เอกสารคำ� แนะน�ำท่ี 6/2558 การเพาะเหด็ เบื้องตน้ พิมพค์ รงั้ ท่ี 1 : จ�ำนวน 10,000 เล่ม พฤษภาคม พ.ศ.2558 จัดพมิ พ์ : กรมสง่ เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พิมพท์ ี่ : ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด
คำ� น�ำ กระแสการรักสขุ ภาพ ดว้ ยการบรโิ ภคอาหารทีส่ ะอาด ปลอดภัยในปัจจบุ ัน มีเพิม่ ขน้ึ เรื่อย ๆ เหด็ จึงเปน็ ทางเลอื กหนึง่ ของผูบ้ ริโภคทใี่ ส่ใจสขุ ภาพ ราคาไมแ่ พง อุดมด้วยคุณค่าทางโภชนาการ ให้โปรตีนสามารถทดแทนเนื้อสัตว์ รวมถึงเห็ด บางชนิดมีคุณสมบัติในการบรรเทาโรคภูมิแพ้ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือ การผดิ ปกติของเซลลไ์ ด้อีกดว้ ย เห็ดสามารถสร้างรายได้หลักแก่เกษตรกร เป็นอาชีพเสริมส�ำหรับผู้สนใจ และเสริมสร้างครอบครัว ให้พึ่งพาตนเองได้ เพราะใช้พื้นท่ีน้อย ผลิตได้ต่อเนื่อง ตลอดทั้งปี ท่วั ทกุ พื้นท่ีตัง้ แตเ่ หนือจรดใต้ กรมส่งเสริมการเกษตร เห็นว่าการเพาะเห็ดเป็นศาสตร์ที่ต้องเรียนรู้อย่าง ตอ่ เนือ่ ง จงึ ไดจ้ ดั ท�ำเอกสารค�ำแนะนำ� เรอ่ื ง “การเพาะเหด็ เบ้อื งต้น” โดยมีเนื้อหา เก่ียวกับการเพาะเห็ดฟางในรูปแบบต่าง ๆ และการเพาะเห็ดถุงบางชนิด เพ่ือเป็น ทางเลอื กให้แกเ่ กษตรกรและผู้สนใจใช้เป็นแนวทางในการผลิตเหด็ ตามสภาพพ้ืนที่ ปัจจัยการผลติ และตลาด กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 2558
สารบัญ หนา้ การเพาะเหด็ ฟาง............................................................................................................ 1 การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย 2 การเพาะเห็ดฟางในโรงเรือน 5 การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า 9 การเก็บเกย่ี วเห็ดฟาง 13 การป้องกนั กำ� จัด โรคและแมลงเหด็ ฟาง 13 การเพาะเห็ดถงุ .............................................................................................................15 ✤ 1. การผลิตเชอ้ื ในอาหารวนุ้ (อาหารว้นุ พีดเี อ) 15 ✤ 2. การผลติ เช้ือในเมลด็ ขา้ วฟ่าง 17 ✤ 3. การผลิตก้อนเชื้อเหด็ 18 ✤ 4. การผลติ ดอกเห็ด 20 ภาคผนวก...........................................................................................................................26 ✤ แหล่งจ�ำหนา่ ยหัวเช้ือเหด็ กอ้ นเช้ือเห็ด 26 บรรณานกุ รม.................................................................................................................28
การเพาะเห็ดฟาง ปจั จบุ นั เกษตรกรนยิ มเพาะเหด็ ฟางกนั มากขนึ้ โดยเฉพาะการเพาะเหด็ ฟาง ในโรงเรือน เพราะให้ผลผลิตเร็ว สามารถเพาะได้ทุกพื้นที่ มีวิธีการเพาะหลาย รูปแบบ สามารถใช้วัสดุเพาะที่หลากหลาย เกษตรกรสามารถเลือกใช้วิธีการผลิต และวัสดุเพาะให้เหมาะกับพ้ืนที่ที่แตกต่างกันในแต่ละท้องถ่ิน ทั้งการเพาะเห็ดฟาง แบบกองเต้ยี แบบโรงเรือน และการเพาะเหด็ ฟางในตะกรา้ การเพาะเหด็ เบื้องต้น 1
การเพาะเหด็ ฟางแบบกองเตยี้ การเพาะเห็ดฟางแบบกองเต้ีย เป็นรูปแบบการเพาะที่ง่าย ใช้วัสดุน้อย สามารถใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเป็นวัสดุเพาะได้ เช่น ฟางข้าว ตอซังข้าว กากถว่ั เหลือง กากมันส�ำปะหลงั ข้นั ตอนการเพาะเหด็ ฟางแบบกองเตีย้ การเตรียมการก่อนเพาะ 1) น�ำวสั ดุเพาะ ได้แก่ ฟางข้าว แช่น้ำ� 1-2 วัน ส่วนทะลายปาล์ม รดนำ�้ ใหเ้ ปียก วนั ละ 1 ครั้ง หรือแชน่ ำ้� ไวแ้ ละคลมุ พลาสติกสดี �ำใหม้ ิดชิดทำ� อยา่ งน้ี 4 วนั อาหารเสริมทุกชนิด ได้แก่ ไส้ฝ้าย ไส้นุ่น ผักตบชวาสับตากแห้ง แช่น้�ำให้นาน 1-2 ชั่วโมง ส่วนอาหารเสริมที่ได้จากมูลสัตว์ ได้แก่ มูลไก่ มูลวัว หรือ มูลม้า ผสมดินรว่ นในอัตราส่วน 2 : 1 ไม่ตอ้ งแช่นำ้� 2) ขุดดินตากแดด 1 สัปดาห์ เพื่อฆ่าเช้ือโรค ย่อยดินให้ร่วนละเอียด จะชว่ ยใหผ้ ลผลติ เหด็ ฟางเพม่ิ ขนึ้ 10-20% เนอื่ งจากเหด็ ฟางจะเกดิ รอบๆ กองวสั ดเุ พาะ ปรับดินใหเ้ รียบ รดน�้ำใหช้ ุ่ม วางแบบพิมพล์ งบนดิน แบบพมิ พท์ ำ� จากไม้มลี กั ษณะ เป็นส่ีเหลี่ยมคางหมู ด้านบนกว้าง 30 เซนติเมตร ด้านล่างกว้าง 35 เซนติเมตร ยาว 80-120 เซนตเิ มตร สูง 30 เซนตเิ มตร 2 กรมส่งเสริมการเกษตร
วธิ ีการเพาะ 1) วัสดุทใี่ ชเ้ พาะ ✤ หากเพาะด้วยฟางข้าว ให้ใส่ฟางลงไปในแบบพิมพ์ให้หนา 8-12 เซนติเมตร ใช้มือกดให้แน่น หรืออาจจะย�่ำ 1-2 รอบ ใส่อาหารเสริมบริเวณขอบ โดยรอบ กวา้ ง 5-7 เซนติเมตร หนา 2.5 เซนตเิ มตร ✤ หากเป็นทะลายปาล์มต้องเทขี้เลื่อยลงไปในแบบพิมพ์ เกลี่ยให้ เรียบก่อนน�ำทะลายปาล์มท่ีแช่น้�ำแล้ววางให้เต็ม และรดน�้ำให้ชุ่ม แล้วโรยเชื้อ ไม่ต้องใส่อาหารเสรมิ 2) โรยเชื้อเห็ดโดยรอบบนอาหารเสริม เช้ือเห็ดที่ใช้ควรบี้ให้แตก ออกจากกนั เสยี ก่อนเป็นอันเสรจ็ ช้นั ที่ 1 เมอื่ เสร็จแลว้ กท็ �ำชัน้ ตอ่ ไปโดยทำ� เชน่ เดียว กับการท�ำชั้นแรกคือ ใส่ฟางลงในแบบไม้อัดหนา 8-12 เซนติเมตรกดให้แน่น ใส่อาหารเสริม ในช่วงฤดูหนาวหรืออุณหภูมิต�่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส ควรท�ำ 4-5 ชั้น หรือสูง 35-40 เซนติเมตร ในฤดูร้อนควรท�ำ 3 ช้ัน หรือสูง 28-30 เซนตเิ มตร หากเพาะดว้ ยทะลายปาลม์ สามารถโรยเชอื้ เหด็ ฟางบนทะลายปาลม์ ไดเ้ ลย การเพาะเหด็ เบ้อื งตน้ 3
