ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 1 บาร์เบล บาร-์ ชาย บาร-์ หญงิ 145
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 1.นาํ้ หนัก นักกีฬาชาย นักกฬี าหญงิ 2. ความยาว 20 กิโลกรมั 15 กโิ ลกรมั 3. เสนผาศูนยกลางของตวั คาน 2,200 มิลลิเมตร คลาดเคลื่อน 2,010 คลาดเคลอ่ื น โดยวัดจากสวนท่ีผิวเรยี บ ไดไมเกนิ +/- 1 มิลลเิ มตร ไดไมเกิน +/- 1 มิลลเิ มตร 28 มิลลเิ มตร คลาดเคลือ่ น 25 มิลลิเมตร คลาดเคลอื่ น 4. เสนผาศูนยกลางทป่ี ลายคาน ไดไมเกิน +/- 0.03 มิลลเิ มตร ไดไมเกิน +/- 0.03 มิลลิเมตร ทง้ั สองขาง 50 มิ ลิมตรคลาดเคลือ่ น 50 มิลลเิ มตร คลาดเคลอ่ื น ไดไมเกิน +/- 0.2 มิลลเิ มตร ไดไมเกนิ +/- 0.2 มิลลิเมตร 5. ความยาวดานใน 1,310 มลิ ลิเมตร คลาดเคลื่อน 1,310 มลิ ลเิ มตร คลาดเคลอื่ น ไดไมเกนิ +/- 0.5 มลิ ลิเมตร ไดไมเกนิ +/- 1 มลิ ลเิ มตร 6. ขอทีย่ ึดแผนเหล็กดานใน กวาง30 มิ ลิมตร คลาดเคล่อื น กวาง 10 มลิ ลิเมตร คลาดเคลอ่ื น ไดไมเกนิ +/- 1 มิลลิเมตร ไดไมเกิน +/- 1 มิลลเิ มตร 7. ตองมีลายกนั ลื่นเพ่ือชวย ในการจับ และแสดง ✓✓ ตาํ แหนงการจบั 1.2 แผ่นเหล็ก (The Discs) มลี กั ษณะดงั ต่อไปน้ี 1.2.1 ตอ้ งมนี ํ้าหนกั และสี ดงั นี้ - 25 กิโลกรมั สแี ดง - 20 กโิ ลกรัม สีน้าํ เงิน - 15 กโิ ลกรัม สีเหลือง - 10 กโิ ลกรัม สีเขยี ว - 5 กิโลกรัม สีขาว - 2.5 กิโลกรมั สีดำ - 1.25 กิโลกรมั สีโครเมยี่ ม (สเี งนิ ) 146
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 - 0.05 กโิ ลกรัม สโี ครเมีย่ ม (สเี งิน) - 0.25 กิโลกรัม สีโครเมี่ยม (สเี งิน) 1.2.2 แผ่นนํ้าหนักที่ใหญ่ที่สุด มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 450 มิลลิเมตร คลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน +/- 1 มิลลิเมตร 1.2.3 เส้นผ่าศูนย์กลาง 450 มิลลิเมตร ต้องวัดถึงขอบยางหรือพลาสติก และสที ่ที าผวิ ขอบแผน่ 1.2.4 แผ่นนาํ้ หนกั ทีม่ ีนํ้าหนกั นอ้ ยกวา่ 10 กิโลกรมั ต้องทำดว้ ยโลหะ 1.2.5 แผ่นน้าํ หนักทุกแผน่ ตอ้ งมตี วั เลขแสดงนํา้ หนักอย่างชัดเจน 1.3 ปลอกยึด (The Collars) คานแต่คานมีปลอกยึด 2 ข้าง ข้างละ 2.5 กโิ ลกรมั เพ่อื ยดึ แผ่นน้าํ หนกั ไว้ใหแ้ นน่ ไมใ่ ห้หลวมคลอน 1.4 อุปกรณ์ที่กำหนดให้มีนํ้าหนักมากกว่า 5 กิโลกรัม คลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน +0.1% และ 0.05% ของนา้ํ หนักนนั้ ๆ อุปกรณ์ที่กำหนดใหม้ ีนํา้ หนกั 5 กโิ ลกรมั หรือน้อย กว่าจะมีความคลาดเคลอ่ื นไดไ้ มเ่ กิน +10 กรมั 147
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 1.5 การใส่แผน่ นํ้าหนัก ต้องใส่แผ่นที่ใหญ่และมีนํา้ หนักมากทีส่ ดุ ไว้ดา้ นในแล้วจงึ ใส่แผ่นที่มีนํ้าหนักรองถดั ออกมา ใหผ้ ู้ตดั สินสามารถอ่านคา่ น้ําหนกั ได้ และต้องยดึ ตรึงด้วย ปลอกยดึ ใหแ้ นน่ ทุกครั้ง 1.6 เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างคานนักกีฬาชายและคานนักกีฬาหญิงให้ ทาสีนํ้าเงินท่ีปลายคานทง้ั สองข้างของคานนกั กฬี าชาย และสเี หลืองของคานนกั กีฬาหญงิ 2. ระบบไฟสัญญาณตดั สนิ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronics Referee Light System) ประกอบด้วยสว่ นต่างๆ ดงั น้ี 2.1 กล่องควบคมุ สำหรับผู้ตัดสินทัง้ 3 คน คนละ 1 กล่อง แต่ละกล่องจะมีปุ่มกด ไฟ 2 ปุม่ คือ สีขาว และสแี ดง กับปมุ่ รบั สัญญาณอีก 1 ปมุ่ 2.2 เครื่องให้สัญญาณเสียงและแสง “ลง” (เพื่อให้วางบาร์เบลลง) สำหรับติดตั้ง ดา้ นหน้าพื้นแขง่ ขัน 2.3 ไฟสัญญาณของผู้ตัดสิน อย่างน้อย 2 ชุด แต่ละชุดประกอบด้วยไฟสีขาว 3 ดวง สแี ดง 3 ดวง เรียงตามแนวราบเพ่อื แสดงผลการตดั สิน 2.4 กล่องควบคุม เพื่อตรวจสอบว่า ผู้ตัดสินได้ตัดสินอย่างไร อย่างน้อย 1 ชุด สำหรับติดตั้งท่ีโต๊ะกรรมการควบคุมการแข่งขันและมีปุ่มส่งสัญญาณสำหรับเรียกให้ผู้ ตดั สินแต่ละคนมาทโ่ี ต๊ะกรรมการควบคมุ การแขง่ ขัน ระบบการทำงาน ในระหว่างการแข่งขันเมื่อผู้ตัดสินทั้ง 3 คน ตัดสินว่า “ผ่าน” โดยการกดไฟสีขาว สญั ญาณเสยี งและแสงเพ่อื ใหน้ ักกีฬาวางบารเ์ บลลงจะปรากฏขึ้นทันที แล้วไฟสัญญาณการตัดสินจะปรากฏขึ้นตามมา และหากปรากฏสัญญาณให้นักกีฬาวาง บาร์เบลลง แต่นักกีฬายังไม่ลดบาร์เบลลง ให้หัวหน้าผู้ตัดสิน (ผู้ตัดสินกลาง) สั่งว่า “ลง” พรอ้ มกับให้สัญญาณมอื อกี ครัง้ เมือ่ ผตู้ ดั สนิ ท้งั 3 คน ตดั สินวา่ “ไม่ผ่าน” โดยการกดไฟสแี ดง สญั ญาณเสียงและ แสงเพื่อให้นักกีฬาวางบาร์เบลลงจะปรากฏขึ้นทันที แล้วไฟสัญญาณการตัดสินจะปรากฏ ขนึ้ ตามมา ถ้าผู้ตัดสินคนหนึ่งกดไฟสีขาว และผู้ตัดสินอีกคนหนึ่งกดไฟสีแดง จะปรากฏ สัญญาณเสียงเตือนให้ผู้ตัดสินอีกคนหนึ่งรีบกดไฟในทำนองเดียวกันเมื่อผู้ตัดสิน 2 คน กด 148
ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 1 ไฟสีขาวเหมือนกันหรือกดไฟสีแดงเหมือนกัน และปรากฏสัญญาณ “ลง” แล้วจะมี สญั ญาณเสยี งเตอื นให้ผตู้ ัดสนิ อีกคนหน่งึ รบี กดไฟ หลังจากที่มีสัญญาณแสงและเสียง “ลง” และก่อนที่ไฟสัญญาณการตัดสินจะ ปรากฏ ผ้ตู ดั สินจะมเี วลา 3 วินาที ท่ีจะเปลยี่ นการตดั สนิ เชน่ ในกรณที นี่ กั กฬี ายกนา้ํ หนกั ได้ถูกต้องแล้ว แต่ทิ้งบาร์เบลให้ผู้ตัดสินเปลี่ยนไปกดที่ไฟสีแดง และถ้าเปลี่ยนไม่ทันให้ยก ธงแดงทนั ที 3. เครอ่ื งชง่ั นํ้าหนกั (Scale) 3.1 ในการแข่งขันยกนา้ํ หนกั ชิงชนะเลศิ แหง่ โลก โอลิมปิกเกมส์ หรอื การ แขง่ ขนั ระหวา่ งประเทศ เช่น เวลิ ด์ คัพการแข่งขนั ภายในภูมภิ าค ต้องใช้เคร่ืองชั่งนํ้าหนักที่ สามารถช่งั ได้ถึง 200 กโิ ลกรัม และบอกรายละเอียดได้ถงึ 10 กรมั 3.2 การบันทึกนํ้าหนักตัวนักกีฬาต้องบันทึกให้ถูกต้องตามนํ้าหนักท่ี ปรากฏที่เครอื่ งชงั่ นํา้ หนกั 3.3 ในการแข่งขันยกนํ้าหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก โอลิมปิกเกมส์ หรือการแข่งขัน ระหว่างประเทศจะต้องมเี คร่ืองช่ัง นำ้ หนกั อกี เครื่องหนงึ่ ไว้ใกลก้ บั หอ้ งชัง่ นำ้ หนกั เพ่ือให้ กฬี าใช้ในการควบคมุ ตรวจสอบน้ําหนักของตนเอง 3.4 เครอื่ งชงั่ นํ้าหนักตอ้ งมีใบรับรองทีอ่ อกให้ภายใน 1 ปี ในการแข่งขนั 4. นาฬิกาจบั เวลา (Timing Clock) 4.1 ในการแข่งขันอย่างเป็นทางการของสหพันธ์ยกนํ้าหนักนานาชาติต้องใช้ นาฬิกาจบั เวลาที่เปน็ ระบบไฟฟ้า หรอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ท่มี คี ณุ ลกั ษณะดงั น้ี 149
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 1 4.1.1 จบั เวลาอยา่ งต่อเน่ืองไดไ้ มน่ ้อยกว่า 15 นาที 4.1.2 แสดงเวลาได้อยา่ งน้อยชว่ งละ 10 วินาที 4.1.3 ใหส้ ัญญาณเสยี งโดยอตั โนมตั ิ เม่ือถึง 30 วนิ าที กอ่ นหมดเวลา 4.2 แสดงเวลาไดพ้ ร้อมกัน ทงั้ ในสนามแขง่ ขัน และพ้ืนทอ่ี บอ่นุ รา่ งกาย 4.3 กรรมการจบั เวลา ต้องเป็นผตู้ ดั สินนานาชาติ 5. อุปกรณอ์ นื่ ๆ 5.1 ป้ายแสดงการยก (Attempt Board) เป็นป้ายแสดงชื่อนักกีฬายกนํ้าหนัก ทีข่ อยก และจำนวนครงั้ ท่ียกทส่ี ามารถมองเหน็ ได้ง่าย หมายเหตุ ข้อมลู ในปา้ ยแสดงการยกตอ้ งถกู ตอ้ งและนำไปใชอ้ า้ งองิ ได้ 5.2 ป้ายแสดงผลการแข่งขัน (Score Board) เป็นป้ายที่ติดตัง้ ในสนามแข่งขัน เห็นเด่นชัดเพื่อบนั ทึกสถิติ และผลการแขง่ ขนั ในรนุ่ ที่แขง่ ขัน ประกอบด้วย 5.2.1 ชอ่ งลำดบั หมายเลข 5.2.2 ชอ่ งช่ือนักกีฬาแต่ละคน ซงึ่ จัดเรยี งลำดับหมายเลขประจำตวั 5.2.3 ช่องช่อื ประเทศของนักกีฬา 5.2.4 ช่องนํา้ หนักตวั นกั กฬี า 5.2.5 ช่องการยกทา่ สแนทช์ 3 ชอ่ ง 5.2.6 ชอ่ งการยกทา่ คลนี แอนดเ์ จอร์ค 3 ช่อง 5.2.7 ชอ่ งผลสถติ โิ อลมิ ปิกโตเติล 5.2.8 ช่องผลการจัดอันดบั ทก่ ี ารแขง่ ขัน หมายเหตุ ขอ้ มลู ในป้ายแสดงผลการแข่งขันตอ้ งถูกตอ้ งและนำไปใชอ้ า้ งอิงได้ 5.3 ป้ายแสดงสถิติยอดเยี่ยม (Record Board) เป็นป้ายที่ติดตั้งในสนามแข่ง ขันเพื่อแสดสถิตยิ อดเยีย่ มของรนุ่ ท่กี ำลังแข่งขนั หมายเหตุ ข้อมูลในป้ายแสดงสถิตถิ ูกตอ้ งและนำไปใชอ้ า้ งองิ ได้ 5.4 ห้องอบอุ่นร่างกาย (Warm up Room) จัดทำขึ้นเพื่อให้นักกีฬาใช้เตรียม ตัวเข้าแข่งขัน ภายในพื้นที่อบอุ่นร่างกาย ต้องจัดให้มีพื้นแข่งแขัน บาร์เบล ผงกันลื่นและ อืน่ ๆ ในจำนวนที่พอเพียงกบั จำนวนนกั กีฬา และมีอปุ กรณ์ ดงั น้ี 150
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 - ลำโพงที่ต่อสายมาจากไมโครโฟนผู้ประกาศ (พิธีกร กรรมการจัดลำดับ การยก) - ป้ายแสดงผลการแข่งขันที่แสดงชื่อนักกีฬาตามลำดับหมายเลข ประจำตัว นา้ํ หนักตัว นํ้าหนกั ทขี่ อยก - โตะ๊ ทำงานของแพทยป์ ระจำสนาม - นาฬิกาจับเวลาท่จี บั เวลาไดพ้ รอ้ มกับนาฬกิ าจบั เวลาในสนามแขง่ ขัน - ไฟสัญญาณตดั สิน - ระบบโทรทศั นว์ งจรปิด เพือ่ แสดงภาพการยกบนพ้นื แขง่ ขัน 5.5 ในการแข่งขันโอลิมปิกเกมส์ หรือการแข่งขันระดับนานาชาติอื่นๆ เช่น ชิง ชนะเลิศแหง่ โลก ชิงชนะเลศิ ระดับทวปี หรือการแขง่ ขันภายในภูมภิ าค คณะกรรมการจดั การแข่งขันต้องจดั ใหม้ อี ุปกรณ์ ดงั นี้ - เคร่อื งชงั่ น้าํ หนกั ระบบอิเลก็ ทรอนิกสด์ ิจติ อล - นาฬิกาจับเวลาระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ดจิ ิตอล - ไฟสัญญาณตดั สินระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ - ป้ายแสดงผลการแข่งขนั (ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรอื ใสข่ อ้ มลู ด้วยมอื ) - ปา้ ยแสดงการยกระบบอิเล็กทรอนกิ ส์แสดงนํ้าหนักบารเ์ บลจำนวนคร้ัง ท่ียก ช่ือนักกฬี าและชอื่ ประเทศของนักกฬี า - ระบบโทรทัศน์วงจรปดิ สำหรบั คณะกรรมการและผู้ชม 5.6 อุปกรณ์เพิ่มเติมที่ช่วยให้การแข่งขันดำเนินการด้วยความเรียบร้อย เช่น คอมพวิ เตอร์ เป็นต้น 6. เคร่อื งแต่งกายนกั กฬี า (Out Of The Competitors) 6.1 ชดุ แข่งขัน (Costume) นกั กีฬาตอ้ งสวมชดุ แขง่ ขนั ทีส่ ะอาดโดยไดร้ ับการ ออกแบบและต้อสวมใสต่ ามกฎเกณฑ์ ดงั น้ี - อาจเปน็ ชิ้นเดยี ว หรอื สองชิ้นก็ได้ - ต้องเปน็ ชดุ รดั รูป - ต้องไมม่ ปี กคอเสื้อ - อาจเปน็ สีอะไรก็ได้ 151
