยอนิ ทรยี ท์ ่ีใสใ่ หก้ ับตน้ ผกั เชียงดา คือ ป๋ยุ ขีว้ ัวและขี้ไกเ่ กา่ ในสว่ นปุ๋ยขวี้ ัวใสใ่ นอัตรา 1.5 ตันตอ่ ไร่ ป๋ยุ ขไ้ี กใ่ สใ่ นอตั รา 2 ตนั ต่อไร่ เวลาในการใส่ ๆ ทุก 2 เดอื น ใสพ่ รอ้ มกันท้งั ป๋ยุ ขี้วัวและขี้ไก่ โดยการโรยรอบโคนตน้ จากนนั้ ใชเ้ สียม พรวนดินรอบๆ โคนตน้ ซ่งึ เป็นการก�ำจดั วัชพืชและคลกุ เคลา้ ปยุ๋ ไปพร้อม ๆ กัน การใส่ปุ๋ยใหก้ บั ผัก เชียงดา ในปุ๋ยขีว้ ัวจะช่วยปรบั โครงสร้างของดนิ ใหร้ ว่ นซุย ในปุ๋ยขไ้ี ก่จะมปี ริมาณธาตอุ าหารจะท�ำให้ ผลผลิตมีสีเขียวและความเขียวของใบสม่�ำเสมอ ซึ่งเป็นคุณภาพท่ีส�ำคัญของผลผลิตสด และส�ำหรับ ใช้ในอตุ สาหกรรมแปรรปู อกี ทงั้ ปรมิ าณผลผลติ และคณุ ภาพสม่ำ� เสมอในรอบปี 5. การเกบ็ เก่ียว หลังย้ายปลูกประมาณ 1 - 2 เดือน จึงเริ่มท�ำการเก็บเก่ียวยอดในส่วนของผลผลิตท่ีบริโภคได้ ประมาณ 3 คใู่ บ (ภาพท่ี 8) นับจากปลายยอด ใหท้ �ำการตดั ยอดในตอนเชา้ เนื่องจากยอดจะมีความ สดและใหน้ ้�ำหนกั ดี จ�ำหน่ายกโิ ลกรัมละ 50 บาท ควรเลอื กรับประทานผกั เชียงดาใบอ่อน ที่ไมผ่ า่ น ความร้อนสูง (ประกอบอาหารให้ผ่านความร้อนไม่เกิน 30 วินาทีจะมีคุณภาพเท่ากับรับประทานสด) จะได้ประโยชน์ด้านคุณค่าทางอาหารมากกว่า แต่ถ้าต้องการให้ระบบขับถ่ายในร่างกายดีขึ้น ควรรับ ประทานผักเชยี งดาใบแก่ ใบและยอดผกั เชียงดา ผลผลติ ส่วนทบี่ ริโภคได้ของผักเชยี งดาสด ภาพท่ี 8 ผลผลติ ส่วนทเ่ี กบ็ เก่ยี วของผกั เชียงดา ผักเชยี งดา ราชินผี กั ล้านนา

องคค์ วามรู้ การแปรรปู ผักเชยี งดา ผักเชียงดาสามารถน�ำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารได้หลายชนิด ท้ังท่ีรับประทานเป็นอาหารประจ�ำ และรับประทานเป็นอาหารเสริม สุขภาพ อาหารจากผักเชียงดาท่ีจะกล่าวต่อไปน้ี เป็นตัวอย่างอาหาร ทท่ี ำ� การศกึ ษาและพฒั นาโดยสถาบนั วจิ ยั เทคโนโลยเี กษตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ดังน้ี 1. แกงผกั เชยี งดา เปน็ ผลิตภัณฑอ์ าหารท่ีคนไทยในภาคเหนอื รบั ประทานเป็นมาเปน็ เวลานาน เป็นอาหารพน้ื บา้ น (ภาพที่ 9) แกงผกั เชียงดาประกอบด้วยส่วนผสม ดงั นี้ ย(พFอปrมรกดลeขกิะปรผาs่านเแhแะนลสักชน้�ำหเห�ำ้าดอืเสทs�้ำปร้งช้งhตะเียา้ียลo(ทอา(มF(oาDงศ(DลrาtFสดeสดทr(erดFาsioดรireสheimf(าsdP(dดยh(eogFpFrntacrhfsa(ethielaaT2esbasiskauhl0hdlnhibc)e0)g ec lgftahe)iwoaกlismaar)hรs6 ln)13tัมuai 5eg8gctก1ro)a41ร)กdeก.r02ัมaรs)ร.152))ัม3มั8 5.7 151ก251กร3กัมร.กก6รมั ร3รมั มััมกรมั