3) เม่ือท�ำกองเสร็จแล้ว ช้ันสุดท้ายคลุมฟางหนา 2-3 เซนติเมตร รดน�้ำ บนกองให้โชกอีกครั้ง ถอดแบบพิมพ์ เพ่ือน�ำไปใช้เพาะกองตอ่ ไป 4) เม่ือโรยเชื้อเสร็จแล้ว ใช้เช้ือเห็ดฟาง ผสมกับอาหารเสริมโรยรอบกอง จะท�ำให้ดอกเห็ด เกดิ ระหวา่ งกอง เปน็ การเพมิ่ ปรมิ าณดอกเหด็ การเพาะ เห็ดฟางแบบกองเตี้ยมักจะท�ำกองห่างกันประมาณ 1 คบื ขนานกนั ไป 10-20 กอง เพอ่ื ทำ� ให้อณุ หภูมแิ ละ ความชืน้ ของกองไม่เปล่ยี นแปลงรวดเรว็ นัก 5) คลุมดว้ ยผา้ พลาสติกใสหรอื ทึบ โดยคลุมท้ังหมดดว้ ยผ้าพลาสติก 2 ผืน โดยใหข้ อบดา้ นหนง่ึ ทบั กนั บรเิ วณหลงั กอง จากนนั้ ใชฟ้ างแหง้ คลมุ ทบั พลาสตกิ อกี ที หรืออาจท�ำแผงจากปิด ไม่ให้แสงแดดส่องถึง ก่อนการคลุมด้วยพลาสติกอาจท�ำ โครงไม้เหนือกองเพอื่ ไม่ให้พลาสตกิ ติดหลังกอง แล้วปดิ ดว้ ยฟางหลวม ๆ ก่อน การดูแลรักษา ในฤดรู อ้ น 3 วันแรก ช่วงกลางวันถึงเย็น ควรเปดิ ผ้าพลาสตกิ หลงั กองกวา้ ง ประมาณ 1 ฝา่ มอื สว่ นกลางคืนปดิ และคลมุ ฟางไวเ้ หมอื นเดมิ วนั ท่ี 1-3 วนั เหด็ ฟาง ต้องการอณุ หภมู ปิ ระมาณ 35-38 องศาเซลเซยี ส ในวนั ที่ 4-5 ใหต้ รวจดูความช้นื ถา้ เหน็ วา่ ข้างและหลงั กองแห้ง ใหใ้ ช้บัวรดนำ้� โชยน้ำ� เบา ๆ ให้ชืน้ แล้วปิดไว้อยา่ งเดิม เห็ดฟางต้องการอณุ หภูมิต่�ำกวา่ วันแรก ๆ จนกระท่งั วันท่ี 8-10 ชว่ งเกบ็ ผลผลิตได้ เหด็ ฟางตอ้ งการอุณหภูมปิ ระมาณ 30 องศาเซลเซียส 4 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
การเพาะเหด็ ฟางในโรงเรือน การเพาะเห็ดฟางในโรงเรือนเหมาะ ส�ำหรับเกษตรกรท่ีมีทุนทรัพย์เพราะลงทุน คร้ังแรกสูง โดยเฉพาะการสร้างโรงเรือน อา่ งสำ� หรบั หมกั วสั ดเุ พาะ เครอ่ื งกำ� เนดิ ไอนำ�้ และอปุ กรณอ์ นื่ ๆ แตก่ ารเพาะเหด็ ฟางในโรงเรอื น สามารถเพาะได้ทุกฤดูกาล จึงเป็นที่นิยม สำ� หรับเกษตรกรทเ่ี พาะเห็ดฟางเปน็ อาชพี ขัน้ ตอนการเตรียมการเพาะเหด็ ฟางในโรงเรอื น โรงเรือนและชัน้ วาง 1) โรงเรอื น กว้าง 5.80 เมตร ยาว 6.80 เมตร สงู 2.50 เมตร และสูงจาก พื้นถึงยอดบนสุดหลงั คา 3.50 เมตร 2) ประตู หน้า-หลัง กว้าง 0.75 สูง 1.75 เมตร บนประตูทั้ง 4 บาน ท�ำหน้าต่างกว้างเท่ากับประตูสูง 30 เซนติเมตร ทั้งประตูและหน้าต่างกรุด้วย ผา้ พลาสตกิ แล้วกรทุ ับดว้ ยแฝกดา้ นนอกอกี ช้ันหน่งึ 3) กรภุ ายในโรงเรอื นรวมทง้ั หลงั คาดว้ ยพลาสตกิ ทนรอ้ นอยา่ งหนาใหม้ ดิ ชดิ 4) ดา้ นนอกโรงเรือน กรดุ ว้ ยแฝกจนถงึ ชายคาไม่ใหแ้ สงเขา้ ได้ การเพาะเห็ดเบื้องต้น 5
5) พน้ื โรงเรอื น อาจเทคอนกรตี หรอื หนิ คลกุ อดั ใหแ้ นน่ ถา้ เปน็ พนื้ คอนกรตี จะตอ้ งเว้นเปน็ ชอ่ งใต้ชัน้ ไวเ้ พ่ือให้โรงเรือนได้รับอุณหภมู ิและความชน้ื จากดิน 6) ชั้นวางวัสดุเพาะกว้าง 80-90 เซนติเมตร ยาว 5 เมตร ช้ันแรกสูง จากพื้น 30 เซนติเมตร ชั้นต่อ ๆ ไปสูงห่างกันช้ันละ 60 เซนติเมตร ตั้งห่างจาก ฝาผนงั โรงเรือนโดยรอบ 80-90 เซนติเมตร โดยใชเ้ สาคอนกรีต ไมค่ วรใช้ทอ่ ประปา และทอ่ PVC ปพู ืน้ ของชัน้ ด้วยไมไ้ ผ่ (ไมร้ วก) ห่างกนั ประมาณ 5-10 เซนตเิ มตร 7) ทำ� ความสะอาดโรงเรือนและชัน้ วางกอ่ นเพาะด้วยน�ำ้ ยาฆา่ เช้ือ การหมักวัสดุเพาะ ให้น�ำฟางข้าว 250 กิโลกรัม หมัก กับปนู ขาว 2 กิโลกรมั รำ� ละเอยี ด 5 กิโลกรัม ปุ๋ยยเู รยี 0.5 กิโลกรมั รดนำ้� ให้ชมุ่ คลมุ ด้วย พลาสติก 2 วนั หากใช้วัสดเุ พาะอ่นื ๆ เชน่ กากมนั ส�ำปะกลัง กากทะลายปาลม์ เปลือก- ถวั่ เขยี ว หรอื ขฝ้ี า้ ย จะมวี ธิ กี ารหมกั วสั ดเุ พาะ ท่แี ตกต่างกนั ไป วิธีการเพาะ 1) วันที่ 1 หมักอาหารเสริมประกอบด้วย กากฝ้าย 250 กิโลกรัม ผสม เปลือกถั่วเหลือง 30-50 กิโลกรัม รดน้�ำจนชุ่มให้ทั่ว ต้ังกองเป็นรูปสามเหลี่ยมสูง 70 เซนติเมตร คลุมด้วยพลาสติกเพ่อื หมกั 1 คืน 2) วันที่ 2 กลับกองอาหารเสรมิ แล้วผสมรำ� ละเอยี ด 15 กิโลกรมั ยปิ ซัม 3 กิโลกรัม ปุ๋ยสูตร 16-20-0 ปริมาณ 400 กรัม ตั้งกองรูปฝาชี คลุมพลาสติก ท้ิงไว้ 1-2 คนื และนำ� วสั ดุเพาะท่ีหมกั ไว้ขึ้นชั้นเพาะ 6 กรมสง่ เสริมการเกษตร
3) วันท่ี 3 กระจายกองวสั ดอุ าหารเสริมแบ่งออกเปน็ 12 กองเท่า ๆ กนั (เท่ากบั จ�ำนวนชั้นเพาะ) แล้วขนไปเกล่ียบนฟางทเ่ี รยี งไว้ในโรงเรือน ชั้นละ 1 กอง กระจายใหท้ ัว่ แตใ่ ห้หา่ งจากขอบฟางดา้ นละ 1 ฝา่ มอื ใชม้ อื กดใหแ้ นน่ พอประมาณ เสรจ็ แลว้ ปดิ โรงเรอื นใหม้ ดิ ชดิ ควบคมุ อณุ หภมู ใิ หไ้ ดป้ ระมาณ 40-45 องศาเซลเซยี ส นาน 24 ช่ัวโมง ถ้าอุณหภูมิไม่ถึงให้ใช้ไอน้�ำที่ได้จากการต้มน้�ำในถังน�้ำขนาด 200 ลติ ร ตอ่ ทอ่ เหลก็ เขา้ ไปยงั โรงเรอื นเพอ่ื เพมิ่ อณุ หภมู ิ ทง้ั นี้ เพอื่ ตอ้ งการเพาะเลย้ี ง เชือ้ ราท่เี ปลีย่ นวสั ดเุ พาะให้เป็นธาตอุ าหารท่ีเห็ดฟางสามารถน�ำไปใช้ได้ 4) วันที่ 4 หลงั จากเลี้ยงเช้อื ราไวป้ ระมาณ 24 ชวั่ โมง ให้ทำ� การอบไอน้�ำ ในโรงเรือนเพ่อื ฆา่ เช้อื ท่ีอุณหภมู ิ 70 องศาเซลเซยี ส นาน 6 ชั่วโมง แลว้ พกั โรงเรือน ไว้ 1 คนื 5) วันท่ี 5 โรยเชอื้ เหด็ ฟางให้ทั่วทุกชนั้ โดยใชเ้ ช้อื เห็ดฟางช้นั ละประมาณ 15-20 ถงุ ผสมกบั แปง้ ขา้ วเหนยี วหรอื แปง้ สาลี 1 ชอ้ นแกงตอ่ เชอ้ื เหด็ ฟาง 1 ถงุ ปอนด์ เม่ือโรยเชื้อเห็ดเสร็จแล้ว ปิดโรงเรือนให้มิดชิดอย่าให้แสงเข้า ควบคุมอุณหภูมิ ในโรงเรอื นประมาณ 35-36 องศาเซลเซยี ส ประมาณ 3 วนั เสน้ ใยเหด็ จะเดนิ ทวั่ แปลง 6) วนั ท่ี 8 เม่อื เหน็ วา่ เสน้ ใยเห็ดเดนิ ทัว่ แปลงแลว้ ให้เปิดวัสดบุ งั แสงออก ให้หมดทกุ ดา้ น รักษาอณุ หภมู ิที่ 35-36 องศาเซลเซียส การเพาะเห็ดเบือ้ งต้น 7