ขนาดสนามและอุปกร-ณต์ก้อฬี งาไเมลป่มดิ 1คลมุ ข้อศอก -- ตต้ออ้ งงไไมม่ป่ปิดิดคคลลมุมุ ขหอ้ัวเศขอ่าก -6.ต1อ้.1งไอมาป่ จดิ สควลมุมเสหื้อวั ยเขึดา่ คอกลมไว้ในชุดแข่งขันได้ แต่ต้องไม่ให้แขนเสื้อปิด คลุมข้อศอกและต6้อ.ง1เ.ป1น็ อเาส- จตือ้ อ้สทงวไไี่มมม่ปเิดม่ สคีปล้ือมุกยขคึดอ้ ศอคอเอกสก้อื ลมไวใ้ นชุดแข่งขันได้ แต่ต้องไม่ให้แขนเสือ้ ปิด คลมุ ขอ้ ศอกและต6อ้ .ง1เ.ป2็นอเาส- จตื้ออ้ใทงชไไ่ีม้กมป่ าดิม่ งคปีเลกุมกงหคชัวเอขนเา่ ิดสแื้อนบเนื้อหรือกางเกงของนักกีฬาจักรยาน สวม ไวใ้ นชุดแข่งขคนั ลหุมขรอ้6ือศ.ส1อกว.2แมละทอตาบั6อ้ .จง1ชเ.ใป1ดุ ช็นอแ้กเาสขจาอ้ื สง่ทงวขไี่เมมกนัเ่มสงปีกื้อชกย็ไนคึดดอคิด้เอสแแกอื้ ตลนม่ตบไ้อวเ้ใงนนไชื้อมุดหแ่ปขรดิ่งือขคันกลไดามุ ้งแหเตก่ตวั ้องเงขขไมา่อ่ใงหน้แขักนกเสีฬื้อปาดิ จักรยาน สวม ไว้ในชดุ แข่งขนั หรอื สวมทับ6.1ช.2ุดอแาขจใง่ ชข้กานั งกเก็ไงชดน้ ิดแแตนต่บเ้อนงื้อหไมรือ่ปกาิดงคเกลงขมุ อหงนัวักเกขีฬ่าาจักรยาน สวม ไว้ในชดุ แขง่ ขนั หรอื สวมทับชุดแขง่ ขันกไ็ ด้ แตต่ ้องไมป่ ดิ คลมุ หวั เขา่ 6.2 ไมอ่ นญุ 66..า32ตใไนมใ่อพหนิธ้สมีุญอวาบตมเใหหเสร้สียว้ือญมยเรสาดึ ้ืองวยคัลดึ อคใกอหกน้ลลกั มมกกกีฬับาับกสากวงมาเชกงุดงเสแกนั้ตแง่งกทสานน้ัยชทแดุ สี่ แทหขพน่งขันชันธ์หดุ รแอื ขสม่งาขคันมของ ตนเองเป666็น...ผ323ู้กใใไตเำปนนมนห็นเอ่พพอนกงนิธิธาเดปมีีมรุญ6็นโออ.ฆแผา4ษกู้บบตลสำณเเหใะหหหหพานรบรัรนด้สบั นธียียวแร์ยชญญลมกอุดะนเงรรแรํส้าบัขาาหรอ้ื่งงงนอขววยักงันลัลันดึ ไาคดนใใ้ไาอหหมชกน้้น่าเกตลกัักิินอมกกน5กีฬีฬุญ0ับ0าาาตกสสตใาาหววรง้ตมมาิดเงชชกเเคซุดดุงรนสื่อแแตง้ันตตหิเมแง่ง่มตกกาทยราานกยยแาชรลททคดุะ้ส่ีา่สี ไแแมหหลข่เะพพก่งอินขนันัื่นกๆนัธธว์หห์่อาันทรรี่ อืือสสมมาาคคมมขขอองง ตนเองเป6็น.ผ4กู้ สคำณหหะพนกรันดรมธแก์ยาลกรจะนัดรกํ้าบั าหรรแนอขั่กงงขนันกาำนหนาดชาสำตหิ รอับนในุญกาารแตขใง่ หขัน้ตโอิดลเิมคปริกเื่อกมงสหใ์ หม้เปาน็ยไกปตาารมคกฎ้าและอื่นๆ อัน คเเปปณ็็นนะกกกาารรรร6มโโ.ฆฆก4าษษส7ขรณณอ.หจงรดัคอพาาณงกบบันเะทา6นนกธ้าร.ร5ย์ยชชแรกอมกุุนขดดากน้ําจ่งาแแหสรขํ้านโวขขอหนัมกั ล่่งงถนกิม(ุงขขWปเำักทััิกนนeหา้นสiไgนไไาดาhกดด้ดนtแลl้้ตไไiาfต่สมมtชiอ้ nำ่่าเเงgหไกกตมSรส่ิิินนhองูับoถนใeึง55นใsุญต00)ก้เ00ขาา่าตแรตตลใแาาะหขตรร้ต้อง่ าางิดขไงงมนัเเเ่ปคซซโดิ รอทนนื่อลบั ตตงผิมา้หิิเเปพมมมนั กิ ตเตาขเยกา่รรกมแแาสรลลใ์ คหะะ้า้เไไปแมมล็น่่เเะไกกปอิินนตื่นกกาๆววม่่อาากันททฎ่ีี่ ขขคออณงงะคคกณณระะร6มกก.กรร5รราอมมชรว่าจกกยจดัใาาหสรรกเ้ กโวโา77อิดอมร..ค21ลลแถวรนมิมิาขงุอมักปเปง่งมกทเข่นัทีิกฬิกา้ค้าันาสสยไงตใกาดาก้อนนกกงำ้กสํ้าแหลลาหวรตมนนย่ตรันืกดอต้อง้อเงสงทไทำ้ามำยหขส่กึ้นรนงู ใบัํ้านถหใลงึ นนักใักษตกณเ้เาพขะรื่อท่าแปี่ไแม้ขอ่เลงปง่ กะข็นันตกันเทา้อโร้าเองไอมไลา่ใมเหมิป่ป้เรปกียิดิดิกบอทนเันกักบั ตกมผรีฬาสา้ายอพใ์แื่นหลนั ๆะเ้ เปขน็ ่าไปตามกฎ 7. รองเท6า้ .5ยกอนนอาก้าํจจหสากนวคมักวาถม(ุงมWเ่งุ ทหeม้าาiไgยดใhน้ tขแlอ้ ตif7ต่ t.1iอ้ nงgไมS่สhงู oถeึงใsต)เ้ ข่าและต้องไม่ปิดทบั ผา้ พันเข่า 7. รองเท7้า.1ยกนนัก้ํากหีฬนาักต้อ(Wงสeวigมhรtอlงifเtทin้าgยกSนhํ้าoหeนs)ัก เพื่อป้องกันเท้าไม่ให้เกิดอันตรายและ ช่วยใหเ้ ก7ดิ .ค1วนามักมกน่ัีฬคางตใ้อนงกสาวรมยรืนองเท้ายกนํ้าหนัก เพื่อป้องกันเท้าไม่ให้เกิดอันตรายและ ชว่ ยให้เก7ดิ .ค2วราอมงมเ่นัทค้ายงใกนนกํ้าาหรนยักืนต้องทำขึ้นในลักษณะที่ไม่เป็นการเอาเปรียบนักกีฬาอื่นๆ นอกจาก7ค.ว2ามรอมง่งุ เหทม้าายยกในนํ้าขหอ้ น7ัก.1ต้องทำขึ้นในลักษณะที่ไม่เป็นการเอาเปรียบนักกีฬาอื่นๆ นอกจากความมุ่งหมายในขอ้ 7.1 152
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 7.3 อนญุ าตใหม้ สี ายรดั หลังเท้าได้ 7.4 สว่ นที่ห้มุ ส้นอาจเสริมใหแ้ ข็งแรงได้ 7.5 อนุญาตให้มีความสูงได้ไม่เกิน 130 มิลลิเมตร โดยวัดจากพื้นรองเท้าถึงส่วน บนสดุ 7.6 ส่วนทีเ่ ป็นพืน้ รองเท้าต้องยน่ื ออกมาไดไ้ ม่เกิน 5 มลิ ลิเมตร 7.7 สน้ รองเทา้ ต้องไม่เปน็ รปู เรยี ว 7.8 รองเทา้ ยกน้ําหนกั อาจทำดว้ ยวัสดุใดๆ หรอื วัสดผุ สมกไ็ ด้ 7.9 ไม่จำกดั รปู ทรงของรองเทา้ 8. เขม็ ขัด (Belt) 8.1 มีขนาดกวา้ งไม่เกนิ 120 มิลลเิ มตร 8.2 ห้ามคาดเข็มขัดไวภ้ ายในชุดแขง่ ขนั 9. ผ้าพัน แถบกาว และผ้าปดิ แผล (Bandages Tapes and Plasters) 9.1 ผา้ พนั แถบกาว และผ้าปิดแผล อาจใช้พ้นขอ้ มือ หวั เขา่ และท่ีมือไดแ้ ถบกาว หรอื ผ้าปดิ แผลอาจพันน้วิ มือได้ 9.2 ผ้าพันอาจทำจากผ้าพันแผล ผ้ายืดทางการแพทย์ หรือหนังก็ได้ ผ้ายืดชนิด ชิน้ เดยี วหรือปลอกเขา่ ชนิดยดื ได้ ซ่ึงชว่ ยในการเคลอ่ื นไหวอาจใชพ้ นั เข่าได้ แต่จะเสรมิ ใหม้ ี ความแขง็ แรงดว้ ยวธิ กี ารใดๆ ไม่ได้ 153
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 9.3 ห้ามใช้ผ้าพนั ทข่ี อ้ มอื ปิดคลมุ ผิวหนังเกนิ กวา่ 100 มิลลเิ มตร 9.4 หา้ มใชผ้ า้ พันทีห่ ัวเข่า ปดิ คลุมผิวหนังเกินกวา่ 300 มลิ ลิเมตร 9.5 ไมจ่ ำกดั ความยาวของผ้าพนั 9.6 อนุญาตใหใ้ ช้ผ้าปิดแผล แถบกาวหรอื ผา้ พนั ท่ีฝ่ามือและหลังมือไดโ้ ดยอาจผูก หรือเกบ็ ชายผ้าพนั นี้ไวท้ ่ีบรเิ วณขอ้ มอื แต่หา้ มพนั ยดึ กับคาง 9.7 อนุญาตให้ใชผ้ ้าปดิ แผลพันท่ีน้ิวไว้ แต่ต้องไมย่ น่ื เลยปลายนวิ้ ออกมา 9.8 เพื่อป้องกันการบาดเจ็บที่ฝ่ามือ อนุญาตให้สวมถุงมือชนิดเปิดปลายนิ้วได้ ได้แก่ ถุงมือสำหรับนักยิมนาสตกิ หรือนักกฬี าจักรยาน ถุงมือที่จะใช้นี้จะต้องปิดคลมุ นิ้วได้ เพียงข้อทีห่ นึ่งของนิว้ เท่านนั้ ในกรณที ีม่ กี ารพันผา้ ปิดแผลทีน่ ้ิวด้วยให้เว้นระยะระหว่างถุง มือกบั ผา้ พันนวิ้ ให้เหน็ ชัดเจน 9.9 ไม่อนุญาตให้ใช้ผ้าพันหรือสิ่งอื่นที่ใช้แทนผ้าพันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ดงั นี้ 9.9.1 ขอ้ ศอก 9.9.2 ลำตัว 9.9.3 ขาทอ่ นบน 9.9.4 ขาทอ่ นลา่ ง 9.9.5 แขน หมายเหตุ ในกรณที ีม่ ีการบาดเจ็บ อนญุ าตใหใ้ ชผ้ า้ ปิดแผลทขี่ าทอ่ นล่างได้ 9.10 การใช้ผ้าพันในแต่ละส่วนของร่างกายใหใ้ ช้ผ้าพันชนิดใดชนดิ หนึง่ เพียงชนิด เดยี ว 9.11 ต้องเว้นระยะระหว่างผา้ พันกบั ชุดแขง่ ขนั ใหเ้ ห็นได้ชดั เจน 154
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 กฬี ายิงเปา้ บนิ มาตรฐานสนามแข่งขนั และอปุ กรณ์กีฬา 1. สนาม สนามแขง่ ขัน 1.1 สนามแขง่ ประเภท สกีต 1.1.1 สนามแข่งประเภท สกีต มี House หรือที่ปล่อยเป้า จำนวน 2 หลัง คือ High house และ Low house ซึ่งตั้งห่างกัน 36.80 เมตร และมี Station ยิง จำนวน 8 Station เรียงกันเป็นรูปครึ่งวงกลม High house สูงจากพื้น 3.05 เมตร Low house สงู จากพ้ืน 1.05 เมตร 155
ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 1 สนามประเภทสกีต 1.1.2 Station 1 จะต้องอยู่ทางด้านซ้ายสุดติดกับ High house และ Station 7 จะอยู่ทางด้านขวาสุดติดกับ Low house ส่วน Station 2, 3, 4, 5 และ 6 จะ ตั้งเรียงเป็นรูป ครึ่งวงกลมตามลำดับ Station 8 จะตั้งอยู่บริเวณจุดศูนย์กลางในแนวตรง ระหว่าง High house และ Low house 1.1.3 ขนาดของ Station ยงิ 1 - 7 จะมขี นาด 90 - 95 x 90 เซนตเิ มตร สนามป1ร.1ะเ.ภ4ทสขกนตี าดของ Station 8 มีขนาดความกว้าง 90 - 95 เซนติเมตร 18S5ta-tio1n970จะเอซยนู่ท1ตา.1งิเ.ด2ม้าSนตtขaรวtiาoสnุดต1ิดจกะับต้อLoงอwยhู่ทoาuงsดe้านสซ่วน้ายSสtุaดtตioิดnกั2บ, High house และ ความยาว 3, 4, 5 และ 6 จะ 1.2 ตสั้งนเรียางมเปแ็นขรูปง่ ขครนั ึ่งวปงกรละมเตภามทลแำดทับรSปtation 8 จะตั้งอยู่บริเวณจุดศูนย์กลางในแนวตรง ดีดเป้าลึกลงไรปะจหวา่า1กง.รH2ะig.1ดh ับhขoพน11u..้ืนs11าe..ด34แ2สขขลนนะ-นาาLด2าดoขม.ขwอ1อมง0hงSีคoStเuaวtมastาietตoiมonรnกย8งิว1ม้าีขง- น72าจด0ะคมวเีขมานมตากดรว9้า0แง-ล990ะ5-มx9ีห950้อเซเงซนสนตตำิเเิมมหตตรรรับติดตั้เคร่ือง ความย1า.ว21.825เ-ค19ร0ื่อเซงนปตลิเม่ตอรยเป้ามีจำนวน 15 เครื่อง ติดตั้งอยู่บริเวณห้องที่ ด้านหน้าของสนามล1.ึ2กลสนงาไ1มป.แ2จ.ข1่งาขขกนันราปดะรสะดนเภับาทมพแมทีคื้นรวปา2มก-ว้า2ง.2100เมเตมรตแรละตมีหิด้อตงสั้งำแหยรับกตหิด่าตั้งเคกรื่ัอนง 1.00 - 1.10 เมตร ดีดเป้าลกึ ลงไปจากระดบั พ้นื 2 - 2.10 เมตร เปา้ โดยมีระยเดะม้าหตนร่าหนง1จ้า.2ขาอ.ก3งสนSSาta1มa.tล2tiึก.oi2oลnเงnคไปรยยจื่อิงางิงกปถมรละงึี่อดแ5ยับนเพSปวื้นt้าปaม2tีลจ-iำo่อ2นn.ย1ว0นเปขเ1มนา้ 5ตารเ1คดต5ริดื่อ1ตเงมั้งxแตตยิดร1กตหั้งเ่าอมงยกตูัน่บรร1ิเ.วข0ณ0นห-า้อ1น.ง1ทก0่ี ับแนวปล่อย 1.3 เสปน้าโดาย1มม.1แ3ีร.ะ3.ขย1ะสง่ หนขข่าานนัง1มจ.แ2าปา.ขกด3ร่งสSขSะtaันนaเtภปtiาoioรทnมะnเแดยภยิงลทับงิ ถมดะเึงีับบแจ5เนบำลิSวิลtนปแaแtลวททio่อนรnรยปเปปขSนา้tาa1ด5ti1oเมxnตร1ยเมิงตรเหขนมาือนนกับกแบั นวปปรละ่อเยภทแทรป 1.3.2 เค1ร.3ื่อ.1งขปนาลด่อสนยาเมปแล้าะมจำีจนำวนนSวtนatio3n ยเคงิ เรหื่อมอืงนกโับดปยรใะเชภ้เทคแทรรื่อปงที่ 7, 8 และ 9 จากเคร่ืองปลจ่อายกเเคปร่ือา้ งปปลรอ่ ะยเเภป1.า้ ท3ป.2แระเทเคภรรทื่อปแงทปรลป่อยเป้ามีจำนวน 3 เครื่อง โดยใช้เครื่องท่ี 7, 8 และ 9 156
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 2. อาวธุ ปืนท่ใี ช้แข่งขนั สามารถใชป้ ืนลูกซองธรรมดาได้แทบทกุ แบบ รวมถึงแบบเซมิออโต้ แต่หา้ มใช้ แบบ Pump-action (อาจไดใ้ นบางกรณี) และต้องมีขนาดลากล้องไมใ่ หญเ่ กินกว่าขนาด 12 ปืนทีม่ ีขนาดลากล้องเล็กกว่า 12 ก็ใช้ได้เชน่ กัน แต่ ห้ามตกแตง่ ปืนเป็นลายพราง (พรางท2ุก.ชอนาวดิ ธุ )ปนื ทีใ่ ช้แข่งขัน - หา้ มไสมาใ่มหาร้ใชถใ้ปชืน้ปืนทล่ีแูกตซง่อรงะธรบรบมดปาลไดอ่ แ้ ยทไบกททกุ กุ แชบนบดิ รใวนมถกึงาแรบแบขเซง่ มขอิันอโ(ตบ้ าแงตกห่ รา้ มะใบชอ้ กจะแตง่ ไกปืนให1แ(พ้เ2บ-ปรบหปา็นงนืPา้ปททuมุกลmมี่ไชอ่มขี นpยนใ่ิด-หาaไ)ดกcใ้ tลชแioาส้ลกnาว้ลย(ลอ้อโงั่นายเจลกงไ็กรดปกะ้ในืวนส่าบนุหา1)งร2กอื กรสณ็ใชล)ีไ้ ิงดแเเ้ลกชะน่ยี่ ตกวอ้ ันปงมืนแีขตนท่ หาุกด้าชมลตานกกิดลแใ้อตนงง่ ไกปมานื ่ใรหเปแญ็นข่เลกง่ านิขยกันพวรา่ าขงนาด - ปืนท-ีม่ หแี า้ มมไ็กมกใ่ หาใ้ซชีน้ปืนตทอ้ ่ีแงตมง่ รีตะัวบบบลปอ็ล่อคยแไมกทกกุ กชานซดิ นี ในเพกาอ่ื รไแมขใ่ง่ หขนัส้ า(บมาางรกถระบบรอรกจจกุ ะรแะตง่สนุ ใน แม็กกาซไกีนปไืนดใ้มหเ้าปก็นกปวลา่ ่อย1ไกนแัดล้วลัน่ กระสุน) - หา้ ม-ไมหใ่า้ หมไเ้ มปใ่ ลห่ีย้ใชนส้ อายุปโกยงรปณนื ใ์ หนรตือวั สปลิงืนเก(ใีย่ นวกปนืรณทีเกุ พชนอื่ ิดทใานใกหารไ้ ดแขเ้ ป่งขรันยี บคแู่ ขง่ ขนั )รวม ถงึ โช้คปแนื ม-ใก็ หนกา้รามซะ--ีนไหมไหปวดใ่้าืน่า้มหมทงาไใ้่ีมกกมชแีกใ่า้อหมวรุป่า็กเ้แปกก1ขลาร่ียง่ซนณขนนีัดอัน์ลตปุ ใดอ้ กนงแรรมณรอีตง์ใัวบนรบเคีตลดัวออ็ียปยควนื แดก(มใป์ นนั กนืกกราคณซอีนเี พเมพอื่ เอื่ทพไามนใหใ่ เหซ้ไ้สดเาเ้ตปมอรารยีรบ์ถหบคร่แูรรอืขจง่ทกุขีม่รันะีล)รสกัวุนมษในณะ คล้ายกันถึงตโิดช้คลปานืกใลนอ้ระงหปวนื า่ งเพกาอ่ื รลแขด่งแขรันงใรนคีรออบยเดดีย์ ยวกกนั เว้นแตโ่ ช้คท่ีมีการเจาะพอรท์ เพื่อลดแรงรี คอยดข์ องปืน - หา้ มไมใ่ หใ้ ช้อปุ กรณ์ลดแรงรีคอยดป์ นื คอมเพนเซเตอร์ หรอื ทม่ี ีลักษณะ คล-้าลยากกันลติดอ้ ลงาทก่ีเลจอ้ างะปพนื เอพรื่อ์ทลดแแลรงะรโคี ชอค้ ยทด์ีเ่ ยจกาเะวน้พแอตรโ่ ชท์ ้คทีม่ ีการเจาะพอร์ทเพอื่ ลดแรงรี คอเซยนดข์ตอเิ -งมปลตนืาaรก.ลวออ้ ัดนaงจท.ุญอา่ีเจานกาตญุปะใพาลหตอาใ้ใรยหชท์ ปใ้ป้ ชแานืป้ ลกนืทะลทโี่เชาจ่เี จค้กาาทละะ่เี พอ้จพางออะปรรพท์ ืนท์ อลรลาหท์การลกืออ้ ลวง้อัดโงดจยโาตดกอ้ ยปงตไลมอ้ า่ยงยาไวสมเดุกย่ นิขาอว2เง0กโชนิ ้ค2ย0ื่น และ เซนbต.เิ มอตนรญุ วัดาจตาใกหปใ้ลชาโ้ยชปค้าก(ลแาบกลบอ้ เงปปลืนีย่ หนรไอื ดว้)ดั จไมากว่ ป่าลจาะยเสปุด็นขโอชงโ้คชเ้คจยาื่นะพแลอะรท์ หรอื ไม่ เจาะกต็ าม แตb่ห. อานกุญเปาต็นใโหชใ้ ช้ค้โเชจ้คาะ(แพบอบรเป์ทล่ียพนอไดร)้ท์ ไม(่วบ่าวจกะเกปับ็นโพชอค้ รเจ์ทาะบพนอลราท์ กหลรือ้อไงมป่ นื ) จ-พะหอตรา้ ้อ์ทมงเจ-พไบจไมะหอานมตใร่า้ะลเ่้อห์ทมกกงาไบต็้ใไินมชกนามใ่มอ้ลลเ่ห2กาปุอ้้ใแ0ินกชงตก้อล2ปเ่หรปุอ้ซ0านืณงกนกปเรซเ์กตนืณปนลิเน็ก์ตม้อโลเิ ตชมงอ้ ้ครตตงเรติดจวิดาวปัดะปดั นืจพืนจาทอาทกกร่มีีม่ ท์ปปีศศี ลูนลพูนายาอยยเ์ยรสลเ์์ทสดุ็งล,ขุดง็(แบอ,ขสงวแอโงกชเสงกล้คโงบัง็เชเขพล,ค้นา้ อ็งมเารขาเท์,ลถน้าบ็งึงมานรหาเสูลลรถุดาอืง็ งึกทอรล้าหปุ สูยอ้ กรขงดุ รอืปอทณอืนง้าใ์)ปุ ดยกๆขรอณงใ์ ดๆ ที่ทาใหม้ทีค่ที าวใาหมม้ ไีคดวเ้าปมรไดยี เ้ บปรใยีนบกใานรกเาลรง็เลเง็ปเปา้ ้า - ความ- สควูงาขมอสงูงพขอางนพทาน้าทยา้ปยืนปืน 157
ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 1 วัดส่วนต่าสุดของพานท้าย (Lowest point of the buttstock) ถึงบนสุดของ พานท้าย (ตามรปู ) ต้องไมส่ งู เกนิ กว่า 170 มิลลเิ มตร (เช็คความถกู ตอ้ งตามภาพด้านบน) TRAP SKEET เครือ่ งปล่อย 3. กระสุนปนื กระสนุ ปนื ท่ีใชใ้ นการแข่งขนั ตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานกฏของสหพันธ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี a. นำ้ หนกั ของหัวกระสุนรวมกนั ตอ้ งไม่เกนิ 24.0 กรัม (+ ได้ 0.5 กรมั ) เพ่ือเป็น การกาหนดวา่ นกั กฬี าใชก้ ระสนุ ท่ีถกู ตอ้ งตามกฏนี้ กระบวนการข้นั ตอนการตรวจเช็ค 158
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 1 น้ำหนกั กระสุนจะทำโดยการหาคา่ เฉลยี่ โดยสุ่มเลอื กตรวจกระสนุ ของนักกีฬามาตรวจ ซึ่ง จะต้องไม่มีน้ำหนกั เกินกว่า 24.5 กรมั (บวกเผื่อไวใ้ ห้แลว้ ) b. เมด็ กระสนุ ต้องมลี ักษณะทรงกลม c. เม็ดกระสนุ ต้องทำจากโลหะตะก่วั , หรือตะกว่ั ผสม หรือโลหะท่ีตรงตามกฏท่ี สหพนั ธ์กำหนด d. เม็ดกระสนุ แตล่ ะเม็ดต้องมเี สน้ ผ่าศนู ยก์ ลางไมเ่ กิน 2.6มิลลิเมตร e. อาจใชเ้ มด็ กระสนุ แบบชบุ เคลือบได้ f. หมอนรองกระสุนตอ้ งเปน็ แบบสีขาวใส ห้ามใช้กระสุนที่มีหมอนรองกระสุนสี อื่น g. หา้ มใช้กระสนุ ท่ีประกอบจากวัสดดุ นิ ดา (ซ่ึงเปน็ วสั ดุทาให้ติดไฟและควนั จะ ออกมามากเวลายิง) h. ห้ามใช้กระสุนทปี่ ระกอบพเิ ศษท่ที ำใหเ้ กิดการกระจายตัวของเม็ดกระสุนแบบ ไรท้ ิศทาง 4. เป้า เป็นรูปทรงกลมคล้ายจานทำ ด้วย ดินเผา ทาสีดำ สีขาว สีเหลือง หรือสีส้ม มี เส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 11 เซนติเมตร 159
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 5. อปุ กรณแ์ ข่งขนั และเครอ่ื งแตง่ การในการแข่งขนั เสอ้ื ผ้าเครอื่ งแตง่ กายของนักกฬี า - อนุญาตใหใ้ ชก้ างเกงกฬี า ,ชดุ วอร์ม, แจ้คเกต ,เส้ือกฬี า สาหรบั ทั้งหญิงและชาย , กระโปรง หรอื ชดุ สาหรับนกั กีฬาหญงิ แต่ หา้ ม ใส่กางเกงยนี ส์ทุกชนิดในการแข่งขัน - ห้าม สวมรองเท้าเปิดหัวหรือเปิดส้นเท้า, รวมถึงรองเท้าแตะทั่วไปในการ แขง่ ขัน - หา้ ม สวมกางเกงขาสั้นหรือกระโปรงสั้น ที่มคี วามสน้ั เกิน 15 เซนติเมตรวดั จาก ก่ึงกลางของหวั เขา่ - ห้าม สวมเสื้อเชิ้ต หรือเสื้อยืดแขนกุด หรือเสื้อที่มีความยาวของแขนเสื้อ น้อย กว่า 10 เซนตเิ มตร - ห้าม สวมเครอ่ื แต่งกายหรืออปุ กรณ์เครือ่ งแตง่ กายท่ีเป็นลายพรางทกุ ชนดิ หมายเลขประจำตัวในการแข่งขันของนกั กฬี า (BIB (Start) Numbers) นักกีฬาทุกคนตอ้ งมหี มายเลขประจาตวั ตดิ บนเสอื้ ยงิ ปืนทุกคน โดยตาแหน่งทต่ี อ้ งติด คอื - บนเสื้อยิงปนื ด้านหลังและตดิ ไวเ้ หนือระดับเอว - ติดไว้ตลอดเวลาทัง้ ตอนซอ้ ม P.E.T. และในระหว่างการแขง่ ขนั - ถ้านักกีฬาไม่มีหมายเลยประจาตัวติดไว้ นักกีฬาจะไม่ได้รับอนุญาตให้ทาการ แข่งขนั - ขนาดของตัวเลขจะต้องใหญ่ให้เห็นได้ชัดเจนและต้องมีขนาดความสูงของ ตวั เลขไม่ต่ากวา่ 20มิลลเิ มตร (2ซม.) 160
ตัวย่อช่ือประเทศ (ตัวอกั ษรยอ่ ระบุสังกัดประเทศตามหลักสากล) ดแใดหล้้าาญนนว้ ใหห่(สบลลจ่ รัังงดุรตตต)ทแแ้้ออวั ดลลัดงงย้าะะตปปนอ่ ตต่อหัักกช้้ออลไตต่อื ังปงงััววตตปออแใ้อวัยยลหรยยงย่่ออะปะ่อ้นูู่่เเตหหักชเ้อัไไกทตื่อนนววงกัวปศอ้้บบยืืออีฬรย่อนนะู่เ(าหBBเตไดดทปนวiiศวัbb้้้าาบือักนนนอ(BนNNตดักหหiวัb้าาuuษลลนอมNbbกัหัังงรสuษลmmขขยbกังรออ่อmขยeeุลองงอ่รerrขงเเระrสสเะึ้ขขนสบขบืื้้ออื้ออออกุสุสกกกงงง่องั๊ันกงั ๊ั๊ันนกกกนทักกัดททัักกกี่ใัดปชีฬกกแ่ี่ีใใย้รปชชาลีีะฬฬิง้ยย้รปเโะทาาดืนะิิงงใศยปเปชโโตดใทดดชา้ืืานน้ต้อศนมยยัวักบหตดดใใอษนลขชชา้้าารักักสน้้ออนนมภสุดษาาัักกบหบาบดษรกษษรสนนลายลิเนอวรรัก)สส่อณาังภภสุมุกดดตไาาฤหแาบบัวษษษลลกแรรตะ่ขาาอลิิเเรัวอออววปุพก)งณณััเงงกิมสสกกรพื้อไไุดณฤฤ์หหขษษลลก์ อตีฬต่่ขขงััาววออชพพงงื่อเลเเิิมมตสสม่ พพนอ้ือ้ื 1์์ ใหญ่(บรรทใัดหตญ่อ่(บไรปรทใหัดต้น่อักไปกใหีฬ้นาักปกีัฬกานปาักมนาสมกสุลกุลขขึ้นึ้นกก่อ่อนนแลแะลใชะ้ตใัวชอ้ตักษัวรอยัก่อตษัวรแยรก่อสตุดัวขอแงรชกื่อตสนุดของชื่อตน แลว้ ใส่จดุ ) แลว้ ใส่จดุ ) แผ่นบงั ดแา้ ผน่นขบังา้ ดงา้ ขนอขา้งงแขวอง่นแยวน่งิ ยปงิ นืปืน((นนักกั กกีฬีฬามากัมใกัชเ้ใพชอื่ เ้บพังท่อื ศั บนงัยี ทภาศั พนดยีา้ นภขาา้ พง เดพา้่อื นขา้ ง เพื่อ ไมใ่ ห้รบกวไนมส่ใหมร้ บากธวกิ นาสรมยาธงิ กิ )ารยิง) ไขไมมนย่่ใาห่ืนด้รอขบออกก--แงวแมผออขไนผามน่นนนเ่นส่ยาบญุญุกื่นดบมินงัอขาาางัอดอกตตนธก-ง้าวใใแมิกจ้ีอหหน่าผานะาเแ่น้ต้ตขุญกรตบนิดิดนิา้าย้อังกตวแแงนิงงวใหขีจ้ผผห)่ามะแอต้นน่น่ คีตนิดง้าบบ้อววแแผงหังผังามวานน่นนมคี กา้บน่ว้ีไ้ไีสผังาขววยาูงนม้ก้กอก(งิี้ไสวขวับบังปูง้กอดั(นหหวับืนงแัดักนหมมแนกักม(ววนกนววฬีกวกฬีกดดกั ,,า,า่ิงิ่งกแ)แแ)ไวีฬไมววน่ ม่ตน่น่ายำ่ต่ งิมยยกปำ่ วกัิงิงืนก่าปปใ,ว6ชหนืนื ่าร(เ้,,หอืพ6กหหผ่ือ)า้ เรร(คซบหืออืานดกงัผผตหทิเ)า้า้มเวั ศคคัซตขรอาานนงดดแตียนลหหกัิเภะมกวัวัจาฬีตขขะพาตรออ้อดโงงดงแา้นนยลนักกั ะขกกจา้ฬีีฬะงาาตเอ้ โโพดดงอ่ื ยย ขนาดของแผ่นบงั นจ้ี ะตอ้ งมคี วามสงู (วัดแนวด่งิ )ไม่ตำ่ กว่า 6 (หก)เซนตเิ มตร และจะตอ้ ง ไมย่ ่ืนออกมาเกินกวา่ แนวหนา้ ผากของนักกฬี า เคร่อื งปอ้ งกันเสียง เชน่ ทอ่ี ุดหู (ear plug) หรอื ทคี่ รอบหู (ear muffs) หรอื เคร่ืองป้องกนั เสียงอน่ื ๆ เคร่อื งปอ้ งกนั เสยี ง เช่น ทอี่ ุดหู (ear plug) หรือ ที่ครอบหู (ear muffs) หรอื เครื่องป้องกันเสยี งอืน่ ๆ เครอ่ื งป้องกันเสียง เชน่ ทอ่ี ดุ หู (ear plug) หรอื ทีค่ รอบหู (ear muffs) หรือ เคร่อื งปอ้ งกันเสยี งอ่ืนๆ 161
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 1 กฬี าปนื รณยทุ ธ มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอุปกรณ์กฬี า สนามแขง่ ขัน 1. การออกแบบสนาม บรรทัดฐานในการออกแบบสนามดังต่อไปนี้ เป็นความรับผิดชอบ และความ เข้มงวดของผู้ออกแบบสนาม ซึ่งเสมือนหนึ่งเป็นสถาปนิกของการแข่งขันกีฬายิงปืนระบบ IPSC 1.1 หลกั การท่วั ไป 1.1.1 ความปลอดภัย – การแข่งขัน IPSC จะต้องออกแบบ, สร้าง และ ปฏบิ ตั ิ โดยคำนึงถงึ ความปลอดภัย 1.1.2 คุณภาพ – ระดับคุณภาพของการแข่งขันยิงปืน IPSCถูกวัดได้จาก คุณภาพของความท้าทายที่นำเสนอในการออกแบบสนาม สนามควรจะถูกออกแบบเพ่ือ วดั ทกั ษะการยงิ ปนื IPSC ของผแู้ ข่งขนั เปน็ อนั ดับแรก ไม่ใช่เพ่ือวัดสมรรถภาพทางรา่ งกาย 1.1.3 ความสมดุล – ความแม่นยำ ความรุนแรง และความรวดเร็ว เป็น องค์ประกอบในการยิงปืนระบบ IPSC ซึ่งมาจากคำในภาษาลาตินว่า “Diligentia, Vis, Celeritas” (DVC) ความสมดุลอย่างลงตัวในสนามยิงจะขึ้นอยู่กับลักษณะความท้าทาย ท่ี นำเสนอเข้าไปเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามสนามควรจะถูกออกแบบที่ทำให้การแข่งขันยงิ ปืน IPSC เป็นไปในแนวทาง ท่ใี ห้ใช้องค์ประกอบเหล่านีอ้ ย่างเสมอภาคกัน 1.1.4 ความหลากหลาย – ในการยิงแข่งขันยิงปืน IPSC ควรจะมีความ หลากหลาย ในขณะที่ไม่มีความจำเป็นที่ต้องสร้างสนามแบบใหม่ๆ สำหรับแต่ละการ แข่งขัน แต่ก็ไม่ควรมีสนามใดๆ ที่ถูกใช้ซ้ำมามากเสียจนไม่สามารถใช้วัดทักษะในการยิง ปืน IPSC ได้ 1.1.5 อิสระ – การแข่งขันยิงปืน IPSC เป็นการยิงได้อย่างอิสระ ผู้ แข่งขันต้องได้รับอิสระในการวางแผนการยิงในหลักการที่ว่า “ยิงเมื่อเห็นเป้า” หลังจาก เสียงสญั ญาณดงั ตอ้ งไมบ่ ังคบั การเปลีย่ นแม็กกาซนี ไมบ่ งั คับตำแหนง่ ยิง กรอบพ้ืนที่ หรือ บังคับระยะยิง ยกเว้นข้อกำหนดพิเศษข้างล่าง (1.1.5.1 ถึง 1.1.5.3) อย่างไรก็ตาม 162
ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 1 ข้อกำหนดเหล่านั้นสามารถทำได้โดยการสร้างกำบัง หรือขอบเขตอย่างอื่นทางกายภาพ เพือ่ ท่ีจะบังคบั ผูแ้ ข่งขันใหย้ งิ ตามระยะ กรอบพื้นท่ี หรือตำแหน่งท่ตี อ้ งการได้ 1.1.5.1 การแข่งขันระดับ Level I และ Level II ไม่มีความ เข้มงวดมากนกั ในเรอ่ื งอิสระของการยงิ และเรื่องจำนวนกระสนุ 1.1.5.2 ส น า ม โ จ ท ย ์ ก า ร ย ิ ง ส ั ้ น ( Short Courses)แ ล ะ Classifiers อาจให้มีการบังคับให้เปลี่ยนซองกระสุน (แม็กกาซีน) Mandatory Reload หรือมีการบังคับตำแหน่ง บังคับบริเวณ และ/หรือการยืน เมื่อมีคำสั่ง Mandatory Reload (บังคับเปลี่ยน แม็กกาซีน) ให้ทำการเปลี่ยน หลังจากยิงเป้าแรก และเปลี่ยนก่อน ยิงเป้าสดุ ทา้ ย หากฝา่ ฝืนให้ ทำโทษ 1 ผดิ วธิ ี 1.1.5.3 สนามโจทย์การยิงทั่วไป (General Courses) และ Classifiers อาจระบุให้ใช้มือถนัดหรือไม่ถนัดยิง โดยไม่จำเป็นต้องบังคับด้วยอุปกรณ์ กายภาพใดๆ (เชน่ ห่วงหรอื ตะขอ สายรดั และ อ่ืนๆ) การบังคบั ใช้มือถนดั หรอื ไม่ถนดั ต้อง ให้ใชจ้ ากจุดท่ีกำหนด เฉพาะในส่วนหน่งึ สว่ นใดของสเตจนน้ั ๆ 1.1.5.4 หากมีคำอธิบายสนามเขียนระบุ (Stage Brifing) กำหนดให้ใช้เฉพาะมือข้างถนัด หรือไม่ถนัด แต่หากผู้ยิงเพยี งแค่ถูกกำหนดให้ถือ หรือ ดงึ หรอื จบั วัตถทุ ี่กำหนดในระหวา่ งหว้ งการยงิ 1.1.5.5 ผู้ออกแบบสนามสามารถกำหนดให้ผู้ยิงมีอิสระในเลือก จุดเริ่มยิง ที่ใดก็ได้ในบริเวณพนื้ ทเี่ ขตการยงิ ท่ีกำหนดไว้ 1.1.6 ความยาก– การแข่งขันยิงปืนระบบ IPSC จะนำเสนอระดับความ ยากต่างระดับกันไป จะไม่ใช้การที่ไม่มีความท้าทายในการยิงทั้งนี้ไม่รวมถึงความท้าทาย โดยที่ไมต่ ้องทำการยงิ (Non-shooting Challenges) ซ่งึ ยอมให้มคี วามเสมอภาคต่อความ สงู และความแตกต่างทางสรรี ะของผแู้ ข่งขนั แต่ละคน อยา่ งสมเหตุสมผล 1.1.7 ความท้าทาย– การแข่งขันยิงปืนIPSC คำนึงถึงความท้าทายใน การควบคุมความแรงของปืนระหว่างการยิงแบบเคลือ่ นไหว แต่ก็ต้องใหผ้ ู้แขง่ ขันที่ใช้ปืนท่ี มีขนาดกระสุน และพลังต่ำกว่าตามข้อกำหนดขั้นต่ำ สามารถได้รับรู้ถึงความท้าทายนี้ได้ เช่นกนั 163