วิธกี ารทำ� แกงผกั เชยี งดา 1. โขลกส่วนผสมของพรกิ แหง้ กระเทียม ข่า และปลารา้ ให้ละเอยี ด 2. ตม้ ปลาแห้งดว้ ยน�้ำตามสูตรใหเ้ นอ้ื ปลานมิ่ 3. น�ำส่วนผสมท่ีโขลกละเอียดใสล่ งในนำ้� ต้มปลาแห้ง และเติมมะเขอื เทศ 4. เตมิ ผักเชยี งดาลงในน้�ำแกง ตม้ เดือดประมาณ 1-2 นาที โดยเปดิ ฝาหมอ้ ตม้ และตกั รับประทานได้

28 ส�ำหรับการท�ำแกงผักเชียงดาบรรจุ ภาพที่ 9 แกงผักเชียงดา กระป๋อง ขนาด 307 x 409 มีขัน้ ตอนดังนี้ ผกั เชยี งดา ราชินผี ักลา้ นนา 1. เตรียมน�้ำแกงเหมือนท่ีกล่าวมาแล้ว เมื่อ น้�ำแกงเดือด ลดไฟลงให้มีอุณหภูมิไม่ต่�ำกว่า 80 องศาเซลเซียส 2. บรรจุใบผักเชยี งดาทเ่ี ด็ดและล้างสะอาดแลว้ ลงไป เติมน�้ำแกงให้มีส่วนของเน้ืออาหารประมาณ รอ้ ยละ 90 ของความจุกระป๋อง 3. น�ำไปไลอ่ ากาศดว้ ยไอนำ�้ นาน 5 นาที และ ปิดฝากระปอ๋ งทนั ที 4. ทำ� การฆ่าเชื้อจลุ ินทรีย์ในกระปอ๋ ง ท่อี ณุ หภูมิ ของหม้อนึง่ ความดัน 120 องศาเซลเซยี ส ความดัน 15 ปอนดต์ อ่ ตารางนว้ิ เป็นเวลา 39 นาที 5. ท�ำให้เย็นทันที และเชด็ กระป๋องให้แหง้

2.ใบผกั เชยี งดาอบแหง้ หรอื ชาผกั เชยี งดา ยอดออ่ น ใบผกั เชยี งดาอบแหง้ หรอื ชาผกั เชยี งดา ใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ 29 ในการทำ� ผลิตภณั ฑจ์ ากผักเชยี งดาอน่ื ๆ ได้ หรอื นำ� ไปแชเ่ ป็นน้ำ� ชาสำ� หรับดม่ื กระบวนการอบแหง้ ใบผกั ใบออ่ นปานกลาง เชียงดาเพือ่ ท�ำเป็นใบชาเพอ่ื แชด่ ื่ม ท่ยี ังคงรกั ษาสาร ต้านอนุมูลอิสระ ให้ใกล้เคียงกับผักสด ดังแสดงใน ยอดผักเชยี งดา ภาพท่ี 10 และ 11 มีขน้ั ตอนดงั น้ี ผักเชียงดา ราชินผี กั ลา้ นนา 1. ใบผักเชยี งดาสด แยกเด็ดยอดอ่อน (ใบท่ี 1-2 จากยอด) และใบอ่อนปานกลาง (คูท่ ี่ 3-4) แยกกัน นำ� ยอดออ่ น และใบอ่อนปานกลาง แยกลงไปลวกใน น�ำ้ เกลือเข้มข้น 0.5 % เปน็ เวลานาน 30 วินาที แชใ่ น นำ้� เยน็ ทันที ผึ่งใหส้ ะเด็ดนำ้� 2. น�ำไปอบท่อี ุณหภมู ิ 60-65 องศาเซลเซียส จน แห้ง (ประมาณ 4-6 ช่วั โมง) ตงั้ ทงิ้ ไวใ้ หเ้ ยน็ แลว้ เก็บ ใสถ่ ุงพลาสตกิ หรอื ภาชนะที่ปดิ สนิทและแหง้ เกบ็ ไว้ ในทแ่ี ห้ง และไม่มแี สง 3. บรรจุใบชาผักเชียงดาแห้งใส่ในซองชา แล้ว ซลี ซองชาใหป้ ดิ สนทิ บรรจซุ องใบชาผกั เชยี งดาในถงุ อลมู เิ นียมฟอล์ย/ถุงบรรจุปดิ สนิท ชาผกั เชยี งดาทม่ี ีฤทธกิ์ ารตา้ นอนุมลู อสิ ระ 38.94 มิลลกิ รมั ต่อกรัม เทยี บกบั วิตามนิ อี โดยนำ้� หนักแหง้ หมายเหตุ: น�้ำเกลือเข้มข้น 0.5 % เตรียมโดยช่ังน้�ำสะอาด 10 กิโลกรัม เติม เกลือป่น 50 กรัม