7) วันท่ี 9 เปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง เพ่อื ไลแ่ ก๊สแอมโมเนยี และแก๊สอ่นื ๆ ทเ่ี ปน็ อนั ตรายแก่การเกดิ ดอกเหด็ และเปน็ อนั ตรายแกค่ นออกจากโรงเรือนให้หมด โดย เปิดโรงเรอื นไวป้ ระมาณ 3-5 นาทตี อ่ ครง้ั รักษาอุณหภูมทิ ่ี 35-36 องศาเซลเซียส 8) วันท่ี 10 หลังจากเปิดแสงไว้ 2-3 วัน พ่นสเปรย์น�้ำให้เส้นใยเห็ด ยุบตัวลง ช่วยลดอุณหภูมิ และมีการสะสมอาหารท่ีจะน�ำไปสร้างเป็นดอกเห็ด ชว่ งนต้ี อ้ งลดอณุ หภมู ใิ หเ้ หลอื ประมาณ 30-32 องศาเซลเซยี ส เมอ่ื เหน็ วา่ เกดิ ดอกเหด็ เลก็ ๆ ขึ้นเป็นจำ� นวนมากพอสมควรแลว้ จงึ ปดิ แสง หลงั จากน้ีอกี 2-3 วนั ก็สามารถ เก็บดอกเหด็ ได้ 9) วนั ท่ี 12-17 เรม่ิ เกบ็ ดอกเหด็ ไดแ้ ละเกบ็ ไดป้ ระมาณ 5 วนั แลว้ พกั เสน้ ใย 2-3 วนั เริม่ เกบ็ รุ่นท่ี 2 การปฏิบตั ิอื่น ๆ ✤ ถ้าภายในโรงเรือนร้อนจัด ให้เปิดประตูระบายอากาศและความร้อน หรือเปดิ เฉพาะหน้าตา่ ง โดยเปดิ เปน็ ชว่ ง ๆ วนั ละ 4-5 ครง้ั ๆ ละประมาณ 3-5 นาที ห่างกนั ประมาณ 2 ชั่วโมง จะชว่ ยให้อากาศภายนอกเขา้ ไปไลอ่ ากาศเสียในโรงเรอื น ออกมา และยังเป็นการช่วยใหด้ อกเหด็ ไดร้ ับแสงเป็นบางครั้ง ✤ ตรวจดูความชนื้ ภายในโรงเรือน ถ้าหน้ากองเพาะแหง้ เกินไป ใหพ้ น่ น�้ำ เปน็ ฝอยที่ผวิ หนา้ ให้ฝา้ ยชมุ่ พอสมควร แต่อย่าใหแ้ ฉะ ✤ เมื่อเหด็ ออกดอก ควรเปิดหน้าตา่ งไวต้ ลอด เพอื่ ไล่อากาศเสีย แต่ต้อง ควบคุมอณุ หภมู ไิ มใ่ ห้ตำ�่ กวา่ 28 องศาเซลเซยี ส 8 กรมส่งเสริมการเกษตร
การเพาะเหด็ ฟางในตะกร้า การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า เหมาะกบั เกษตรกรทม่ี พี น้ื ทกี่ ารผลติ นอ้ ย หรือเกษตรกรและผู้สนใจที่ต้องการหา รายได้เสริม หรือเพ่ือการบริโภคใน ครัวเรอื น ขัน้ ตอนการเตรียมการเพาะเห็ดฟางในตะกรา้ วสั ดอุ ุปกรณ์ ✤ หวั เชือ้ เห็ดฟาง ทไี่ มแ่ ก่ ไมอ่ ่อนเกนิ ไป ไม่มสี ่ิงปนเปอ้ื น ✤ ตะกร้า ขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 18 นวิ้ สูง 11 น้วิ มชี อ่ งขนาด 1 ตารางน้ิว ด้านล่างมีชอ่ งระบายนำ้� ✤ วัสดุเพาะ เช่น ก้อนเช้ือเหด็ เก่า ฟางขา้ ว ตน้ กลว้ ย ชานออ้ ย เป็นตน้ ✤ อาหารเสริม เชน่ ผักตบชวา มลู วัว ไสน้ ุน่ ร�ำละเอียด ✤ อาหารกระตนุ้ หัวเช้ือ ไดแ้ ก่ แปง้ สาลี หรือแป้งขา้ วเหนียว ✤ พลาสติกใสส�ำหรับคลมุ ✤ สมุ่ ไก่ หรอื วสั ดอุ ื่นๆ ที่ทำ� เป็นโครง เชน่ ชัน้ โครงเหลก็ ✤ น้ำ� สะอาด การเพาะเหด็ เบ้อื งต้น 9
วิธกี ารเพาะ 1) เลือกพ้ืนท่ีส�ำหรับวางโครงเหล็กหรือสุ่มไก่ ไม่ควรเป็นพ้ืนที่ท่ีได้รับ แดดจัด น้�ำไม่ท่วมขัง สามารถป้องกันการรบกวนจากสุนัขและสัตว์เลี้ยงอื่น ๆ ได้ โดยเตรียมปรับพืน้ ที่ใหเ้ รียบเสมอกนั 2) น�ำเช้ือเห็ดฟางขนาด 1 ปอนด์ ออกจากถุง ฉีกหัวเชื้อเห็ดฟางเป็น ชิ้นเล็ก แล้วโรยแป้งสาลีหรือแป้งข้าวเหนียว 1 ช้อนโต๊ะ คลุกให้เข้ากัน แบ่งเป็น 6 ส่วนเท่า ๆ กัน (ท�ำได้ 2 ตะกร้า) 3) น�ำวัสดุเพาะ ได้แก่ ก้อนเช้ือเห็ดถุงเก่าหรือฟางข้าว (ที่แช่น้�ำ 1 คืน) หรือวัสดุอ่ืน ๆ มารองก้นตะกร้าแล้วโรยด้วยอาหารเสริมรอบ ๆ ขอบตะกร้า หนาประมาณ 1 น้วิ 4) นำ� เชือ้ เหด็ ฟางท่ีเตรยี มไว้ 1 ส่วน วางรอบตะกรา้ ใหช้ ิดขอบตะกร้าเปน็ จุด ๆ (เสรจ็ ช้นั ที่ 1) โดยใหเ้ ชอ้ื เหด็ ฟางอยู่ตรงชอ่ งวา่ งของตะกร้า 10 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
5) ท�ำตามข้อท่ี 2-4 อกี 2 คร้งั (เสร็จช้นั ท่ี 2 และ 3) โดยครั้งสดุ ท้ายให้ โรยอาหารเสริมเตม็ พ้นื ทด่ี า้ นบนหนาประมาณ 1 นิ้ว แลว้ โรยเช้ือเห็ดฟางเปน็ จุด ๆ ระยะหา่ งเท่า ๆ กนั ใหเ้ ตม็ พ้นื ทด่ี า้ นบนตะกรา้ 6) โรยวสั ดุเพาะดา้ นบนอีกครั้ง หนาประมาณ 1 นวิ้ รดน้�ำใหช้ มุ่ การดูแลรักษา 1) น�ำตะกร้าไปวางไว้บนพ้ืนหรือชั้นโครงเหล็กที่เตรียมไว้ หากเป็น สุ่มไกใ่ ห้วาง 4 ตะกร้า โดยวาง 3 ตะกร้าชดิ กนั แลว้ วาง 1 ตะกร้าด้านบนตรงกลาง ระหว่างตะกร้าทั้ง 3 ตะกร้า หรือ น�ำสุ่มไก่ครอบตะกร้าทั้งหมด โดยให้ห่างจาก ขอบตะกรา้ อย่างน้อย 1 คบื 2) น�ำพลาสติกคลุมโครงเหล็กหรือสุ่มไก่จากด้านบนถึงพื้นต้องคลุม ให้มิดชิดแล้วน�ำอิฐหรือไม้ทับขอบพลาสติกป้องกันพลาสติกเปิดออก หากพื้นท่ี ทว่ี างตะกร้ามแี สงมากควรพรางแสงให้ดว้ ย การเพาะเหด็ เบือ้ งตน้ 11