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 1 1.2 ประเภทของสนามยงิ - การแขง่ ขันยงิ ปืน IPSC อาจประกอบไปดว้ ยสนาม IPSC หลายอยา่ งดังต่อไปน้ี 1.2.1 โจทยก์ ารยงิ ทวั่ ไป: 1.2.1.1 “โจทย์การยิงสั้น” (Short Courses) ต้องไม่เกิน 12 นัดในการยิงให้จบ การออกแบบและสร้างสนามต้องไม่ให้ยิงได้มากกว่า 9 นัดในตำแหน่ง เดยี ว หรือหนง่ึ มมุ มอง 1.2.1.2 “โจทย์การยิงกลาง” (Medium Courses) ต้องไม่เกิน 24 นัดในการยิงให้จบ การออกแบบและสร้างสนามต้องไม่ให้ยิงได้มากกว่า 9 นัดใน ตำแหน่งเดียว หรือหนึ่งมุมมองเดียว หรือทำให้ผู้แข่งขันสามารถยิงเป้าที่มีอยู่จนหมดได้ จากตำแหนง่ เดียว หรือจากมุมมองเดียว 1.2.1.3 “โจทย์การยิงยาว” (Long Courses) ต้องไม่เกิน 32 นัดในการยิงให้จบการออกแบบสนามและสร้างสนามต้องไม่บังคับให้ยิงได้มากกว่า 9 นัด ในตำแหน่งเดียว หรอื มมุ มองเดยี ว หรือทำให้ผแู้ ข่งขันสามารถยงิ เปา้ ทม่ี ีอยู่ จนหมดได้จาก ตำแหนง่ เดียว หรอื จากมุมมองเดยี ว 1.2.1.4 ความสมดุลของสัดส่วนสนาม ที่ได้รับการรับรอง สำหรบั การแขง่ ขันยิงปนื IPSC ท่ไี ด้รบั การรับรองอยา่ งเปน็ ทางการ คอื 3 สนามส้ัน ตอ่ 2 สนามกลาง ตอ่ 1 สนามยาว 1.2.1.5 โจทย์การยิงที่มีเงื่อนไขให้ รังเพลิงว่าง/ไม่โหลดแม็กกา ซีน/ไม่โหลดกระสุนเข้าโม่จะต้องมีมากเกินกว่า 25% ของโจทย์การยิงของทั้งแมทช์การ แข่งขัน 1.2.2 โจทยก์ ารยิงพเิ ศษ: 1.2.2.1 “Classifiers” – สนามที่มีการอนุมัติโดย RD และ/ หรือ IPSC ซึ่งใช้แบ่งคลาสผู้แข่งขันระดับภาค หรือระดับนานาชาติโดยรวม สนามที่เป็น Classifier (Classifier Stage) จะต้องสร้างให้เป็นไปตามกฎฉบับนี้และต้องเข้มงวด เรื่อง รูปผงั สนามและข้อความให้ชดั เจน ผลการแข่งขันของสนามดังกล่าวจะต้องพมิ พ์และจัดส่ง ในรปู แบบทก่ี ำหนด (อาจมีคา่ ธรรมเนียม) เพ่อื ให้มีผลกับคลาสผู้แข่งขัน 164
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 1.2.2.2 “Shoot-Off” การแข่งขันที่กำหนดขึ้นแยกออกจาก การแข่งขันหลัก ผู้แข่งขันที่มีสิทธ์ิ 2 คน ทำการยิงพร้อมกันด้วยเป้า 2 ชุด เหมือนกันและ ถูกจัดให้อยู่ติดกัน ตามระบบแพ้คัดออก แนะนำให้ใช้เป้าโลหะ และตั้งเป้าสุดท้ายของแต่ ละผู้แข่งขันให้ทับซ้อนกันกับของคู่แข่งเมื่อล้มลง จะต้องไม่ใช้กระสุนมากกว่า 12 นัดใน การยิงให้จบ และต้องมีการบังคับให้เปลี่ยนซองกระสุน (แม็กกาซีน) (Mandatory Reload) 1 ครั้ง หลังจากทำการยิงเป้าแรกและกอ่ นทำการยิงเป้าสุดท้าย หากฝ่าผืนให้ถือ เป็นแพ้ คัดออก 2. การสรา้ งสนาม และการปรับปรงุ เปล่ียนแปลง กฎเกณฑ์การสร้างสนาม ต่อไปนี้ให้ใช้เป็นบรรทัดฐาน ความรับผิดชอบและ ข้อจำกัดที่นำไปใช้ในสนาม สำหรับการแข่งขันยิงปืน IPSC ผู้ออกแบบสนาม เจ้าภาพการ แข่งขัน และเจา้ หนา้ ท่ี จะอยู่ภายใตก้ ฎเกณฑ์เหลา่ นี้ 2.1 กฎทั่วไป 2.1.1 การก่อสร้างองค์ประกอบสนามทางกายภาพ– การออกแบบต้อง คำนึงถึงความปลอดภัย การสร้างสนามและข้อกำหนดของสนาม IPSC เป็นความ รับผิดชอบของเจ้าภาพการแข่งขัน โดยการอนมุ ัตขิ องนายสนาม (Range Master) จะต้อง หลีกเลี่ยงความเปน็ ไปได้ต่างๆ ที่อาจจะก่อให้เกิดการบาดเจ็บแก่ผู้แข่งขัน เจ้าหน้าที่ หรือ ผู้เข้าชมการแข่งขัน ตลอดการแข่งขันการออกแบบสนามควรหลีกเลี่ยง ความได้เปรียบ เสียเปรียบและความไม่ปลอดภัยทีอ่ าจจะเกิดขึ้นได้ จะต้องพิจารณาถึงการปฏิบัติงานของ ทกุ สนามเพื่อให้เหมาะสมในการท่เี จ้าหน้าท่ีจะดูแลผ้แู ข่งขัน 2.1.2 มุมยิงที่ปลอดภัย– สนาม IPSC ควรสร้างให้มีมุมยิงที่ปลอดภัย เสมอ การพิจารณาจะต้องดูความปลอดภัยของเป้า และองค์ประกอบในการสร้าง และ ความเป็นไปได้ของมุมในการแฉลบของกระสุน ขนาดและความเหมาะสมของแนวหยุด กระสุน (Backstops) และเนินด้านข้าง (Side Berms) ควรพิจารณาเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการสร้างสนามหากไม่มีอะไรระบุเพิ่มเติมเป็นพิเศษ แนวลำกล้องจะถูกห้ามหัน เกนิ มุม 90 องศาในทุกทิศทาง โดยวัดจากดา้ นหน้าผูย้ งิ ซึง่ หนั ตรงไปในกลางแนวยงิ 2.1.2.1 การกำหนดองศาแนวลำกล้องของแต่ละ สเตจ หรือ 165
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 สถานี (น้อยลงหรือมากขึ้น) อาจได้รับอนุญาตฝ่าฝืน รายละเอียดระบุเพิ่มเติมเรื่ององศา ของแนวลำกล้องและ เงือ่ นไขปจั จัยอืน่ ๆ นัน้ (เชน่ การกำหนดองศา แนวลำกลอ้ ง ในทางตั้งให้น้อยลงจะปฎิบัติเริ่มบังคับใช้เมื่อนิ้วเข้าโกร่งไก) ควรจะถูกระบุอย่างเปิดเผย เป็นการล่วงหน้าก่อนการแข่งขันและต้องเขียนระบุรวมอยู่ในคำอธิบายสนาม (Stage Briefings) 2.1.3 ระยะขั้นต่ำ– เมื่อใดที่ใช้เป้าโลหะ หรือฮาร์ดคัฟเวอร์ทำจากโลหะ ต้องป้องกันไม่ให้ผู้แข่งขันและเจ้าหน้าที่สนาม อยู่ใกล้กว่า 7 เมตรจากจุดท่ีกำลังยิง หาก เป็นไปได้อาจทำโดยใช้ฉากกั้น หากใช้เส้นขอบเขตการยิง(Fault Lines)เพื่อจำกัดระยะ เข้าถึงเป้าโลหะ ต้องกำหนดไว้อย่างน้อย 8 เมตร จากเป้า ทั้งนี้เพื่อว่าหากผู้แข่งขันทำ ฟาล์ว โดยการล้ำเส้น ก็ยังเกินกว่าระยะขั้นต่ำ 7 เมตร และควรเก็บอุปกรณ์สนามที่ทำ จากโลหะไม่ให้อยใู่ นบริเวณพื้นท่ีแนวทำการยงิ 2.1.4 ตำแหน่งของเป้า– เมื่อสนามถกู สรา้ งเพือ่ ต้องการกำหนดตำแหนง่ เป้า รวมไปถึงการพิจารณาแนวยิง ผู้จัดแข่งขันและเจ้าหน้าที่จะต้องป้องกันหรือจำกัด ขอบเขตใหก้ บั เจ้าหน้าท่ี ผู้ชมหรอื ผแู้ ขง่ ขันทเ่ี ขา้ ไป ผแู้ ข่งขนั แตล่ ะคนจะตอ้ งได้รับอนุญาต ใหแ้ ก้ปญั หาการยิงดว้ ยตนเอง และต้องไมถ่ กู กีดขวางโดยการกระทำใดๆ อนั อาจกอ่ ให้เกิด ความไม่ปลอดภัย เป้าควรจะจัดให้อยู่ในพื้นฐานที่ให้ยิงตามที่ปรากฎ และวางมุมองศาใน ลักษณะทีป่ ลอดภยั ดว้ ย 2.1.5 พื้นผิวสนาม– ถ้าเป็นไปได้ ผิวของสนามต้องตระเตรียมปรับปรุง ก่อนการแข่งขัน ควรกำจัดเศษซากสิ่งของก้อนหนิ ให้เรียบร้อยพอสมควร เพื่อให้เกดิ ความ ปลอดภัยเพียงพอแก่ผู้แข่งขันและเจ้าหน้าที่ พิจารณาถึงสภาวะอากาศ และการ เคลื่อนไหวของผู้แข่งขัน เจ้าหน้าที่สนาม (RO1) อาจใช้กรวด ทรายหรือวัสดุอื่นใด ซอ่ มแซมพืน้ ผิวสนามทีเ่ สยี หายได้ทกุ เม่ือ ผู้แขง่ ขันอาจไม่สามารถประท้วงในการซ่อมแซม พืน้ ผิวสนามในกรณีนไี้ ด้ 2.1.6 สิ่งกีดขวาง– สิ่งกีดขวางโดยธรรมชาติหรือที่สร้างขึ้นในช่องยิง ควรสมเหตุสมผลต่อความแตกต่างทางสรีระรูปร่าง และความสูงของผู้แข่งขันแต่ละคน ในขณะที่สร้างแล้วใช้งานได้อย่างปลอดภัยแก่ผู้แข่งขัน เจ้าหน้าที่การแข่งขัน และผู้ชม ทง้ั หมด 166
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 2.1.7 แนวยิงร่วม– สนาม IPSC ที่มีผู้แข่งขันหลายคนยิงพร้อมๆ กันใน เวลาเดียวกัน (ตย.Shoot-Off) ต้องมีระยะห่างระหว่างตัวผู้แข่งขันด้วยกันไม่น้อยกว่า 3 เมตร 2.1.8 การตั้งเป้า– จะต้องระมัดระวังในการตั้งเป้ากระดาษ เพ่ือ หลีกเลี่ยง “การยงิ ทะลุผ่าน” (shoot throughs) 2.1.8.1 ตำแหน่งเป้า ควรจะมีเครื่องหมายชัดเจนที่ขาตั้งเป้า เพื่อให้มั่นใจในเรื่องตำแหน่งเป้าจะอยู่ที่เดิมตลอดเวลาการแข่งขันเมื่อมีการเปลี่ยนเป้า และควรมีเครื่องหมายชัดเจนที่พื้นสนาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดของเป้า ควรจะระบุและ กำหนดไว้ บนขาต้ังเป้าก่อนเร่มิ การแขง่ ขัน เพอ่ื ไมใ่ ห้เกิดการสบั เปลย่ี นเปน็ เปา้ ห้ามยิงเม่ือ เรม่ิ แข่งขัน 2.1.8.2 เมื่อเป้ากระดาษและเป้าโลหะวางใกล้กัน ควร ระมัดระวงั เรื่องความเสีย่ งของเศษโลหะท่ีกระเดน็ จากเปา้ โลหะ มาโดนเปา้ กระดาษ 2.1.8.3 เมื่อเป้าป๊อปเปอร์ (IPSC Popper) ถูกใช้ในสนาม ควร แน่ใจวา่ พืน้ ท่ีบรเิ วณนน้ั แนน่ พอท่ีรองรับการทำงานของเปา้ ได้ตลอดการแขง่ ขนั 2.1.8.4 เป้าที่อยู่กับที่ (ไม่ได้เป็นเป้าเคลื่อนไหว) ห้ามติดเป้า เอยี งเกิน 90 องศาจากแนวด่ิง 2.1.9 คันดินกันแนวกระสุน (Berm) ทั้งหลายเป็นเขตหวงห้ามสำหรับ ทกุ คน ตลอดเวลา ยกเวน้ ไดร้ บั อนญุ าตจาก RO 2.2 บรรทดั ฐานในการสรา้ งสนาม ในการจัดสร้างสนาม IPSC ความหลากหลายของสิ่งกีดขวางทาง กายภาพอาจถูกนำมาใช้ เพื่อจำกัดการเคลื่อนไหวของผู้แข่งขัน และเพิ่มความท้าทาย ให้แกก่ ารแข่งขนั ดงั นี้: 2.2.1 เส้นขอบเขตการยิง(Fault Lines)–การเคลื่อนไหวของผู้แข่งขัน ควรถูกจำกัดโดยใช้เครื่องกีดขวางทางกายภาพ อย่างไรก็ตาม การใช้ Fault Lines ได้รับ การอนญุ าตให้ใช้ไดด้ งั น้ี 2.2.1.1 ใช้ป้องกันการพุ่งเข้าหา หรือถอยออกจากเป้า ที่ไม่ ปลอดภัย และ/หรอื ในลักษณะท่ไี ม่พงึ ประสงค์ 167
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 1 2.2.1.2 ใช้เพื่อจำลองการใช้งานทางกายภาพของเครื่องกีด ขวาง และ/หรือ ท่ีกำบัง 2.2.1.3 เพื่อกำหนดขอบเขตในการยิงโดยทั่วไป หรือเป็น บางสว่ นโดยเฉพาะ 2.2.1.4 Fault Linesตอ้ งตดิ ตัง้ ในตำแหนง่ แน่นหนาต้องมีความ สูงอย่างน้อย 2 ซม. ควรทำจากไม้หรือวัสดุอื่นที่เหมาะสมเหนือระดับพื้นดิน และควรมีสี สม่ำเสมอกัน(เห็นควรเป็นสีแดง)ในทุกบริเวนที่ทำการยิงของการแข่งขันต้องมีความยาว อย่างน้อย 1.5เมตร และควรมีความยาวรวมครอบคลุมพื้นที่ซึ่งผู้แข่งขันน่าจะใช้ทำการยิง ในทุกกรณีใหถ้ ือเสมือนวา่ เส้นนีม้ ีความยาวไมร่ จู้ บ (Infinity) 2.2.1.5 ถ้าโจทย์การยิง(มีเส้นทางเดินที่กำหนดด้วยเส้น ขอบเขตการยิง และ/หรือสิ่งที่กำหนดชัดเจนว่าเป็นขอบเขตพื้นที่การยิงผู้แข่งขันที่ทำการ ลัดเส้นทาง ดว้ ยการกา้ วเหยยี บพ้ืนนอกเส้นทางเดินท่ีกำหนด และ/หรือพื้นท่กี ารยิง จะถูก ปรับโทษ 1 ผิดวธิ ตี อ่ 1 นัดที่ยิง หลงั จากการทำการลดั เส้นทาง 2.2.2 สิ่งกีดขวาง– สนาม IPSC อาจประกอบด้วยการใช้เครื่องกีดขวาง ใหญๆ่ ทใี่ หผ้ ู้แขง่ ขนั ปนี ป่ายขา้ มสิง่ กดี ขวางเหล่าน้ี ไมค่ วรมีความสูงเกนิ 2 เมตร และถ้าสง่ิ กีดขวางสูงเกิน 1 เมตร ควรจะมีสิ่งช่วยข้ามอื่นๆเพื่อช่วยผู้แข่งขัน และควรสร้างให้ ปลอดภัยต่อผแู้ ข่งขัน ดังน้ี: 2.2.2.1 สิ่งกีดขวางควรมีเสมอและโยงยึดอย่างแน่นหนา สามารถรองรับการใช้งานได้ พื้นผิวที่แหลมคมหรือขรุขระ ควรกำจัดออกเพื่อหลีกเลี่ยง การบาดเจ็บของผแู้ ข่งขัน และ/หรือ เจา้ หนา้ ท่ีการแขง่ ขัน 2.2.2.2 ด้านล่างของกำแพงหรือสิ่งกีดขวางควรปลอดจาก ส่ิง กีดขวางหรอื สง่ิ อันตรายตามธรรมชาติ 2.2.2.3 ผู้แข่งขัน จะต้องได้รับอนุญาตให้ลองข้ามสิ่งกีดขวาง ก่อนทำการยงิ 2.2.2.4 ผู้แข่งขันต้องไม่ถูกกำหนดให้เอาปืนใส่ซอง ก่อนขึ้นส่ิง กดี ขวางเหลา่ นี้ 2.2.3 ที่กำบัง– ตอ้ งสรา้ งในลกั ษณะดงั นี้: 168