ขัน้ ตอนการท�ำใบผกั เชียงดาอบแห้งหรือชาผักเชยี งดา เด็ดเฉพาะยอดตัง้ แต่คใู่ บที่ 2 ข้ึนไป ล้างนำ�้ สะอาดและสะเดด็ น�ำ้ ลวกในนำ�้ เดอื ดทีม่ ีเกลือปน่ ไมเ่ อากง่ิ กระโดง รอ้ ยละ 0.5% นาน 30 วินาที นำ� ไปแชใ่ นน้�ำเยน็ ทันที นำ� ไปแชใ่ นน้�ำเย็นทนั ที นำ� ไปอบในตอู้ บแบบถาดดว้ ยลมรอ้ น ทอ่ี ณุ หภมู ิ 60-65 Cํ นาน 4 - 6 ชว่ั โมง 30 ขยำ� ใบผกั เชยี งดาทอ่ี บแหง้ บรรจุใสใ่ นซองกระดาษชาและ บรรจใุ นถงุ ซิป แล้วให้พอแตก ปิดปากถุง ภาพที่ 10 ขัน้ ตอนการท�ำใบผกั เชียงดาอบ ผักเชียงดา ราชินีผักลา้ นนา

ขน้ั ตอนการทำ� ใบผกั เชยี งดาอบแหง้ หรือชาผกั เชียงดา (แบบอบลมร้อน) 31 ใบผกั เชียงดาสด แยกเดด็ ยอดออ่ น (ใบท่ี 1-2 จากยอด) ใบออ่ น (คทู่ ่ี 3-4) แยกกนั ล้างนำ�้ สะอาด ผึ่งให้สะเด็ดนำ้� ใบผักเชยี งดาสด แยกเดด็ ยอดออ่ น (ใบท่ี 1-2 จากยอด) คัว่ ในกระทะทองเหลอื งด้วยไฟแรงทันที ประมาณ 5-6 นาที (ถ้ากระทะแห้งให้พรมน้ำ� สะอาดลงไป) ผกั เชียงดา ราชนิ ีผกั ล้านนา

รดี ด้วยไม้คลึงแปง้ 8-10 รอบ หรอื ดว้ ยเครอ่ื งรีดแป้ง คั่วในกระทะดว้ ยไฟอ่อนๆ โดยใชพ้ ายไม้นวดเบาๆ นาน 2-3 รอบ ประมาณ 10- 15 นาที 32 น�ำไปอบที่อณุ หภูมิ 60-65 องศาเซลเซียส ท้งิ ไว้ให้เยน็ แลว้ เกบ็ ใสถ่ งุ พลาสตกิ หรือภาชนะทป่ี ิดสนทิ จนแหง้ (ประมาณ 2-3 ช่วั โมง) และแห้งเกบ็ ไว้ในทแ่ี ห้ง และไม่มีแสง บรรจชุ าเขียวผักเชยี งดาคว่ั ใสใ่ นซองชาแล้วปดิ ใหส้ นิท บรรจซุ องชาเขียวผักเชียงดาค่ัวในถงุ อลูมิเนียมฟอลย์ / ผกั เชียงดาอบแห้ง บรรจุ 1.5 กรัม บรรจุภัณฑ์ที่ป้องกนั แสงและอากาศได้ ภาพที่ 11 ข้นั ตอนการท�ำใบผักเชยี งดาอบแห้งหรือชาผกั เชียงดา (แบบควั่ ) ผกั เชียงดา ราชนิ ผี กั ลา้ นนา