3) วันท่ี 1-4 วันแรกหลงั เพาะในช่วงฤดรู อ้ นถงึ ฤดูฝน หรอื วันท่ี 1-7 วนั แรกหลังเพาะในช่วงฤดูหนาว ต้องควบคุมอุณหภูมิในโครงเหล็กหรือสุ่มไก่ให้อยู่ ในช่วงอุณหภูมิ 37-40 องศาเซลเซียส เฉล่ียประมาณ 38 องศาเซลเซียส ถ้า อุณหภูมิสูงเกินไปให้ค่อย ๆ เปิดช่องลมระบายอากาศด้านบนเล็กน้อย หากเปิด มากเกินไปความร้อนลดลงกะทันหันจะท�ำให้เส้นใยเห็ดฟางเสียหาย มีผลให้เห็ด ไม่ออกดอกหรือดอกนอ้ ย แต่ถ้าอณุ หภูมติ ่ำ� กวา่ ทีก่ �ำหนดตอ้ งปดิ ช่องระบายอากาศ ให้มิดชิดเพราะจะท�ำให้ดอกเจริญเติบโตช้า นอกจากนี้ต้องควบคุมความช้ืนใน โครงเหล็กหรือสุ่มไก่โดยสังเกตจากหยดน้�ำเกาะพลาสติกที่คลุม ถ้าไม่มีน�้ำเกาะ ให้รดนำ�้ ท่พี ื้นดินรอบ ๆ โครงเหลก็ หรือสมุ่ ไก่ 4) วันที่ 5-8 วันหลังเพาะ ต้องควบคุมอุณหภูมิภายในโครงเหล็กหรือ สุ่มไก่ให้อยู่ระหว่าง 28-32 องศาเซลเซียส เพราะจะเป็นช่วงรวมตัวกันของ เส้นใยเห็ดเกิดเป็นดอกเล็ก ๆ จ�ำนวนมาก ห้ามเปิดพลาสติกบ่อยเพราะจะท�ำให้ ดอกฝ่อ 5) ประมาณวันที่ 7-8 ในฤดูร้อน หรือวันท่ี 9-10 ในฤดูหนาว เห็ดฟาง เร่ิมให้ดอกท่ีมีขนาดโตสามารถเก็บเกี่ยวได้ ผลผลิตสามารถเก็บได้ 2-3 ครั้ง ตอ่ ตะกรา้ ผลผลติ ประมาณ 7 ขดี -1 กโิ ลกรมั ตอ่ ตะกร้า ขึ้นอยกู่ บั วัสดทุ ่ีนำ� มาเพาะ การดแู ลรกั ษา และฤดกู าลทผ่ี ลติ (ฤดหู นาวดอกเหด็ ฟางจะมจี ำ� นวนนอ้ ยแตม่ นี ำ้� หนกั ต่อดอกมากกวา่ ช่วงฤดรู ้อน) 12 กรมสง่ เสริมการเกษตร
การเกบ็ เกี่ยวเหด็ ฟาง การเก็บเก่ียวควรท�ำในตอนเช้ามืด โดยเก็บในขณะท่ีดอกมีลักษณะตูม ไม่บาน ปริแตก ถ้ามีดอกเห็ดขึ้นอยู่ติดกันเป็นกลุ่มควรเก็บข้ึนมาพร้อมกันทั้งหมด การเก็บให้ใช้มีดสะอาดตัดโคนดอกเห็ด แล้วจึงน�ำไปตัดแต่งโคนดอกเห็ดที่มี เศษวัสดุเพาะติดอยู่ออก ก่อนบรรจุในภาชนะ หรือบรรจุภัณฑ์เพ่ือเตรียมจ�ำหน่าย โดยเร็ว หากยังไม่ได้ส่งจ�ำหน่ายควรคลุมภาชนะบรรจุ ด้วยผ้าชุบน�้ำเพ่ือรักษา ความชนื้ และระบายความรอ้ นของดอกเห็ดฟาง การป้องกนั กำ� จดั โรคและแมลงเหด็ ฟาง 1) มด ปลวก แมลงสาบ สามารถปอ้ งกัน โดยใชส้ ารกำ� จดั แมลงหยดใส่ ตรงปากทางเขา้ รงั มดหรอื ปลวก หรอื ใชข้ เ้ี ถา้ แกลบผสมผงซกั ฟอกโรยบนพนื้ ดนิ กไ็ ด้ 2) ไร จะท�ำลายโดยกัดกินเส้นใยเห็ดฟางหรือดอกเห็ดท่ีมีขนาดเล็ก สามารถป้องกัน โดยรักษาความสะอาดของอุปกรณ์อยู่เสมอ การเพาะเห็ดฟางใน โรงเรือนควรมีการพักท�ำความสะอาดโรงเรือน ส่วนการเพาะเห็ดฟางกองเต้ีย ไม่ควรเพาะเหด็ ซำ้� ในพื้นท่ีเดิม ควรหมนุ เวียนพื้นท่เี พาะเหด็ ในระยะเวลา 1-2 เดือน 3) โรคราเม็ดผักกาด เกิดจากเช้ือรา มักเกิดกับกองเห็ดฟางกองเตี้ย ที่ใชฟ้ างเกา่ เก็บคา้ งปี และถกู แดดฝนมาก่อน ส่วนใหญเ่ กิดขึน้ ไดใ้ นวนั ท่ี 3 หรอื 4 ของการเพาะเห็ด สามารถป้องกนั โดยการใชฟ้ างขา้ วใหมไ่ ม่คา้ งปี 4) โรคราเขียว เกิดได้บนข้ีฝ้าย ฟางข้าว บนดินและดอกเห็ด ท้ัง การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยและในโรงเรือน สามารถป้องกันได้ด้วยการใช้ ฟางขา้ วใหมไ่ ม่ค้างปี การเพาะเหด็ เบ้ืองต้น 13
5) ราเห็ดหมึกหรือเห็ดขี้ม้า เกิดจากเชื้อรา สาเหตุจากการใช้ฟางเก่า หรอื วสั ดเุ พาะทม่ี เี ชอ้ื เหด็ หมกึ อยู่ ปอ้ งกนั กำ� จดั โดยอบไอนำ้� ในกองฟางหรอื โรงเรอื น ตามอุณหภูมทิ ่ีก�ำหนด 6) โรคเนา่ เละของเหด็ ฟาง เกดิ จากเชอื้ แบคทเี รยี พบในการเพาะเหด็ ฟาง ในโรงเรือน ปัจจุบันยังไม่มีสารเคมีป้องกันก�ำจัดได้ วิธีการป้องกันท่ีท�ำได้ คือ การรักษาความสะอาดและการปฏิบัติดแู ลรกั ษาอย่างสม�ำ่ เสมอ 14 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
การเพาะเห็ดถุง เห็ดที่พบในท้องตลาด ไม่ว่าจะเป็น เหด็ นางฟา้ ภฎู าน เหด็ นางรมฮงั การี เหด็ เปา๋ ฮอ้ื เห็ดยานางิ เห็ดนางนวล เห็ดลม เห็ดบด เห็ดกระด้าง เห็ดหัวลิง เห็ดหลินจือ เปน็ ตน้ เห็ดท่ีกล่าวมาเป็นเห็ดท่ีเพาะอยู่ในถุงพลาสติก ดังน้ัน เราจึงเรียกกนั ส้ันๆ วา่ “เห็ดถุง” ในกระบวนการเพาะเหด็ ถุงมี 4 ขัน้ ตอนหลกั คอื 1. การผลิตเชอื้ ในอาหารวุน้ (อาหารวนุ้ พดี เี อ) 2. การผลติ เชื้อในเมลด็ ข้าวฟ่าง 3. การผลิตกอ้ นเช้อื เหด็ 4. การผลิตดอกเหด็ ส�ำหรับแต่ละข้ันตอน เกษตรกรสามารถท�ำตั้งแต่ข้ันตอนท่ี 1-4 หรือ เลือกท�ำเฉพาะขน้ั ตอนก็ได้ เชน่ ทำ� เฉพาะหวั เชอื้ เหด็ หรอื อาจทำ� การผลิตดอกเหด็ โดยน�ำก้อนเชื้อเห็ดที่ส�ำเร็จรูปมาเปิดดอกในโรงเรือนเท่าน้ัน เพราะข้ันตอนท่ี 1-3 ตอ้ งใช้ทนุ ทรพั ยพ์ อสมควร 1. การผลิตเชื้อในอาหารวนุ้ (อาหารวนุ้ พดี ีเอ) อาหารวนุ้ พีดีเอ (Potato Dextros Agar) คือ อาหารเล้ียงเชื้อ ใชใ้ นการเพาะ เลยี้ งเน้ือเยอื่ ใหบ้ รสิ ทุ ธ ์ิ การเพาะเหด็ เบื้องต้น 15
1.1 การเตรียมอาหารวุ้นพดี เี อ สตู รอาหาร คอื มันฝรั่ง 200 กรมั น�้ำตาลกลู โคส 20 กรมั ผงวุน้ ทำ� ขนม 20 กรมั และนำ�้ สะอาด 1 ลิตร มวี ธิ ีการดงั น้ี 1) นำ� มนั ฝรงั่ มาปอกเปลอื ก ชงั่ ใหไ้ ด้ 200 กรมั หน่ั เปน็ ชนิ้ ขนาดลกู เตา๋ ต้มในน้�ำ 1 ลิตร นานประมาณ 45 นาที พยายามต้มไม่ให้มันฝร่ังเละ แล้วกรอง เอาแตน่ ้�ำมนั ฝรง่ั 2) โรยผงวุ้นในน้�ำมันฝรั่ง ค่อย ๆ คนจนวุ้นละลายหมด แล้วเติม นำ�้ รอ้ นให้ครบ 1 ลิตร เตมิ น�้ำตาลกลูโคสคนจนน�ำ้ ตาลละลายแลว้ ยกลง 3) น�ำอาหารวุ้นบรรจุใส่ขวดประมาณ 1/4 ของขวด อย่าให้อาหาร วุ้นเปื้อนปากขวด ปิดจุกส�ำลีแล้วหุ้มด้วยกระดาษ น�ำไปน่ึงด้วยหม้อนึ่งความดัน ทค่ี วามดัน 15 ปอนดต์ อ่ ตารางนว้ิ 121 องศาเซลเซยี ส นาน 30-45 นาที เสร็จแล้ว น�ำมาเอยี งไว้ 45 องศา รอจนวนุ้ เยน็ ตัวลง 1.2 การเขย่ี เน้ือเยอ่ื เหด็ ลงอาหารวุ้นพีดเี อ 1) คดั เลอื กดอกเหด็ ทส่ี มบรู ณจ์ าก ก้อนเห็ดท่ีให้ผลผลิตดี น�้ำหนักดี ดอกอยู่ในช่วง กำ� ลงั จะบาน และทำ� การเกบ็ ในชว่ งเชา้ กอ่ นใหน้ ำ้� 2) ท�ำความสะอาดตู้เขี่ยเช้ือโดย แอลกอฮอล์ น�ำเข็มเข่ียเชือ้ ตะเกียงแอลกอฮอล์ สำ� ลี มดี ดอกเหด็ ขวดอาหารวนุ้ พดี เี อ เขา้ ในตเู้ ขยี่ แล้วฉีดแอลกอฮอล์เพื่อท�ำความสะอาด และ ทำ� ความสะอาดบริเวณมือและข้อมือ จดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ น�ำมีดจุ่มแอลกอฮอล์ ลนไฟ เสรจ็ แลว้ ใชม้ ดี ผา่ ดอกเหด็ ตามความยาวของดอก หรอื อาจจะใชม้ อื ฉกี ดอกเหด็ เปน็ 2 สว่ นเท่า ๆ กนั แลว้ นำ� เขม็ เขย่ี มาจมุ่ แอลกอฮอลแ์ ลว้ ลนไฟ เสรจ็ แลว้ นำ� มาเขยี่ เนือ้ เยอ่ื เหด็ ในชว่ งบริเวณกา้ นดอกต่อกบั หมวกดอก แลว้ นำ� ไปวางในขวดอาหารวุ้น โดยเปดิ จกุ สำ� ลี ลนไฟทป่ี ากขวด แลว้ สอดเนอื้ เยอื่ วางลงบนผวิ หนา้ ของวนุ้ ลนปากขวด ดว้ ยไฟอีกครัง้ กอ่ นปิดจุกสำ� ลีและหุ้มกระดาษตามเดมิ 16 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