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 2.2.3.1 สิ่งกีดขวางจะต้องสูงและแข็งแรงเพียงพอที่จะรองรับ วัตถุประสงค์ในการใช้งานในกรณีที่สิ่งกีดขวาง มีความสูงอย่างน้อย 1.8 เมตร ให้ถือ เสมือนว่าสิ่งกีดขวางนั้นมีความยาวไม่รู้จบ (Infinity) เว้นแต่มีส่วนเสริมด้วยแท่นยิง หรือ สงิ่ อ่นื ๆเพ่อื ใชท้ ำการยงิ 2.2.3.2 ควรจะมีเส้นขอบเขตการยิง (Fault Lines) ที่พื้นจาก ขอบด้านขา้ งพ่งุ ไปขา้ งหลังจากขอบดา้ นข้าง 2.2.4 อุโมงค์ –Tunnelsที่ผู้แข่งขันต้องเข้าไป หรือผ่านเข้าไป ควรสร้าง ด้วยวัสดุที่เหมาะสมและมีความยาวเท่าใดก็ได้ อย่างไรก็ตามควรจะมีช่องใหญ่พอที่ เจ้าหน้าที่การแข่งขันสามารถเฝ้ามองการกระทำของผู้แข่งขันว่าปลอดภัยขอบปากอุโมงค์ ควรตระเตรียมให้ดีเพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บของผู้แข่งขัน และเจ้าหน้าที่การแข่งขัน ผู้ออกแบบสนามตอ้ งระบุให้ชัดเจนเกี่ยวกบั สว่ นของทางเขา้ และออกอโุ มงค์ รวมถึงตวั แปร เสริมอื่นๆในการยงิ เป้าน้นั ๆจากภายในอโุ มงค์ (ตย.เสน้ ขอบเขตการยงิ ) 2.2.5 “Cooper2” Tunnels – เป็นอุโมงค์ ประกอบด้วยเสาไม้และ ระแนงที่ทำไว้อย่างหลวมๆ เหนือศีรษะ (ตย. ไม้ระแนง) หากขยับหลุดออกโดยผู้แข่งขัน ชนหรือกระทบ อุโมงค์สามารถมีความสูงเท่าได้ก็ได้ แต่วัสดุเหนือศรีษะนั้นต้องไม่มี น้ำหนักมากจนเสี่ยงต่อการกอ่ ให้เกิดการบาดเจบ็ หรือไมป่ ลอดภยั 2.2.6 อุปกรณ์สนาม–สิ่งเหล่านี้มีไว้เพื่อรองรับ ผู้แข่งขันในขณะ เคล่ือนไหวหรือทำการยิงที่เป้า และจะต้องสร้างให้ ปลอดภัยแก่ผู้แข่งขันและเจ้าหน้าที่ การแข่งขันเป็นอันดับแรก ควรเตรียมการให้เจ้าหน้าที่การแข่งขันเฝ้าระวังความปลอดภยั และควบคุมท่าทางของผู้แข่งขันได้ตลอดเวลา อุปกรณ์เหล่านี้ควรจะแข็งแรงพอที่จะ รองรับการใช้ของผู้แข่งขันท้ังหมด 2.2.7 หน้าต่าง และช่องตา่ งๆ– ต้องติดตั้งในความสูงที่สามารถยิงไดโ้ ดย ผู้แข่งขันส่วนใหญ่ และต้องเตรียมแท่นเสริมที่แข็งแรงสำหรับทำการยิง เมื่อมีการร้องขอ โดยไมม่ กี ารปรบั โทษ 2.3 การปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงสิง่ กอ่ สร้างในสนาม 2.3.1 เจ้าหน้าที่การแข่งขันอาจปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง หรือขั้นตอนการยิง ในสนามได้ ในเหตุผลด้านความปลอดภัยโดยการอนุมัติของ RM3. การเปลี่ยนแปลงทาง 169
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 กายภาพใดๆของสนาม หรือการเพิ่มเติมจากผังสนามที่เผยแพร่ไป ควรจะดำเนินการให้ เรยี บรอ้ ยกอ่ นเร่มิ การแขง่ ขนั 2.3.2 ผู้แข่งขันทั้งหมด จะต้องได้รับการแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับการ ปรับปรุงสนามทันทีที่เป็นไปได้ อย่างน้อยก็ต้องได้รับแจ้งด้วยวาจาจากเจ้าหน้าที่ที่ ปฏิบตั งิ านอยู่ในสนาม โดยเป็นสว่ นหน่ึงของการอธิบายสนาม 2.3.3 ถ้า RM อนุญาตให้มีการเปลี่ยนแปลงหลังจากการแข่งขันเริ่มไป แล้ว จะตอ้ งทำอย่างใดอย่างหนง่ึ ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.3.3.1 ดำเนนิ การแขง่ ขันตอ่ ไปในสนามทเ่ี ปลีย่ นแปลงเฉพาะผู้ แข่งขนั ทีย่ งั ไมไ่ ด้ทำการยิง ถ้าการเปลี่ยนแปลงนั้นมผี ลกบั การทำการยงิ ของผแู้ ข่งขันคนใด ผแู้ ข่งขนั ผู้นั้นต้องถกู ขอใหท้ ำการยิงใหม่ในสนามที่ปรบั เปล่ียนไปนั้น หรือ 2.3.3.2 ถ้าเป็นไปได้ ให้ผู้แข่งขันทั้งหมดยิงในสนามที่ ปรับเปลยี่ นน้ันใหม่ โดยยกเลกิ คะแนนเดิมทง้ั หมด 2.3.3.3 ผู้แข่งขันที่ปฏิเสธในการยิงใหม่ (Re-Shoot) ตามข้อน้ี หรอื ข้ออื่นๆ เม่อื เป็นคำส่งั ของ RO จะไดค้ ะแนน ศูนย์ในสนามน้นั โดยไม่ คำนึงถงึ การยิงครง้ั ท่ผี ่านมา 2.3.4 หากRM (โดยหารือร่วมกับ MD4) เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพของสนาม หรือวิธีการยิงทำให้เกิดความไม่ยุติธรรมและเป็นไปไม่ได้ที่จะให้ผู้ แข่งขันทั้งหมดกลับมายิงใหม่ในสนามนั้น หรือ สนามนั้นยังคงไม่เหมาะสมหรือยังใช้ไม่ได้ สนามนั้นจะถูกตัดออกจากการแข่งขัน ในกรณีนี้ คะแนนของผู้แข่งขันทั้งหมดในสนามน้ี จะถกู ลบออกจากคะแนนการแขง่ ขนั 2.3.4.1 ผู้แข่งขันที่ถูกตัดสิทธิ์การแข่งขันในสนามที่ยกเลิก อาจ ได้รับสิทธิ์การแข่งขันต่อได้หาก หากเจ้าหน้าที่สูงสุดที่ตัดสินการตัดสิทธิ์ของนักกีฬานั้นๆ (ตย.RM หรือคณะกรรมการตัดสินการประท้วง) พิจารณาว่า เหตุลงโทษตัดสิทธิ์นักกีฬา นน้ั มาจากความบกพรอ่ งของสนามทที่ ำการยกเลิก 2.3.5 ในกรณสี ภาพอากาศไม่เออ้ื อำนวย RM อาจสัง่ ให้คลมุ เปา้ ด้วยวัสดุ โปร่งใส และหรอื ทก่ี ำบงั เหนอื เป้า คำสงั่ นผี้ แู้ ขง่ ขนั ไม่สามารถประทว้ งได้ ของท่ีใชค้ ลุมเป้า 170
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 1 ดังกล่าวต้องคงอยู่ที่เป้าที่ถูกผลกระทบจากสภาพอากาศในช่วงเวลาเดีย วกันจนกว่าจะมี คำสัง่ ยกเลิก RM 2.3.6 ถ้า RM (โดยหารือร่วมกับ MD) เห็นว่าสภาพอากาศ หรือ สภาพแวดล้อมอื่นใด มีผลกระทบต่อความปลอดภัย และ/หรือกระทบต่อการแข่งขันช์ท่ี กำลงั ดำเนนิ อยู่ RM อาจส่งั พกั หรอื ยตุ ิการแขง่ ช่วั คราวจนกว่าเห็นสมควร 2.4 พืน้ ทีป่ ลอดภัย (Safety Areas) 2.4.1 เจ้าภาพการแข่งขัน มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดและสร้างพื้นท่ี ปลอดภัย สำหรับการแข่งขันไว้อย่างพอเพียง ควรจะเป็นสถานที่ที่สะดวกสบาย และต้อง มีเครอื่ งหมายชดั เจน 2.4.2 พน้ื ท่ีปลอดภัยตอ้ งมีโตะ๊ หนั อยู่ในทศิ ทางลำกลอ้ งทป่ี ลอดภัย และ มีขอบเขตที่ชัดเจนหากมีแนวหยุดกระสุน (Backstops) หรือกำแพงประกอบ จะต้องทำ มาจากวสั ดุทส่ี ามารถหยุดกระสนุ ได้ ควรมีราวปนื หรอื ราวตา่ งๆที่เหมาะสม ทใ่ี หใ้ ช้ได้ ตามระเบียบของIPSC โดยเฉพาะเจาะจงไดต้ ลอดการแขง่ ขัน 2.4.3 ผู้แข่งขันจะได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ปลอดภัย (Safety Areas) ได้ โดยไม่ต้องมีการกำกับดูแล สำหรับกิจกรรม ต่างๆ ดังต่อไปนี้ได้ตราบเท่าที่ยังอยู่ใน ขอบเขตของพืน้ ทีป่ ลอดภยั และชี้ปนื ไปในทิศทางทีป่ ลอดภัย การฝ่าฝนื อาจเป็นเหตุให้ถูก ตัดสทิ ธจ์ิ ากการแขง่ ขัน (DQ –Disqualification) 2.4.3.1 นำปืนที่ไม่บรรจุกระสุนเข้า-ออก จากกระเป๋า และเอา ปนื ใส่ซองพก 2.4.3.2 ฝึกซ้อมการชักปืนเข้าออก ยิงแห้ง (Dry-Firing) กับปืน ทีไ่ ม่บรรจุกระสนุ 2.4.3.3 ฝึกการเปลี่ยนเข้าออกแม็กกาซีนเปล่า และ/หรือ ดึงดู รอบการทำงานของสไลด์ปืน 2.4.3.4 ทำการตรวจสอบ ถอดชิ้นส่วน ทำความสะอาด ซอ่ มแซม บำรงุ รกั ษา ปืน ส่วนประกอบและอุปกรณ์อื่นๆ 171
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 1 2.4.4 ห้ามไมใ่ หจ้ บั ตอ้ ง กระสนุ ดัมมี่ และกระสุนปกติ ไมเ่ วน้ แม้ จะอยู่ในบรรจุภัณฑ์ แม็กกาซีนที่บรรจุกระสุน สปีดโหลดที่ใส่กระสุนไว้และกระสุนปืนใน บรเิ วณพ้ืนทป่ี ลอดภยั (Safety Area) ไมว่ า่ กรณีใดๆ 3. ข้อมลู สนาม (Course Information) 3.1 กฎท่ัวไป ผู้แข่งขันจะต้องรับผิดชอบในความปลอดภัยตามข้อกำหนดของสนามเสมอ โดยเฉพาะเจาะจงตามที่ได้ระบุด้วยวาจา หรือให้ทราบตามคำเขียนบรรยายสนาม(stage briefing) ของสนามที่อธิบายให้ผู้แข่งขันทราบถึงข้อกำหนดต่างๆ ข้อมูลสนามสามารถ ระบแุ ยกประเภทไดด้ ังนี้: 3.1.1 ผังสนามประเภทที่เปิดเผยต่อสาธารณะ – ผู้แข่งขันทั้งที่ ลงทะเบียน และ/หรือ RD ของพวกเขา จะต้องได้รับรายละเอียดสนาม IPSC อย่าง เดียวกันในช่วงเดียวกนั และจำนวนวนั ทแ่ี นน่ อนก่อนกำหนดการแข่งขนั ขอ้ มลู อาจส่งเป็น เอกสาร หรอื เอกสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรือผา่ นเวปไซต์ 3.1.2 ผังสนามประเภทที่ไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ – เหมือนกับ 3.1.1 ยกเว้นรายละเอียดของสนาม จะไม่เผยแพร่ก่อนล่วงหน้า ข้อแนะนำการปฏิบัติจะทราบ เม่อื ไดร้ บั ฟังคำอธิบายสนามที่เขียนอธิบายไว้ 3.2 การเขยี นคำอธิบายสนาม 3.2.1 ข้อความคำอธิบายสนามซึ่งสัมพันธ์กับกฎ และได้รับการอนุมัติ จากนายสนาม (RM) ตอ้ งตดิ ประกาศไว้ในแตล่ ะสนาม กอ่ นเริ่มการแข่งขัน คำอธิบายนี้จะ มีความสำคัญกว่าข้อมูลสนามใดๆ ที่ได้เผยแพร่ไปแล้ว หรือที่ได้แจ้งให้ผู้แข่งขันทราบไป แล้ว กอ่ นการแขง่ ขนั และต้องมขี ้อกำหนดอยา่ งน้อยดงั ตอ่ ไปนี้ - ประเภท และ จำนวนเปา้ - จำนวนกระสุนทน่ี ำมาคดิ คะแนน - สภาวะเตรยี มพรอ้ มของปนื - ตำแหนง่ ทา่ เร่ิมต้น - เวลาเริ่มยงิ (เสยี ง หรือ การมองเห็น) - ขั้นตอนการยิง 172
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 3.2.2 RO ผู้ปฏิบัติงานในสนาม ต้องอ่านข้อความที่เขียนไว้ในคำอธิบาย การยิง (stage briefing) ทุกถ้อยคำสำหรับแต่ละสควอด RO ต้องแสดงตัวอย่างท่าทาง เริ่มต้นและเงื่อนไขการเตรียมปืนที่ถูกต้องและยอมรับได้ให้เห็นจริง (ไม่ว่าโดยการใช้ รูปภาพหรอื ท่าทางประกอบ) ในทกุ ระดับการแข่งขนั 3.2.3 RM อาจให้มีการปรับปรุงข้อความในคำอธิบายสนามได้ทุกเวลา เพ่อื ความชดั เจน ความลงตัว หรือความปลอดภยั 3.2.4 หลังจากอ่านคำอธิบายสนามให้ผู้แข่งขันทราบ และคำถามต่างๆ ได้ถูกตอบจนหมดแล้ว ผู้แข่งขันจะได้รับอนุญาตให้เดินสำรวจเส้นทางการยิงได้เป็นลำดับ ระยะเวลาที่ให้เดินสำรวจดูสนามจะกำหนดโดย RO ซึ่งให้เวลาที่เท่าๆกันกับผู้แข่งขันทุก คน ถ้าสนามมีเป้าเคลื่อนที่ หรือทำนองเดียวกับเป้าเคลื่อนท่ี ควรจะทำให้มันทำงานให้ผู้ แข่งขนั ทุกคนดพู ร้อมๆกันในจำนวนคร้ังที่เท่ากนั ดว้ ย 3.3 กฎ ท้องถน่ิ ระดบั ภาค และ ระดบั ชาติ 3.3.1 การแข่งขันกีฬายิงปืนIPSC อยู่ภายใต้กฎตามข้อบังคับฉบับน้ี องค์กรผู้จัดแข่งขันไม่อาจใช้กฎท้องถิ่นมาบังคับใช้ ยกเว้นกฎความปลอดภัยของชมรมน้ัน หรือสนามนั้น หรือข้อกฎหมาย หรือคำพิพากษาที่มีมาก่อน การนำกฎใดๆ มาใช้ที่เข้ากับ กฎ IPSC ไม่ได้ จะไม่นำมาใช้ในการแข่งขัน IPSC โดยปราศจากความเห็นชอบจาก RD และสภา IPSC 4. อุปกรณใ์ นแนวยิง 4.1 เป้า – หลักพืน้ ฐานโดยทั่วไป 4.1.1 เป้าที่ผ่านการอนุมัติจากการประชุม IPSC Assembly จึงจะใช้ใน การแข่งขนั ปืนสั้น IPSC ได้ 4.1.1.1 หากเป้าใดเป้าหนึ่ง หรือมากกว่านั้น ไม่เป็นไปตาม ขอ้ กำหนดทีร่ ะบดุ ังกล่าว และไม่สามารถจดั หามาเปลี่ยนให้ถูกตอ้ งได้ RM ตอ้ งตดั สินใจว่า เป้าเหล่านั้นจะสามารถยอมรับในการแข่งขันได้หรือไม่ และตามข้อกำหนดพิจารณาในแง่ ใดของหมวด2.3 ของกฎข้อบังคับนี้ หากมีระบุไว้ อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจของ RM จะ มีผลเฉพาะแมทช์แข่งขันนั้นเท่าน้ันจะไม่เป็นแบบอย่างในภายหนา้ ของแมทช์ในพื้นที่นั้นๆ หรอื แมแ้ ต่เปน็ เป้าทดแทนตายตัวของแมทช์อน่ื ๆ ต่อไป 173