33 ขั้ น ต อ น การท�ำผักเชียงดาอบแห้ง 3. ตั้งทิ้งไว้ให้เย็นแล้วเก็บใส่ถุงพลาสติก หรือ บรรจแุ คปซลู ข้ันตอนแสดงในภาพที่ 12 ภาชนะที่ปิดสนิทและแห้ง เก็บไว้ในท่ีแห้ง และไม่มี 1. ใบผักเชยี งดาสด ใบแกห่ ่ันตามขวาง ไมต่ อ้ ง แสง ละเอียดมาก ลวกในน้ำ� เดอื ดปริมาณ 1-1.5 เทา่ ของ 4. บดผักเชียงดาแห้งให้ละเอียดในโถบดแห้ง นำ้� หนกั ผกั เชยี งดา นาน 30 วนิ าที บดใหล้ ะเอยี ดผสม บรรจใุ สใ่ นแคปซลู บรรจผุ กั เชยี งดาแหง้ บรรจแุ คปซลู ในขวดสชี า หรอื ภาชนะบรรจกุ นั แสง เชน่ ถงุ อลมู เินยี มฟอลย์ กบั น้�ำรอ้ นทีใ่ ช้ลวกใบผกั เชยี งดา 2. น�ำไปรีดให้เป็นแผ่นบางบนพลาสติกร้อน หมายเหต:ุ ใบแกค่ อื สว่ นของใบผกั เชยี งดาตงั้ แต่ น�ำไปอบท่ีอุณหภูมิ 60-65 องศาเซลเซียส จนแห้ง ใบที่ 4-7 จากยอด (ประมาณ 4 -6 ชั่วโมง) ผกั เชียงดา ราชินผี ักล้านนา

ใบผักเชยี งดาสด ใบแกห่ นั่ ตามขวาง ขนาดกวา้ งประมาณ 0.5 – 1.0 เซนติเมตร ลวกในน�้ำเดอื ดปรมิ าณ 1-1.5 เทา่ บดใหล้ ะเอียดผสมกบั น�้ำรอ้ น นำ� ไปรดี ใหเ้ ปน็ แผน่ บางบนพลาสตกิ รอ้ น ของนำ้� หนักผกั เชียงดา ท่ีใช้ลวกใบผักเชียงดา 34 น�ำไปอบทีอ่ ณุ หภูมิ 60-65 องศา บดผกั เชยี งดาแหง้ บรรจใุ ส่ในแคปซลู เซลเซยี ส ประมาณ 4 - 6 ชว่ั โมง ใหล้ ะเอยี ดในโถบดแหง้ ภาพท่ี 12 ขนั้ ตอนการท�ำผักเชียงดาอบแหง้ บรรจุแคปซลู ผกั เชียงดา ราชนิ ีผักลา้ นนา

3.น้�ำเต้าหู้ใส่ใบผักเชียงดา กระบวนการ 35 เตรียมน�้ำเต้าหู้ผักเชียงดาท่ีเหมาะสมแสดงในภาพ ที่ 13 1. น�ำถว่ั เหลืองมาแยกกากและเศษผงออกกอ่ น แช่น้�ำไว้อยา่ งน้อย 6 ชวั่ โมง หรืออาจจะใชถ้ ่ัวเหลอื ง ผ่าซีก มาใส่ในเคร่อื งปนั่ ใสป่ ระมาณ 1/2 ของความ จเุ ครอ่ื ง จากนน้ั ใสน่ ำ้� เปลา่ ในอตั ราสว่ นถว่ั เหลอื ง:นำ�้ เทา่ กบั 1:4 น�ำใบผกั เชยี งดาคทู่ ี่ 4 - 5 มาหน่ั ละเอียด ใสใ่ นโถแล้วจงึ ป่ันถ่ัวใหล้ ะเอียด 2. นำ� ถ่ัวที่ปน่ั ละเอยี ดแลว้ ไปกรองดว้ ยผา้ ขาว บาง 2 รอบ 3. นำ� นำ้� นมถวั่ เหลอื งไปตม้ ตอ้ งคนตลอดมฉิ ะนน้ั จะมกี ลน่ิ ไหม้ และอปุ กรณท์ ใ่ี ชค้ นควรเปน็ ไมพ้ ายทที่ ำ� มาจากไม้ นอกจากนค้ี วรมกี ารตกั ฟองออก และเม่ือ เห็นน้�ำนมถั่วเหลอื งเดอื ดใหห้ ร่ไี ฟลง 4. ใส่น้�ำตาลท่ีเตรียมไว้ การใส่ก็แล้วแต่ชอบ หวานมากหวานน้อย ใส่น�้ำตาลลงไป และชิมจนได้ ความหวานที่ต้องการ จากน้ันให้เปิดไฟแรงอีกรอบ พรอ้ มทงั้ คนอยา่ งสมำ่� เสมอ เพอ่ื ไมใ่ หน้ ำ�้ นมถวั่ เหลอื ง ภาพที่ 13 ข้ันตอนวธิ กี ารท�ำน้ำ� เตา้ หู้ใส่ใบผกั เชียงดา ผกั เชียงดา ราชนิ ผี กั ล้านนา