3) น�ำไปเก็บไว้ในห้องที่อุณหภูมิ ประมาณ 35-38 องศาเซลเซียส ปราศจากมด หรอื แมลง ประมาณ 1 สปั ดาห์ จะสงั เกตวา่ เสน้ ใย เห็ดเดินเต็มผิวหน้าวุ้น โดยจะเรียกวุ้นท่ีได้จาก การเขี่ยเช้ือครั้งแรกว่า แม่เชื้อเห็ด หลังจากนั้น จะสามารถน�ำไปขยายเช้ือต่อในวุ้นอาหารพีดีเอ ไดป้ ระมาณ 35-40 ขวด 2. การผลิตเช้ือในเมลด็ ขา้ วฟ่าง น�ำเมลด็ ขา้ วฟ่างท่สี มบรู ณ์ แช่น้�ำไว้ 1 คืน แล้วล้างด้วยน�้ำสะอาด 2-3 คร้ัง น�ำไปต้มหรือ น่ึงให้สุกด้านนอก สังเกตว่าเมล็ดจะปริเล็กน้อย เม่ือบี้เมล็ดดูแล้ว ผิวด้านนอกจะสุก แต่เน้ือใน ยงั ดบิ ไมค่ วรตม้ จนเมลด็ พองบาน เมอื่ เสรจ็ ยกลง ผ่ึงให้พอหมาด แล้วบรรจุใส่ขวดแก้วแบน ปรมิ าณ 1/2 หรือ 2/3 ของขวด ปดิ ปากขวดด้วย จุกส�ำลี ทับด้วยกระดาษอีกชั้น รัดด้วยหนังยาง แล้วน�ำไปน่ึงฆ่าเช้ือด้วยหม้อนึ่งความดันที่ 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว อุณหภูมิ 121 องศา เซลเซียส นาน 35-40 นาที ทิ้งไว้ให้เย็น อาจ ท้ิงไว้ 2 วัน เพื่อดูว่าเมล็ดข้าวฟ่าง มีการบูด หรือไม่ แล้วจึงน�ำเข้าตู้เขี่ยเช้ือ ท�ำความสะอาด เหมือนกระบวนการเข่ียเช้ือ แล้วตัดช้ินวุ้นอาหารที่มีเชื้อบริสุทธิ์เจริญเติบโตดี ขนาด 1 x 1 เซนติเมตร ลงไปในขวดข้าวฟ่าง ปิดด้วยส�ำลีและกระดาษเช่นเดิม นำ� ไปบม่ เชอ้ื ใหเ้ จรญิ เตม็ ขวด ใชเ้ วลาประมาณ 3-4 สปั ดาห์ สงั เกตวา่ เชอ้ื เหด็ จะเจรญิ คลุมบนผวิ เมล็ดขา้ วฟ่าง กอ่ นน�ำไปใช้ 1 วนั ต้องเขย่าขวดใหเ้ มล็ดข้าวฟา่ งแยกออก จากกนั ไมค่ วรใชห้ วั เชอ้ื ทมี่ อี ายเุ กนิ เพราะสง่ ผลใหเ้ สน้ ใยเจรญิ ชา้ สำ� หรบั หวั เชอื้ พดี เี อ 1 ขวด สามารถเขย่ี เน้ือเยอ่ื ลงในขวดหวั เช้อื เมลด็ ข้าวฟา่ งได้ประมาณ 35-40 ขวด การเพาะเหด็ เบอื้ งตน้ 17
3. การผลติ ก้อนเชอื้ เห็ด 3.1 วสั ดแุ ละอุปกรณ์ ✤ อาหารเพาะ ✤ หัวเช้อื เหด็ ✤ ถงุ พลาสตกิ ทนร้อน ขนาด 7 x 11 นิ้ว หรือ 9 x 13 น้วิ ✤ คอพลาสตกิ ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางประมาณ 1-1.5 นวิ้ ✤ ฝ้าย หรอื สำ� ลี ยางรดั ✤ ถงั น่ึงไมอ่ ัดความดนั หรอื หมอ้ นงึ่ ความดนั ✤ โรงเรอื นหรอื สถานทบ่ี ม่ เส้นใย 3.2 สูตรการทำ� กอ้ นเช้อื สตู รที่ 1 ✤ ข้ีเล่อื ยแห้ง 100 กิโลกรัม (ไมเ้ นอ้ื อ่อน เชน่ ยางพารา) ✤ รำ� ละเอยี ด 3-5 กิโลกรมั ✤ ดเี กลือ 0.2 กโิ ลกรัม ✤ ปูนขาว (แคลเซียมคาร์บอเนต) หรือหินปูน 1 กิโลกรัม หรือ นำ�้ ตาลทราย 2-3 กิโลกรัม วธิ ีการ ใหน้ ำ� สว่ นผสมทงั้ หมด ผสมคลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั แลว้ เตมิ นำ�้ ใหม้ คี วามชนื้ 60-70 เปอร์เซน็ ต์ คลกุ ผสมให้ทั่ว น�ำไปใชท้ นั ที สตู รท่ี 2 ✤ ฟางสับ 4-6 นิ้ว 100 กโิ ลกรมั ✤ มลู ววั 25 กโิ ลกรัม ✤ ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) 1 กิโลกรัม ✤ ร�ำละเอียด 5 กิโลกรมั 18 กรมสง่ เสริมการเกษตร
วธิ กี าร ใหน้ ำ� สว่ นผสมทง้ั หมด ผสมคลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั แลว้ ผสมนำ�้ ใหม้ คี วามชน้ื 60-70 เปอร์เซ็นต์ คลกุ ผสมใหท้ ัว่ น�ำไปใช้ทนั ที หมายเหตุ : สูตรท�ำก้อนเพาะเช้ือเห็ดน้ี ไม่ใช่สูตรตายตัว สามารถ ปรับเปลยี่ นได้ ขนึ้ อยกู่ ับวสั ดุเพาะ สภาพพ้ืนท่ี ชนิดของเห็ด เปน็ ต้น 3.3 วิธีการเพาะ 1) บรรจุอาหารเพาะลงในถุง พลาสตกิ ทนร้อน กดใหแ้ นน่ ตงึ สงู ประมาณ 2/3 ของถุง นำ้� หนักประมาณ 8 ขีด-1 กิโลกรมั 2) รวบปากถุงบีบอากาศออก สวมคอพลาสตกิ แลว้ พบั ปากถงุ พาดลงมา รดั ยาง ให้แน่น อุดด้วยส�ำลี หุ้มทับด้วยกระดาษหรือ ฝาครอบพลาสตกิ 3) น�ำไปน่ึงฆ่าเช้ือด้วยถังน่ึงไม่อัด ความดนั หรอื ใชห้ มอ้ นง่ึ ความดนั อณุ หภมู ิ 90-100 องศาเซลเซียส เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ช่ัวโมง โดยเริ่มจับเวลาเม่ือความร้อนอุณหภูมิประมาณ 100 องศาเซลเซยี ส แล้วทิง้ ถุงใหเ้ ย็น 4) น�ำถุงเพาะออกมาใส่เช้ือ จาก หวั เชอ้ื ในเมลด็ ขา้ วฟา่ ง ถงุ ละประมาณ 10-15 เมลด็ 5) น�ำไปวางเพ่ือบ่มก้อนเชื้อ ใน พน้ื ท่ีท่ีสามารถป้องกันแดด ฝน ในอณุ หภูมทิ ่ีเหด็ แต่ละชนิดต้องการ จนเส้นใยเห็ดเจริญเติบโต เตม็ กอ้ น และเรม่ิ รวมตวั กนั เพอ่ื เจรญิ เปน็ ดอกเหด็ จึงน�ำไปเปิดถงุ ให้ออกดอกต่อไป การเพาะเห็ดเบอ้ื งตน้ 19