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 1 4.1.1.2 ในการแข่งขันIPSC อนุมัติให้ใช้เป้าสองขนาดสำหรับ เป้ากระดาษและป๊อปเปอร์ เป้ามินิ และมินิป๊อปเปอร์นั้นใช้เพื่อจำลองเป้าปกติและเป้าป๊ อปเปอร์ เสมือนว่าไกลกว่า ประเภทและขนาดของเป้าต่อไปนี้ อาจรวมอยู่ดว้ ยกนั ในกลุ่ม เป้าเดยี วกัน - เปา้ IPSC กับ ปอ๊ ปเปอร์; หรือ - เป้ามนิ ิ กบั มนิ ปิ อ๊ ปเปอร;์ หรอื - เปา้ IPSC กับมนิ ิปอ๊ ปเปอร์; หรอื - เป้ามนิ ิ กบั ปอ๊ ปเปอร์ ประเภทและขนาดของเป้าต่อไปนี้ต้องไม่รวมอยู่ด้วยกันในกลุ่มเป้า เดยี วกนั -เปา้ IPSC กับเป้ามิน;ิ หรือ -ปอ๊ ปเปอร์ กบั มนิ ิป๊อปเปอร์ 174
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 4.1.2 เป้าที่นับคะแนน ที่ใช้ในการแข่งขันยิงปืน IPSC ทั้งหมดจะเป็นสี เดยี วดงั น:้ี 4.1.2.1 บริเวณที่นับคะแนนของ เป้าขนาดมินิ และเป้า มาตรฐานต้องเป็นสีแทน เว้นแต่ RM เห็นว่ามีความต่างจากฉากหลังน้อยสีอื่นสามารถ นำมาใช้แทนได้ 4.1.2.2 ด้านหนา้ เป้าโลหะทน่ี ับคะแนน ต้องทาดว้ ยสีเดยี ว เน้น ไปทางสขี าว 4.1.3 เป้าทำโทษหรือเป้าห้ามยิง (No-shoot) ต้องมีเครื่องหมาย “X” ไว้อย่างชัดเจน หรือเป็นสีเดียวที่แตกต่างจากเป้าที่นับคะแนน ตลอดท้ังการแข่งขัน หรือ ทัวร์นาเมนท์ เป้ากระดาษ และ เป้าเหล็กสามารถใช้สีที่ต่างกันได้ แต่ต้องใช้สีเดียวกันของ แต่ละประเภทเป้าตลอดทั้งการแข่งขัน (ตย. ถ้าเป้าเหล็กห้ามยิง เป็นสีเหลือง ต้องให้ใช้สี เหลืองทั้งหมดและถ้าเป้ากระดาษหา้ มยิงเป็นสีขาว ตอ้ งใชเ้ ปน็ สีขาวท้งั หมด ในการแขง่ ขัน หรอื ทวั ร์นาเม้นทเ์ ดียวกนั น้ัน) 4.1.4 เป้าทำการยิง อาจให้มีการปกปิดหรือซุกซ่อนเป้า ในสนาม IPSC โดยอาจกระทำได้บางส่วนหรือทั้งตัวเป้าโดยการใช้ซอฟคัฟเวอร์ (Soft Cover) หรือ ฮารด์ คัฟเวอร์ (Hard Cover) ดงั นี้: 4.1.4.1 สิ่งปกคลุมทั้งหมดเพื่อบังเป้า หรือบางส่วนของเป้า จะ พิจารณาเป็นฮาร์ดคัฟเวอร์ได้ ฮาร์ดคัฟเวอร์ไม่ควรจะสมมุติเอาแต่ควรจะสร้างโดยใช้วัสดุ ทกี่ ระสนุ ยิงไมท่ ะลุ และจะใชเ้ ป้ากระดาษทำเป็นฮาร์ดคัพเวอรแ์ ตเ่ พยี งอยา่ งเดียวไม่ได้ 4.1.4.2 สิ่งปกคลุมที่ทำให้มองเห็นเป้าลางๆ จะพิจารณาเป็น ซอฟคัฟเวอร์การยิงผ่านซอฟคัฟเวอร์และถูกเป้านับคะแนนจะนับคะแนนให้ การยิงผ่าน ซอฟคัฟเวอร์แล้วไปถูกเป้าทำโทษ (No-shoot) จะถูกทำโทษ โซนคะแนนทั้งหมดของเป้า ที่ซอฟคัฟเวอรบ์ ังนี้ สามารถเหน็ เป้าทัง้ แผ่นผ่านซอฟคัฟเวอร์ก็ได้หรือเห็นบางโซนคะแนน ของเปา้ โดยไมม่ องผา่ นซอฟคฟั เวอรก์ ็ได้ด้วย 4.1.5 ห้ามใช้เป้าแผ่นเดียว จำลองแบ่งออกเป็น 2 เป้าหรือหลายเป้า ดว้ ยวธิ ปี ิดเทป ทาสี หรือแบ่งด้วยวธิ ีแบง่ อ่นื ใด และ/หรือห้ามตดิ เป้ามนิ กิ บั เป้าขนาดปกติ 175
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 4.1.6 อนุญาตเฉพาะเป้า IPSC, อุปกรณ์กลไก หรือ อุปกรณ์ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เท่าน้ัน ในการเริ่ม(activate) เป้าเคล่ือนท่ี 4.2 เปา้ ที่ได้รบั การอนุมตั จิ าก IPSC– เปา้ กระดาษ 4.2.1 มีเป้ากระดาษ2เป้า ที่ได้รับการอนุมัติให้ใช้ในการแข่งขัน IPSC ประเภทปนื ส้ัน 176
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 4.2.2 เป้ากระดาษจะต้องมีเส้นคะแนน และ 0.5 ซม. (เป้ามินิ 0.3 ซม.) เส้นขอบนกเรสะอร้นยะกขสะสอทนุ บ่วี่เ(ลนนPยอo4ทกw1.ี่ไ2ส0eม่ว.rเ2น่มมFทตีคaเี่ไปรcะมt้ขาoแ่มึ้นกrีคน5ไะร)นปแะใอนนโดซนยกานอาา่ ษครยงแะา่จชขงแะัชด่งนขตัดเนนัจเ้อทจนนงIี่แPมบSออ่งCีเยนสย่าี้้น่างจไงะครไแกะรป็ตแกลาน็ตมเปเานส็นม้นผแเเลหสลคล้นะะ่าแเนห0น้ีไม.นล5ค่่าตวนซารมมี้ไจมคะ.่าม่ค(คอเววปงราเห้ามจ็นมแะใรินมนงิอ0ง.เ3หซ็นมใน.) ระยะที่เลย 10 เมตร ขึ้นไป โซ4น.2ค.2ะ.1แดน้านหทนี่แ้าขบอ่งงนเปี้ า้จทะำแโทปษลหเรปอื เ็นปผา้ หลา้ คมะยงิแ(นNนo-sตhาoมotค) ่าทคี่ วามแรง กระสนุ (P0ชเป.oัด5็นเwจกซนรมeหะ.rดร(0าือF.ษเ3aคจcรซะtื่อมตoง.้อ-หrเง5ปมทา้า)ำ4มยใใ.ไินหน2มิ)้เ.่เกห2เหส็นา.มน้1เราสขแะ้นดอสขไบ้ามมง่ นน่นขRอหับันMกคนทะตIเี่า้Pแป้อขนS้างอหในCห้างอ้มมเยปีกย่าางิง้ารชทแัดกำเจ้ไโขนทหเษพรียือหงเรปพือลอี่ยเเปปน้าอ้าทอหำก้าโทมแษลยทะิงตี่ไม้อ(่มNงใีเoสห้น้ม-sี hoot) ท่ี เป็นกระดาษจะต้องทำใ4ห.2้เ.3ห็นเมเื่สอส้น่วไมนท่นี่ับนัคบคะะแแนนนนอขยอ่างงเปช้าัดกเจระนดเาพษียถงูกพปอกเปปิด้าบทาำงโสท่วษนที่ไม่มีเส้น ชัดเจนหรผืออู้ เอคกรแื่อบบงหสนมาามยตอ้ไมงส่เมหมมตุ าิใหะ้เสปม็นฮRารMด์ คฟัตเ้อวองรใ์หใน้มแีกนาวรทแางกต้ไอ่ ขไปหนร:้ี ือเปลี่ยนออก และต้องให้มี 0.5 ซม. (ฮ0า.ร3์ดคซัฟมเ.ว4-อเ.ปร2์อ้า.อ3มกินเไปม)ิ ืเ่เอปสส้า้นน44่วข..ั้น22นอต..33้บอท..21งนีท่นโโอดดำัเบยยกสกกท้นคาาขเ่ีรระปอปตแบักดา้ ปเเนหขปิด้าตน้าจมไรเขมพยิง่นอๆื่องิ ับเงทอคเบ่ีาะปสาแ่งว้นาสนนกว่ทตนรี่ห่อขมะออาองดยเกปถาไ้าึงษปสหเ่วถตรน็มอืูกทคปี่ถวูกากมบกปังโวดิด้ายงบางส่วน ผูอ้ อกแบบขอสงนแนาวมทตต่ี อ้ดั เงปส้ามหมรุตอื ใิ หเ้ ป็นฮาร์ดคฟั เวอร์ ในแนวทางตอ่ ไปน:ี้ 4.2.3.1 โดยการปกปดิ จริงๆ ทบ่ี างส่วนของเป้า หรือ 4.2.3.2 โดยการตัดเป้า เพื่อเอาส่วนที่หมายถึงส่วนที่ถูกบังโดย ฮาร์ดคัฟเวอร์ออกไป เป้านั้นต้องทำเส้นขอบเขตไม่นับคะแนนต่อออกไปเต็มความกว้าง ของแนวท่ตี ัดเปา้ หรือ 177
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 4.2.3.3 โดยการทาสีหรือปิดเทปที่บางส่วนของเป้า เพื่อสมมุติ เป็นฮาร์ดคัฟเวอร์โดยใชส้ ีท่ีเห็นชัด สีเดียว หรอื 4.2.3.4 เมือ่ เป้ากระดาษ ถกู ซ่อน บงั ตัด ทาสีทับ หรือคาดเทป บงั อย่างน้อยจะต้องเห็นบางสว่ นของทุกโซนทำคะแนน 4.2.4 ฮาร์ดคัฟเวอร์ และเป้าทำโทษหรือเป้าห้ามยิง (No-shoot) ที่ใช้ บัง ต้องไม่บังโซนคะแนนสูงสุดทงั้ หมดของเป้า 4.3 เป้าทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตจิ าก IPSC– โลหะ 4.3.1 กฎทัว่ ไป 4.3.1.1 เป้าโลหะ และเป้าห้ามยิงที่ยิงแล้วหมุนออกด้านข้าง หรอื ไมล่ ม้ หากนำมาใช้จะไมไ่ ด้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ 4.3.1.2 เป้าโลหะ และเป้าห้ามยิงซึ่ง RO เห็นว่าล้มเอง หรือ ล้มโดยการยิงโดนส่วนที่ไม่ไช่เป้า หรือ จากเหตุอื่น (ตย. ลม การกระดอน หรือ โดนแค่ หมอนของลูกซองเพียงอย่างเดียว) จะถือว่าเป็นการล้มเหลวของอุปกรณ์ (Range Equipment Failure) 4.3.1.3 เปา้ โลหะ และเป้าห้ามยิงจะไมม่ ีเสน้ เพ่อื นับคะแนน 4.3.1.4 เปา้ โลหะจะนับคะแนนเม่ือยิงแล้วล้มเท่านนั้ 4.3.2 เป้าป๊อปเปอรข์ อง IPSC (IPSC Popper) 4.3.2.1 เป้า Popper และเป้ามินิ Popper ของ IPSC และต้อง เป็นโลหะทัง้ ต้องแสดงใหเ้ ห็นความตา่ งของค่าความแรง (Power) และตอ้ งคาลิเบรท(Calibrated) 4.3.3 เป้าเพลท IPSC (IPSC Plates) 4.3.3.1 เป้าเพลทโลหะขนาดตา่ งๆ อาจใหใ้ ชไ้ ด้ 4.3.3.2 เป้าเพลทโลหะไมแ่ สดงถึงคา่ ความแรงของกระสนุ จึงไม่ สามารถทำการยิงทดสอบ และไมส่ ามารถรอ้ งขอใหม้ กี ารยงิ ทดสอบได้ 4.3.3.3 ตอ้ งไมใ่ ชเ้ ปา้ โลหะเพยี งอย่างเดยี วในโจทย์การยิง อยา่ ง น้อยต้องมีหนึ่ง (1) เป้ากระดาษ หรือหนึ่ง (1) เป้าป๊อปเปอร์ Popper ที่สามารถให้ 178
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 1 คะแนนได้ (ไม่นับเป้ากระดาษห้ามยิง no-shoots หรือ เป้าโลหะห้ามยิง) รวมอยู่ในโจทย์ การยิงนั้น 4.3.3.4 เป้า Plates โลหะจะต้องไม่ถูกใช้ เพียงอย่างเดียวใน สนามยิงต้องจดั ให้มีเปา้ กระดาษ หรือเป้าโลหะ Popper ที่นบั คะแนนได้ อย่างนอ้ ย 1 เป้า (นอกเหนือจากการมี เปา้ หา้ มยงิ โลหะ หรอื กระดาษ) รวมอยใู่ นสนามท่ที ำการยิง 4.3.4 เปา้ หา้ มยิง (No-Shoots) 4.3.4.1 เป้าโลหะที่เป็นเป้าห้ามยิง Popper และแบบเพลท (Plates) ทั้งที่ออกแบบให้ล้ม หรือ ที่ออกแบบให้ไม่ล้ม ไม่ว่าจะกรณีใดๆ จะต้องทาสีใหม่ ทุกครั้งหลังจากผู้แข่งขันแต่ละคนยิงเสร็จ หากละเลยแล้ว ผู้แข่งขันคนต่อไปจะต้องไม่ถูก ทำโทษจากรอยกระสนุ บนเปา้ 4.3.4.2 เป้าห้ามยิงโลหะสามารถมีขนาด และรูปร่างตามแบบ เปา้ ปกติได้ สำหรบั การแขง่ ขันปนื สนั้ เป้าเพลทจะตอ้ งต้ังบนฮาร์ดคัพเวอรห์ รือแทง่ โลหะสูงอยา่ งน้อย 1 เมตร 179
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 1 เป้า Plates เป้าป๊อปเปอร์ Popper 4.4 เป้าที่แตกหักได้ หรือ เป้าแบบพิเศษ (Frangible and Synthetic Targets) 4.4.1 เป้าท่แี ตกหักได้เช่น เป้าดนิ เหนยี ว กระเบอื้ ง ไม่ไดร้ บั การอนุมัตใิ ห้ ใช้ในการแข่งขนั ปืนสนั้ IPSC 4.4.2 เป้าแบบพิเศษ (เช่น เป้าที่ซ่อมตัวเองได้ ฯลฯ) ในบางแห่งใช้ใน การยิงในอาคาร เป้าประเภทนี้ ห้ามใช้ในการแข่ง Level III หรือระดับที่สูงกว่า อย่างไรก็ 180
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 ตามในระดับ Level I หรือ Level II อาจขออนมุ ตั จิ าก RD โดยเขยี นเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ขอล่วงหนา้ ว่าใชเ้ ป็นการภายใน 4.5 การจดั อุปกรณส์ นามหรือปรบั พน้ื สนามใหม่ 4.5.1 ผู้แข่งขันไม่สามารถปรับเปลี่ยนพื้นผิวสนาม เก็บเศษวัสดุ ธรรมชาติสิง่ ก่อสรา้ งคำ้ ยนั พ้นื สนาม หรืออปุ กรณส์ นามใดๆ (รวมถงึ เป้า อุปกรณ์ยึดเป้า อุปกรณ์กระตุ้นเป้าให้ทำงาน) ไม่ว่าในเวลาใด การฝ่าฝืนจะถูกทำโทษ 1 ผิดวิธี (Procedure) ตอ่ การกระทำ 1 คร้งั โดย RO เปน็ ผู้วินิจฉยั อยา่ งรอบคอบ 4.5.2 ผู้แข่งขันอาจร้องขอให้เจ้าหน้าที่ ทำการใดๆเพื่อแก้ไขความ ถูกต้อง ของผิวสนาม การตั้งเป้าหรือเรื่องอื่นใด นายสนามจะเป็นผู้ชี้ขาดเกี่ยวกับการร้อง ขอดงั กลา่ ว 4.6 อปุ กรณส์ นามบกพร่อง และปัญหาอน่ื ๆ 4.6.1 อุปกรณ์สนามต้องแสดงออกถึงความท้าทายอย่างตรงไปตรงมา และมีความเสมอภาคกับผู้แข่งขันทั้งหมดอุปกรณ์สนามที่ล้มเหลวยังหมายรวมไปถึง โดย ไม่จำกดั กรณี วา่ เป็นเปา้ กระดาษสลับที่ เปา้ โลหะท่ลี ม้ ก่อน หรือเปา้ เคล่อื นไหวที่ขยับก่อน การขัดข้องทางอุปกรณ์ เครื่องกลหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า และความล้มเหลวของอุปกรณ์ที่ สรา้ งขึน้ เชน่ ช่อง เปิด ท่อ, ปล่อง หรือเคร่ืองกน้ั ต่างๆ 4.6.1.1 ไม่อนุญาตให้การประกาศให้ใช้ หรือใช้ปืนว่าเป็นส่วน อปุ กรณส์ นามโดยเด็ดขาด 4.6.2 ผู้แข่งขันที่ไม่อาจยิงจนจบในสนามนั้นได้ อันเนื่องมาจากอุปกรณ์ ล้มเหลว เช่นเป้าโลหะหรือเป้าเคลื่อนไหวไม่ได้ตั้งไว้ต้องให้ทำการยิงใหม่ หลังจาก ดำเนินการซ่อมแซมแลว้ เสรจ็ 4.6.2.1 เป้ากระดาษที่ไม่ได้รับการซ่อมเป้า7 ไม่ถือเป็นอุปกรณ์ สนามบกพรอ่ ง 4.6.2.2 ถ้า RM เห็นว่ามีหนึ่งเป้า หรือมากกว่าในโจทย์การยิง ไม่ถูกต้อง หรือเปลี่ยนไปจากการจัดวางจากการจัดวางก่อนหน้านี้ RM สามารถให้ผู้เข้า แขง่ ขันที่ไดร้ บั ผลกระทบทำการยิงใหมไ่ ด้ (Reshoot) 4.6.3 อุปกรณ์ขดั ข้องซำ้ ซาก สนามน้ันจะถกู ถอนออกจากการแข่งขนั 181