4. ผงผักเชียงดาส�ำเรจ็ รปู ผงผกั เชยี งดาสำ� เรจ็ รปู ใชช้ งดม่ื สามารถทำ� ไดต้ ามขนั้ ตอนดงั น้ี 1. ใช้ใบผักเชียงดาท้ังใบแก่และใบอ่อน น�ำมาสกัดน้�ำผักเชียงดา ด้วยการหั่นใบผักเชียงดาที่ล้างสะอาดแล้ว ต้มกับน�้ำสะอาดสัดส่วน 1 ต่อ 1 นาน 10 นาที 2. บบี นำ�้ และกรองผา่ นผา้ ขาวบาง 3. ปรับน�้ำผักเชียงดาที่สกัดได้ให้มีปริมาณของแข็งที่ละลาย ไดร้ ้อยละ 30 ด้วยมอลโตเด็กซ์ตรนิ 4. นำ� ไปทำ� เปน็ ผงแหง้ ด้วยเครอื่ งท�ำแหง้ แบบพ่นฝอย (Spray dryer) ที่ปรับอุณหภมู ิเข้าเคร่อื ง 110 องศาเซลเซยี ส 5. น�้ำผกั เชียงดาพร้อมดื่ม กระบวนการเตรยี มนำ้� ผกั เชียงดาพรอ้ มดืม่ ที่เหมาะสม คือ 1. ใชใ้ บผกั เชยี งดาชนดิ กระโดงใบออ่ น และชนดิ พมุ่ ใบออ่ น ลา้ งนำ้� สะอาด สะเด็ดนำ�้ แล้วห่นั ฝอย 36 2.นำ� ไปแชส่ ารสกดั ทปี่ ระกอบดว้ ยเอทลิ แอลกอฮอล์ 40% ปรมิ าณ 2 เทา่ ของนำ�้ หนกั ผกั นาน 90 นาที และกรองนำ�้ ท่สี กดั ไดด้ ว้ ยผ้าขาวบาง 3. ใชน้ ำ้� ผกั เชยี งดาทสี่ กดั ได้ ปรมิ าณรอ้ ยละ25 ปรบั ปรมิ าณนำ้� ตาล ต่อกรดในสัดส่วน 26 ตอ่ 1 4. นำ� ไปตม้ อณุ หภูมิ 90 องศาเซลเซียส นาน 10 นาที 5. บรรจุขวดแกว้ ขนาด 250 - 300 มิลลลิ ติ ร ปิดฝาทนั ที 6. นำ� ไปแช่ในนำ้� รอ้ น อณุ หภมู ิ 90 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที 7. น�ำออกมาวางท้ิงไว้ใหเ้ ย็น และเช็ดขวดให้แหง้ ผกั เชยี งดา ราชนิ ผี ักลา้ นนา