4. การผลติ ดอกเห็ด 4.1 โรงเรือนส�ำหรบั เปดิ ดอกเห็ด โรงเรอื นควรเปน็ สถานที่ ๆ สะอาด ไมส่ ะสมโรค สามารถปอ้ งกนั แดด ลม และฝนเป็นอย่างดี สามารถเก็บรกั ษาความชนื้ และถ่ายเทอากาศภายในโรงเรอื นดี มีอุณหภูมิห้อง ประมาณ 28-32 องศาเซลเซียส ขนาดของโรงเรือนท่ีแนะน�ำ คือ กวา้ ง 4 เมตร ยาว 6 เมตร สงู 2.5 เมตร หรอื กวา้ ง 6 เมตร ยาว 8 เมตร สูง 2.5 เมตร หลังคาเป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ส�ำหรับผนังและหลังคา นิยมใช้วัสดุ เป็นแฝก จาก หรอื อาจใช้ตาขา่ ยพรางแสง (ซาแรน) ประมาณ 80% เป็นตน้ 4.2 การปฏบิ ตั ิดูแลรักษา อณุ หภมู ิ ความชน้ื สมั พทั ธ์ และแสง ทเ่ี หมาะสมตอ่ การเจรญิ ของดอกเหด็ ชนิดต่าง ๆ เห็ดชนิดตา่ งๆ อณุ หภมู (ิ องศาเซลเซียส) ระยะทเี่ จรญิ เป็นดอกเหด็ เหด็ นางรมฮังการี ระยะบม่ เส้นใย ระยะเปิดดอก ความชน้ื สัมพัทธ์ (%) ความตอ้ งการแสง เหด็ นางฟา้ ภูฎาน 24-32 20-28 70-90 เลก็ นอ้ ย เห็ดเป๋าฮอ้ื 24-28 25-32 70-90 เลก็ นอ้ ย เห็ดหูหนู 24-28 28-32 70-90 เล็กน้อย เหด็ ยานางิ 25-32 25-35 80-95 เล็กน้อย 24-26 24-30 75-80 เลก็ นอ้ ย 20 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
เหด็ นางรมฮังการี นางฟ้าภฎู าน และนางนวล ใชเ้ วลาเจริญในระยะ เส้นใยประมาณ 1 - 11/2 เดือน หรือเห็ดเป๋าฮ้ือ 11/2 - 2 เดือน เม่ือเส้นใยเร่ิม รวมตัวกัน ให้ถอดส�ำลีและคอขวดน�ำก้อนเชื้อไปวางในโรงเรือนเพ่ือให้เกิดดอก รกั ษาอณุ หภมู คิ วามชนื้ สมั พทั ธ์ การถา่ ยเทอากาศตามทเี่ หด็ ตอ้ งการ การใหค้ วามชน้ื ภายในโรงเรือน ไม่ควรให้น้�ำขังอยู่ภายในก้อนเช้ือ และไม่ควรให้น�้ำถูกดอกเห็ด โดยตรง ถ้าจำ� เป็นควรให้เปน็ ละอองน�ำ้ เห็ดหูหนู ใช้เวลาในระยะเส้นใยประมาณ 11/2 - 2 เดือน จากนั้น ถอดส�ำลีและคอขวด มัดปากถุงปิดไว้ กรีดข้างถุงเป็นระยะเพื่อให้เกิดดอก การให้ ความช้ืนสามารถให้น้�ำท่ีก้อนเชื้อและดอกเห็ดได้ควรให้น�้ำเบา ๆ มิฉะน้ันดอกเห็ด อาจจะช้�ำและเนา่ เสยี ได้งา่ ย โรงเรอื นควรมกี ารถ่ายเทอากาศทีด่ ี เห็ดยานางิ ใช้เวลาเจริญในระยะเส้นใยประมาณ 40-50 วัน เส้นใย เห็ดยานางิหลังจากเจริญเต็มก้อนจะเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาล ให้ถอดส�ำลีและคอขวด รักษาอุณหภูมิและความช้นื สมั พทั ธใ์ หเ้ หมาะสม หมายเหตุ : นอกเหนือจากการรักษาอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ การถ่ายเทอากาศและแสงตามทเี่ หด็ แตล่ ะชนิดต้องการ ควรต้องรกั ษาความสะอาด บริเวณท่ีปฏิบัติงานและโรงเรือนเพาะเห็ด เพ่ือหลีกเลี่ยงการสะสมของเชื้อโรค และแมลง การเพาะเห็ดเบอื้ งต้น 21
4.3 โรค แมลง และการปอ้ งกนั กำ� จดั โรคของเห็ดถงุ มดี ังน้ี 1) เชอื้ ราดำ� กลมุ่ แอสเพอรจ์ ลิ ลสั พบวา่ บางสว่ น ของถุงเห็ดจะมีสีเขียวเข้มเกือบด�ำ อาจเกิดท่ีส่วนบนใกล้ปากถุง แลว้ ลามลงไปขา้ งลา่ งหรอื อาจเกดิ จากดา้ นลา่ งขนึ้ ไปกไ็ ด้ บางสว่ น ของถุงเห็ดมสี นี �ำ้ ตาลเกิดขนึ้ ตดิ กับบริเวณทมี่ สี ีเขยี วเขม้ 2) เช้ือราด�ำโบไธโอดิฟโพลเดีย พบว่าข้ีเลื่อย ในถุงเห็ดจะมีสีน�้ำตาลเขม้ เกอื บดำ� เร่ิมแรก เชื้อราสีขาว ต่อมาเช้ือราสีขาวจะขยาย กวา้ งขนึ้ เร่อื ย ๆ เมื่อทิ้งไวน้ าน ๆ จะสงั เกต เห็นก้อนเล็ก ๆ สีด�ำนูนออกมาที่ผิวของ ถุงพลาสตกิ 3) เชื้อรากลุ่มราเขียว ลักษณะการปนเป้ื อนของถุงเห็ด เนอ่ื งมาจากราเขียว จะสงั เกตเหน็ ได้งา่ ย เนอ่ื งจากสปอรข์ องเชอื้ รามสี เี ขยี วออ่ นใส เมื่อเกิดรวมกันหนาแน่นจึงท�ำให้เห็น เป็นหย่อมสีเขียวมะกอกหรือเขียวเข้ม ในถุงเหด็ 4) ราสีส้มหรือราร้อน ราส้มมักเกิดเป็นกระจุกบริเวณปากถุง มีลักษณะเปน็ แผลสีชมพูอมส้ม หรอื เปน็ ก้อนติดกันสีชมพู บางถุงอาจมีราสีส้ม เกดิ ที่กน้ ถงุ ได้ 5) ราเมือก พบว่าเกิด กับถุงเห็ดที่เปิดถุงเก็บดอกไปแล้ว หลายรุ่นและเป็นถุงที่อยู่ด้านล่างสุด ปกติจะสังเกตเห็นเส้นสีเหลืองชัดเจน ท่ีบรเิ วณดา้ นขา้ งถุง หรอื บรเิ วณปากถงุ 22 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
6) โรคเน่าน้�ำตาล ของเหด็ ภฐู าน เกดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี มีอาการหมวกเห็ดด้านบนเป็นจุด สเี หลอื งออ่ นแลว้ เปลยี่ นเปน็ สนี ำ�้ ตาล ขยายไปทวั่ หมวก สว่ นแผลทก่ี า้ นดอก เปน็ ปนื้ สีเหลืองหรือสีน�้ำตาล 7) โรคจดุ สนี ำ้� ตาลของเหด็ เปา๋ ฮอื้ และโรคเนา่ เหลอื งของเหด็ สกลุ นางรม เกดิ จากเชอื้ แบคทเี รยี เรม่ิ แรกสงั เกตไดจ้ ากดอกเหด็ ไมโ่ ผลพ่ น้ คอขวด บางดอกสเี หลอื งซดี หรือมีลักษณะม้วนงอ ไม่สมบูรณ์ ดอกไม่พัฒนา ส่วนดอกทเ่ี จริญออก มาได้ หมวกไม่บานเต็มท่ี กลุ่มของ ช่อดอกมีต้ังแต่ 2-4 ดอก ก้านลีบ เปน็ กระจกุ หมวกดอกดา้ นบนและลา่ ง รวมทั้งก้านดอก มีจุดสีน้�ำตาลอ่อน ประปราย การปอ้ งกันการเกิดเชอ้ื ราปนเป้ือนในการเพาะเห็ดถงุ ✤ ตรวจสอบความสะอาดและความบรสิ ุทธขิ์ องหวั เช้ือก่อนซอ้ื ✤ การถ่ายเช้ือหรือใส่เชื้อ ควรท�ำในห้องที่สะอาด ปราศจากฝุ่นละออง หรอื เชือ้ โรคอ่นื ๆ หรอื ในบริเวณที่ไมม่ ีอากาศถา่ ยเท ✤ คดั แยกถงุ เห็ดเสีย ถงุ เหด็ แตก ถงุ เหด็ ที่มจี ุกสำ� ลีชนื้ น�ำไปนึ่งใหม่หรอื เผาเพอื่ ลดการระบาดของเช้อื รา ✤ รักษาความสะอาดโรงเพาะ และบรเิ วณโดยทัว่ ไปรอบ ๆ ฟาร์ม ✤ เมื่อเก็บผลผลิตหมดแล้ว ควรพักโรงเพาะเห็ดประมาณ 2-3 อาทิตย์ เพ่ือท�ำความสะอาดและฉีดยาฆ่าแมลง หรือเช้ือราที่มีตามพ้ืน และเสา ก่อนน�ำถุงเห็ด ชุดใหม่เข้ามา ถ้าเป็นไปได้ควรแยกโรงบ่มกับโรงเปิดดอกต่างหาก หากมีการระบาด ของเช้อื ราเขยี วใหใ้ ชเ้ ชื้อแบคทเี รยี พลายแกว้ ฉีดพ่นเพอ่ื ปอ้ งกนั ก�ำจัด การเพาะเหด็ เบื้องตน้ 23