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 1 5. อุปกรณ์ของผู้แขง่ ขนั 5.1 ปนื สั้น 5.1.1 ปืนสั้นให้บังคับใช้แข่งไปตามดิวิชั่น อย่างไรก็ตามโจทย์การยิงก็ ยังคงใชส้ ำหรบั ทุกดิวชิ น่ั 5.1.2 กระสุนขั้นตำ่ ในการแขง่ IPSC คือขนาด 9x 19 มม. ขนาดกระสนุ ขั้นต่ำคือ 9 มม. (.354 นว้ิ ) 5.1.3 ศนู ยป์ นื – ศนู ย์ปนื กำหนดโดย IPSC มดี ังน้ี 5.1.3.1 “ศูนย์เปิด” เป็นเครื่องเล็งที่ติดปืนที่ไม่มีส่วนประกอบ ทางไฟฟา้ และ/หรือ เลนส์ ศนู ย์เส้นรวมแสง (Fiber Optic) ไมถ่ อื ว่าเป็นเลนส์ 5.1.3.2 “ศูนย์วัตถุเชิงแก้ว/อิเล็กทรอนิกส์” เป็นเครื่องเล็งท่ีตดิ ปืน (รวมถงึ ไฟฉาย) ใชว้ งจรไฟฟา้ และ/หรอื เลนส์ 5.1.3.3 RM เปน็ ผชู้ ข้ี าดในการแยกแยะประเภทศูนย์ 182
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 5.1.4 ไม่มีข้อกำหนดเข้มงวดเรื่องน้ำหนักไกปืน เว้นแต่ว่าจะถูกกำหนด โดยดิวิชั่น อยา่ งไรก็ตามระบบกลไกของไกปืน จะตอ้ งทำงานได้อย่างปลอดภยั ตลอดเวลา 5.1.5 ไก และ/หรือที่เสริมหน้าไกปืน ที่ยื่นเกินความหนาของโกร่งไกถูก ห้ามใช้เดด็ ขาด 5.1.6 ปืนจะต้องใช้งานได้และปลอดภัย RO อาจขอทดสอบปืนและ/ หรืออุปกรณ์อื่นๆ ของผู้แข่งขันได้ตลอดเวลา เพื่อทดสอบดูการทำงานอย่างปลอดภัย ถ้า อุปกรณ์ใดไม่สามารถทำงานได้หรือไม่ปลอดภัย ต้องนำออกจากการแข่งขันจนกว่าจะ ซอ่ มแซมแก้ไขจนเปน็ ทพ่ี อใจของ RM 5.1.7 ผู้แข่งขันจะต้องใช้ปืนกระบอกเดียวกัน ศูนย์อันเดียวกันในทุก สนามตลอดการแข่งขัน อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ปืนหรือศูนย์ปืนของผู้แข่งขันใช้การไม่ได้ หรือไม่ปลอดภัยในระหว่างการแข่งขัน จะต้องขออนุญาตจาก RM ในการอนุมัติใช้ปืน สำรองแทนตามแนวทางดังน้ี 5.1.7.1 ปืนสำรองจะต้องเปน็ ไปตามดวิ ิชนั่ ท่ีแจ้งไว้และ 5.1.7.2 การใช้ปืนสำรองของผู้เข้าแข่งขัน จะต้องไม่ทำให้ ไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั และ 5.1.7.3 กระสุนของผู้แข่งขัน เมื่อยิงทดสอบโดยปืนสำรอง ต้อง ไดค้ ่าความแรงกระสนุ (power factor) ตามท่ีแจง้ เอาไว้ 5.1.8 ผู้แข่งขันที่เปลี่ยนปืนหรือปรับปรุงปืน/ศูนย์ปืนในระหว่างการ แขง่ ขัน โดยไม่ได้รบั อนมุ ัติจาก RM จะเป็นเหตุใหถ้ กู ดำเนนิ การตามข้อ 10.6.1 5.1.9 ผู้แข่งขันต้องไม่ใช้ หรือพกพาปืนมากกว่า 1 กระบอก ในขณะทำ การยิงในสนาม (ดกู ฎ 10.5.7) 5.1.10 ห้ามใช้ปืนพกที่มีพานท้ายและ/หรือมีด้ามจับด้านหน้าอื่นใด (ดู กฎ 10.5.15) 5.1.11 ห้ามใช้ปืนที่ยิงออกเป็นชุด และ/หรือ ยิงแบบอัตโนมัติ (คือการ ยงิ ออกไปมากกวา่ 1 นดั ในการเหนยี่ วไกเพียงคร้งั เดยี ว) (ดกู ฎ 10.5.15) 5.1.12 หา้ มใช้ปนื สนั้ ทมี่ มี ากกวา่ 1 ลำกลอ้ ง 183
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 5.2 ซองปืน และอุปกรณอ์ ื่นๆ ของผู้แข่งขนั 5.2.1 การนำพาและการเก็บ - ต้องนำพาปืนที่ไม่บรรจุกระสุนโดยใส่ กลอ่ งปนื ในกระเปา๋ ปนื หรือในซองพกท่ีคาดอยทู่ ่ีเอว (ดกู ฎ 10.5.13) 5.2.1.1 ผู้แข่งขันที่มาถึงการแข่งขัน IPSC แต่นำพาหรือพกปืน ท่ีบรรจุลูก ต้องแจง้ ต่อ RO โดยทันที เพอ่ื ให้ RO ทำการควบคุมการเลิกบรรจุ 5.2.1.2 การนำพาปืนไปโดยใส่ซองพก ต้องไม่มี แม็กกาซีนอยู่ ในปืน นกต้องไม่ง้าง การฝ่าฝืนจะถูกเตือนในครั้งแรกแต่จะมีผลตามข้อ 10.6.1 ในการ แขง่ ขนั ถ้ามีการกระทำดังกล่าวซ้ำในการแขง่ ขันเดมิ 5.2.2 การจับถือปืน- ยกเว้นแต่ว่าอยู่ในพื้นที่ปลอดภัย (safety area) หรอื ขณะอยูใ่ นการควบคุมและปฎิบัติตามคำส่ังโดยตรงจาก RO ผแู้ ข่งขันตอ้ งไม่จับถือปืน โดยเด็ดขาด “จับถือ” (Handling) ในที่นี้หมายรวมถึงนำปืนใส่ซอง หรือชักปืนออกจาก ซอง แม้ว่าจะเป็นซองที่มีส่วนป้องกัน และ/หรือ ส่วนเพิ่มบังต่างๆ ไม่ว่าจะใส่/ชกั ปืนเพียง บา้ งสว่ นหรอื ทง้ั หมด 5.2.3 เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่นในคำอธิบายสนาม เข็มขัดที่ติดซอง พกและอุปกรณ์อื่นๆ จะคาดที่ระดับเอว เข็มขัดหรือเข็มขัดชั้นในหรือทั้งคู่จะต้องยึดตดิ ตั้ง อยา่ งมัน่ คงที่เอวโดยมหี ่วงกางเกงยึดอยา่ งนอ้ ย 3 จุด 5.2.3.1 ผู้แข่งขันหญิงในทุกดิวิชั่น (Division) ให้ปฎิบัติตามกฎ ข้างตน้ แตอ่ นุญาตใหค้ าดเขม็ ขดั ที่ติดซองพกและอุปกรณ์อนื่ ๆไวท้ รี่ ะดับสะโพกได้ อย่างไร ก็ตาม ถ้ามีเข็มขัดเส้นอื่นคาดที่ระดับเอว ซองพกและอุปกรณ์อื่นๆ ต้องคาดที่เข็มขัดเส้น ลา่ ง 5.2.4 กระสุนสำรอง แม็กกาซีน สปีดโหลด ควรจะใส่ไว้กับอุปกรณ์ที่ ออกแบบมาเฉพาะ รวมถึงการนำพา แม็กกาซีน สปีดโหลด เพ่ิมเติมที่กระเป๋าหลังของ กางเกงนั้นสามารถทำได้ 5.2.4.1 เมื่อท่าเริ่มการยิงบังคับให้แม็กกาซีน หรือ สปีดโหลด วางบนโต๊ะ หรือลักษณะใกล้เคียง ผู้แข่งขันสามารถนำสิ่งเหล่านั้น พกพาติดกับตัวไป อย่างไรกไ็ ด้ โดยจะไมถ่ กู พจิ ารณาเปน็ การละเมิดกฎของดวิ ชิ ่ันนน้ั 184
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 1 5.2.4.2 ยกเว้นถูกกำหนดไว้ในคำอธิบายสนาม (stage brifing) หรือคำร้องขอของ RO ตำแหน่งของซองพกและอุปกรณ์อื่นๆ ต้องไม่มีการปรับย้าย หรือ เปลยี่ นโดยผ้แู ข่งขนั ระหว่างไปยงั แตล่ ะสนาม 5.2.5 ดิวิชัน่ ทก่ี ำหนดระยะห่างสงู สดุ ระหว่างปืนกบั ตวั ผูแ้ ขง่ ขนั RO อาจขอตรวจสอบโดยวัดระยะใกล้สุดของระหว่างลำตัวผู้แข่งขันกับศูนย์กลางปลายด้าม ปนื และหรอื อปุ กรณบ์ รรจุกระสุนตา่ งๆ 5.2.5.1 การวดั จะวัดเมือ่ ผู้แขง่ ขนั ยนื ตรง ผ่อนคลาย 5.2.5.2 ผู้แข่งขันคนใดที่ไม่ผ่าน ตามที่กล่าวมาแล้วก่อนเสียง สัญญาณเริ่ม (Prior to Start Signal) จะต้องรีบปรับแต่งซองพก หรืออุปกรณ์ในทันที เพื่อให้เป็นไปตามดิวิชั่นที่แจ้งไว้ RM จะเป็นผู้กำหนดค่าคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ โดย พจิ ารณาถึงกายภาพของผ้แู ข่งขนั ที่ซง่ึ บางคนไม่สามารถทำได้ตามขอ้ กำหนด 5.2.6 การแข่งขันยิงปืนสั้นนั้นไม่บังคับให้ใช้ซองพกประเภทใดหรือยี่ห้อ ใดเป็นการเฉพาะ รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้ในการแข่งขัน อย่างไรก็ตาม RM จะเป็นผู้ พิจารณาว่าซองปืนของผู้แข่งขันปลอดภัยหรือไม่ และสั่งให้แก้ไขจนเป็นที่พอใจได้ หาก แก้ไขไม่ได้ ให้ถอดออกจากการแข่งขัน หากซองปืนหรือ อุปกรณ์อื่นมี สายโยง หรือ ส่วน หุ้มบงั ตดิ อยู่ ใหป้ ลดสายโยง หรอื ส่วนหมุ้ บงั ก่อนไดร้ ับ คำส่ัง “Standby” 5.2.7 ผู้แข่งขันจะไม่ได้รับอนุญาตให้ทำการยิงในสนาม IPSC หากคาด อุปกรณด์ ังน้ี: 185
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 5.2.7.1 ซองสะพายไหล่หรือ “tie-down”rig (ที่มองเห็น หรือไมก่ ็ตาม) ยกเว้นที่ระบุไวใ้ นกฎข้อ5.2.8 5.2.7.2 ซองพก ที่ส่วนท้ายของปืน อยู่ต่ำกว่าส่วนบนของเข็ม ขัด 5.2.7.3 ซองพกที่ปลายกระบอกปืนชี้ออกไปมากกว่า 1 เมตร จากเทา้ ผูแ้ ขง่ ขนั ในขณะยนื ตามสบาย 5.2.7.4 ซองพกที่ไม่สามารถป้องกันการเข้าถึงการเหนี่ยวไกปืน ขณะที่ปืนอยู่ในซอง(ซองพกที่ไม่สามารถคลุมปิดไกปืนได้อย่างสมบูรณ์) หรือซองที่ต้องใช้ นิว้ ท่ีเหน่ียวไกในการปลดลอ็ ค หรอื ปลอ่ ยปนื ขณะชักปืน 5.2.8 ผู้แข่งขันที่ MD เห็นว่าเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทหาร อาจใช้ปืนและ อุปกรณ์ประจำกายเข้าแข่งได้ อย่างไรก็ตาม RM จะเป็นผู้ชี้ขาดใน เรื่องความเหมาะสม และความปลอดภัยในการแข่ง IPSC 5.2.9 ผูแ้ ข่งขนั ที่ RM เหน็ ว่ามคี วามพกิ ารถาวรน้ัน อาจสามารถปรับต่าง ในจุดที่สัมพันธ์กับแบบของซอง และ/หรือ ตำแหน่งของซอง และอุปกรณ์พ่วงอื่นๆ RM อาจอนุโลมให้ใช้ซองปืนนั้นได้หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องตามสมควร แล้วให้ RM ตรวจอีกครงั้ ในเร่อื งความปลอดภัยและความเหมาะสม 186
ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 1 5.2.10 ในบางดิวิชั่น ปืน หรือสิ่งติดพ่วงปืน หรือซองพก หรืออุปกรณ์ อ่ืนๆ ไมส่ ามารถยน่ื เกนิ เสน้ ตามภาพประกอบ ขณะเสียงสัญญาณเริ่ม ในกรณีที่ RO เห็นว่าสิ่งที่กล่าวข้างต้นไม่เป็นไป ตามท่ีกำหนดจะตอ้ งปรับหรอื จดั ใหไ้ ด้ตามทก่ี ำหนด อย่างปลอดภัย 5.3 เคร่ืองแตง่ กายท่ีเหมาะสม 5.3.1 ไม่ควรสวมใส่ชุดพรางหรือคล้ายคลึงกับเครื่องแบบตำรวจ ทหาร ยกเว้นผู้แขง่ ขนั ที่เปน็ ตำรวจ ทหาร ซึ่ง MD เปน็ ผูช้ ขี้ าดในเร่อื งเคร่ืองแตง่ กายของผู้แข่งขัน 5.4 การป้องกันตาและหู 5.4.1 ผู้แข่งขันทั้งหมด จะถูกเตือนให้สวมใส่เครื่องป้องกันหู และตา อย่างถูกต้อง และถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุดเพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บโดยไม่จำเป็น เป็น ข้อแนะนำอย่างเข้มงวดที่ให้เตือนให้สวมใส่เครื่องป้องกันหูและตา ตลอดเวลาที่อยู่ใน บรเิ วณสนามยิง 5.4.2 เจ้าภาพการแข่งขันควรให้ทุกคนใช้เครื่องป้องกันดังกล่าว และ เป็นเงื่อนไขในการที่จะอยู่ในบริเวณสนามยิง ดังนั้น เจ้าหน้าที่สนาม จะต้องพยายามให้ แน่ใจว่าทกุ คนได้สวมใสเ่ ครอื่ งปอ้ งกันอยา่ งเหมาะสม 187
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 1 5.4.3 ถ้า RO พบเห็นว่าเครื่องป้องกันหูและตาของผู้แข่งขันหลุดหรือ ไม่ได้ใส่ ในระหว่างที่ทำการยิงในสนาม RO จะต้องทำการหยุดผู้แข่งขันทันที และให้ทำ การยิงใหม่หลงั จากสวมใส่เปน็ ท่ีเรียบร้อย 5.4.4 ผ้แู ข่งขันที่ไม่ตง้ั ใจทจี่ ะทำให้อปุ กรณ์ปอ้ งกันเสยี งและตา หลุดออก ระหว่างที่ทำการยิง หรือได้ทำการยิงโดยที่ไม่ได้ใส่อุปกรณ์ดังกล่าวไว้ มีสิทธิ์ที่จะหยุดทำ การยิงเอง และชี้ปืนไปในทิศทางที่ปลอดภัย พร้อมทั้งแจ้งปัญหาให้ RO ทราบ กรณีนี้จะ ถกู พจิ ารณาตามขอ้ บงั คับท่ีผ่านมา 5.4.5 การทำอุปกรณ์ป้องกันหลุดออกโดย ตั้งใจในระหว่างทำการยิง เพื่อเปน็ การเอาเปรยี บการแข่งขัน จะถอื วา่ เป็นผไู้ ม่มีนำ้ ใจเป็นนกั กฬี า 5.4.6 ถ้า RO เห็นว่า ผู้แข่งขันใส่เครื่องป้องกันหูตาที่ไม่เหมาะสม RO อาจส่งั ใหป้ รบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ หมาะสมกอ่ นให้ทำการยิงความเห็นชข้ี าดในเรือ่ งนอี้ ยทู่ ่ี RM 5.5 กระสุนปืน และ อปุ กรณท์ ่ีเกี่ยวขอ้ ง 5.5.1 ผู้แข่งขันในการแข่งยิงปืน IPSC เป็นผู้รับผิดชอบความปลอดภัย ของเครื่องกระสนุ ใดๆ ทีน่ ำมาใช้ในการแขง่ ขนั แต่เพยี งผ้เู ดยี ว IPSC, เจ้าหน้าที่ IPSC, องค์กรที่เกี่ยวพันกับ IPSC, เจ้าหน้าที่ขององค์กรใดที่เกี่ยวข้องกับ IPSC ไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าอะไรก็ตามในเรื่องดังกล่าว รวมถึงการสูญเสีย การเสียหาย บาดเจ็บ หรือตาย จากกระสนุ ใดๆ ไม่วา่ จะถูกหรอื ผิดกฎหมาย 5.5.2 แม็กกาซีนและสปีดโหลดเดอร์ทั้งหมดของผู้แข่งขัน ต้องเป็นไป ตามท่ีกำหนดไว้ในแต่ละดิวิชนั่ 5.5.3 แม็กกาซีนสำรอง หรือเครื่องช่วยบรรจุอื่นใด ที่ตกหล่นโดยไม่ ตั้งใจหรือ ผู้แข่งขันทำหล่นหลังสัญญาณเริ่มยิง อาจเก็บขึ้นมาได้ อย่างไรก็ตาม การเก็บ อปุ กรณเ์ หล่าน้จี ะตอ้ งปฏบิ ัติตามกฎแหง่ ความปลอดภัยตลอดเวลา 5.5.4 กระสุนปืนเจาะเกราะ หัวระเบิด หรือกระสุนสอ่ งแสง (tracer) ถูก ห้ามใชใ้ นการแขง่ ขนั ยงิ ปนื IPSC 5.5.5 กระสุนต้องไม่สามารถยิงออกได้เป็นหลายหัว หรือทำคะแนนได้ หลายตำแหนง่ จากการยงิ กระสุนเพียงหนงึ่ นดั 188
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 1 5.5.6 กระสุนปืนใดๆ ท่ี RO เห็นว่าไม่ปลอดภัย ต้องนำออกจากการ แข่งขันทันที 5.6 การวัดความเร็ว และ ค่าความแรงกระสุนพาวเวอร์แฟคเตอร์ (Chronograph & Power Factor) 5.6.1 ระดับค่าความแรงกระสุน (Power Factor) ในแต่ละดิวิช่ัน (Division) ในการแขง่ ขันยิงปืน IPSC เครื่องวดั ความเร็วกระสุนทั้งหลายในการแข่งขัน จะ ใช้เพื่อตัดสินค่าความแรงกระสุน (Power Factor) ของกระสุนของผู้แข่งขันแต่ละคน อย่างไรกต็ าม หากไม่มเี คร่ืองวัดความเรว็ ค่าความแรงกระสุน (Power Factor) ท่ีผ้แู ขง่ ขัน แจ้งมาสามารถนำมาใชไ้ ด้ 5.6.1.1 ค่าระดับความแรงกระสุน (Power Factor) ขั้นต่ำที่ สามารถใช้คำนวณคะแนนของผู้แข่งขัน เรียกว่า “Minor” ค่าระดับต่ำสุดของ Minor กำหนดไว้แต่ละดวิ ิชนั่ 5.6.1.2 บางดิวิชั่นให้ใช้ค่าระดับความแรงกระสุน (Power Factor) ที่สูงกว่า เรียกว่า “Major” เพื่อที่จะได้ค่าคะแนนบนเป้าที่สูงขึ้นค่าระดับ Major ของแต่ละดวิ ชิ ่ัน (ถ้ามี) 5.6.1.3 ค่าคะแนนที่ไดร้ ับของ Major หรอื Minor 5.6.2 เครื่องวัดความเร็วกระสุน (Chronograph) จะต้องตรวจสอบ ปรับตงั้ ซง่ึ เปน็ ไปตามคำแนะนำจากผ้ผู ลติ โดยเจ้าหน้าท่กี ารแข่งขนั ในแตล่ ะวันดงั น้ี 5.6.2.1 เริ่มวันของวันแรกของการแข่งขัน เจ้าหน้าที่สนาม (RO) ใช้กระสุนที่ได้รับอนุมัติให้เป็นกระสุนทดสอบ (Calibration) อย่างเป็นทางการ ยิง ทดสอบ 3 นัดผ่านเครื่องวัดความเร็วกระสุน (chronograph) จากปืนที่ใช้ทดสอบอย่าง เป็นทางการ ค่าเฉลยี่ ของความเรว็ 3 นัดในการยิงทดสอบจะถกู จดบนั ทึกไว้ 5.6.2.2 วันต่อๆ ไปของการแข่งขัน จะทำการทดสอบตาม กระบวนการดังกล่าวอีก โดยใช้ปืนกระบอกเดิม และชุดกระสุนปืนเดิม (จากชุดการผลิต เดยี วกนั ของโรงงาน) 5.6.2.3 เครือ่ งวดั ค่าความเร็วกระสนุ จะตอ้ งได้คา่ เฉล่ยี ในแตล่ ะ วัน หากคลาดเคลอ่ื นบวกลบอยูร่ ะหว่าง 5% ของคา่ เฉลย่ี ทจ่ี ากการวัดตามข้อ 5.6.2.1 189
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 5.6.2.4 หากค่าเฉลี่ยของแต่ละวันเกินจากค่าเฉลี่ยที่ยอมรับได้ ขา้ งต้น RM จะตอ้ งดำเนนิ การอย่างใดอย่างหนึง่ เพอ่ื แกไ้ ขสถานการณด์ ังกลา่ ว 5.6.2.5 ตาชั่งที่ใช้ในการแข่งขันอย่างเป็นทางการ ควรต้องทำ การเทียบวัด (Calibrated) ตามคำแนะนำของ ผู้ผลิตเมื่อก่อนเริ่มทำการชั่งสควอดแรก และทนั ทกี ่อนทจ่ี ะทำการช่ังสควอดต่อไป ของทุกวนั ในการแข่งขัน 5.6.3 ขั้นตอนการทดสอบกระสุนของผู้แข่งขัน (Competitor Ammunition Testing Procedure) 5.6.3.1 กระสุนต้องทำการทดสอบกับปืนของผู้แข่งขันเท่าน้ัน ไมว่ า่ ก่อน และ/หรอื ระหว่างการทดสอบปนื ส่วนประกอบปืนและอปุ กรณ์อ่ืนของผู้แข่งขัน ต้องไม่ถูกดัดแปลง หรือแก้ไขส่วนหนึ่งส่วนใดให้ต่างไปจากที่ใช้ หรือ กำลังใช้ทำการ แขง่ ขนั และต่างไปจากขอ้ บงั คับ ในแมทช์น้ันๆ 5.6.3.2 กระสุน 8 นัด สำหรับทดสอบจะถูกสุ่มเก็บจากผู้ แขง่ ขันแต่ละคน โดยเจ้าหนา้ ทกี่ ารแขง่ ขนั ผ้ซู ่งึ จะขอเก็บตัวอย่างได้ทุกเมอ่ื ตลอดเวลาการ แข่งขนั 5.6.3.3 จากกระสุน 8 นดั ท่เี กบ็ มา กระสุน 1 นดั จะถูกถอดหัว กระสุนมาชั่งน้ำหนัก และอีก 3 นัด จะถูกยิงผ่านเครื่องวัดความเร็วกระสุน (Chronograph) ถ้าผู้เข้าแข่งขันมีหัวกระสุนน้ำหนักตา่ งกัน กระสุน 8 นัด จากกระสุนที่มี น้ำหนักหัวต่างกันจะทำการทดสอบด้วย โดยใช้ค่า factor ที่ต่ำที่สุดที่วัดได้ สำหรับ คะแนนในการยิง ทั้งการแข่งขัน ตัวเลขค่าน้ำหนักหัวกระสุน และค่าความเร็วที่วัดได้ท่ี แสดงจากเครอ่ื งวดั ตอ้ งนำไปใช้ ทำการคำนวณโดยไม่มกี ารปดั เศษใดๆตามกฎข้อ 5.6.3.5 ในกรณีที่ไม่มีเครื่องถอดหัวกระสุน และเครื่องชั่ง น้ำหนกั อาจใช้คา่ นำ้ หนกั หวั กระสุนตามทผ่ี แู้ ขง่ ขันแจ้งไว้ 5.6.3.4 หากการชั่งหัวกระสุนกระทำก่อนที่ผู้แข่งขันจะมาถึง สถานีชั่ง หัวกระสุนที่ถูกชั่ง จะต้องเก็บไว้ที่สถานีชั่งร่วมกับตัวอย่างกระสุนนัดอื่นของผู้ แข่งขันคนน้ัน จนกระท่ังผู้แข่งขันท่านนัน้ หรือ ตัวแทนทำการวัดความเร็วกระสนุ เสรจ็ ส้ิน หากผู้แข่งขันโต้แย้งน้ำหนักของหัวกระสุนที่วัดก่อน ที่ผู้แข่งขันมาถึงผู้แข่งขันมีสิทธิ์ที่จะ ขอใหเ้ ทยี บช่งั ใหม่ และทำการชงั่ หัวกระสุนต่อหนา้ ผแู้ ข่งขัน 190
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 1 5.6.3.5 ค่าความแรงกระสุน (Power Factor) คือ การคำนวณ โดยใช้ค่าน้ำหนักของหัวกระสุน และค่าเฉลี่ยความเร็วของกระสุน 3 นัดที่ยิงทดสอบ ด้วย สมการน้ี คา่ ความแรงกระสนุ = น้ำหนักหวั กระสุน (เกรน) x ความเรว็ หัว กระสนุ (ฟตุ ต่อวนิ าท)ี 1000 ผลลัพธ์ยืนตามจุดทศนิยม (เช่น เพื่ออ้างใช้กับระบบ IPSC ผลลพั ธข์ อง 124.999 จะไม่เปน็ 125) 5.6.3.6 ถ้าค่าความแรงกระสุน (Power Factor) ที่คำนวณได้ ยังไม่ผ่านระดับตามที่แจ้งไว้ กระสุนอีก 3 นัด จะถูกยิงผ่านเครื่องวัดความเร็วกระสุน (Chronograph) และคำนวณใหม่โดยใช้น้ำหนักครั้งแรก กับค่าเฉลี่ยความเร็วที่สูงสุด 3 นดั จาก 6 นดั ทย่ี ิงไป 5.6.3.7 ถ้าค่าความแรงกระสุน (Power Factor) ยังคงไม่ เพยี งพอ ผแู้ ขง่ ขันจะต้องเลอื กวิธกี ารสำหรบั กระสนุ 1 นดั ทเ่ี หลืออยู:่ (a) ชง่ั น้ำหนกั ใหม่ ถ้าน้ำหนกั ทชี่ ั่งใหม่มากกวา่ เดมิ คา่ ความแรง กระสุน (Power Factor) ที่คำนวณใน 5.6.3.5 จะถูกคำนวณใหม่โดยใช้น้ำหนักใหม่นี้ หรอื (b) ยิงผ่านเครื่องวัดความเร็วกระสุน (Chronograph) และ คำนวณใหม่โดยใช้น้ำหนกั ครง้ั แรกกบั คา่ เฉลี่ยความเรว็ ทส่ี งู สดุ 3 นัด จาก 7 นดั ท่ยี ิงไป 5.6.3.8 ถ้าผลทดสอบไม่ถึงระดับ Major ตามดิวิชั่นที่กำหนด คะแนนของผูแ้ ขง่ ขนั จะถูกคำนวณใหม่เป็น Minor 5.6.3.9 ถ้าผลออกมาต่ำกว่าค่าขั้นต่ำ (Minor) ของดิวิชั่นที่ กำหนด ผ้แู ขง่ ขันสามารถแขง่ ตอ่ ได้ แต่จะไม่มีการบนั ทกึ คะแนนให้หรือไมม่ ีการออกผลให้ รวมถึงผลรางวัลต่างๆ 5.6.3.10 ถ้ากระสุนของผู้แข่งขันมีการถูกทดสอบใหม่ หรือ เปลี่ยนกระสุนที่ได้รับอนุญาตไปแล้วแล้วบันทึกได้ค่าความแรงกระสุน (Power Factor) ใหม่ต่างจากเดิม ให้ใช้ค่าความแรงกระสุน (Power Factor) ที่ต่ำกว่า มาคำนวณในแต่ละ สนามรวมทง้ั สนามที่ได้ทำการยงิ ไปกอ่ นหนา้ นี้แลว้ 191
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 1 5.6.3.11 ผลคะแนนของผู้แข่งขันที่ไม่ได้ใช้ปืนของตน หรือไม่ ได้มาทำการยิงทดสอบตามเวลาและสถานที่ที่กำหนด และ/หรือไม่ได้ส่งตัวอย่างกระสุน ไม่วา่ จะเหตุผลใดๆ คะแนนจะถูกลบออกจากการแขง่ ขนั 5.6.3.12 ถ้า RM เห็นว่าเครื่องวัดความเร็วไม่สามารถทำงานได้ ต่อไป ผู้ที่ทดสอบไปแล้วให้ใช้ค่าทีท่ ดสอบ ผ่านเครื่องวัดความเร็วตามนั้น ส่วนผู้ท่ียังไมไ่ ด้ ทดสอบให้ใช้ค่า ที่แจ้งไว้ครั้งแรกตอนสมัครโดยไม่มีข้อโต้แย้ง และต้องเป็นไปตาม ขอ้ กำหนดของดิวิช่ันน้นั ๆ 5.8 กระสนุ ทีจ่ ำหน่ายอยา่ งเปน็ ทางการ (Official Match Ammunition) 5.8.1 เมื่อผู้จดั การแข่งขนั มีกระสุนที่เปน็ ทางการจำหนา่ ย MD ต้องบอก ล่วงหน้าบนแผ่นประกาศ (และ/หรือบนเวปไซท์) และมีป้ายบอกว่าเป็นกระสุนรับรอง อย่างเป็นทางการ ณ จัดที่จำหน่ายอย่างโดดเด่นชัดเจน พร้อมระบุรายละเอียดกระสุน โรงงานผู้ผลิต/ยี่ห้อ สเป็คของกระสุน และการโหลด พร้อมกำหนดอัตราค่าไมเนอร์ หรือ เมเจอร์ตามแต่กรณีและกระสุนเหล่านี้อาจได้รับยกเว้นจากกฎ ข้อ 5.6.3 การทดสอบ เครอื่ งวัดความเร็ว ภายใต้เง่ือนไขตอ่ ไปนี:้ 5.8.1.1 ผู้แข่งขันต้องได้รับใบเสร็จจากผู้จัดการแข่งขัน (หรือ ตัวแทนขาย) ใบเสร็จจะใช้เป็นหลักฐานซึ่งแสดงรายละเอียดและจำนวนนัดของกระสุนที่ ซื้อ และเก็บไว้ตลอดเวลาเมื่อเจ้าหน้าที่ต้องการตรวจ กระสุนที่ไม่ได้ซื้อจากผู้จั ดการ แข่งขัน (หรือตัวแทนขาย) ในแมทช์แข่ง จะไม่ได้รับสิทธิ์ตามกฎ 5.8.1 รวมทั้งกระสุนที่ไม่ สามารถแสดงหลกั ฐานอ้างอิงได้ 5.8.1.2 กระสุนจำหน่ายอย่างเป็นทางการนี้ให้เสมือนเป็น อุปกรณ์ส่วนหนึ่งของผู้แข่งขัน ดังนั้นหากบกพร่องจะไม่สามารถขอทำการยิงใหม่ และ/ หรอื อทุ ธรณ์ตอ่ คณะกรรมการได้ 5.8.1.3 กระสุนจำหน่ายอย่างเป็นทางการนี้ ต้องไม่สงวนการ ขาย การใช้เฉพาะนักกฬี าของประเทศทจ่ี ดั แข่ง และ/หรอื กลุม่ ของผูข้ ายกระสนุ 5.8.1.4 กระสุนจำหน่ายอย่างเป็นทางการต้องได้รับอนุมัติโดย RD ของประเทศทจี่ ัดแขง่ (และ โดยประธาน IPSC ในกรณกี ารแข่งขันระดบั 4 (Level IV) ขน้ึ ไป 192
ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 1 5.8.1.5 เจ้าหน้าที่จัดการแข่งขันมีสิทธิ์ทดสอบด้วยเครื่องวัด ความเร็ว หรือการทดสอบใด กับกระสุนทัง้ หมดหรือแค่บางส่วนในเวลาใดเวลาหนึ่งขึ้นกบั เหตผุ ลและกรณี 5.8.2 หากเป็นไปได้ ผู้จัดการแข่ง (หรือผู้แทนการขาย) ควรมี ช่องยิงทดสอบ ที่มี RO ดูแล เพื่อให้ผู้แข่งขันได้ทดสอบกระสุนจำนวนเล็กน้อย ว่าปืนของ ตนสามารถทำงานปรกติกับกระสนุ ทีจ่ ำหนา่ ยอย่างเปน็ ทางการกอ่ นตัดสนิ ใจซอ้ื อปุ กรณ์ 1. ปนื อปุ กรณห์ ลักสำหรับการแข่งขันยิงปนื รณยุทธ 2. แวน่ ตา ต้องใสท่ กุ ครงั้ ที่ลงสนาม เพ่ือป้องกันปลอกกระสนุ เศษโลหะ หรอื วตั ถทุ ี่ จะกระเดน็ มาเขา้ ตา 193
ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 1 3. ทีค่ รอบหปู ้องกนั เสียง โดยเฉพาะเสียงปืนในแบบโอเพน่ นน้ั ค่อนขา้ งจะดงั มากๆ และบังคับให้ใส่ทกุ คน 3. ทีค่ รอบหูป้องกนั เสยี ง โดยเฉพาะเสียงปืนในแบบโอเพ่นน้ันค่อนขา้ งจะดงั มากๆ และบังคบั ให้ใสท่ ุกคน 4. ซองปืน ซองแมก็ และเข็มขดั ซองปนื ท่ีใชใ้ นการแข่งขนั จะเป็นแบบพเิ ศษ ออกแบบมาเพ่อื ให้ชกั ปนื และโหลดกระสนุ ได้รวดเร็วกว่า 4. ซองปืน ซองแมก็ และเข็มขดั ซองปืนท่ใี ช้ในการแข่งขันจะเป็นแบบพเิ ศษ ออกแบบมาเพือ่ ให้ชกั ปืนและโหลดกระสุนได้รวดเรว็ กว่า 5. เครอ่ื งแตง่ กาย ขอใหเ้ ป็นเส้อื ผา้ ทีใ่ สแ่ ลว้ คล่องตวั มากที่สดุ ก็พอ 5. เครอื่ งแตง่ กาย ขอใหเ้ ปน็ เสือ้ ผา้ ท่ีใสแ่ ลว้ คลอ่ งตัวมากทีส่ ุดก็พอ 194
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390