เอกสารอ้างองิ 37 เตม็ สมติ นิ นั ทน.์ 2544. ชอ่ื พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย. สว่ นพฤกษศาสตรป์ า่ ไม้ สำ� นกั วชิ าการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม.้ 810 หนา้ . นชุ นิภา นันทะวงศ์ อญั ธิกา นามมลู ตรี และเจดิ ระวี ตะ๊ เงนิ . การตรวจสอบฤทธต์ิ ้านอนุมูลอิสระจากพชื พื้นบ้าน. เขา้ ถึงไดจ้ าก www.thaiscience.info/Article for ThaiScience/Article/5/Ts-5 free radical scavenging activity from local plant.pdf [เขา้ ถงึ เมอ่ื 15 กรกฎาคม 2558]. ประไพภทั ร คลังทรพั ย์. 2552. ผักเชยี งดา ผักพ้นื บา้ นของไทยสำ� หรับผู้ป่วยเบาหวาน. ทอ่ งโลกสมุนไพร. สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย. หนา้ 35 – 36. ธญั ญาลกั ษณ์ เมอื งแมน.2548. การศกึ ษาฤทธต์ิ า้ นอนมุ ลู อสิ ระของสารสกดั จากผกั เชยี งดาตอ่ การปอ้ งกนั การ แตกตวั ของเมด็ เลอื ดแดงและการเสยี หายของดเี อน็ เอในเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว มนษุ ยช์ นดิ TK6. วทิ ยานพิ นธ์ วทิ ยาศาสตรม์ หาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล. ISBN: 9740460488. ธีรวลั ย์ ชาญฤทธเิ สน และปัทมา ไทยอู่. 2552. ผลของชนิดผักเชยี งดา (Gymnema inodorum Decne.) และอณุ หภมู ิการอบแห้งตอ่ คณุ ภาพและฤทธก์ิ ารตา้ นอนุมลู อิสระ. การประชุมวิชาการประจำ� ปี อทุ ยาน วิทยาศาสตรภ์ าคเหนือครั้งที่ 1. หนา้ 138. ธรี วัลย์ ชาญฤทธิเสน พทิ ักษ ์ พทุ ธวรชัย นภา ขันสภุ า ปริญญาวดี ศรีตนทิพย ์ วริ ตั ิ อำ� พนั ธุ์ และ พยุงศักดิ ์ มะโนชัย . 2554. การพฒั นาคุณภาพผกั เชียงดา (Gymnema inodorum (Lour.) Decne.) เพอ่ื การผลิตในระดับอุตสาหกรรม. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา. 89 หนา้ . ธญั ชนก เมอื งม่นั นลินี จงวิรยิ ะพนั ธุ ์ ชฎา พศิ าลพงศ ์ นพวรรณ ภ่มู าลา มอราเลส และประไพภัทร คลัง ทรัพย์. 2550. การศึกษาฤทธติ์ ้านอนมุ ูลอสิ ระของผักเชยี งดา. ว. โภชนาการ 42: 19-28. ลลติ า วรี ะเสถียร. 2552. ฤทธต์ิ า้ นเช้ือ Helicobacter pylori ของพชื ท่ใี ชเ้ ป็นอาหารท้องถิ่น. รายงานวิจัยฉบบั สมบรู ณ์ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. 66 น. สำ� นกั งานคณะกรรมการสาธารณสขุ มลู ฐาน. 2540. ผกั พนื้ บา้ น: ความหมายและภมู ปิ ญั ญาของสามญั ชนไทย. สำ� นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ สถาบันการแพทยแ์ ผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ . โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก. 261 น. Atsuchi, M., Hirao, Y., and Iwasaki, Y. 1998. Gymnema indorum roasted tea and method for preparing the same. European Patent Application. EP 0 861 595 A1. Buletin 1998/36. Baskaran, K., Kizar Ahamath, B., Radha Shanmugasundaram, K., Shanmugasundaram, ER. 1990. Antidiabetic effect of a leaf extract from Gymnema sylvestre in non-insulin-dependent diabetes melitus patients. J Ethnopharmacol; 30(3): 295-300. Chiabchalard, A., Tencomnao, T. and R. Santiyanont. 2010. Effect of Gymnema inodorum on postprandial peak plasma glucose levels in healthy human. Afican Journal of Biotecnology, 9(7): 1079-1085. Kang, M.H., Lee, M.S., Choi, M.K., Min, K.S., and Shibamoto, T. 2012. Hypoglycemic activity of Gymnema sylvestre extracts on oxidative stress and antioxidant status in diabetic rats. Journal of Agriculture and Food Chemistry, 60 (10): 2517-2524. ผักเชยี งดา ราชินีผักล้านนา

Mahajan, D., Krishna, A.R. and Gothandam, K.M., 2011. Ethnobotanical and pharmacological study of Gymnema sylvestre. Pharmacology, 3: 785-798. Mozersky, R.P. 1999. Pharmacologic management of diabetes melitus. The Journal of the American Osteopathic Association, 99: 15S-15S. Persaud, S.J., Al-Majed, H., Raman, A. and P.M. Jones. 1999. Gymnema sylvestre stimulates insulin release in vitro by increased membrane permeability. Journal of Endocrinology, 163: 207 – 212. Preuss, H.G., Bagchi M., Rao C.V., Dey D.K. and Satyanarayana, S. 2004. Effect of a natural extract of (-) – hydroxyl citric acid (HCA – SX) and a combination of HCA – SX plus niacin – bound chromium and Gymnema sylvestre extract on weight loss. Diabetes Obese Metab.6(3) : 171 – 180. Rachh, P.R., Patel, S.R., Hirpara, H.V., Rupareliya, M.T., Rachh, M.R., Bhargava, A.S., Patel, N.M., and Modi, D.C. 2009. In vitro evaluation of antioxidant activity of Gymnema sylvestre R. Br. leaf extract. Romanian Journal of Biology-Plant Biology, 54(2): 141-148. Shanmugasundaram, E.R.B., Rajeswari, G., Baskaran, K., Rajesh Kumar, B.R., Radha, K., Shanmugasundaram, K.R., and Arhmath, B.K. 1990. Use of Gymnema sylvestre leaf extract in the control of blood glucose in insulin-dependent diabetes melitus. Journal of Ethnopharmacology, 30: 281-294. Shanmugasundaram, K.R., Panneerselvam, C. 1981. The insulinotropic activity of Gymnema sylvestre R. Br. an Indian herb used in controling diabetes melitus. Pharmacological Research Communications, 13: 475-486. Shanmugasundaram, K.R., Panneerselvam, C., Samudram, P., and Shanmugasundaram, E.R.B. 1983. Enzyme 38 changes and glucose utilization in diabetic rabbits: the effects of Gymnema sylvestre, R. Br. Journal of Ethnopharmacology, 7: 205-234. Shimizu, K., Ozeki, M., Iino A., Nakajyo S., Urakawa, N. and Atsuchi, M. 1997. Supression of glucose absorbsion by extracts from the leaves of Gymnema inodrum . Journal Vet Science 1997; 59(8):753 – 7. Shimizu, K., Ozeki M., Iino A., Nakajyo S., Urakawa N. and Atsuchi, M. 2001. Structure-activity relationship of triterpenoids derivatives extracted from Gymnema inodorum leaves on glucose absorption. Japan Journal Phamacol 86 (2): 223 – 229. Tangkanakul, P., Trakoontivakorn, G., and Jariyavattanavijit, C. 2005. Extracts of Thai indigeneous vegetable as rancid inhibitor in a model system. Kasetsart Journal, 39: 274-283. Thanyalak, T., Hesselink, D.A., Tilanus, H.W., Elshove, L., Wilschut, A.L., Hansen, B.E., Gelder, T.V. and H. J. Metselaar. 2005. Clinical outcome after cyclosporine dose reduction based on C2 levels in long-term liver transplant patients. Clinical Transplantation, 19(4): 537 – 542. Wang, L.F., Luo, H., Miyoshi, M., Imoto, T., Hiji, Y. and T. Sasaki. 1998. Inhibitory effect of gymnemic acid on intestinal absorption of oleic acid in rats. Canadian Journal of Physiology and Pharmacology, 76(10-11): 1017-1023. Yadav, M., Lavania, A., Tomar, R., Prasad, G.B.K.S., Jalin, S. and Yadav, H. 2010. Complementary and comparative study on hypoglycemic and antihyperglycemic activity of various extracts of Eugenia jam- bolana Seed, Momordica charantia fruits, Gymnema sylvestre and Trigonela foenum graecum Seeds in Rats. Applied Biochemistry and Biotechnology, 160: 2388 - 2400. ผักเชยี งดา ราชินีผกั ล้านนา