แมลงศตั รเู ห็ด 1) หนอนแมลงวนั พบการระบาดทำ� ลาย เห็ดเกือบทุกชนิดโดยเฉพาะเห็ดที่เก็บดอกขายได้แล้ว หนอนพวกนี้เม่ือท�ำลายก็จะพบว่าส่วนของก้อนเชื้อใน ถุงเห็ดเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาลหรือสีด�ำ และส่วนมากก็พบ โรคเน่าเกดิ ข้นึ ดว้ ยทกุ คร้งั 2) หนอนผีเส้ือกินใบจาก หนอนวัยแรกจะกินใบจากท่ีแห้งประมาณ ฤดูฝนหรืออากาศเร่ิมช้ืนจนใบจากที่น�ำมามุงหลังคาเริ่มเปียก ประกอบกับเห็ดที่เพาะ อยูใ่ นถงุ เร่มิ ออกดอก หนอนชนดิ น้ีก็จะเร่ิมเคลอ่ื นยา้ ยลงมาท�ำลายเห็ด 3) ไรศตั รเู หด็ มหี ลายชนดิ เชน่ ไรไขป่ ลา ไรดดี ไรขาวใหญ่ เปน็ ตน้ สามารถ เกดิ การระบาดทำ� ลายอยา่ งรวดเรว็ และรนุ แรงจนเกดิ ความเสยี หายโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในระยะที่ เสน้ ใยเหด็ กำ� ลงั แผอ่ อกไป หากมกี ารระบาดจะทำ� ใหเ้ สน้ ใยขาดออกจากกนั และไมส่ ามารถ เจริญเติบโตตอ่ ไปได้ วธิ ปี อ้ งกนั ก�ำจัด ✤ ก�ำจัดไรโดยใช้เชื้อราไมโตฟากัส ฉีดพ่นด้วยน้�ำหมักน�้ำมะพร้าวอ่อน ในการก�ำจัดไร โดยใช้น�้ำมะพร้าวอ่อน 1 ผล เติมเชื้อบาซิลลัส ไมโตฟากัส ปล่อยให้เชื้อ 24 กรมสง่ เสริมการเกษตร
เจริญในที่มีอากาศ 24-48 เซนติเมตร น�ำมาผสมน�้ำเปล่า 20 ลิตร น�ำไปฉีดพ่นทั้งท่ี ก้อนเหด็ ผนงั โรงเรือน เสาแขวนถงุ ทุก 5-7 วันครงั้ สามารถลดการระบาดของไรไขป่ ลา ลงไปได้มาก ถ้าระบาดมากฉีดพน่ ช่วงแรก 1 วันเว้น 2 วัน แล้ว 1 วันเวน้ 3 วัน แลว้ เวน้ ทุก 5 วัน อีก 2 ครงั้ ✤ พักโรงเรอื นแลว้ ใชค้ ารบ์ าริล หรอื เซฟวนิ ในอตั ราความเขม้ ขน้ 0.5% หรือประมาณ 8-10 ชอ้ นแกงพนู ต่อนำ้� 20 ลิตร หรือใช้เพนโปรพาธรนิ อตั รา 0.05% หรอื ประมาณ 100 ซีซี ต่อน�ำ้ 20 ลติ ร พน่ ทวั่ โรงเห็ด ✤ ช่วงบ่มเส้นใยให้ใช้สารเคมี โดยพ่นที่ถุงและจุกส�ำลี สามารถผสม นำ้� ยาจบั ใบจะทำ� ใหต้ ดิ ภาชนะดขี น้ึ ทงั้ น้ี เพอ่ื ฆา่ แมลงและไรทก่ี ระจายอยตู่ ามพน้ื ผนงั หอ้ ง และยงั เปน็ การป้องกันถุงเหด็ ไมใ่ หไ้ รเขา้ ทำ� ลาย ✤ ดอกเหด็ ที่พบไรไข่ปลา ใหร้ บี น�ำออกจากพืน้ ท่แี ละท�ำลาย เพ่ือปอ้ งกนั การขยายพนั ธตุ์ อ่ ไป 4.4 การเก็บผลผลิต ปกตคิ วรเกบ็ ดอกเหด็ ในช่อเดยี วกันใหห้ มด อยา่ ให้มเี ศษเหลอื ติดคา้ งอยู่กับ ก้อนเชอื้ เนื่องจากจะท�ำให้เน่า เชอ้ื โรค แมลงจะเขา้ ท�ำลายได้ ทัง้ นี้ เห็ดนางรมฮังการี นางฟา้ ภฎู าน นางนวล เปา๋ ฮื้อ เก็บเม่อื ดอกบานเตม็ ท่ี แต่ขอบหมวกยงั ไม่บานยว้ ย เหด็ หูหนู เก็บเม่อื ดอกบานย้วยเตม็ ท่ี เห็ดยานางิ เก็บเมื่อกลุ่มดอกเห็ดโตเต็มที่ แต่ขอบหมวกเห็ดยังงุ้มอยู่และ เยื่อท่ียึดขอบหมวกกับก้านเห็ดยังไม่ขาดออก โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลางหมวกประมาณ 3-10 เซนตเิ มตร และมกี ้านยาวประมาณ 5-11 เซนตเิ มตร การเพาะเหด็ เบ้อื งต้น 25
ภาพผนวก แหลง่ จำ� หนา่ ยหัวเชอ้ื เห็ด ก้อนเชื้อเหด็ 1. ศูนย์รวบรวมเช้อื พันธุ์เห็ดแหง่ ประเทศไทย กรมวิชาการเกษตร ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทรศพั ท์ 02-5790147 โทรสาร 02-5613445 2. ร้านโกคพี านิช บรเิ วณสี่แยกเกษตร ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศพั ท์ 02-5615365, 02-5791590 มอื ถือ 081-9258712 3. เช้อื เห็ดฟางบัวทอง บัวขาว (หมอแกละ) 21/1 หมู่ 8 ตำ� บลบางบวั ทอง อ�ำเภอบางบวั ทอง จังหวดั นนทบรุ ี 11110 (หยดุ วนั อาทิตย)์ โทรศัพท์ 02-9036765-6 มือถือ 081-9261966 โทรสาร 02-9906240 4. ศูนยร์ วมเห็ดบา้ นอรัญญกิ 3/1 หมู่ 8 ถนนพทุ ธมณฑล สาย 4 ต�ำบลกระทมุ่ ลม้ อ�ำเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม 73220 โทรศัพท์ 02-4419263 5. ศูนย์ไบโอเทค KAT 19/7 หม1ู่ 1 ต�ำบลคลองสอง อำ� เภอคลองหลวง จังหวดั ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 02-9083010-3, 02-9083037 6. ฟาร์มเห็ด โกขมิ 216 หมู่ 5 ต�ำบลควนลัง หมู่ 8 ถนนหาดใหญ-่ รตั ภมู สิ ายเก่า อำ� เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์ 074-457099, 074-457100 มือถือ 081-6090700, 081-8983571 7. สวนเห็ดรตั นะ 244 หมู่ 9 ต�ำบลป่าออ้ ดอนชยั อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดเชียงราย 57000 โทรศัพท์ 053-673805 มือถือ 081-6036314 8. สวนเห็ดตระการ 72 หมู่ 7 บ้านนาคิแลน ตำ� บลขามเป้ีย อ�ำเภอตระการพชื ผล จงั หวัดอบุ ลราชธานี 34130 โทรศพั ท์ 045-294028 มอื ถือ 081-9971836, 085-6123778 9. ฟารม์ เหด็ ดาวเกษตรพัฒนาเซน็ เตอร์ 36/1 หมู่ 7 ตำ� บลล�ำลกู กา อ�ำเภอล�ำลกู กา จังหวัดปทมุ ธานี 12150 โทรศัพท์ 02-9054593-4 โทรสาร 02-9054594 10. เพราะรักฟารม์ 245 หมู่ 7 ต�ำบลชะรัด อำ� เภอกงหรา จังหวดั พทั ลุง 93000 โทรศพั ท์ 074-605226 มือถอื 081-1712100, 081-1444880, 086-2907947 26 กรมส่งเสริมการเกษตร