ผูเ้ ขยี น ช่ือ – นามสกุล: ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ปริญญาวดี ศรีตนทพิ ย์ 39 Assist. Prof. Parinyawadee Sritontip ต�ำแหนง่ ปัจจบุ นั : อาจารย ์ สาขาพชื ศาสตร์ หน่วยงาน : สถาบนั วิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา การศกึ ษา : ปริญญาโท วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ชอ่ื – นามสกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารยน์ ภา ขนั สภุ า Assist. Prof. Napa Khansupa ตำ� แหนง่ ปจั จุบนั : อาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หนว่ ยงาน : สถาบันวจิ ัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การศึกษา : ปรญิ ญาโท วท.ม. (พชื ไร่) มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ ชอ่ื – นามสกลุ : นายพิทักษ์ พทุ ธวรชยั Mr. Pitak Puttawarachai ต�ำแหนง่ ปัจจบุ นั : อาจารย์ สาขาพชื ศาสตร์ หนว่ ยงาน : สถาบันวจิ ยั เทคโนโลยเี กษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การศกึ ษา : ปริญญาโท วท.ม. (เกษตรศาสตร)์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ชอ่ื – นามสกุล : ดร. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ Dr. Pattharaporn Srisamatthakarn ตำ� แหนง่ ปัจจบุ นั : อาจารย์ สาขาเทคโนโลยีการอาหาร หนว่ ยงาน : สถาบนั วิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การศกึ ษา : Dr. agr. (Food Science and Technology) Justus-Liebig-University Giessen, Germany ผกั เชียงดา ราชนิ ีผักลา้ นนา

กองบรรณาธิการ ผกั เชียงดา ราชนิ ผี กั ลา้ นนา ISBN : 978-974-625-822-7 ISBN : 978-974-625-823-4 (E-Book) ที่ปรกึ ษา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ประพฒั น์ เช้ือไทย ดร.ภาสวรรธน์ วชั รด�ำรงค์ศกั ดิ์ ผเู้ ขียน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยป์ ริญญาวด ี ศรีตนทิพย์ ผชู้ ่วยศาสตราจารยน์ ภา ขนั สุภา นายพทิ ักษ์ พทุ ธวรชัย 40 พก จ ัดอิมทงพบำ� ์ทรโด่ีรยณผน2นผนนดนโนวนนนนนนวสนนนเ9อท88่า่าถาาาาาาาาาาาาาาาชู้ชู้รา็ม /รทท.ยงยงยยงยงยงยงงงา่วว่ธ3 .สสสสสสสสบ่่ีีนวภจวเพยย0ภหกิดจรราาาาาาาา9รีษิักหันรศศฤษิทัม..ษีาวววววววว-วศิตตณรถมศาาณดรู่เทฉรสวหอร9ทิฎร สส8..ส่าู่าพัตี2รุลเรุธตัาินินน ุย1า ยตตกภาก2าัชา ง รนกั0 ว ทง่ ึ์วทร6รรภรรศีรสตตษา ฤณรลีย1าาปุ๊ณอตัตริน ์ภ์พท�ำ ์ณ9จจกังฐัณดนำ�ี บ์ร5งัยไาาษ บ ์เ์ 3ณษกล์ รรท ณ,ล รยยป์ ์ค0ป ์ ย์เ์า่โ9ก่าปนุท9 รไโอ้-ธผยี ลน2งง่ย3 าไอ9 ีส กำ�อ1ู่ชรเ7ำ�ภุม 7เอชภ1ศธชอแหณสสพตเกคศมเพจผสนอพขาสน่ืุาภนั�ำ่ออู้ำ�้นโอันรรริมดาชรนรแมยสีีปงมสนทยาชใทวพสอพภรพใพสอมพหมรพสู่ัยนรรรเุ์นยสบรีะมฤรงง์พราาุขรบรวรสศวลุณเแรยกัตวเราลรตัสนะห รถกุ ิทยษหนมริเี มกจ้วกยม์์ิฐา นิางัด็าหรทล ว รยั จดั์เทังเชหคียวโงนัด ใโเหลชมยยี ่รีง5าใ0หช2มม10ง่ ค 5ล0ล22า้ 0นนา ผกั เชียงดา ราชินผี กั ลา้ นนา