11. ฟารม์ เห็ดรจุ ริ า 138 หมู่ 10 บ้านกลางดง ตำ� บลหว้ ยโพธ์ิ อำ� เภอเมือง จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ 46000 โทรศัพท์ 043-600619 มอื ถอื 081-8718517 12. ฟารม์ เห็ดสุเทพ 207 หมู่ 2 ถนนชยางกูร ต�ำบลไกค่ �ำ อำ� เภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจรญิ โทรศพั ท์ 083-7947699 มือถือ 081-5930404 13. ฟารม์ เห็ด เจริญไฮเทค 57 หมู่ 9 ตำ� บลวดั แกว้ อำ� เภอบางแพ จังหวัดราชบุรี 70160 โทรศัพท์ 032-365393 มอื ถือ 081-7054760 14. ฟารม์ เห็ดบูรพา 242 หมู่ 1 ต�ำบลมะขามคู่ ก่งิ อำ� เภอนิคมพฒั นา จงั หวัดระยอง โทรศัพท์ 038-897735 มอื ถอื 086-3201870, 081-9126280 15. บริษัทบา้ นเห็ดปทุมจ�ำกัด 99/97 หมู่ 3 ถนนรังสติ -นครนายก ต�ำบลบงึ สน่นั อ�ำเภอธญั บรุ ี จังหวัดปทมุ ธานี 12110 โทรศพั ท์ 02-5464687 มือถอื 087-7154009 16. ศนู ยเ์ รียนรู้ภมู ิปัญญาไทย “การเพาะเหด็ แบบครบวงจร” 48/16 หมู่ 1 ต�ำบลบางโฉลง อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศพั ท์ 02-7509937 มอื ถอื 089-1136389, 081-8979644 17. ฟารม์ เหด็ เชษฐบา้ นเลือก 25/1 หมู่ 4 ตำ� บลบ้านเลือก อ�ำเภอโพธาราม จงั หวัดราชบรุ ี โทรศพั ท์ 032-232272 มือถือ 081-9471965 18. ฟารม์ เพาะเห็ดชา่ งแดง 8-6 หมู่ 12 ตำ� บลบางกอบวั อำ� เภอพระประแดง จังหวดั สมุทรปราการ 10130 โทรศัพท์ 084-3177409 มอื ถอื 089-0688869 19. นสุ ิทธิร์ ัมย์ฟารม์ 96/2 หมู่ 5 ต�ำบลป่าขะ อ�ำเภอบ้านนา จังหวดั นครนายก 26110 โทรศพั ท์ 037-382172 มือถือ 086-5566731, 086-1329922 20. ฟาร์มเห็ดยายฉมิ (ท่งุ บางเขน สาขา 2) 545, 577 หมู่ 8 บ้านชะวากยาว ตำ� บลบ้านพรกิ อ�ำเภอบ้านนา จงั หวดั นครนายก โทรศัพท์ 037-394471-2 มอื ถือ 089-5003728, 087-0681895 21. แดงฟาร์มเห็ดนางฟ้า 126 หมู่ 3 ตำ� บลหนองจะบก อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั นครราชสมี า โทรศพั ท์ 044-990865 มือถอื 081-7302569 22. สวนเหด็ สิริทรพั ย์อนนั ต์ บ้านยางโทน อ�ำเภอเมือง อตุ รดิตถ์ 16 หมู่ 4 ต�ำบลวงั หิน อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดอุตรดติ ถ์ 53000 มือถือ 081-0370231 23. ฟารม์ เห็ดลุงลี อำ� เภอแมร่ ิม จังหวัดเชียงใหม่ มอื ถือ 088-8074182 การเพาะเห็ดเบ้ืองต้น 27
บรรณานกุ รม กรมวชิ าการเกษตร. 2553. เห็ดฟางและเทคโนโลยกี ารผลิตในโรงเรอื น. โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ. กรมวชิ าการเกษตร. มปป. การเพาะเหด็ ในถงุ พลาสตกิ . สำ� นกั วจิ ยั พฒั นาเทคโนโลยี ชีวภาพ. กรงุ เทพฯ. ชาญยุทธ์ ภาณุทัตและคณะ. 2542. การบริหารศัตรูเห็ด.กรมส่งเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ. ชาญยุทธ์ ภาณุทัตและคณะ. 2543. เทคนิคการเพาะเห็ดฟาง.กรมส่งเสริม การเกษตร.กรงุ เทพฯ. สุพัฒน์ กลัดเดชและมยุรี ประกอบแสง. 2557. การเพาะเหด็ เพ่ือการคา้ . เอกสาร ประกอบการฝกึ อบรม (อดั ส�ำเนา) กรมส่งเสริมการเกษตร. ส�ำเนาว์ ฤทธิ์นุช. 2555. คู่มือพ่ึงตนเอง สูตรเด็ดการเพาะเห็ดฟางในตะกร้า. ส�ำนักพมิ พเ์ กษตรกรรมธรรมชาต.ิ กรุงเทพฯ. อภิชาต ศรีสะอาด และจันทรา อู่สุวรรณ. 2556. นวัตกรรมใหม่และแบบอย่าง การเพาะเลย้ี งเหด็ ถงุ ท�ำเงนิ . บรษิ ทั นาคา อนิ เตอรม์ เี ดยี จำ� กดั . สมทุ รสาคร. อภชิ าต ศรสี ะอาด และปรชั ญา รศั มธี รรมวงศ.์ 2555. เพาะเหด็ ใหร้ วยทำ� ไดไ้ มย่ าก. บริษัทนาคา อนิ เตอร์ มเี ดีย จ�ำกัด. กรุงเทพฯ. อภชิ าต ศรสี ะอาด และพรมิ้ ศรหี านาม. 2555. นวตั กรรมใหม่ หลากวธิ เี พาะเหด็ ฟาง ใหร้ วย. บริษทั นาคา อินเตอร์มเี ดยี จ�ำกดั . สมุทรสาคร. อภิรัชต์ สมฤทธ์ิ. มปป. แมลงและไรศัตรูเห็ด. เอกสารประกอบการบรรยาย. กรมวิชาการเกษตร. เอื้อเฟอื้ ภาพประกอบ 1. สวนเห็ดสิริทรัพย์อนันต์ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดอตุ รดติ ถ์ 2. สวนเห็ดรม่ เย็น อ�ำเภอขขุ ันธ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ 3. คุณอภริ ชั ต์ สมฤทธิ์ 28 กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
เอกสารค�ำแนะนำ� ท่ี 6/2558 การเพาะเห็ดเบือ้ งตน้ ทปี่ รึกษา นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดกี รมส่งเสริมการเกษตร นายสุรพล จารพุ งศ ์ รองอธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ การเกษตร ฝ่ายบริหาร นายไพรัช หวงั ด ี รองอธบิ ดีกรมส่งเสรมิ การเกษตร ฝ่ายวชิ าการ นายสงกรานต์ ภักดคี ง รองอธิบดกี รมส่งเสรมิ การเกษตร ฝา่ ยส่งเสริมและฝึกอบรม นางสุกญั ญา อธปิ อนนั ต์ ผู้อำ� นวยการส�ำนกั พัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี นางอรสา ดสิ ถาพร ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั สง่ เสริมและจดั การสินค้าเกษตร เรียบเรยี ง นางสาวจิราภา จอมไธสง ผู้อำ� นวยการกล่มุ ส่งเสริมพชื ผกั และเห็ด นายศตนนั พรรณอภยั พงศ์ นักวิชาการเกษตรช�ำนาญการ นางสาวจุฑามาศ รุ่งเรืองสทิ ธ์ิ นกั วชิ าการเกษตรปฏิบัตกิ าร กลมุ่ ส่งเสรมิ พืชผักและเหด็ สำ� นกั สง่ เสรมิ และจดั การสินคา้ เกษตร กรมสง่ เสริมการเกษตร จดั ทำ� นางอมรทพิ ย์ ภิรมย์บูรณ ์ ผู้อำ� นวยการกลุม่ พฒั นาสอ่ื ส่งเสรมิ การเกษตร นางอบุ ลวรรณ อารยพงศ์ นกั วชิ าการเผยแพร่ช�ำนาญการ นางสาวอำ� ไพพงษ์ เกาะเทยี น นักวิชาการเผยแพร่ชำ� นาญการ กลุ่มพฒั นาส่ือสง่ เสริมการเกษตร สำ� นกั พัฒนาการถา่ ยทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสรมิ การเกษตร
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: