สน้ั ๆ ไว้ทจ่ี ุดท่ีระดบั นำ�้ อยู่ท่ี 150 เซนตเิ มตร จากนนั้ ย้ายหลักที่ 1 ไปยังหลกั ที่ 2 ส่วนหลักที่ 2 นน้ั จะถกู เคลอ่ื นย้ายขวางความ ลาดชันต่อไปถึงจุดที่อ่านค่าระดับน�้ำ 150 เซนติเมตร แล้วปัก หลักไว้ ให้ท�ำเช่นนข้ี วางความลาดชันไปจนตลอดพ้ืนท่ี ก็จะได้ แนวปลูกหญ้าแฝกแถวแรกซ่ึงแต่ละหลักจะอยู่แนวระดับความ สูงขวางความลาดชันของพื้นทเ่ี ท่ากัน สำ� หรับแถวต่อ ๆ ไปกใ็ ห้ ใช้วิธเี ดียวกนั จนครบทกุ แถว ภายหลงั จากการวางแนวปลกู หญา้ แฝกเสรจ็ แลว้ ควร มกี ารปรบั แนวปลกู โดยการเลอ่ื นจดุ ปกั หลกั ขน้ึ หรอื ลงเลก็ นอ้ ยให้ แนวปลูกเป็นแนวโค้งต่อเนื่องไม่หักมุมภายในแถวไปตามพ้ืนที่ เพื่อสะดวกในการไถเตรียมดินและการปลูกพืช ตลอดจนลดแรงปะทะของนำ้� ไหลบ่าหน้าดิน ซ่ึงตาม ปกตติ รงจุดที่หกั มมุ ต่าง ๆ จะเป็นจดุ อ่อนท่งี ่ายต่อการชะล้างกดั เซาะเป็นร่องนำ้� แต่จุดแรกหวั แนวปลูก หญ้าแฝก และจุดสดุ ท้ายหลกั หางแนวปลูกหญ้าแฝกให้อยู่ท่ีเดิม การเตรียมดนิ ตามแนวปลูกรว้ั หญ้าแฝก เม่ือได้มีการปรับแนวท่ีจะปลูกหญ้าแฝกขวางความลาดชันของพื้นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ใช้รถไถ เดนิ ตามหรอื ใชว้ วั หรอื ควายลากไถตามแนวทว่ี างไวก้ ไ็ ด้ โดยใหล้ กึ ประมาณ 10 เซนตเิ มตร พรอ้ มทงั้ ยอ่ ย ดินให้ละเอยี ดก้อนเลก็ ลงพร้อมทจี่ ะปลูกต่อไป แม้ว่าหญ้าแฝกจะเป็นพืชทีส่ ามารถขน้ึ ได้ดแี ม้แต่ดนิ เลว หรอื ดนิ ทคี่ วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� แตถ่ า้ ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ ดนิ ตามแนวปลกู โดยกอ่ นปลกู คลกุ ดนิ ดว้ ยปยุ๋ หมกั หรอื ปุ๋ยคอก แล้วโรยบาง ๆ ด้วยปุ๋ยสูตร 15-15-15 ในอตั รา 25 กิโลกรัมต่อไร่ (หรอื ใช้ปุ๋ย 1 กิโลกรัม ต่อความยาวร่องปลกู 4 - 6 เมตร) จะช่วยให้หญ้าแฝกมีการเจรญิ เตบิ โตได้รวดเรว็ และสมำ�่ เสมอขึ้น n การปลูกและการดูแลรักษาหญ้าแฝก 45
สาระน่ารู้เร่อื งหญา้ แฝก การเตรียมกล้าหญา้ แฝก กล้าหญ้าแฝกที่เตรียมไว้จากการขยายพันธุ์เพ่ือการปลูกลงพื้นที่ ปกติจะใช้กล้าท่ีช�ำอยู่ในถุง พลาสตกิ ขนาดเลก็ (5 x 15 เซนตเิ มตร) ทมี่ อี ายปุ ระมาณ 45 วนั โดยปลกู ถงุ ชดิ ตดิ กนั ในชอ่ งปลกู ทเี่ ตรยี ม ไว้ ก่อนปลกู ให้ดึงถุงออกแล้วกลบดินให้แน่นหรอื ใช้หญ้าแฝกที่ปลูกลงดินเอาไว้เพ่ือการขยายพันธ์ุ การ เตรยี มหญา้ แฝกทจ่ี ะน�ำไปปลกู มวี ธิ ี คอื ขดุ หญา้ แฝกทง้ั กอขน้ึ มาตดั รากใหเ้ หลอื ความยาว 10 เซนตเิ มตร และตดั สว่ นตน้ ใหเ้ หลอื ยาว 20 เซนตเิ มตร ทำ� การแยกหนอ่ แลว้ มดั รวมเชน่ เดยี วกบั การถอนกลา้ ขา้ วแลว้ นำ� ไปแชน่ ำ�้ ใหน้ ำ้� ท่วมรากอยปู่ ระมาณ 5 - 7 วนั จนสงั เกตเหน็ รากทแ่ี ตกออกมาใหม่ จากนน้ั จงึ นำ� ไปปลกู ได้ การปลูกแนวรั้วหญ้าแฝก เมื่อเตรียมดินใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีเสร็จแล้ว น�ำกล้าหญ้าแฝกที่มีอายุ ประมาณ 45 วัน ออกจากถงุ ไปวางเรียงให้ชดิ ติดกนั ในร่อง ปลูกตลอดแนวท้ังพืน้ ท่ีที่เตรียมไว้ซึ่งจะได้ ระยะปลกู ระหว่างต้นประมาณ 5 เซนติเมตร แต่ถ้าใช้กล้าหญ้าแฝกแบบเปลอื ยราก ดงั ที่ได้กล่าวมาแล้ว ข้างต้นให้ปลกู หลมุ ละ 2 - 3 หน่อ โดยใช้ระยะห่างไม่เกิน 5 เซนติเมตร การปลูกหญ้าแฝกโดยใช้กล้าที่ เพาะชำ� ในถงุ พลาสตกิ ในสภาพพน้ื ทอี่ บั ฝน จะมกี ารเจรญิ เตบิ โตและตงั้ ตวั ไดร้ วดเรว็ กวา่ การปลกู ดว้ ยกลา้ เปลือยราก เน่ืองจากระบบรากได้พัฒนาอยู่ในถุงไประยะหนงึ่ แล้วแต่ในสภาพพื้นท่ีท่ีสูงชันมาก การน�ำ กล้าหญ้าแฝกท่ีเพาะช�ำในถุงพลาสติกข้ึนไปปลูกจะกระท�ำได้ค่อนข้างล�ำบาก ล่าช้า และเปลืองแรงงาน ค่อนข้างมาก จึงนยิ มใช้กล้าหญ้าแฝกชนดิ เปลอื ยรากน�ำไปปลูกซงึ่ ขนข้นึ ไปปลกู ได้ครง้ั ละมาก ๆ เบาแรง และประหยัดค่าใช้จ่าย ฤดูกาลปลูกท่ีเหมาะสมได้แก่ในช่วงต้นฤดูฝน และควรปลูกในขณะท่ีดินมีความชุ่มชื้น แต่ ส�ำหรับพ้ืนท่ีท่ีสามารถให้น้�ำได้ก็ควรปลูกก่อนฤดูฝน ทั้งนกี้ ็เพ่ือให้หญ้าแฝกมีการเจริญเติบโตซ่ึงเมื่อถึง ฤดฝู น ร้วั หญ้าแฝกท่ปี ลูกไว้ก็พร้อมทจ่ี ะกรองตะกอนดนิ และซับน�้ำฝนทไี่ หลบ่า เอาไว้ท�ำหน้าทีป่ ้องกนั การชะล้างพังทลายได้ตั้งแต่ฤดูฝนแรก โดยท่ัวไปหญ้าแฝกจะตั้งตัวและแตกกอชิดติดกันเป็นแนวร้ัว หญ้าแฝกท่ดี ี จะใช้เวลาอย่างน้อยประมาณ 3 เดือน 46
การดแู ลรักษาหญา้ แฝก การปลกู หญ้าแฝกเพอ่ื ให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ จำ� เป็นต้องมีการดแู ลรกั ษาบ้างพอสมควร เช่น การปลกู ซ่อมต้นทต่ี าย เมอื่ ต้นหญ้าแฝกตั้งตัวได้แล้ว (ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนหลังปลูก) ควรตัดใบ หญ้าแฝกไม่ให้ย่างปล้อง และออกดอก อีกท้ังยงั เป็นการกระตุ้นให้หญ้าแฝกแตกหน่อ ทำ� ให้กอชิดตดิ กนั เป็นแนวร้ัวทแ่ี น่นหนาเร็วขน้ึ ใบหญ้าแฝกที่ตดั ออก ถ้าไม่นำ� ไปใช้ประโยชน์อย่างอ่ืนก็ควรนำ� ไปคลุม ดนิ เพอ่ื สงวนความช้นื ไว้ในดนิ การปลูกซ่อมหญ้าแฝก ภายหลังจากการปลูกหญ้าแฝกในเดือนแรกควรมีการตรวจแนว หญ้าแฝกอย่างสม่�ำเสมอ ถ้าพบว่ามีต้นตายควรปลูกซ่อมทันที การปลูกซ่อมกล้าหญ้าแฝกท่ีตายไปจะ ช่วยให้ต้นหญ้าแฝกชิดติดกนั ไม่มชี ่องว่างภายในแถว อนั เป็นการลดประสทิ ธิภาพของหญ้าแฝกในการ ดักเศษซากพืชและกักเก็บตะกอนดินท่ีถูกน้�ำพัดพามา ยิ่งไปกว่านน้ั หากไม่มีการปลูกซ่อมแล้ว ช่องว่าง ภายในแถวหญา้ แฝกนจ้ี ะเปน็ จดุ ออ่ นทจี่ ะไปชว่ ยเรง่ ความเรว็ ของนำ้� ฝนทต่ี กหนกั และซมึ ซาบลงดนิ บรเิ วณ โคนกอหญ้าแฝกไม่ทันจะเอ่อล้นไหลผ่าน ทำ� ให้มกี ารกดั เซาะดนิ บริเวณดงั กล่าวเกดิ เป็นร่องลกึ (gully) ขึ้นได้ การปลูกซ่อมหญ้าแฝกจึงเป็นการท�ำให้กอหญ้าแฝกชิดกันเป็นก�ำแพงแน่น ท�ำหน้าที่กรอง ตะกอนดินได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพสงู สุด การตัดใบหญ้าแฝก การปลูกหญ้าแฝกเพื่อให้มีการเจริญเติบโตได้ดีและรวดเร็วจำ� เป็นต้อง มีการดูแลรักษาพอสมควร เม่ือสังเกตว่าต้นหญ้าแฝกตั้งตัวได้ดีแล้ว โดยเฉพาะเมื่อหญ้าแฝกที่ปลูก มีอายุประมาณ 3 เดือน ให้ตัดยอดหรอื ใบหญ้าแฝกครั้งแรกโดยตัดใบลงให้เหลือความสงู จากผิวดิน 30 เซนติเมตร เพ่ือเร่งให้หญ้าแฝกแตกหน่อประสานกันเร็วยง่ิ ขน้ึ และช่วยให้หญ้าแฝกแตกกอชดิ ติดกันเร็ว ข้ึน ใบหญ้าแฝกท่ีตัดน้ีสามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น น�ำไปคลุมดินหรือโคนต้นไม้ผล เพื่อช่วยลด การระเหยน้�ำ รักษาความชุ่มชื้นให้กับดิน หรืออาจน�ำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อ่ืน ๆ ก็ได้ ควรมีการตัด ใบหญ้าแฝกเป็นประจ�ำทุก 1 - 2 เดือน ไม่ควรปล่อยให้หญ้าแฝกย่างปล้อง ออกดอก ซงึ่ จะช่วยให้ หญ้าแฝกมกี ารแตกกอเพ่ิมขึ้นทำ� ให้แนวร้วั หญ้าแฝกสานชดิ ตดิ กันเรว็ ขึน้ n การปลูกและการดูแลรักษาหญ้าแฝก 47
สาระนา่ รูเ้ รือ่ งหญ้าแฝก ก สรปุารปลกู และการดแู ลรกั ษาหญ้าแฝกที่ดีและถกู ต้อง มีข้อสรปุ ทพ่ี ึงปฏิบัติ 10 ประการ ดงั นี้ 1 เมอื่ ปลกู ไปแลว้ หากพบวา่ หญ้าแฝกบางสว่ นตาย ใหท้ ำ� การปลกู ซ่อมโดยเรว็ เมอ่ื สภาพดนิ ฟ้าอากาศอำ� นวย คอื มีนำ้� มฝี น หรอื ดินมีความชน้ื 2 ควรตดั หญ้าแฝกทปี่ ลกู ไปแล้วอย่างน้อย 60 วนั ตอ่ ครง้ั ในช่วงหน้าฝน หรอื เมอ่ื เห็นว่าหญ้าแฝกกำ� ลงั จะย่างปล้องออกดอกในหน้าแล้งให้ตดั เท่าทม่ี คี วามจำ� เป็น 3 การตัดหญ้าแฝกท่ีปลูกในพื้นท่ีลาดชันซึ่งปลูกเป็นแถวขวางความลาดชันของ พ้ืนที่ ให้น�ำใบหญ้าแฝกท่ีตัดแล้วไปวางไว้เหนือโคนแถวหญ้าแฝก ในพื้นที่ราบหรือพ้ืนที่ที่มี ความลาดเทน้อยแต่หลายทิศทาง ซ่งึ ปลกู หญ้าแฝกแบบเป็นแถวหรือปลกู เป็นรปู วงกลมรอบ โคนต้นไม้ผลและไม้ยืนต้น ให้นำ� ใบหญ้าแฝกที่ตัดได้ไปเกล่ียคลุมดินระหว่างแถวหญ้าแฝก หรอื น�ำไปคลุมโคนต้นไม้ผลและไม้ยืนต้น 4 หลังจากปลูกหญ้าแฝกไปแล้ว 3 - 4 ปี จะมีต้นตายแซมภายในแถวเพราะ ตัดหญ้าแฝกน้อยคร้ังไปหรือปล่อยให้หญ้าแฝกย่างปล้องออกดอกก่อนท�ำการตัดแต่งให้ตัด หญา้ แฝกชดิ ดนิ ในชว่ งหนา้ แลง้ เมอ่ื ถงึ หนา้ ฝนตอ่ มาหญา้ แฝกจะแทงหนอ่ งอกออกมาใหมต่ าม แถวและแนวปลกู เดมิ เหมอื นกับปลกู ใหม่ 48
5 ในการปลกู หญ้าแฝกเพื่อการอนรุ ักษ์ดินและน้�ำ ควรปลกู หญ้าแฝกระยะถต่ี ้นชิด ติดกนั (กล้าแฝกเปลอื ยราก) หรือห่างกนั ไม่เกนิ 5 เซนติเมตร (กล้าแฝกถงุ ) หากหญ้าแฝกใน แถวช่วงใดช่วงหนง่ึ ได้รับความเสียหายหรอื ตาย ให้ทำ� การปลูกซ่อมโดยเรว็ เพ่ือทำ� ให้ระบบของ การอนุรกั ษ์ดังกล่าวท�ำงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 6 การปลูกหญ้าแฝกในดินที่เสอ่ื มโทรม ดนิ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ตำ่� ควรใส่ปุ๋ยคอก หรอื ป๋ยุ หมกั รองก้นหลมุ เมอ่ื หญ้าแฝกเรม่ิ ตง้ั ตวั ไดแ้ ล้วควรใส่ป๋ยุ เคมเี พอื่ เร่งใหห้ ญา้ แฝกเจรญิ เติบโตและแตกกอได้เร็วขนึ้ และดขี ้ึน โดยใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อตั รา 25 กิโลกรมั ต่อไร่ โรยเป็นแถวตามแนวหญ้าแฝกทปี่ ลูก หากเป็นท่ีลาดชันให้โรยเหนือแถวหญ้าแฝก 7 การปลูกหญ้าแฝกเป็นแถว ครึ่งวงกลม หรือวงกลม ควรห่างจากพืชหลัก โดยเฉพาะไม้ผลและไม้ยนื ต้นไม่น้อยกว่า 1.5 - 2.0 เมตร 8 ไม่ควรปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ป่าสมบูรณ์ หรือพื้นท่ีที่ไม้ผลและไม้ยืนต้นเจริญ เตบิ โตคลุมพ้ืนทีแ่ ล้ว 9 หากมีวัชพืชประเภทเถาเลอื้ ยขนึ้ พนั ปกคลมุ หญ้าแฝก ให้รีบกำ� จัดเพราะจะทำ� ให้ หญ้าแฝกไม่เจรญิ เติบโตตามปกติและจะตายไปในท่ีสดุ เพราะขาดแสง 10 การปลกู หญา้ แฝกเพอื่ การขยายพนั ธ์ุ ควรปลกู ในพนื้ ทที่ ด่ี นิ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ หรือต้องมีการใส่ปุ๋ย (สูตร 15-15-15 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่) และควรมีการตัดแต่งใบ หญ้าแฝกอย่างสมำ�่ เสมอป้องกันไม่ให้หญ้าแฝกมกี ารเจริญเติบโตทางรากมากเกินไป 11 ไมค่ วรนำ� หญา้ แฝกทส่ี ามารถขยายพนั ธด์ุ ว้ ยเมลด็ มาปลกู โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ใน พืน้ ทีเ่ กษตรเพราะอาจกลายเป็นวัชพืชได้ภายหลงั n การปลูกและการดูแลรักษาหญ้าแฝก 49
สาระนา่ รู้เร่อื งหญ้าแฝก หญ้าแฝก กับการอนรุ กั ษ์ดินและน้ำ� เรียบเรียงโดย นายสิมา โมรากุล/นายวิฑูร ชินพันธุ์/นายชุมพล ลิลิตธรรม 50
ห ญ้าแฝก ท่ีพบในสภาพ ธ ร ร ม ช า ติ มี ถ่ิ น ก� ำ เ นิ ด ต า ม พื้นที่ราบลุ่มน�้ำท่วม ตามแหล่งน�้ำธรรมชาติ ริมหนองบึงและในป่า แต่เม่ือน�ำพันธุ์ท่ีได้ คัดเลือกแล้วไปปลูกในพื้นที่ต่าง ๆ ท่ัว โลกปรากฏว่า ขึ้นได้เกือบทุกสภาพพ้ืนท่ี หญ้าแฝกสามารถเจริญเติบโตได้ในสภาพ ภูมิประเทศท่ีเป็นท่ีราบใกล้เคียงระดับ น�้ำทะเล ถงึ พน้ื ที่ภเู ขาสูงทรี่ ะดบั 2,000 เมตร จากระดับน�้ำทะเล หรือในพ้ืนที่ดินเปร้ียว ดนิ ด่าง ดนิ เคม็ ดนิ ทีม่ คี วามอุดมสมบรู ณ์ตำ�่ รวมทง้ั พนื้ ทท่ี มี่ ปี รมิ าณนำ้� ฝนนอ้ ย 200 มลิ ลเิ มตร ถึงพื้นที่ที่มีฝนตกชุก 3,900 มิลลิเมตร ถึง 5,000 มิลลเิ มตร และพื้นทีส่ ภาพภูมิอากาศ หนาวเยน็ -9 องศาเซลเซยี ส ถงึ อากาศรอ้ นจดั 45 องศาเซลเซยี ส ชาวไมซอร์ ประเทศอินเดียปลูก หญา้ แฝกมาแลว้ ประมาณ 200 ปี เพอ่ื เปน็ อาหาร สัตว์แต่แนวความคิดในการน�ำหญ้าแฝก มาใช้เพ่ือการอนุรักษ์ดินและน�้ำได้เริ่มข้ึน เม่ือ 50 ปีที่ผ่านมานี่เอง ที่หมู่เกาะอินเดียตะวันตก ส�ำหรับเกาะฟิจินน้ั ได้มีบริษัทน้�ำตาลท่ีน�ำการ ปลูกหญ้าแฝกเพ่ืออนุรักษ์ดินและน�้ำมาใช้ในไร่อ้อยมาแล้วกว่า 30 ปี ซ่ึงประสบผลส�ำเร็จเป็นอย่างดี นายกรีนฟิลด์ นักอนุรักษ์ดินและน้�ำฝ่ายวิชาการภูมิภาคเอเชีย ของธนาคารโลกสังเกตเห็นว่าแนว หญา้ แฝกซง่ึ ปลกู เปน็ แถวขวางความลาดชนั ของพนื้ ทใ่ี นไรอ่ อ้ ยนน้ั เมอ่ื เวลาผา่ นไป 30 ปี สามารถปรบั พนื้ ท่ี นน้ั ให้มสี ภาพความลาดชนั ลดลงเกดิ เป็นพ้นื ทขี่ น้ั บันไดดนิ สูง 3 - 4 เมตร ซึง่ สรุปว่าหญ้าแฝกเป็นแนว ท�ำให้เกิดการสร้างขั้นบันไดดินได้โดยธรรมชาติในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป ผสมผสานกับเทคนคิ การ เตรียมดิน และเพาะปลูกพืชหมุนเวียนซึ่งต้องอาศัยเวลา การท่ีหญ้าแฝกสามารถท�ำให้เกิดข้ันบันไดดิน ได้นน้ั เนอ่ื งจากหญ้าแฝกมคี ุณสมบัติพิเศษทสี่ ามารถแตกกอโดยการแตกหน่อที่ข้อของลำ� ต้น หรือเหง้า เหนือดินได้ตลอดเวลาเม่ือตะกอนดินมาทับถมหน้าแถวหญ้าแฝกสามารถลดการสูญเสียดินจากการ ชะลา้ ง 3 - 5 เทา่ เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ในสภาพทไี่ มม่ หี ญา้ แฝก เนอ่ื งจากหญา้ แฝกมรี ะบบรากฝอยทหี่ ยงั่ ลกึ ลงไปตามความลกึ ของดนิ สามารถเกาะยดึ ดนิ ให้เกดิ ความมน่ั คงแขง็ แรง ประกอบกบั หญ้าแฝกเป็นพชื ที่ ไม่ไวต่อช่วงแสง จงึ เจรญิ เตบิ โตขยายปล้องออกดอกได้ตลอดปี ทำ� ให้แถวหญ้าแฝกมกี ารเจรญิ เติบโตใน n หญ้าแฝกกับการอนุรักษ์ดินและน้�ำ 51
สาระนา่ รู้เร่ืองหญา้ แฝก หญ้าแฝกมีลักษณะยกตัวสูงขึ้นอยู่เหนือระดับผิวดินที่สูงขึ้นตลอดเวลา ดูประหนงึ่ ว่าเป็น ข้ันบันไดดินมีชีวิตสามารถงอกเงยสูงข้ึนเรื่อย ๆ จนกว่าความลาดชันของพื้นที่จะถูกปรับให้อยู่ในแนว ระดับแล้ว กระบวนการปรับโครงสร้างเป็นขั้นบันไดดินโดยแนวหญ้าแฝกจึงจะส้ินสุดลง ต่อจากนนั้ จะ เป็นกระบวนการเพิ่มเติมความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยสร้างหน้าดินให้เป็นดินดี เน่ืองจากดินมีความ ชุ่มชื้นมากขึ้น (แนวหญ้าแฝกลดการสูญเสยี น้ำ� ได้ 25 - 70 เปอร์เซ็นต์) การน�ำใบหญ้าแฝกทไี่ ด้จากการ ตดั มาใช้คลมุ ดนิ เหลา่ น้ี จะเปน็ การช่วยใหเ้ กดิ ความสมดลุ ทางธรรมชาติ ไดแ้ ก่ การเพมิ่ อนิ ทรยี วตั ถุ และ ธาตุอาหารแก่ดิน เพิ่มปรมิ าณจุลนิ ทรยี ์และสัตว์ในดิน ทำ� ให้ดนิ มีชีวิต หน้าดินเกดิ ความอดุ มสมบูรณ์ ซ่งึ ปรมิ าณธาตอุ าหารเมื่อตัดใบหญ้าแฝกอายุ 4 เดือน คลมุ ดนิ จะสลายตัวให้ธาตอุ าหารแก่ หน้าดินเฉลีย่ ไนโตรเจน 1.29 เปอร์เซน็ ต์ ฟอสฟอรัส 0.20 เปอร์เซน็ ต์ และโพแทสเซยี ม 1.3 เปอร์เซ็นต์ (โดยน้�ำหนกั หญ้าแห้ง) นอกจากนี้ หญ้าแฝกมีระบบรากแผ่กระจายไปในแนวลึกมากกว่าออกด้านข้าง ท�ำให้แถวหญ้าแฝกต้องการพืน้ ท่เี พอื่ การเจรญิ เตบิ โตไม่กว้างนกั เช่น แถวหญ้าแฝกทมี่ ีอายุต้ังแต่หนง่ึ ปี ข้นึ ไป ทรงพุ่มท้ังสองข้างรวมกนั แล้วจะกนิ เนือ้ ทมี่ คี วามกว้างไม่เกนิ 1.5 เมตร จึงทำ� ให้เสียพืน้ ทน่ี ้อยเม่ือ เปรยี บเทยี บกับพืชอืน่ ที่ปลกู เป็นแนวอนรุ ักษ์เช่นเดยี วกันกบั หญ้าแฝก หรอื เม่ือเปรยี บเทยี บกับมาตรการ อนรุ กั ษ์ดินและน้�ำอนื่ ๆ เช่น คันดนิ จึงสามารถปลูกพืชเศรษฐกจิ ได้ใกล้ชิดแถวหญ้าแฝกโดยทีไ่ ม่มกี าร แข่งขันหรือรบกวนจากหญ้าแฝก 52
คณุ สมบัติบางประการของหญา้ แฝก ลักษณะพิเศษของการแตกกอ สามารถปลูกติดต่อกันให้เป็นแถวหน้ากระดานเรียงหน่งึ ได้ง่าย เปรียบเสมือนก�ำแพงกรองตะกอนดินท่ีถูกน�้ำกัดเซาะและพัดพามาให้ตกทับถมด้านหน้าแถว หญ้าแฝก และชะลอความเรว็ ของนำ�้ ทำ� ให้น�้ำถกู กักเกบ็ และไหลซึมลงไปใต้ดนิ ลักษณะพิเศษของล�ำต้น เม่ือหญ้าแฝกมีอายุใกล้ออกดอกจะแตกหน่อและรากใหม่ออกมา เสมอ เมือ่ ตะกอนดนิ ทับถมจึงสามารถต้งั กอใหม่ได้ ความสามารถในการกระตนุ้ ใหแ้ ตกหนอ่ ตน้ และใบหญา้ แฝกสามารถนำ� ไปใชเ้ ปน็ วสั ดคุ ลมุ ดนิ รกั ษาความชมุ่ ชนื้ และเพม่ิ แรธ่ าตอุ าหารใหแ้ กด่ นิ เมอ่ื ยอ่ ยสลายแลว้ เชน่ เดยี วกบั ปยุ๋ หมกั หากหญา้ แฝกแก่ ต้นและใบจะแห้ง เม่อื ถูกไฟเผาจะแตกหน่อใหม่เขยี วสดขน้ึ มาทนั ที ไม่จำ� เป็นต้องปลกู ใหม่ ผลพลอยได้ จากหญา้ แฝกดอน สามารถตดั ใบไปกรองเปน็ ตบั แฝกทำ� หลงั คาได้ สำ� หรบั หญา้ แฝกหอม ใบออ่ นสามารถ ใชเ้ ปน็ อาหารสตั วน์ ำ� ไปเลยี้ งววั เลยี้ งควายได้ ซง่ึ จะตอ้ งตดั ในชว่ งอายุ 2 ถงึ 4 สปั ดาหห์ ลงั จากตดั ครง้ั กอ่ น เช่น หญ้าแฝกแหล่งสายพันธ์ุก�ำแพงเพชร 2 นอกจากนพี้ ันธ์ุหญ้าแฝกลุ่มจากอนิ เดียกใ็ ช้เล้ยี งปลาจีนได้ ใบหญ้าแฝกลุ่ม เมื่อตากแห้งดีแล้วนำ� ไปท�ำพวงหรดี หรือดอกไม้ประดิษฐ์ เคร่อื งถักจักสาน เช่น หมวก ตะกร้า เป็นต้น ลักษณะพิเศษของราก หญ้าแฝกมีรากที่เจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว เส้นโตหยั่งลึกลงไปในดิน และแตกแขนงเป็นรากฝอยประสาน กันแน่นเหมือนตาข่ายหรือร่างแห เกาะยึดดินให้มีความแข็งแรงมั่นคง การปลูกหญ้าแฝกติดต่อกัน ระบบ รากจะเปน็ เสมอื นมา่ นใตด้ นิ ชะลอการ ไหลซึมของนำ�้ ใต้ดินท�ำให้ความช้ืนใน ดินเพ่ิมขึ้น นอกจากน้ียังสามารถ ป้องกันการกัดเซาะของน�้ำท่ีท�ำให้เกิด ร่องขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ซ่ึงเกิด ขึ้นจากด้านล่างของแนวลาดชันย้อน ข้นึ มาด้านบน เม่อื ถึงแนวหญ้าแฝกก็ จะหยุดเพยี งแค่นนั้ รากหญ้าแฝกยังสามารถดดู ซมึ สารเคมี แร่ธาตอุ าหาร พชื ทถี่ กู ชะล้างลงไปในดิน เช่น ปุ๋ยเคมี สารเคมปี อ้ งกนั และกำ� จดั แมลงศตั รพู ชื เกบ็ ไวใ้ นตน้ หญา้ แฝก เปน็ การปอ้ งกนั ไมใ่ หส้ ารเคมเี หลา่ นน้ั ไหลลง ไปยงั แหล่งน้�ำ และปลอดภัยจากการเกดิ มลภาวะของนำ�้ ทำ� ให้นำ�้ มคี ณุ ภาพดี n หญ้าแฝกกับการอนุรักษ์ดินและน้�ำ 53
สาระนา่ รู้เร่ืองหญา้ แฝก ลักษณะพิเศษของการแพร่พันธุ์ พันธุ์หญ้าแฝกท่ีได้รับการคัดเลือกแล้วจะมีการกระจาย พันธุ์ด้วยเมล็ดน้อยหรือแทบไม่มีเลย จึงไม่อยู่ในลักษณะของวัชพืช หรือวัชพืชร้ายแรงเช่น พันธุ์จาก อินเดีย ออสเตรเลีย สามารถปลูกได้ในสวนผลไม้และพ้ืนที่เกษตรท่ัวไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือมีการ เกษตรกรรมและดแู ลรกั ษาเสมอจะไมป่ รากฏวา่ มหี ญา้ แฝกตน้ เลก็ ๆ ทง่ี อกจากเมลด็ ขนึ้ ในบรเิ วณกอหญา้ แฝก เลย เช่น หญ้าแฝกลุ่มที่ปลูกยึดคันนาบริเวณช่องระบายนำ้� ในแถบภาคใต้ทจี่ งั หวดั สงขลา และนราธิวาส ลกั ษณะพิเศษของแนวรว้ั หญ้าแฝก หญ้าแฝกกินเนอื้ ท่ไี ม่กว้าง เช่น ความกว้างไม่เกิน 1.5 เมตร สามารถปลกู พชื เศรษฐกจิ ได้ชดิ แนวหญ้าแฝกจึงทำ� ให้เสียพื้นทีน่ ้อย ความงา่ ยและสะดวกในการขยายผล การใชห้ ญา้ แฝกในระบบอนรุ กั ษด์ นิ และนำ�้ นน้ั เกษตรกร สามารถทำ� เองได้ในลกั ษณะค่อยเป็นค่อยไป หากพยายามทำ� ความเขา้ ใจ และประสงคจ์ ะรกั ษาทรพั ยากร ท่ดี ินไม่ให้เสือ่ มโทรม มีศกั ยภาพในการผลติ สงู หรอื ช่วยป้องกันการกัดเซาะของน�้ำไม่ให้เกิดตะกอนดนิ ไหลลงไปทบั ถมยังแหล่งน้�ำ ซ่ึงเป็นผลดีต่อสังคมโดยส่วนรวม การปลกู หญ้าแฝกท�ำได้ง่าย เกษตรกรสามารถช่วยกนั ปลูกหญ้าแฝกเพอ่ื ป้องกนั การกัดเซาะ ของดนิ ได้ การขยายพันธ์ุสามารถท�ำได้จากการแยกหน่อหรือต้น ซ่ึงหญ้าแฝกมีการเจริญเตบิ โตแตกกอ อย่างรวดเร็ว จึงสามารถขยายพันธุ์ได้ตลอดเวลา การปลูกหญ้าแฝกสามารถปลูกได้ทุกสภาพพื้นท่ี หญ้าแฝกเป็นพืชท่ีค่อนข้างมีข้อจ�ำกัดน้อยยกเว้นบางพื้นท่ี ซ่ึงมีปัญหาสภาพความรุนแรงของพ้ืนท่ีมาก ได้แก่ พื้นท่ีเค็มจัดชายทะเล พ้ืนที่กรดจัด พื้นที่พรุเก่าซ่ึงจะต้องทำ� การปรับสภาพดินด้วยการใส่ปูน หรือหนิ ฝุ่นเสยี ก่อน พ้นื ทส่ี ูงที่ท้องฟ้าปิดเกือบตลอดปีซึ่งมคี วามเข้มของแสงแดดไม่เพียงพอ เช่น พ้ืนท่ี 54
ปางตอง อ�ำเภอเมืองจังหวัดแม่ฮ่องสอน แต่แก้ไขได้โดยการใช้พันธุ์ท้องถิ่นท่ีเหมาะสมกับพ้ืนท่ี เช่น สายพันธ์ุแม่ฮ่องสอน สายพนั ธ์ุแม่ลาน้อย สายพนั ธ์ุปางมะผ้า หรือสายพันธุ์ทีน่ ำ� เข้ามา เช่น สายพนั ธุ์ พระราชทาน สายพนั ธุ์ญปี่ ุ่น เป็นต้น ค่าใช้จ่ายการปลูกหญ้าแฝกให้เป็นแนวร้ัวหรือแนวพืชเพ่ืออนุรักษ์ดินและน�้ำนนั้ หากท�ำด้วย เทคนคิ ท่ีถูกต้องและมีการวางแผนและควบคุมงานที่รัดกุม เช่น ใช้พันธุ์ท่ีเหมาะสม มีการใช้ปุ๋ยปลูก ให้ถูกต้องตามฤดูกาล ใช้หน่อหญ้าแฝกที่มีคุณภาพก็สามารถท่ีจะลดต้นทุนได้หรือลงทุนต่�ำ เกษตรกร สามารถดำ� เนนิ การได้เอง ในสภาวะแวดลอ้ มโลกทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงไป พน้ื ทป่ี า่ ไมล้ ดลงอยา่ งรวดเรว็ ทำ� ใหก้ ารตกของ ฝนแปรปรวน ไมแ่ นน่ อน ความรนุ แรงของพายฝุ นมมี ากขนึ้ เกดิ สภาพน้�ำทว่ มฉบั พลนั บางพน้ื ทแ่ี หง้ แลง้ มีผลกระทบต่อทุกคนท้ังชุมชนเมืองและชนบท การปลูกหญ้าแฝกในระบบอนุรักษ์ดินและนำ้� สามารถ ทำ� ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ หากทกุ คนมสี ว่ นรว่ มจะปลกู ไดเ้ ปน็ พน้ื ทกี่ วา้ งขวาง สามารถปอ้ งกนั ปญั หานำ�้ ทว่ มอยา่ ง ฉบั พลนั ลดความแหง้ แลง้ ทงั้ ในพน้ื ทเ่ี พาะปลกู และชมุ ชนเมอื ง เชน่ การปลกู หญา้ แฝกเพอื่ ชะลอความเรว็ ของน้�ำตามทางนำ้� ธรรมชาติ และพ้ืนทล่ี าดชนั ต่าง ๆ n หญ้าแฝกกับการอนุรักษ์ดินและน้�ำ 55
สาระนา่ รูเ้ รอื่ งหญ้าแฝก วิธกี ารปลูกแนวหญา้ แฝก การปลูกแทนคันดินเพ่ือการอนุรักษ์ดินและความชุ่มชื้น ปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวตามแนว ระดบั ขวางความลาดเทในต้นฤดฝู นโดยการไถพรวนดนิ และท�ำร่องจ�ำนวน 1 ร่องไถ แล้วปลูกหญ้าแฝก ลงในร่องไถ ระยะปลูกระหว่างต้นหรือกอห่างกนั ประมาณ 5 เซนตเิ มตร ปลูก 1 ต้นต่อหลุมหรอื 1 - 3 หน่อต่อหลุม กรณที ี่มีการเตรียมกล้าหญ้าแฝกมาอย่างดีแล้ว กลบดินรอบโคนต้นให้แน่น ระยะห่าง ระหวา่ งแถวแฝกจะไมเ่ กนิ 2 เมตร ตามแนวตงั้ หญา้ แฝกจะเจรญิ เตบิ โตแตกกอชดิ กนั ภายใน 4 - 6 เดอื น หรอื 1 - 3 ฤดเู พาะปลูก กรณพี ืน้ ทแี่ ห้งแล้ง ควรตัดหญ้าแฝก 1 - 2 เดือนต่อครั้งให้สงู ประมาณ 30 - 50 เซนตเิ มตร เพือ่ เร่งให้มีการแตกกอ การปลูกเพ่ือควบคุมร่องน�้ำและกระจายน้�ำ การปลูกหญ้าแฝกเพ่ือควบคุมร่องนำ้� ไม่ให้ถูก กดั เซาะพังทลายมากย่งิ ข้นึ และทำ� ให้เกิดคันดินก้ันน�้ำจะต้องมกี ารเตรยี มกล้าหญ้าแฝกเป็นอย่างดี เช่น เพาะชำ� กลา้ หญา้ แฝกในถงุ พลาสตกิ จนกระทง่ั แตกกอเตม็ ถงุ และแขง็ แรงดแี ลว้ จงึ น�ำไปปลกู ในรอ่ งน้�ำโดย ขดุ หลมุ ปลกู ขวางรอ่ งนำ�้ เปน็ แนวตรง หรอื เปน็ แนวหวั ลกู ศรยอ้ นทางกบั ทศิ ทางน้�ำไหลอาจใชก้ ระสอบทราย หรือก้อนหินช่วยท�ำคันเสรมิ ฐานให้มัน่ คงตามแนวปลูกหญ้าแฝก ควรปลกู หญ้าแฝกให้ชดิ ติดกนั ยง่ิ กว่า วิธีแรก ระยะห่างระหว่างแนวปลูกหญ้าแฝกจะไม่เกิน 2 เมตร ตามแนวต้งั หลงั จากเกิดคันดินกั้นน�้ำแล้ว จะปลกู หญา้ แฝกตอ่ จากแนวคนั ดนิ กน้ั น้�ำนน้ั ออกไปทงั้ สองขา้ งเพอ่ื เปน็ การกระจายน้�ำเขา้ สพู่ นื้ ทเี่ พาะปลกู การปลูกเพือ่ รักษาความชุ่มชื้น ปลูกหญ้าแฝกตามแนวระดบั ท่รี ะดบั นำ�้ สงู สดุ ท่วมถึง 1 แนว และปลูกเพ่ิมขน้ึ อีก 1 - 2 แนว เหนือแนวแรก ซง่ึ ข้ึนอยู่กับความลึกของขอบสระ ระยะปลกู ระหว่างต้น 5 เซนตเิ มตร 56
ค�ำบรรยายภาพหน้าตัดแนวรวั้ หญ้าแฝก ก. นำ�้ และตะกอนดนิ ไหลมาปะทะกอหญ้าแฝก ข. ตะกอนดินจะตกค้างอยู่ (เม่ือเวลาผ่านไปหญ้าแฝกจะแตกหน่อสูง ขนึ้ มาเป็นชน้ั ๆ) ค. นำ�้ ไหลผ่านไปอย่างช้า ๆ บางส่วนไหลซมึ ลงสู่ใต้ดนิ ง. รากหยง่ั ลงลกึ และแผ่กว้างเพียง 50 เซนตเิ มตร n หญ้าแฝกกับการอนุรักษ์ดินและน้�ำ 57
สาระน่ารู้เรอื่ งหญ้าแฝก การใช้ หญา้ แฝก ในพน้ื ที่เกษตร เรียบเรียงโดย ดร.ธวัชชัย ณ นคร/ดร.มงคล พานิชกุล 58
พื้ นทท่ี ำ� การเกษตรในเขตรอ้ นชนื้ มกั มปี ญั หาดา้ นความอดุ มสมบรู ณข์ อง ดิน ดนิ เสือ่ มโทรมอนั เนอ่ื งจากมีการชะล้างพงั ทลายสงู การใช้ทีด่ นิ ทข่ี าดการอนรุ กั ษ์ และมีอัตราการสลายตัวของอินทรียวัตถุค่อนข้างสูง ปัจจัยเหล่านที้ ำ� ให้ความสามารถในการให้ผลผลิต ทางการเกษตรของดินลดลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ผลผลิตพืชลดลงด้วย ต้องใช้ปัจจัยในการผลิตเพิ่ม ขึ้นท�ำให้เพิ่มต้นทุนในการผลิต ตลอดจนท�ำให้แหล่งน้�ำตื้นเขิน การน�ำหญ้าแฝกไปปลูกในพ้ืนที่เกษตร อย่างมรี ะบบตามวตั ถปุ ระสงค์ต่าง ๆ นบั ว่าเป็นการจัดการดินและรักษาสภาพแวดล้อมที่มคี ุณค่าและมี ประโยชน์มาก โดยเฉพาะการรักษาความชนื้ ของดิน และลดความรนุ แรงของการชะล้างพงั ทลายของดิน ในพ้นื ทลี่ าดชนั หญ้าแฝก เป็นพืชท่ีสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในเชิงฟื้นฟูปรับปรุงบ�ำรุงดินและอนุรักษ์ สภาพแวดล้อมไปในเวลาเดยี วกัน การนำ� หญ้าแฝกไปปลูกในพนื้ ท่ีเกษตรนน้ั ควรมกี ารจดั การและดูแล รกั ษาบ้างตามสมควร เช่น ควรมีการปลูกซ่อมหญ้าแฝกทีใ่ ช้ในการคลุมดินอย่างสมำ่� เสมอ ซง่ึ จะพบว่า หญ้าแฝกนอกจากไม่ใช่วชั พืชแล้ว ยงั พบว่าหญ้าแฝกมีประโยชน์ทางการเกษตรนานัปการ การนำ� ระบบหญ้าแฝกมาใชป้ ระโยชน์ในพืน้ ท่เี กษตร การน�ำระบบหญ้าแฝกมาใช้ประโยชน์ในพื้นท่ีเกษตร อาจจ�ำแนกออกได้ตามลักษณะการใช้ ทด่ี นิ ดังน้ี คือ พื้นท่ีนา ควรใช้หญ้าแฝกปลูกเพื่อแสดงขอบเขตล้อมรอบพื้นท่ีนาบริเวณขอบคันนา ตัดใบ หญ้าแฝกคลุมดินท่ีปลูกพืชผักหรือพืชไร่ในนาข้าวหลังฤดูเก็บเกี่ยว เป็นการเพ่ิมอินทรียวัตถุในนาข้าว และรักษาความชื้นในดินให้กับพืชท่ีปลูกหลังนาในฤดูแล้งได้ นอกจากจะเป็นการประหยัดการใช้น้�ำท่ีไม่ ต้องทำ� นาปรงั แล้ว ยงั นบั ว่าเป็นการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ อย่างมปี ระสิทธภิ าพอกี ด้วย n การใช้หญ้าแฝกในพื้นท่ีเกษตร 59
สาระนา่ รู้เรอ่ื งหญ้าแฝก พ้นื ทไ่ี ร่ ควรใช้หญ้าแฝกปลูกเป็นแถวในพืน้ ทป่ี ลูกพืชไร่ ในพนื้ ทร่ี าบ โดยปลกู เป็นแถวสลบั กับแถบปลูกพืชไร่ จะช่วยกักเก็บเม็ดดินและเศษใบไม้ใบหญ้าท่ีถูกพัดพามากับน�้ำมาสะสมอยู่หน้าแถว หญา้ แฝกทปี่ ลกู ตามแนวระดบั ทำ� ใหห้ นา้ ดนิ ไมส่ ญู ไปกบั นำ้� แตจ่ ะสรา้ งเปน็ ขนั้ บนั ไดธรรมชาตอิ ยหู่ นา้ แถว หญ้าแฝก ย่ิงไปกว่านนั้ แถวหญ้าแฝกยังชะลอการไหลของน�้ำ เปิดโอกาสให้น�้ำซึมซาบไปตามแผงราก ของหญ้าแฝกท่ีเจริญเติบโตและชอนไชผ่านลงไปในดินช้ันล่าง น้�ำส่วนที่มากเกินไปก็จะไหลลงไปสะสม เป็นน้�ำใต้ดินในดินช้ันล่าง ที่จะกลายเป็นแหล่งนำ้� ของพ้ืนท่ีในฤดูแล้งและหญ้าแฝกที่มีระบบรากลึกก็ มีส่วนท�ำให้น�้ำใต้ดินนถี้ ูกดึงข้ึนมายังผิวดินเป็นการท�ำให้พ้ืนดินมีความช้ืนมากกว่าพ้ืนที่อื่น นอกจากน้ี เรายังสามารถตัดใบหญ้าแฝกมาคลุมดินระหว่างแถวพืชไร่เพ่ือรักษาความชื้นให้กับดินและพืชที่ปลูก ได้อีกด้วย นับว่าเป็นวิธีการเพ่ิมอินทรียวัตถุให้กับดิน และทำ� ให้มีการหมุนเวียนของธาตุอาหารจากดิน ช้ันล่างขนึ้ มาสู่ดนิ ช้นั บนไปพร้อมกัน 60
พน้ื ทปี่ ลกู ผกั ไมด้ อกและไมป้ ระดบั ควรใชห้ ญา้ แฝกปลกู รอบพน้ื ทยี่ กรอ่ งหรอื รอบแปลงเพาะ ปลกู พชื ผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ เพื่อตดั ใบหญ้าแฝกนำ� ไปคลมุ ดนิ ทดแทนการใช้ฟางข้าว ซึ่งเป็นวิธดี ั้งเดิม และนับวันจะหาฟางข้าวได้ยากข้นึ นอกจากเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการขนย้ายฟางข้าวจากในนาแล้ว ยัง ช่วยป้องกนั การพังทลายของร่องปลกู พืชได้อย่างดอี กี ด้วย ข้อได้เปรียบอกี อย่างคือ เป็นวัสดุคลมุ ดนิ ที่ สามารถสร้างขน้ึ มาได้เองในพ้นื ทีโ่ ดยไม่ต้องขนย้ายมาจากทอ่ี ่ืน พ้นื ทส่ี วนไม้ผลยืนต้น ยางพารา และปาล์มนำ�้ มนั 61 พ้ืนท่ีทีเ่ ป็นสวนไม้ผลดั้งเดมิ พ้ืนท่ีเกษตรทเี่ ป็นสวนไม้ผลยืนต้นดัง้ เดิม จัดว่าเป็นระบบท่ีมี ความสมบูรณ์ มั่นคงและย่ังยนื ดีอยู่แล้วไม่มีความจำ� เป็นทจ่ี ะต้องนำ� หญ้าแฝกไปปลูก เช่นเดยี วกบั พืน้ ที่ ทเ่ี ปน็ ปา่ สมบรู ณ์ นอกจากหญา้ แฝกไมส่ ามารถเจรญิ เตบิ โตไดเ้ ปน็ ปกตเิ นอื่ งจากมแี สงแดดไมเ่ พยี งพอแลว้ ยังเป็นการปลูกหญ้าแฝกท่ไี ม่เหมาะสมและถูกต้องอีกด้วย หากเป็นไม้ผลยืนต้นทีม่ อี ายุไม่เกนิ 3 ปี หรือ ทรงพมุ่ ยงั ไมช่ ดิ ตดิ กนั และมปี ญั หาเรอื่ งความแหง้ แลง้ และการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ กอ็ าจใชห้ ญา้ แฝก ปลูกเป็นแถวตามความยาวของแถว n การใช้หญ้าแฝกในพื้นท่ีเกษตร
สาระนา่ รเู้ ร่ืองหญา้ แฝก ไมผ้ ลนอกเขตทรงพมุ่ ของไมผ้ ลทปี่ ลกู รอบ ๆ โคนตน้ ไมผ้ ลทป่ี ลกู รศั มปี ระมาณ 1.5 - 2.0 เมตร ในลักษณะครึ่งวงกลมแหงนรับน�้ำส�ำหรับพ้ืนท่ีลาดชัน หรือลักษณะวงกลมส�ำหรับพ้ืนท่ีราบ เพ่ือตัด ใบหญ้าแฝกคลมุ ดนิ บริเวณโคนต้นไม้ผลเพ่ือสงวนนำ้� ในดนิ และลดการชะล้างพังทลายของดนิ พนื้ ทเี่ รมิ่ ปลกู สร้างสวนไมผ้ ล พนื้ ทเี่ กษตรทเ่ี ปน็ สวนไมผ้ ลยนื ตน้ ทเี่ รมิ่ ขน้ึ มาใหม่ หรอื รอ้ื สวน เกา่ เพอื่ ปลกู สวนไมผ้ ลใหม่ หรอื สวนยางพาราทรี่ อื้ ปลกู ใหม่ ควรปลกู หญา้ แฝกขวางความลาดเทตามแนว ระดบั ขนานไปกบั แถวไมย้ นื ตน้ ไมผ้ ล หรอื ปลกู รอบเฉพาะหลมุ ปลกู ไมผ้ ลแบบครงึ่ วงกลม แหงนรบั ความ ลาดเทเพอ่ื ปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และตดั ใบคลมุ ดนิ หรอื แบบวงกลมส�ำหรบั ในพนื้ ทรี่ าบ แลว้ ตดั ใบคลมุ ดนิ เพอ่ื รกั ษาความชนื้ ในดนิ และเปน็ การรกั ษาความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ เพอ่ื ความยงั่ ยนื ของระบบ หรอื ปลูกแนวหญ้าแฝกให้เป็นระบบในพนื้ ท่ที ี่เปลีย่ นจากพ้ืนท่ปี ่าเสอื่ มโทรม แห้งแล้ง ทด่ี ินเหมอื งแร่ร้าง และทดี่ นิ ทม่ี ปี ญั หาดา้ นต่าง ๆ ให้กลายมาเปน็ ป่าทกี่ นิ ได้ การปลกู หญา้ แฝกในพน้ื ทเ่ี กษตรประเภทนคี้ วร ปลกู รอบไมผ้ ลทเ่ี รมิ่ ปลกู ใหมโ่ ดยปลกู หญา้ แฝกในลกั ษณะวงกลมในพนื้ ทร่ี าบ และครง่ึ วงกลมแหงนรบั นำ้� ไหลบา่ และตะกอนดนิ ในพนื้ ทล่ี าดชนั โดยปลกู หา่ งจากกลา้ ไมผ้ ลทป่ี ลกู ใหม้ รี ศั มปี ระมาณ 1.5 - 2.0 เมตร ซงึ่ จะขน้ึ อยกู่ บั ประเภทหรอื ขนาดของไมผ้ ลและควรใสป่ ยุ๋ หมกั หรอื ปยุ๋ คอกรว่ มกบั ปยุ๋ เคมสี ตู ร 15-15-15 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ เพ่ือเป็นการปรับปรุงบำ� รงุ ดนิ ขน้ั ต้น ตอนปลกู หญ้าแฝกด้วย การปลกู ในสวนผลไม้ระยะทไี่ ม้ผลยงั ไม่โต หรอื ปลกู ก่อนทจ่ี ะลงไม้ผล ระยะหา่ งระหวา่ งแถว ของหญ้าแฝกจะข้ึนอยู่กบั ระยะปลกู ของไม้ผล โดยปลกู แถวหญ้าแฝกขนานไปกับแถวของไม้ผลห่างจาก แถวไม้ผลพอประมาณ เช่น 1.5 เมตร แถวหญ้าแฝกนอกจากจะป้องกนั ดนิ พังทลายและรกั ษาความชน้ื 62
ของดินตามปกติแล้ว การตัดหญ้าแฝกบ่อย ๆ และน�ำใบหญ้าแฝกมาคลุมโคนต้นไม้ผลจะเป็นการ ช่วยเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการรกั ษาความช้ืนและความอุดมสมบูรณ์ของดนิ เพม่ิ ข้นึ ตวั อย่างการปลูกหญ้าแฝกในพ้ืนทเี่ กษตรท้ัง 4 ประเภท ได้แก่ การปลกู หญ้าแฝกเป็นแนว แสดงขอบเขตพน้ื ทน่ี าขา้ ว จงั หวดั พทั ลงุ การปลกู หญา้ แฝกรว่ มกบั ไมผ้ ลในพนื้ ทล่ี าดชนั โครงการดอยตงุ อำ� เภอแมฟ่ า้ หลวง จงั หวดั เชยี งราย การปลกู แนวรว้ั หญา้ แฝกในพนื้ ทป่ี ลกู พชื ไรร่ ว่ มกบั มะนาวในพนื้ ทร่ี าบ ทมี่ เี นอื้ ดนิ เปน็ ดนิ รว่ นทรายปนหนิ กรวดกลม และมนี �้ำทว่ มเปน็ ประจำ� ทอี่ ำ� เภอแกง่ กระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี โดยปลกู หญา้ แฝกเปน็ แถวสลบั กบั แถบปลกู พชื ไร่ สามารถลดความรนุ แรงของน้�ำทว่ มได้ เพราะน�้ำจะซมึ ลงไปอยา่ งช้า ๆ ตามแผงรากหญ้าแฝกทเ่ี จรญิ เตบิ โตชอนไชผา่ นดนิ ทอี่ ดั แน่นอย่รู ะหว่างหนิ กรวดกลมใน ดนิ ลา่ งซงึ่ อยลู่ กึ จากผวิ ดนิ บน 50 - 75 เซนตเิ มตรได้ เปน็ การชว่ ยระบายนำ้� ทท่ี ว่ มขงั ของดนิ ตามธรรมชาติ ท่ลี งทนุ ต่�ำ และควรมกี ารตัดใบหญ้าแฝกเป็นประจ�ำ ไม่ปล่อยให้หญ้าแฝกย่างปล้องออกดอก โดยครัง้ แรกให้ตดั หลังจากปลูกหญ้าแฝกแล้วประมาณ 3 เดือน เพอื่ เร่งให้หญ้าแฝกมีการแตกกอตามแนวราบ เพ่มิ ขน้ึ และควรตดั ใบหญ้าแฝกให้มคี วามสูงประมาณ 30 เซนตเิ มตร การตดั ครั้งต่อไปควรกระท�ำทกุ 1 - 2 เดอื น ส�ำหรบั ในพ้นื ท่ีลาดชัน ควรนำ� ใบหญ้าแฝกท่ีตัดไปวางบรเิ วณโคนหญ้าแฝก โดยวางเหนือ แถวแฝกเพ่ือกักตะกอนดินและเศษพืช การปลูกหญ้าแฝกให้มีจำ� นวนแถวแนวหญ้าแฝกมากหรือน้อย ขน้ึ อยกู่ บั ความลาดชนั ของพน้ื ทแี่ ละปรมิ าณพน้ื ทรี่ บั น้�ำแตล่ ะชว่ งของความลาดชนั ตลอดจนระยะหา่ งตาม แนวดง่ิ ประมาณ 1.50 เมตร เป็นต้น n การใช้หญ้าแฝกในพื้นท่ีเกษตร 63
สาระนา่ รู้เรื่องหญา้ แฝก พื้นที่เกษตรที่มีระบบการปลูกพืช แบบผสมผสาน การใชห้ ญา้ แฝกในระบบการปลกู พชื แบบผสมผสานมหี ลายรปู แบบ ระบบการปลกู พืชแบบผสมผสานจะมีความหลากหลายในชนดิ ของพชื (biodiversity) เปน็ ระบบพชื เดย่ี ว (sin- gle cropping system) ในพน้ื ทเ่ี ลก็ ๆ และระบบ ปลกู พชื แบบผสมผสาน (integrated cropping system) และความแตกตา่ งกนั ของลกั ษณะสภาพ พน้ื ที่ (topography) ทปี่ ลกู พชื เกษตร ดงั นนั้ การ ใชป้ ระโยชนจ์ ากหญา้ แฝกของเกษตรกร ในแตล่ ะ รูปแบบของการปลกู พืช จะมมี ากน้อยไม่เหมือน กัน เช่น ในสภาพพ้ืนท่ีสูงลาดชัน ประโยชน์ ของหญ้าแฝกนอกจากการตัดคลุมดินเพื่อช่วย อนุรักษ์น้�ำในดนิ ช่วยเพม่ิ อนิ ทรยี วตั ถุให้กับดิน และช่วยท�ำให้มีการหมุนเวียนของธาตุอาหาร พืชจากดินช้ันล่างข้ึนมาสู่ดินชั้นบนแล้ว แถว หญ้าแฝกที่ปลูกตามแนวระดับ ยังช่วยลดการ ชะลา้ งพงั ทลายของหนา้ ดนิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดอี กี ดว้ ย ขณะทีพ่ ้ืนท่รี าบท่มี ีดนิ เสอ่ื มโทรม ประโยชน์ของ หญ้าแฝกจะเน้นในแง่ของการปรับปรุงบ�ำรุงดิน ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน และเพิ่มความ ชุ่มช้ืนให้กบั ดนิ ผลจากการใช้หญ้าแฝกในพนื้ ทีเ่ กษตรแบบผสมผสาน พอสรุปได้ดังนี้ การปลกู หญ้าแฝกเป็นแถว ห่างกนั ประมาณ 6.0 เมตร สามารถตัดใบหญ้าแฝกคลมุ ดินได้ปี ละประมาณ 1.8 - 2.6 ตนั ต่อไร่ หรือคดิ เป็นธาตอุ าหารพืช ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซยี มจะ ได้ประมาณ 17 - 44, 1 - 6 และ 36 - 80 กโิ ลกรมั ต่อไร่ต่อปี ตามลำ� ดบั การใช้หญ้าแฝกปลกู เป็นรูปวงกลมในพนื้ ที่ราบ ในรัศมี 2.0 เมตร หรือพนื้ ทีท่ ม่ี คี วามลาดเท นอ้ ย แตห่ ลายทศิ ทางรอบโคนตน้ ไม้ สามารถตดั หญา้ แฝกคลมุ โคนตน้ ไดป้ ลี ะประมาณ 50 - 70 กโิ ลกรมั ต่อต้น และท�ำให้ความช้ืนของดนิ บรเิ วณโคนต้นเพมิ่ ข้นึ ถงึ 35 เปอร์เซ็นต์ แถวหญา้ แฝกช่วยลดการพงั ทลายของดนิ ในระบบการปลกู พชื แบบผสมผสานทม่ี ไี ม้ผลเป็น หลกั แบบต่าง ๆ แถวหญ้าแฝกสามารถลดปริมาณนำ�้ ไหลบ่าหน้าดนิ (run-off water) และตะกอนดนิ ได้ ถึง 2 - 6 และ 6 - 36 เท่า ตามล�ำดับ ท้ังนี้ ระบบทมี่ ีสับปะรดเป็นพืชแซม จะมปี รมิ าณนำ้� ไหลบ่าหน้า ดินและตะกอนดินน้อยท่ีสดุ ขณะท่ีระบบทีม่ ีกล้วยเป็นพืชแซมมมี ากที่สุด 64
ประโยชน์ที่ได้รับจากรูปแบบการปลูกพืชในระบบ ผสมผสานดังกล่าวนี้ คือการพัฒนาพ้ืนที่เส่ือมโทรม ดินเลว ฝนแล้ง มาเป็นระบบการเกษตรย่ังยืนในรูปป่ากินได้โดยใช้ หญ้าแฝกช่วยในการรักษาและพัฒนาระบบในช่วงแรก เม่ือ ไม้ผลต่าง ๆ เจรญิ เติบโตจนกระท่งั ให้ผลผลิต มที รงพุ่มชดิ ตดิ กนั ครอบคลมุ พ้นื ท่ีเป็นป่ากินได้แล้ว หญ้าแฝกจะหมดบทบาท ลงในที่สุด การปลกู แนวรั้วหญ้าแฝกในพ้ืนทีเ่ กษตร กล้าหญ้าแฝกท่ีใช้อาจเป็นของทางราชการท่ีเพาะช�ำ ในถุงพลาสติกอายุประมาณ 45 วัน หรือกล้าหญ้าแฝกท่ีได้ จากแปลงขยายพันธุ์และแหล่งธรรมชาติโดยขุดหญ้าแฝกท้ัง กอขน้ึ มาตัดรากให้เหลือ 10 - 15 เซนติเมตร และตัดต้นให้ เหลอื 20 เซนตเิ มตร แยกหนอ่ แลว้ มดั รวมเชน่ เดยี วกบั การถอน กล้าข้าว น�ำไปแช่น้�ำให้น้�ำท่วมรากอยู่ประมาณ 5 - 7 วัน จนมีรากใหม่แตกออกมา (ดูรายละเอียดในบทท่ี 5) จึงน�ำไป ปลูกตามขั้นตอนต่อไปน้ี n การใช้หญ้าแฝกในพ้ืนท่ีเกษตร 65
สาระนา่ ร้เู รือ่ งหญา้ แฝก ปลกู เปน็ แถวเดยี่ วตามแนวระดบั ขวางความลาดเทของพนื้ ท่ี ในพน้ื ทล่ี าดชนั โดยวางแนว หญ้าแฝกตามแนวระดับขวางความลาดเทของพืน้ ที่ ก�ำหนดระยะห่างระหว่างแถวหญ้าแฝกในแนวดิ่ง 1.5 เมตร หรอื 6 - 10 เมตร ตามระยะปลูกของไม้ผลยืนต้นทีถ่ กู ปรบั แนวปลกู ขนึ้ หรือลงเล็กน้อย ให้โค้งไปตามพ้ืนที่เพื่อสะดวกในการปฏิบัติงานและการปลูกพืช หลังจากปรับแนวแล้วให้ทำ� การเปิด ร่องไปตามแนวที่วางไว้ลึกประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร พร้อมทีจ่ ะปลูกหญ้าแฝกต่อไป หากเป็นพ้ืนที่ ลาดชันที่เป็นดินเลวหรือมีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ ก่อนปลูกควรคลุกดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกร่วม กับปุ๋ยเคมีสตู ร 15-15-15 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ จะช่วยให้หญ้าแฝกตง้ั ตัวได้เรว็ และมีการเจรญิ เติบโตได้ดีในระยะแรก ระยะท่ีไม้ผลยังเล็กอยู่เกษตรกรสามารถใช้ที่ดินปลูกพืชไร่หรือพืชผักแซม เช่น ข้าวโพด ถัว่ เหลือง ถว่ั เขียว กะหล�่ำปลี เป็นต้น โดยมกี ารตดั ใบหญ้าแฝกก่อนออกดอกและน�ำใบ หญ้าแฝกทต่ี ัดไปคลมุ ดินในแปลงปลกู พืชระหว่างแนวแถวหญ้าแฝก และโคนต้นไม้ผล ฤดูที่เหมาะสม ฤดูปลูกท่ีเหมาะสมได้แก่ ต้นฤดูฝน ควรปลูกในขณะท่ีดินมีความชุ่มชื้น พอเพยี ง ส�ำหรับพนื้ ท่ีทส่ี ามารถให้นำ�้ ได้กค็ วรปลูกก่อนฤดฝู น เพอื่ ให้หญ้าแฝกมกี ารเจรญิ เตบิ โตพอที่ จะท�ำหน้าที่ตามจุดประสงค์ต่าง ๆ ได้ต้ังแต่ต้นฤดูฝนแรก โดยทั่วไปหญ้าแฝกจะตั้งตัวและแตกกอ ชิดตดิ กันเป็นแนวรั้วหญ้าแฝกที่ดีได้ จะใช้เวลาอย่างน้อยประมาณ 3 เดือน ซงึ่ ขึ้นอยู่กับความอดุ ม สมบรู ณ์ของดินเป็นส�ำคัญ 66
การปลกู หญา้ แฝกเพอื่ การรกั ษาความชมุ่ ชนื้ ในดนิ ในพน้ื ทก่ี ารเกษตร การใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือการเกษตรที่ใช้ปลูกพืชไร่และไม้ผลเป็นหลัก ส่วนใหญ่เป็นการ เกษตรท่ีอาศัยน�้ำฝนท่ีมักประสบปัญหาภัยแล้งอยู่เสมอ พืชท่ีเพาะปลูกจะขาดแคลนน้�ำเป็นประจ�ำ สร้างความเสยี หายแก่พืชและเศรษฐกจิ ของประเทศเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหาภาวะพืชขาดแคลน น้�ำในพนื้ ทเ่ี กษตรน้�ำฝน คือการใช้นำ�้ อย่างมีประสิทธิภาพและการเก็บรกั ษาความชื้นจากนำ�้ ฝนที่ตกไว้ ในดนิ ให้มากทส่ี ดุ เท่าท่จี ะมากได้ การใช้หญ้าแฝกเพ่ือการอนรุ ักษ์ดนิ และน้�ำในพน้ื ที่เกษตร นบั ว่าเป็น เทคโนโลยแี บบง่าย ๆ เกษตรกรสามารถด�ำเนนิ การได้เอง ทง้ั ยงั ไม่ต้องดแู ลรกั ษาหลงั การปลกู มากนกั และประหยดั ค่าใช้จ่ายมากกว่าวิธอี นื่ ๆ ด้วย การปลูกหญ้าแฝกเพ่ือให้มีการเจริญเติบโตได้ดีและรวดเร็วควรต้องมีการดูแลรักษาบ้าง พอสมควรหลังจากปลูกแล้วควรมีการปลูกซ่อมต้นท่ีตายทันที เมื่อต้นหญ้าแฝกตั้งตัวได้แล้ว ควรมี การตัดใบหญ้าแฝกให้สูงจากพ้ืนดินประมาณ 30 เซนติเมตร ซึ่งจะช่วยให้หญ้าแฝกแตกกอชิดติด กันเรว็ ขนึ้ นอกจากน้เี ม่อื หญ้าแฝกเจริญเติบโตเตม็ ที่ ก็ควรมกี ารตัดใบไปใช้ประโยชน์ นำ� ใบทตี่ ดั ไป คลุมดิน หรือโคนต้นไม้ผลเพื่อช่วยลดการระเหยของน�้ำจากผิวดิน การตัดใบอย่างสม�่ำเสมอจะช่วย ป้องกันมิให้หญ้าแฝกออกดอก และจะท�ำให้หญ้าแฝกแตกหน่อเพ่ิมขึ้น ท�ำให้แนวหญ้าแฝกสานชิด ติดกันเป็นก�ำแพงแน่น ท�ำหน้าที่กรองตะกอนดินได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด น�้ำมีโอกาสไหลซึมลง ไปเก็บกักรกั ษาไว้ในดินได้ท่วั พ้นื ที่ ซง่ึ จะทำ� ให้ดินมคี วามชุ่มช้นื เป็นประโยชน์ต่อพืชหลักที่ปลูกไว้ต่อ ไป ทง้ั นว้ี ธิ กี ารและรปู แบบการปลกู หญา้ แฝกจะขนึ้ อยกู่ บั ลกั ษณะของพนื้ ทที่ เี่ กษตรกรสามารถเลอื กใช้ รูปแบบใดรูปแบบหนงึ่ ได้ตามความเหมาะสมต่อไป n การใช้หญ้าแฝกในพ้ืนท่ีเกษตร 67
สาระนา่ รู้เรอื่ งหญา้ แฝก รปู แบบการปลกู แนวรว้ั หญา้ แฝกเพอื่ ประยกุ ตใ์ ชก้ บั ลกั ษณะพนื้ ทตี่ า่ ง ๆ พื้นท่ีที่มีความลาดชัน ในพ้ืนท่ีที่มีความลาดชันโดยเฉพาะแถบภาคเหนือและภาคใต้ของ ประเทศ ท่ีเกษตรกรนยิ มปลกู ไม้ผลยืนต้นบนคนั ครู ับน้ำ� รอบเขา (hillside ditch) หรอื บนข้นั บันไดดนิ (bench terrace) ซ่ึงมักจะประสบปัญหาคันดินที่สร้างไว้ถูกนำ�้ ฝนกัดเซาะพังทลายเสียหายเป็นประจำ� โดยเฉพาะอย่างย่ิงในระยะที่เพ่ิงก่อสร้างแล้วเสร็จใหม่ ๆ เพื่อป้องกันความเสียหายดังกล่าวมาตรการที่ เหมาะสมซง่ึ เปน็ วธิ งี ่าย ๆ ได้แก่ การปลกู หญา้ แฝกใหเ้ ป็นแนวรวั้ บรเิ วณรมิ คนั ครู บั น้�ำรอบเขา หรอื รมิ ขนั้ บนั ไดดนิ ด้านนอก เพ่อื เสรมิ ระบบอนุรกั ษ์ดนิ และนำ้� ในการป้องกันการชะล้างพงั ทลายของดนิ สำ� หรบั พน้ื ทที่ ไี่ มม่ ขี นั้ บนั ไดดนิ หรอื คนั ดนิ แตม่ คี วามลาดชนั การปลกู หญา้ แฝกเพอื่ การอนรุ กั ษ์ ดินและนำ้� ควบคู่กบั การปลกู ไม้ผลยนื ต้น อาจท�ำได้โดยวางแนวปลูกหญ้าแฝกตามแนวระดบั ขวางความ ลาดเทของพืน้ ท่ีตลอดพืน้ ทโี่ ดยให้แต่ละแถวของหญ้าแฝกห่างกันตามแนวด่ิง 1.5 เมตร หรอื 6.0 - 10 เมตร ตามระยะปลูกของไม้ผลยืนต้นแล้วแต่กรณี สำ� หรับพื้นท่ีท่ีมีความลาดชันมาก ๆ โดยการปลูก หญ้าแฝกเป็นรปู ครง่ึ วงกลมรศั มี 1.5 - 2.0 เมตร แหงนรบั ความลาดชนั ของพ้นื ทบี่ รเิ วณโคนต้นไม้ผล ยนื ต้นทปี่ ลกู ซ่ึงจะช่วยเพิม่ ความสามารถในการเก็บกักนำ�้ และตะกอนดนิ ได้ดีขึ้น พนื้ ทรี่ าบ บนพน้ื ทท่ี ไ่ี มม่ คี วามลาดชนั หรอื พน้ื ทร่ี าบจะมปี ญั หาเกย่ี วกบั การไหลบา่ หนา้ ดนิ ของ น�้ำและมกี ารสูญเสยี หน้าดินน้อย อย่างไรก็ดแี ม้ว่าจะเป็นพ้ืนท่ีราบเพียงใดกต็ าม การไหลบ่าของนำ�้ ฝนก็ จะเกิดขน้ึ ได้เสมอ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เมื่อมฝี นตกหนกั จนน้�ำไม่สามารถไหลซมึ ลงไปในดินได้ทนั ดังนนั้ การปลูกหญ้าแฝกเพื่อรักษาความชุ่มชื้นในดิน และเก็บกักหน้าดินให้อยู่ในพ้ืนที่ก็ยังมีความจ�ำเป็นอยู่ จดุ ประสงคห์ ลกั ในการปลกู หญา้ แฝก อาจปลกู เปน็ แถวเดย่ี วลอ้ มรอบพนื้ ท่ี หรอื เปน็ แถวยาวระหวา่ งแถว ไมผ้ ลหรอื แถบพชื ไร่ หรอื เปน็ รปู วงกลมหรอื ครงึ่ วงกลมบรเิ วณโคนต้นไมผ้ ล โดยใชร้ ศั มี 1.5 - 2.0 เมตร การตัดหญ้าแฝกคลุมดิน นอกจากจะช่วยเพิ่มความชื้นและอินทรียวัตถุให้กับดินแล้ว ยังช่วยให้มีการ หมุนเวยี นของธาตุอาหารพชื จากดินล่างขึ้นมาสู่ดินบนได้อีกด้วย อันเป็นการปรบั ปรุงความอดุ มสมบรู ณ์ ของดินด้วยวิธีง่าย ๆ และมปี ระสทิ ธิภาพ 68
สรปุ การปลูกหญ้าแฝกในพื้นท่ีเกษตรส่วนใหญ่จะเน้นเพ่ือป้องกันหรือลดการชะล้าง พงั ทลายของหนา้ ดนิ รกั ษาความชมุ่ ชนื้ ในดนิ เพม่ิ อนิ ทรยี วตั ถใุ หก้ บั ดนิ หมนุ เวยี นธาตอุ าหารพชื จากดนิ ล่าง ซง่ึ ไม่เป็นประโยชน์ต่อพชื ให้กลบั คืนสู่ดนิ บน และเป็นประโยชน์ต่อพชื จากการ ย่อยสลายของใบหญ้าแฝกท่ตี ดั คลมุ ดนิ และเพ่ือแสดงขอบเขตของพ้ืนท่ี ล�ำต้นของหญ้าแฝก จะช่วยกรองกักเก็บตะกอนดินโดยปล่อยให้น้�ำไหลผ่านไปได้บางส่วน ส่วนรากของหญ้าแฝก ซ่ึงหยั่งลึกลงไปในดิน ท�ำหน้าท่ีเสมือนก�ำแพง ใต้ดิน จะช่วยให้น�้ำฝนซึมลงสู่ดินล่าง ช่วยให้ดิน มีการระบายน�้ำดี ท�ำให้ดินโปร่งและมีการถ่ายเท อากาศดีข้ึน การตัดใบหญ้าแฝกคลุมดินเพื่อเพ่ิม อินทรียวัตถุให้กับดิน รักษาความชื้นในดินและ การยอ่ ยสลาย ปลดปลอ่ ยธาตอุ าหารออกมาให้เปน็ ประโยชน์กับพืชทีป่ ลกู ในพื้นทีป่ ลูกพืชผัก ไม้ดอก และไม้ประดับ การใช้หญ้าแฝกปลูกรอบแปลงที่ ยกร่องเพ่ือกันการพังทลายของขอบร่องหรือของ แปลง และตัดใบหญ้าแฝกน�ำไปคลุมดินทดแทน การใช้ฟางข้าวเป็นการสร้างวัสดุคลุมดินขึ้นเองใน พ้ืนที่ ส่วนในพ้ืนท่ีสวนไม้ผลยืนต้นดั้งเดิมมีความ สมบูรณ์ มั่นคงและย่ังยืนไม่มีความจ�ำเป็นท่ีจะ ต้องน�ำหญ้าแฝกไปปลูก ในสวนไม้ผลท่ีมีการปลูกใหม่หรือปลูกไปแล้วแต่ทรงพุ่มยังมีระยะ ห่างอาจปลูกหญ้าแฝกเพื่อช่วยในการ เก็บกักรักษาความชุ่มช้ืน และลด การชะล้างพังทลายของดินโดยปลูก หญ้าแฝกเป็นแถวยาวขวางความ ลาดเทของพื้นที่ในระหว่างทรงพุ่ม ซ่ึงยังไม่ชิดติดกันหรือปลูกแบบครึ่ง วงกลมแหงนรับน้�ำ และดักตะกอน ดินนอกทรงพุ่ม หรือห่างจากโคนต้น ไม่น้อยกว่า 1.5 - 2.0 เมตร n การใช้หญ้าแฝกในพื้นที่เกษตร 69
สาระน่ารเู้ รอื่ งหญา้ แฝก การใช้ประโยชน์จาก หญา้ แฝก เรียบเรียงโดย รศ.กมลพรรณ นามวงศ์พรหม/รศ.ฉลองชัย แบบประเสริฐ/คุณสุดาวดี เหมทานนท์ 70
การปลกู หญา้ แฝก มวี ตั ถปุ ระสงค์ หลักเพ่ือใช้ในการอนุรักษ์ดินและน้�ำ โดยเฉพาะในบรเิ วณพน้ื ทล่ี าดชนั ตามแนวพระราชด�ำรใิ น พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั แต่การปลูกเพื่ออนุรักษ์ดิน และ/หรือการปลูกในพื้นที่เกษตรในลักษณะต่าง ๆ นนั้ เป็นการใช้ประโยชน์ในแง่ของการอนุรักษ์ ซ่ึงมีคุณค่าท่ี ไม่สามารถประเมินราคาเป็นตัวเงินให้เกษตรกรเห็นได้ จึงเป็นสาเหตุให้เกษตรกรบางส่วนยังไม่ยอมรบั หญ้าแฝก ปญั หาทมี่ กั จะพบเสมอ ๆ ในการสง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรปลกู หญ้าแฝกเพ่อื การอนุรกั ษ์ดินและนำ้� ในพน้ื ทก่ี ารเกษตร ก็ คือ การที่เกษตรกรต้องสูญเสียพ้ืนที่ดินจ�ำนวนหนงึ่ จาก พนื้ ทีท่ ี่ปลกู พืชรายได้ (cash crop) เอาไปปลูกหญ้าแฝก โดยที่ไม่มีรายได้โดยตรงจากการปลูกหญ้าแฝก อีกทั้ง ยังมีปัญหาในขณะเตรียมดินเพราะหากมีการปลูกแถว หญ้าแฝกตามแนวระดับในพื้นท่ีท่ีจะใช้ปลูกพืชรายได้ n การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก 71
สาระน่ารู้เรื่องหญ้าแฝก ผขู้ บั รถแทรกเตอรร์ บั จา้ งในการเตรยี มดนิ มกั จะไถแถวหญา้ แฝกออกในขณะเตรยี มดนิ เพราะทำ� ใหเ้ ตรยี ม ดนิ ได้สะดวกและรวดเร็วขึน้ ในขณะเดยี วกนั ในการปลกู หญ้าแฝกให้เจริญเตบิ โตได้ดี จำ� เป็นต้องมีการ บ�ำรุงรักษาหญ้าแฝกโดยการตัดใบออกตามกำ� หนดเวลาหากเกษตรกรสามารถน�ำใบหญ้าแฝกที่จ�ำเป็น ต้องตัดออกนี้ไปใช้ประโยชน์ และ/หรือเพ่ิมมูลค่าให้แก่ใบหญ้าแฝกก่อนนำ� ไปจ�ำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ หญ้าแฝก หรือแม้กระท่ังน�ำใบหญ้าแฝกที่ตัดออกไปขายโดยตรงให้แก่ผู้น�ำไปใช้ประโยชน์ หรือท�ำ ผลิตภัณฑ์ ก็จะท�ำให้เกษตรกรมีผลประโยชน์และรายได้ จึงมีความเต็มใจท่ีจะปลูกหญ้าแฝกเพ่ือการ อนุรักษ์ดินและน้�ำในพื้นท่ีการเกษตรของตนส�ำหรับการปลูกหญ้าแฝกเพ่ือประโยชน์นอกเหนือ จากการอนุรกั ษ์ดนิ และนำ�้ เช่น เพ่ือบำ� บัดนำ�้ เสีย ดดู ซับมลพิษ โลหะหนกั และสารก�ำจัดศัตรพู ืช ฯลฯ นน้ั ก็อาจน�ำต้นและใบ ตลอดจนราก ไปใช้ประโยชน์ได้ การใชป้ ระโยชนข์ องต้นหญา้ แฝกท่ีมีชวี ิต ต้นหญ้าแฝกท่ียงั มีชีวิตอยู่ สามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์ได้ดงั ต่อไปน้ี การใชป้ ระโยชนแ์ บบเฉพาะทว่ั ไป (Conventional Uses) ได้แก่ การใชป้ ระโยชนใ์ นด้านการ อนรุ กั ษด์ นิ และนำ้� ตลอดจนการปอ้ งกนั สง่ิ แวดลอ้ ม การบำ� บดั นำ้� เสยี เปน็ ตน้ ซง่ึ ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ในบทตน้ ๆ การใช้ประโยชน์อน่ื ๆ (Other Uses) ได้แก่ การน�ำหญ้าแฝกทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ (นน่ั คอื ไม่มกี าร เก็บเกีย่ ว) ดังเช่นในกรณดี งั ต่อไปนี้ อาหารสัตว์ (Forage) ใบหญ้าแฝกมีคุณค่าทางอาหารพอ ๆ กบั หญ้าอืน่ ๆ อีกทั้งยังไม่มสี าร ที่เป็นพิษ จงึ ไม่เป็นอนั ตรายต่อปศุสตั ว์ หญ้าแฝกลุ่มแหล่งพันธ์ุกำ� แพงเพชร 2 ให้คุณค่าทางอาหารสตั ว์ ดีกว่าแหล่งพนั ธ์ุอ่ืน ๆ มีโปรตนี 5.2 เปอร์เซน็ ต์ของนำ�้ หนกั แห้ง 72
ไม้ประดับ (Ornamental) หญ้าแฝกเป็นพืชที่มีรูปทรงของกอสวยงาม ใบมีท้ังตั้งตรงและ ห้อยย้อย จึงถกู น�ำไปใช้เป็นไม้ประดับ ทง้ั ในการปลูกลงดิน และในภาชนะ ส�ำหรับการปลูกลงดินนน้ั หญ้าแฝกช่วยทำ� ให้สวนหย่อม เฉลียงบ้าน ทางเดินสวยงามเม่ือ ปลกู ชิดตดิ กันเป็นแถว หญ้าแฝกจะท�ำหน้าท่เี ป็นแนวร้วั ท่สี วยงาม อีกท้งั ยังช่วยบดบงั ส่วนท่ไี ม่สวยงาม ของพนื้ ท่ี พรอ้ ม ๆ กบั ทที่ �ำหนา้ ทอ่ี นรุ กั ษด์ นิ และนำ�้ ของสถานทนี่ น้ั ๆ ดงั เชน่ พน้ื ทใ่ี นวงเวยี นสนามกอลฟ์ สถานพักผ่อนหย่อนใจ ริมอ่างเก็บนำ�้ รมิ ทางหลวง เป็นต้น หญา้ แฝกทป่ี ลกู ในภาชนะ มรี ปู ทรงตน้ ทสี่ วยงาม ใบสว่ นกลาง ๆ ของกอจะตงั้ ตรง แตใ่ บสว่ น รมิ ของกอจะโคง้ ปรกดนิ สามารถนำ� ไปใชต้ กแตง่ สถานที่ เชน่ บนเวทกี ารประชมุ หญา้ แฝกนานาชาตทิ กุ ครง้ั ก�ำหนดขอบเขตของพื้นท่ี (Boundary) ไดม้ กี ารใชห้ ญ้าแฝกปลกู ตามขอบของแปลงปลกู พืช เช่น แปลง ผัก หรือขอบเขตของไร่นา เนื่องจาก หญ้าแฝกไม่มีไหล จึงไม่ขยายขอบเขต ออกด้านข้างดังเช่นพืชอื่น ๆ แต่ จะคงอยู่ที่เดิม จึงท�ำหน้าที่ก�ำหนด ขอบเขตของพ้ืนท่ีได้ดีและถาวรอีกท้ัง ยงั ไมม่ เี มลด็ ทจ่ี ะปลวิ ไปตกในแปลงพชื เศรษฐกิจและกลายเป็นวัชพืช และยัง ช่วยลดแรงปะทะของลมท่ีอาจท�ำลาย พืชในแปลงปลูก เช่น พชื ผกั เป็นต้น ล่อแมลงศัตรูพืช แถวหญ้าแฝกที่ปลูกสลับกับแปลงพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าวโพดนน้ั ช่วยลด อันตรายจากการท�ำลายของหนอนกอ ท้ังน้ี เพราะตัวแก่ของหนอนกอชอบวางไข่บนใบของหญ้าแฝก มากกวา่ บนใบของตน้ ขา้ วโพด แตเ่ นอื่ งจากใตใ้ บของหญา้ แฝกมขี น หนอนทฟ่ี กั ตวั ออกจากไขจ่ งึ ไมส่ ามารถ เจาะล�ำต้นเข้าไปได้ แต่จะร่วงหล่นลงไปสู่พื้นดินแล้วก็ตาย หญ้าแฝกท่ีปลูกสลับกับอ้อยยังช่วยให้อ้อย ปลอดจากการทำ� ลายของหนอนกอ เพราะหนอนกอชอบวางไข่บนใบหญ้าแฝกมากกว่าบนใบอ้อย ย่ิงไป กวา่ นน้ั ใบหญา้ แฝกยงั เปน็ ทอี่ าศยั พกั ตวั ของแมลงห้�ำ ซง่ึ จะไปกำ� จดั แมลงศตั รพู ชื ทร่ี ะบาดในฤดปู ลกู พชื การใชป้ ระโยชนข์ องหญ้าแฝกที่ถกู ตัดออกแล้ว กิจกรรมการเกษตร วัสดุคลุมดิน ในดินแดนเขตร้อน น�้ำจะระเหยออกจากผิวดินจากการแผดเผาของแสงแดด ทำ� ใหเ้ กดิ ความแหง้ แลง้ แกพ่ ชื ปลกู การใชพ้ ชื คลมุ ดนิ เปน็ วธิ กี ารทเี่ หมาะสมทส่ี ดุ อนั หนง่ึ ในการสงวนความ ชุ่มชื้นไว้ในดิน ใบและต้นหญ้าแฝกท่ีตดั ออก ที่น�ำมาคลุมแปลงปลูกพชื จะช่วยบงั แสงแดดให้แก่ดิน จึง ช่วยลดอุณหภูมขิ องดนิ และสงวนความชุ่มชื้นไว้ในดนิ อกี ทงั้ ยังควบคมุ การเจริญเติบโตของวชั พืช ใบ n การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก 73
สาระน่ารู้เรอ่ื งหญ้าแฝก หญ้าแฝกมีความทนทานต่อการย่อยสลาย จึงมอี ายุการใช้งานได้นาน สามารถนำ� ไปใช้ในแปลงผัก รอบ โคนต้นไม้ผล และแปลงปลกู พืชไร่ ปุ๋ยหมัก ส่วนต้นและใบหญ้าแฝกท่ีถูกตัดออกมาน้ี สามารถน�ำมาเป็นวัตถุดิบในการท�ำ ปุ๋ยหมักได้เช่นเดียวกบั ซากพืชชนดิ อื่น ๆ กล่าวคือ ภายในระยะเวลา 60 - 120 วัน ต้นและใบหญ้าแฝก จะย่อยสลายเป็นปุ๋ยหมกั อย่างสมบรู ณ์ ลกั ษณะอ่อนนุ่ม ยุ่ย สนี ำ�้ ตาลเข้มจนถึงดำ� ได้มีการค�ำนวณว่า ปุ๋ยหมกั จากใบหญ้าแฝก 1 ตัน มีคณุ ค่าเทยี บเท่ากบั ปุ๋ยแอมโมเนยี มซัลเฟต 43 กโิ ลกรัม นอกจากนน้ั ปุ๋ยหมักหญ้าแฝกยงั มปี ริมาณธาตุอาหารทีส่ ำ� คัญได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม แคลเซยี ม และแมกนเี ซียม เพิ่มขนึ้ โดยมีค่าเฉลี่ย 0.86, 0.29, 1.12, 0.55 และ 0.41 เปอร์เซน็ ต์ ตามลำ� ดบั และ มีค่าความเป็นกรดด่าง (pH) เท่ากับ 7.0 นอกจากน้ี ปุ๋ยหมักหญ้าแฝก ยงั ให้สารปรับปรุงดนิ หรือกรด ฮวิ มิกอีกด้วย แท่งเพาะชำ� /วัสดุปลูกพืช โครงการพัฒนาดอยตงุ สามารถผลิตแท่งเพาะช�ำและวัสดุปลูกพืช จากใบและต้นหญ้าแฝก ซ่งึ เป็นผลติ ภณั ฑ์ใหม่ท่ีใช้การได้ดี อาหารสัตว์ ใบอ่อนของหญ้าแฝกหอมเช่น หญ้าแฝกแหล่งพันธุ์ “ก�ำแพงเพชร 2” สามารถใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยน�ำไปเลี้ยงวัวเล้ียงควายได้ ควรต้องตัดในช่วงอายุ 2 ถึง 4 สัปดาห์ หลังจากตัดครั้งก่อน นอกจากนี้พันธุ์หญ้าแฝกหอมจากอินเดียก็ใช้เลี้ยงปลาจีนได้ ในประเทศอินเดีย มีการปลูกหญ้าแฝกเป็นขอบเขตของท่ีดิน และตัดใบออกทุก ๆ 2 สัปดาห์เอาไปเลี้ยงปศุสัตว์ ใบหญ้าแฝกมีระดบั ของโปรตนี หยาบเหมาะสม และคณุ ค่าทางอาหารอ่นื ๆ พอเพยี งทีจ่ ะใช้เล้ยี งปศุสัตว์ โดยเฉพาะหากไดผ้ สมกบั อาหารสตั วท์ ม่ี คี ณุ ภาพอนื่ ๆ หญา้ แฝกหอมแหลง่ พนั ธก์ุ ำ� แพงเพชร 2 ใหค้ ณุ คา่ ทางอาหารสตั ว์ดีกว่าแหล่งพันธุ์อนื่ ๆ มีโปรตนี 5.2 เปอร์เซ็นต์ของนำ�้ หนกั แห้ง 74
วัสดุเพาะเห็ด ต้นและใบของหญ้าแฝกมีองค์ประกอบพวกเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส ลิกนนิ และโปรตีนหยาบ รวมทั้งแร่ธาตุต่าง ๆ ที่สามารถน�ำมาใช้เป็นวัสดุส�ำหรับเพาะเห็ดได้ โดยน�ำต้นและ ใบหญ้าแฝกมาหัน่ เป็นช้ินขนาด 2 - 4 เซนติเมตร แช่นำ�้ และหมกั นานประมาณ 3 - 4 วนั บรรจถุ งุ นงึ่ ฆ่าเช้ือตามกรรมวิธีของการเตรียมวัสดุเพาะเห็ด ต่อจากนน้ั จึงใส่เช้ือเห็ด เห็ดท่ีข้ึนได้ดีในวัสดุเพาะที่ เตรยี มจากต้นและใบแฝก ได้แก่ เห็ดนางรม เหด็ ภฐู าน เหด็ นางฟ้า เห็ดเป๋าฮื้อ และเหด็ หอม วสั ดุรองคอก (Livestock Bedding) ใบหญ้าแฝกสามารถใช้เป็นวัสดรุ องพนื้ คอกปศุสตั ว์ซง่ึ มีความทนทานเช่นเดียวกับฟางข้าว แต่ทนทานกว่าหญ้าคา ผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรม หญ้าแฝกที่มีใบเหมาะสมที่จะน�ำมาท�ำงานหัตถกรรมเป็นชนดิ หญ้าแฝกหอม ได้แก่ พันธ์ุ “ศรลี ังกา” แหล่งพันธุ์ “กำ� แพงเพชร 2” “สุราษฎร์ธาน”ี และ “สงขลา 3” แฝกหอมนี้มลี ักษณะเป็นมนั และยาว เมื่อถกู น้�ำใบจะนิม่ จึงเหมาะท่ีจะน�ำมาทำ� งานหตั ถกรรมได้ดี วธิ เี ตรยี มใบหญ้าแฝกก่อนน�ำมาสาน มีวิธีการเตรียมที่ง่ายและสะดวก โดยนำ� ใบหญ้าแฝกมา ตากแดด อาจจะตากบนตะแกรงยกพน้ื เพอื่ ใหอ้ ากาศถา่ ยเทดา้ นลา่ งไดด้ ว้ ย กจ็ ะท�ำใหใ้ บแหง้ เรว็ ยงิ่ ขนึ้ ใช้ เวลาตาก 3 - 6 วัน หลังจากนกี้ น็ ำ� มาจักให้ได้ขนาดตามต้องการ ก่อนสานควรแช่นำ้� หรอื อาจจะลบู นำ�้ ท่ี ใบแฝกขณะทีส่ านก็ได้จะช่วยให้ใบนมิ่ และไม่บาดมือ งานหัตถกรรมท่ีสามารถใช้ใบหญ้าแฝกมาประดิษฐ์ ได้แก่ งานหัตถกรรมประเภทเคร่ือง จกั สาน และงานทอ ซง่ึ เป็นงานหัตถกรรมทเ่ี ป็นท่ีนยิ มและใช้ได้ทุกสถานท่ที กุ โอกาส สามารถน�ำมาเป็น ของใช้ได้หลากหลาย เช่น l ผลติ ภณั ฑ์ตะกร้าและภาชนะ ได้แก่ ตะกร้า กระจาด กระด้ง และภาชนะรองต่าง ๆ l ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมเคร่ืองประดับบ้าน ได้แก่ นาฬิกาแขวน กรอบรูป กรอบกระจก โป๊ะไฟ ดอกไม้ n การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก 75
สาระนา่ รู้เร่อื งหญา้ แฝก l ผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งตกแตง่ กาย ได้แก่ กระเป๋า หมวก เข็มขดั เข็มกลัดตดิ เสือ้ ผลติ ภัณฑ์ 76 อื่น ๆ ได้แก่ แฟ้มเอกสาร ปกไดอารี่ และเสื่อ เป็นต้น สำ� หรบั รากหญา้ แฝกทม่ี กี ลนิ่ หอม นำ� มา ประดิษฐ์เป็นพดั ไม้แขวนเสือ้ หรือใช้ผสมรวมกับ ใบและดอกไม้อบแห้งเป็นบุหงา ผลติ ภณั ฑ์เชอื กหญ้าแฝก ใบหญ้าแฝก ที่สมบูรณ์ เม่ือน�ำมาตากแห้งใช้ผลิตเป็นเส้นเชือก ใช้ในกระบวนการผลติ เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น ถ้าขว้นั ดว้ ยมอื เชอื กทไ่ี ดม้ เี นอ้ื ไมส่ ม�่ำเสมอ มลู นธิ โิ ครงการ หลวงร่วมกบั สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าฯ ได้ ออกแบบเคร่ืองมือผลิตเชือกหญ้าแฝก ช่วยเพิ่ม ประสทิ ธิภาพการผลติ เชือกได้รวดเรว็ และเนอื้ เชอื ก มคี วามสมำ่� เสมอ เชอื กหญา้ แฝกอาจนำ� ไปใชท้ ำ� ผลติ ภณั ฑ์ ได้อกี หลายรปู แบบ เช่น การผลิตเก้าอจี้ ากเชอื กใบ หญ้าแฝกใช้โครงหวายและไม้อัด สามารถทดแทน หวายได้เป็นอย่างดี การใช้ประโยชน์จากความหอม เครอื่ งหอม หญา้ แฝกมชี อื่ เรยี กในภาษา องั กฤษวา่ Vetiver แผลงมาจากภาษาทมฬิ ซง่ึ เป็น เผา่ พนั ธข์ุ องชนกลมุ่ นอ้ ยทางตอนเหนอื ของประเทศ อินเดยี ว่า Vetivern แปลว่า “รากหอม” การใช้ราก หญา้ แฝกเพอื่ ทำ� นำ้� หอมและเครอื่ งหอม ไดแ้ ก่ ใชอ้ บ เส้ือผ้า สบู่ผสมกับสีผ้ึง และดินสอพอง ได้มีอยู่ อย่างแพร่หลายในประเทศในเขตร้อนที่มีหญ้าแฝก ในธรรมชาตไิ ดแ้ ก่ อนิ เดยี เฮติ ฟจิ ิ ศรลี งั กา บราซลิ ฮอนดรู สั กวั เตมาลา และเม็กซิโก เป็นต้น คนไทยสมัยก่อนได้เคยใช้ส่วนราก หญ้าแฝกเป็นส่วนผสมของเครื่องหอม อบเสื้อผ้า ผสมในน�้ำมันใส่ผมและน้�ำมันหอมระเหยส�ำหรับ
ทาถู น้�ำมันหอมระเหยจากรากหญ้าแฝกจะมคี วามแตกต่างกนั ระหว่างพนั ธุ์ ดงั นน้ั การสกัดนำ้� มันหอม ระเหยเชงิ อุตสาหกรรมต้องแสวงหาคดั เลือกพันธ์ุและวิธีการปลกู ดแู ลรักษาเป็นการเฉพาะทางตา บุหงาร�ำไป คือกลีบและเกสรดอกไม้แห้ง รวมทั้งเคร่ืองเทศบางอย่าง ท่ีบรรจุไว้ใน ขวดโหลแก้ว เพื่อรักษากล่ินหอมให้อยู่ทนนาน ได้มีการน�ำรากแห้งของหญ้าแฝกมาเป็นส่วนผสม ของบหุ งาร�ำไป วสั ดกุ ่อสร้าง 77 มุงหลงั คา (Roof thatch) คนไทยใช้ส่วน ต้นและใบหญ้าแฝกเป็นวัสดุมุงหลังคาเช่นเดียวกับการ ใช้ใบจาก ก่อนที่จะเปลี่ยนมาใช้ใบหญ้าคาที่หาง่ายมา เป็นเวลาช้านาน หญ้าแฝกทนี่ ำ� มาใช้เป็นวสั ดุมุงหลังคา ควร เลือกหญ้าแฝกท่ตี ้นโตสมบรู ณ์อายุ 1 ปีขน้ึ ไป ใบเริ่ม เปล่ียนจากเขยี วเป็นเหลือง แต่ยังไม่แห้ง โดยท่ัวไปจะ เกบ็ เกย่ี วในช่วงเดอื นมกราคมถงึ กุมภาพันธ์ เกษตรกร จะเกยี่ วตน้ เหนอื ดนิ ประมาณ 1 ฝา่ มอื หรอื ต�่ำกวา่ นำ� มา สางเอาใบสนั้ หรอื เศษใบออกผงึ่ แดดใหแ้ หง้ และมดั รวม กนั ไวเ้ ปน็ มดั ใหญ่ เรยี กวา่ “โคน” โดยทวั่ ไป 1 โคนมี 30 กำ� ซงึ่ สามารถทำ� ตบั แฝกได้ 5 - 7 ตบั เมอื่ ตอ้ งการจะทำ� ตบั หญ้าแฝกหรือท่ีเรยี กว่า “กรองแฝก” หรือ “ไพแฝก” จะใชไ้ มไ้ ผห่ รอื ไมร้ วกเปน็ แกนกลางหยบิ หญา้ แฝก 1 จบั หรอื 1 หยบิ ขนาดเทา่ หวั แมม่ อื หรอื ประมาณ 5 - 6 ตน้ ซ่ึงประกอบด้วยใบประมาณ 12 - 16 ใบ พบั 1 ส่วน 3 ใหส้ ว่ นโคนตน้ อยดู่ า้ นสน้ั และสว่ นปลายใบเปน็ ดา้ นยาว ต่อจากนนั้ ใช้เถาวัลย์ ตอกหรือวัสดุอ่นื ๆ มัดให้แฝก เรยี งติดกันให้แน่น แฝก 1 ตับ มคี วามยาว 120 - 170 เซนตเิ มตร ประกอบด้วยต้นและใบหญ้าแฝกประมาณ 150 จบั หรือต้องใช้ต้นหญ้าแฝกประมาณ 750 - 900 ต้นต่อ 1 ตับแฝกเม่อื มงุ หลงั คาจะใช้ด้านโคนใบ (ด้าน ส้นั ) อยู่ด้านในของเรอื น ส่วนด้านปลายใบ (ด้านยาว) จะอยู่ด้านนอกวางเรยี งทับกันจากล่างขน้ึ บน หญ้าแฝกเป็นวัสดุมุงหลังคาท่ีมีคุณสมบัติ ดีกว่าการใช้หญ้าคามาก เพราะส่วนต้น และใบของ n การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก
สาระนา่ รเู้ ร่ืองหญา้ แฝก หญ้าแฝกมีไขเคลือบ มกี ลน่ิ หอมเฉพาะตัวและมักจะไม่ถกู แมลงทำ� ลาย อายุการใช้งานของหลังคาหญ้า แฝกจะขึ้นอยู่กับความประณตี ของการกรองแฝกหรือไพแฝกให้เป็นตับ ต้นและใบหญ้าแฝกท่ีมีความถ่ี จะมีความคงทน รวมทง้ั ลกั ษณะการวางตับแฝกบนหลงั คา ถ้าหลังคาลาดเทมาก เช่น หลงั คาเรือนทรง ไทย แฝกจะมอี ายุใช้งานได้ทนนานกว่าหลังคาทเ่ี อยี งราบ ยุ้งฉางหญ้าแฝก-ดินเหนียวผสม (Vetiver-clay composite silo) การใช้หญ้าแฝก กับดินเหนียวในการก่อสร้างยุ้งฉางราคาถูกเป็นตัวอย่างแก่กสิกรในชนบท ได้ด�ำเนินการโครงการ ส่วนพระองค์ ในพระตำ� หนกั จติ รลดารโหฐาน โดยมขี ้ันตอนการก่อสร้างดังนี้ ยุ้งฉางหญ้าแฝกดินเหนียวสาธติ สถานทีก่ ่อสร้าง : โครงการส่วนพระองค์ สวนจติ รลดา รปู แบบ : ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 3.00 เมตร สงู 3.00 เมตร ยกพนื้ สงู 1.20 เมตร (เปน็ ทางออกขา้ วเปลอื ก) ความจุ 20 ลกู บาศกเ์ มตร (ประมาณ 10 เกวยี น) 78
รายละเอยี ดงานโครงสร้างและสถาปัตยกรรม ฐานราก คอนกรีตเสรมิ เหลก็ (ขึ้นอยู่กบั สภาพดนิ ) กำ� แพงและพ้นื ก่อซีเมนต์บล็อกร่วมกับคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ผนงั ยุ้งฉาง แท่งแฝกดินเหนียว เคลือบผิวด้วยมูลวัวสด ผสมดินเหนียวและ หญ้าแฝกป่น หลงั คา โครงสร้างไม้ไผ่ขั้นแรก เรียงด้วยแท่งแฝกดินเหนียว เคลือบผิวด้วย มูลวัวสดผสมดินเหนียวและหญ้าแฝกป่น โครงสร้างไม้ไผ่ขั้นที่สอง มุง ด้วยก�ำหญ้าแฝกมดั ซ้อนกัน ฐานราก กำ� แพงและพน้ื วางผงั ขดุ ดนิ ถงึ ระดบั ชนั้ ดนิ เดมิ หรอื ตำ่� กวา่ ระดบั พน้ื ทอี่ ยา่ งนอ้ ย 0.60 เมตร (เป็นชนั้ ดินท่มี ีความแข็งแรงในการรับ นำ�้ หนกั ได)้ บดอดั กน้ หลมุ ดว้ ยเศษคอนกรตี อฐิ หกั และทรายหยาบ เทคอนกรตี หยาบ วางเหล็กเสริม โผลเ่ หลก็ สำ� หรบั กำ� แพง เทคอนกรตี ฐานราก (ใชด้ นิ ด้านข้างเป็นแบบ) ผูกเหล็กเสรมิ กำ� แพง ก่อซีเมนต์ บล็อกความหนา 7 เซนติเมตร ท้ังสองด้านเพ่ือ เป็นแบบสูง 1.20 เมตร เทคอนกรีตก�ำแพงหนา 0.10 เมตร ต้ังแบบพื้นเอียงเข้าหาศูนย์กลางโดย กั้นช่องส�ำหรับทางออกของข้าวเปลือกและลมเข้า ขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลาง 0.20 เมตร ผูกเหล็กพ้ืน โผลเ่ หลก็ สำ� หรบั ยดึ ผนงั ยงุ้ ฉาง เทคอนกรตี พนื้ หนา 0.10 เมตร ผนังยุ้งฉาง ขั้นตอนการเตรียมหญ้าแฝกและดินเหนียว เส้นใยจากหญ้าแฝกได้จากน�ำ หญ้าแฝกสดตากแดดประมาณ 4 - 5 วัน เพื่อลดความช้ืนและกำ� จัดธาตอุ าหารของแมลงและเชือ้ ราโดย จะเหลอื เพยี งเสน้ ใยทแ่ี หง้ มคี วามชนื้ ไมเ่ กนิ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ และดนิ เหนยี วตอ้ งปราศจากเศษใบไมร้ ากไมห้ รอื วตั ถุเจือปน โดยขุดลกึ จากผวิ ดินลงไปประมาณ 30 เซนติเมตร ให้นำ� ดินเหนียวตากแดดประมาณ 4 - 5 วนั เพอื่ ลดปรมิ าณนำ�้ และธาตอุ าหารในดินเหนียว (อาจจะทบุ เป็นก้อนเล็ก ๆ เพอื่ ให้แห้งเร็วขึน้ ) โดยจะ เหลือความชนื้ ไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ เมื่อจะใช้งานค่อยนำ� ดินเหนียวผสมนำ้� อัตราส่วนประมาณ 2 ต่อ 1 (ดินเหนยี วต่อนำ�้ ) แช่น้ำ� ไว้ 24 ชั่วโมง ก่อนที่จะนำ� มาคลกุ เคล้าจนเป็นเน้ือเดียวกนั หากเตมิ นำ้� มากเกิน ไปจะทำ� ใหแ้ ห้งช้าและทำ� ใหห้ ญ้าแฝกเนา่ ได้ และหากขน้ เกนิ ไปจะทำ� ให้ทำ� งานยากและนำ้� ดนิ เหนยี ว (clay slurry) ไม่สามารถแทรกเข้าในแท่งแฝกได้ทั่วถงึ n การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก 79
สาระนา่ รเู้ รื่องหญ้าแฝก จากนน้ั นำ� เส้นใยหญ้าแฝกทเี่ ตรยี มมามัดรวมกันเป็นกำ� ประมาณ 140 - 150 กรัม (140 - 150 ใบ) แบ่งคร่ึงสลับหัวท้ายเพื่อให้ได้ขนาดใกล้เคียงกัน จุ่มลงในนำ้� ดินเหนียวให้ท่ัวแล้วรูดนำ�้ ดินเหนียวท่ีมาก เกนิ ออก เพอ่ื ให้แท่งแฝกคงรปู ซึง่ จะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 - 5 เซนติเมตร สามารถก่อ สูงได้ไม่เกนิ 4 - 5 เซนตเิ มตร การก่อแท่งแฝกดนิ เหนยี วจะด�ำเนนิ การขณะปั้นสดและนำ� มาเรียงต่อกนั 4 แถว ความหนาของผนงั แฝกดินเหนียวประมาณ 18 เซนติเมตร โดยใช้นำ้� ดนิ เหนียวเป็นตัวประสาน สามารถก่อสงู ได้ไม่เกิน 30 - 40 เซนตเิ มตร แล้วปล่อยให้แห้งโดยตากแดดประมาณ 3 - 4 วนั ค่อย ด�ำเนนิ การก่อชั้นถดั ไปจนได้ความสูงท่ตี ้องการ และควรเผ่ือความสูงอีกประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ในชน้ั สุดท้ายส�ำหรับการทรุดตัว (settlement) และเสียเหล็กเพ่ือยึดคานคอนกรีตเสริมเหล็กทับหลังขนาด 0.12 x 0.18 เมตร หรอื ใช้ไม้เนือ้ แข็งขนาด 2 x 6 น้ิว ส�ำหรับโครงหลงั คา หมายเหตุ : ดินเหนียวท่ีน�ำมาใช้เป็นชุดดิน รงั สติ (Rangsit series) สามารถจำ� แนกดนิ ตาม อนกุ รมวิธานดิน (Soil Taxonomy 1999) เป็น Very-nif e mixed semiactive sohyperther- mic Sulfa queptic Dystraquerts การเคลอื บผิวผนงั แฝกดนิ เหนียว การ เคลือบผวิ ผนงั แฝกดินเหนยี วจะด�ำเนนิ การหลังจาก ผนงั แฝกดนิ เหนยี วแหง้ สนทิ แลว้ โดยเคลอื บดว้ ยมลู วัวสดผสมดนิ เหนียว แกลบหรอื หญ้าแฝกป่นผสม น้�ำพอทำ� งานสะดวก เคลอื บหนาประมาณ 1 - 1.5 เซนติเมตร แล้วทงิ้ ไว้ให้แห้ง วสั ดเุ คลอื บนส้ี ามารถ ป้องกนั การชะล้างแท่งแฝกดนิ เหนยี วจากฝนได้ ซึง่ หากพบการหลุดล่อนควรด�ำเนนิ การซ่อมแซมเพื่อ เพ่ิมอายกุ ารใช้งาน โครงหลังคา ไม้ไผ่เป็นวัสดุหลักในการก่อสร้างโครงหลังคายุ้งฉาง โดยใช้ไม้ไผ่ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 4 - 5 เซนติเมตร วางพาดขอบคานคอนกรีตเสริมเหล็กทับหลังและเชื่อมต่อ ตรงกลางด้วยข่อื ไม้เนอื้ แข็งขนาด 2 x 4 นิว้ สด่ี ้าน และมีเหลก็ วงแหวนเป็นตัวยึดโดยเว้นช่องเปิดขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เซนติเมตร ส�ำหรับติดต้ังลูกหมุนระบายอากาศ หลังจากนน้ั จึงน�ำแท่งแฝก ดนิ เหนยี ววางเรยี งวางบนโครงหลงั คาชนั้ แรกเสมอื นเปน็ ฝา้ เพดานปอ้ งกนั ความร้อนและปอ้ งกนั แมลงเข้า จากนนั้ จดั ทำ� โครงหลงั คาชน้ั ทส่ี องพรอ้ มวางระแนงไมไ้ ผผ่ า่ ครงึ่ วางหา่ งกนั 30 เซนตเิ มตร แลว้ มงุ หลงั คา ด้วยหญ้าแฝกตากแห้งมัดเป็นก�ำเพื่อบังแดดและฝน และเพ่ือป้องกันการกระพือของมัดหญ้าแฝกกรณี เกดิ ลมแรง ควรคาดด้วยซีกไม้ไผ่เป็นรปู ข้าวหลามตดั อกี ชั้นหนงึ่ 80
วสั ดทุ ดแทนซีเมนต์ หญ้าแฝกซงึ่ เป็นเศษเหลือจากการบ�ำรงุ รักษา เม่อื น�ำมาตากให้แห้งสนทิ แล้วน�ำไปเผาในเตาเผา จะได้เถ้าซึ่งมีส่วนประกอบของซิลิกาและอะลูมินาเป็นส่วนใหญ่ จึงมีคุณสมบัติ เป็นวสั ดปุ อซโซลาน น�ำมาใช้เป็นวัสดุผสมในคอนกรตี เพื่อแทนปูนซีเมนต์หรือลดการใช้ปูนซเี มนต์ เพ่อื ลดต้นทุนหรือเพ่ือปรับปรงุ คณุ สมบัติของคอนกรตี ให้เหมาะสมกบั สภาพการใช้งานได้ดยี ิ่งขึน้ จึงเป็นอกี ทางเลือกหนง่ึ ในการน�ำหญ้าแฝกมาใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง แผน่ กระดาน ใบหญา้ แฝกแหง้ นำ� มาสบั บด แลว้ ผสมชนั้ แฝกรว่ มกบั กาว ทำ� ใหเ้ ปน็ แผน่ แลว้ นำ� ไปอบท่อี ณุ หภมู ิประมาณ 150 องศาเซลเซยี ส ก็จะได้แผ่นแฝกอัดใช้แทนแผ่นกระดานนำ� มาผลติ เป็น เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ ใช้แทนไม้ได้ บรรจภุ ัณฑ์ หม้อและกระถาง เมอ่ื นำ� ดนิ เหนียวผสมกบั ใบหญ้าแฝก ตากแห้งป่นในอัตราส่วน 10 : 1 ข้ึนรูปเป็นภาชนะ นำ� ไปเผาท่ี อุณหภูมิ 1,000 ถึง 1,200 องศาเซลเซียสจะได้หม้อและกระถางที่ มีคุณภาพใกล้เคียงกับหม้อและกระถางดินเผาทั่ว ๆ ไป สามารถ ใช้แทนพลาสติกได้ดี ถ้าน�ำไปใช้เป็นกระถางปลูกพืชก็จะช่วยรักษา สงิ่ แวดลอ้ มไดด้ ี เพราะสามารถใชแ้ ทนกระถางพลาสตกิ กระถางดนิ ผสมหญา้ แฝกอาจไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเผากไ็ ด้ ซง่ึ เปน็ การประหยดั พลงั งาน และเมอ่ื ใช้แล้วสามารถย่อยสลายได้ง่ายอีกด้วย อ่างน�้ำ เชือกหญ้าแฝกขนาดใหญ่ น�ำมาใช้ทำ� โครงสร้าง ภายในของอ่างน�้ำ บ่อนำ�้ หรอื บ่อเลย้ี งปลามีความแขง็ แรง ใช้ได้ผล ดี และมีค่าใช้จ่ายทไ่ี ม่แพง เชื้อเพลิงเขียว เศษของต้นและใบหญ้าแฝกท่ีไม่ได้ใช้ ประโยชน์อน่ื ใดแล้ว สามารถน�ำมาผสมรวมกับผกั ตบชวา หมักเป็น ตวั ประสานในอตั ราส่วน หญ้าแฝก 3 ส่วน ผักตบชวาหมกั 2 ส่วน อดั เปน็ แทง่ ดว้ ยเครอ่ื งอดั แทง่ เชอื้ เพลงิ โดยใชแ้ กนกระบอกอดั ขนาด ประมาณ 1.7 เซนตเิ มตร แทง่ เชอ้ื เพลงิ มกี ารเผาไหมด้ แี ละมคี วนั นอ้ ย และให้ค่าความร้อนสูง โดยใช้เวลาในการต้มนำ�้ 1 ลติ ร 5 นาที แล้ว ยงั ตดิ ไฟต่อไปได้อีกเป็นเวลานาน 28 นาที เยอื่ และกระดาษ วธิ กี ารผลติ เยอื่ หญา้ แฝกทำ� ไดโ้ ดยเลอื กตดั ใบหญา้ แฝกอายุ 3 - 6 เดอื น นำ� ไปตากแห้งใช้ใบหญ้าแฝกที่ตากแห้งใส่หม้อต้มความดันสงู อุณหภูมปิ ระมาณไม่เกนิ 150 องศาเซลเซยี ส ใช้เวลาต้มประมาณ 2 - 3 ช่วั โมง (ใส่นำ้� 2 ใน 3 ส่วนของถัง ใส่โซดาไฟประมาณ 10 - 20 เปอร์เซ็นต์) ล้างน้�ำให้เนอื้ เยื่อหมดลื่น แล้วนำ� มาฟอกสี โดยใส่นำ�้ 2 ใน 3 ของถัง ใส่คลอรนี ผง 1 ขนั น�้ำ แช่เนื้อเยอื่ ทีไ่ ด้ไปท�ำกระดาษ โดยเกล่ียเนื้อเยอ่ื ให้ท่วั พมิ พ์ ยกไปผง่ึ แดดให้แห้ง n การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก 81
สาระนา่ รู้เรอื่ งหญ้าแฝก หนว่ ยงานหลักในการให้ความรแู้ ละสนับสนนุ กลา้ พันธ์หุ ญ้าแฝก 1) รายชอ่ื ส�ำนกั งานพัฒนาที่ดนิ และทตี่ ้ังทั้ง 12 เขต สำ� นกั งานพฒั นาท่ดี นิ เขต 1 305 (รงั สติ -นครนายก) กิโลเมตรท่ี 17 ต�ำบลล�ำผกั กดู อำ� เภอธญั บุรี จังหวดั ปทุมธานี 12110 สถานที่ ทต่ี งั้ โทรศพั ท์ 1. สถานีพฒั นาที่ดิน 305 (รังสิต-นครนายก) กโิ ลเมตรท่ี 17 โทร. 0 2577 3370-3 จังหวัดปทมุ ธานี ตำ� บลลำ� ผักกูด อำ� เภอธญั บุรี จังหวดั ปทมุ ธานี โทรสาร 0 2577 1141 12110 โทร. 0 3739 1298 2. สถานีพัฒนาทด่ี ิน 12 หมู่ 3 ตำ� บลองครักษ์ อำ� เภอองครักษ์ โทรสาร 0 3739 1612 จังหวัดนครนายก จังหวัดนครนายก 26120 โทร. 0 3626 8016 โทรสาร 0 3626 8015 3. สถานีพัฒนาที่ดนิ 36 หมู่ 8 ตำ� บลพกุ ร่าง อำ� เภอพระพทุ ธบาท โทร. 0 3665 8354 จังหวดั สระบรุ ี จังหวดั สระบรุ ี 18120 โทรสาร 0 3665 8355 โทร. 0 2957 3299 4. สถานพี ฒั นาที่ดนิ 422/1 หมู่ 6 ตำ� บลนคิ มสร้างตนเอง โทร. 0 1924 7675 จงั หวดั ลพบรุ ี อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดลพบรุ ี โทร. 0 3430 1651 โทรสาร 0 3430 1653 5. สถานพี ัฒนาทดี่ นิ 83 หมู่ 1 ต�ำบลหนองมะโมง ก่งิ อำ� เภอ โทร. 0 3541 4444 จงั หวัดชัยนาท หนองมะโมง จังหวดั ชยั นาท 17120 โทรสาร 0 3541 4333 โทร. 0 3562 5898 6. สถานีพัฒนาทด่ี นิ 98 หมู่ 3 ตำ� บลทุ่งขวาง อำ� เภอกำ� แพงแสน จังหวัดนครปฐม จงั หวดั นครปฐม 73140 โทร. 0 2252 7196 7. สถานพี ฒั นาท่ีดิน 199/3 หมู่ 5 ตำ� บลรัว้ ใหญ่ อำ� เภอเมอื ง โทร. 0 1896 3938 จงั หวัดสุพรรณบรุ ี จงั หวดั สุพรรณบุรี 72000 โทร. 0 1379 4477 8. สถานีพัฒนาทด่ี นิ ช้นั 3 เทศบาลเมอื งอ่างทอง ถนนเทศบาล 8 จังหวัดอ่างทอง อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดอ่างทอง 14000 โทร. 0 1886 7499 9. สถานีพัฒนาทด่ี นิ อาคารพาณชิ ย์ 53 - 53/2 ตำ� บลเสาธงหนิ จังหวัดนนทบรุ ี อำ� เภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบุรี 11140 10.สถานพี ฒั นาทด่ี ิน 100/16 - 17 ตำ� บลบา้ นปอ้ ม อำ� เภอพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 13000 11.สถานีพัฒนาทดี่ นิ 7/182 หมู่บ้านพาร์ควลิ วิลล่า ต�ำบลบางแก้ว จงั หวัดสมุทรปราการ อ�ำเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ 10540 12.สถานีพฒั นาที่ดนิ 9/58 - 59 ถนนวรี ชน หมู่ 7 ต�ำบลบางมญั จงั หวดั สิงห์บุรี อำ� เภอเมอื ง จังหวดั สงิ ห์บุรี 16000 82
สำ� นกั งานพัฒนาทดี่ ินเขต 2 184/3 หมู่ 8 ต�ำบลทุ่งศขุ ลา อำ� เภอศรีราชา จงั หวัดชลบุรี โทร. 0 3835 1409, 0 3835 1410 สถานท่ี ที่ตงั้ โทรศพั ท์ 1. สถานีพัฒนาท่ีดิน ต�ำบลเหมอื ง อำ� เภอเมือง จงั หวัดชลบุรี โทร. 0 3839 2799 จงั หวดั ชลบรุ ี 20130 2. สถานีพัฒนาที่ดิน 8 หมู่ 8 ตำ� บลสระแก้ว อำ� เภอเมอื ง โทร. 0 3724 1669 จงั หวดั สระแก้ว จงั หวดั สระแก้ว 27000 3. สถานีพัฒนาท่ีดิน ตำ� บลบางปะกง อำ� เภอบางปะกง โทร. 0 3853 2029 จงั หวัดฉะเชิงเทรา จงั หวัดฉะเชิงเทรา 24130 4. สถานีพัฒนาท่ีดิน ต�ำบลมาบข่า อำ� เภอบ้านค่าย โทร. 0 3861 3060 จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง 21180 5. สถานีพัฒนาท่ีดิน ตำ� บลนายายอาม อำ� เภอนายายอาม โทร. 0 3935 8628 จังหวัดจนั ทบรุ ี จังหวดั จันทบรุ ี 22160 6. สถานีพัฒนาที่ดิน ถนนแสนตุ้ง ต�ำบลแสนตุ้ง อ�ำเภอเขาสมิง โทร. 0 3953 7218 จังหวดั ตราด จังหวัดตราด 23150 7. สถานีพัฒนาที่ดิน 391 ต�ำบลหน้าเมอื ง อำ� เภอเมือง โทร. 0 3721 6815 จังหวดั ปราจีนบุรี จังหวัดปราจนี บรุ ี 25000 8. ศูนย์ศึกษาการ อำ� เภอพนมสารคาม จงั หวัดฉะเชงิ เทรา โทร. 0 3859 9105-6, พฒั นาเขาหินซ้อนฯ 0 3851 3562 โทรสาร 0 3859 9106 ส�ำนกั งานพฒั นาทด่ี นิ เขต 3 ตำ� บลจอหอ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30310 โทร. 0 4437 1354 โทรสาร 0 4437 1716 สถานที่ ที่ตัง้ โทรศัพท์ 1. สถานีพัฒนาทีด่ นิ ต�ำบลปากช่อง อำ� เภอปากช่อง โทร. 0 4437 1659 จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30130 2. สถานพี ัฒนาทด่ี นิ ถนนพุทไธสง ต�ำบลคูเมือง อ�ำเภอคูเมือง โทร. 0 4461 4899 จังหวดั บุรีรมั ย์ จงั หวดั บรุ รี ัมย์ 31190 3. สถานีพัฒนาทดี่ ิน ถนนชัยภูมิ-หนองบัวแดง (กิโลเมตรท่ี 7.5) โทร. 0 4481 2186 จงั หวดั ชยั ภมู ิ ต�ำบลนาฝาย อำ� เภอเมอื ง จังหวัดชัยภมู ิ 36000 4. สถานีพัฒนาที่ดนิ 15 ถนนสายสุรินทร์-กระสัง กิโลเมตรที่ 10 โทรสาร 0 4451 8935 จงั หวัดสุรนิ ทร์ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สรุ นิ ทร์ 32000 โทร. 0 4451 5692 n หน่วยงานหลักในการให้ความรู้และสนับสนุนกล้าพันธุ์หญ้าแฝก 83
สาระนา่ รู้เร่ืองหญา้ แฝก ส�ำนกั งานพัฒนาท่ีดนิ เขต 4 ถนนแจ้งสนทิ ต�ำบลแจระแม อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี 34000 โทร. 0 4531 2646 สถานท่ี ท่ีต้ัง โทรศพั ท์ 1. สถานีพัฒนาท่ีดิน หมู่ 7 บ้านหนองสะใน ตำ� บลท่าช้าง โทร. 0 1877 4530 จังหวดั อบุ ลราชธานี อำ� เภอวารินชำ� ราบ จังหวัดอบุ ลราชธานี 34190 2. สถานีพัฒนาที่ดิน ริมอ่างเก็บน้�ำหนองญาติ ต�ำบลหนองญาติ โทร. 0 1984 4739 จังหวดั นครพนม อำ� เภอเมอื ง จังหวดั นครพนม 48000 3. สถานีพัฒนาที่ดิน บ้านกู่ หมู่ท่ี 12 ถนนปัทมานนท์ ตำ� บลสระคู โทร. 0 4353 2532 จงั หวดั ร้อยเอ็ด อำ� เภอสุวรรณภูมิ จังหวดั ร้อยเอด็ 45130 4. สถานีพัฒนาที่ดิน ถนนอรุณประเสริฐ กโิ ลเมตรที่ 12 โทร. 0 4577 3127 จังหวดั ยโสธร ตำ� บลหนองคู อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ยโสธร 35000 5. สถานีพัฒนาท่ีดิน 54-20 ถนนศรีวเิ ศษ ตรงข้ามศูนย์วจิ ัย โทร. 0 4561 6415 จังหวดั ศรสี ะเกษ พืชสวน ต�ำบลหนองหญ้าปล้อง อ�ำเภอเมือง จงั หวดั ศรสี ะเกษ 33000 6. สถานีพัฒนาท่ีดิน 148 หมู่ 17 ต�ำบลในเมือง อำ� เภอเมือง โทร. 0 4261 1830 จังหวดั มกุ ดาหาร จงั หวดั มุกดาหาร 49000 7. สถานีพัฒนาที่ดิน 87 หมู่ 4 ต�ำบลบุ่ง อำ� เภอเมือง โทร. 0 1873 6764 จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ จงั หวัดอำ� นาจเจริญ 37000 ส�ำนกั งานพฒั นาทด่ี ินเขต 5 ตรงข้ามมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ถนนมติ รภาพ ตำ� บลในเมือง อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดขอนแก่น 40000 โทร. 0 4324 6668 โทรสาร 0 4324 3913 สถานที่ ทต่ี งั้ โทรศพั ท์ 1. สถานีพัฒนาที่ดิน ตรงข้ามมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ถนนมติ รภาพ โทร. 0 4324 6759 จังหวัดขอนแก่น ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โทรสาร 0 4334 3264 40000 2. สถานีพัฒนาที่ดิน ถนนมติ รภาพ ต�ำบลโนนสงู อ�ำเภอเมอื ง โทรสาร 0 4220 7684 จังหวัดอดุ รธานี จังหวัดอดุ รธานี 41000 โทร. 0 4229 5063 3. สถานีพัฒนาที่ดิน ถนนแจง้ สนทิ กโิ ลเมตรท่ี 72 - 73 ตำ� บลแกง่ เลงิ จาน โทร. 0 4371 1526 จงั หวดั มหาสารคาม อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั มหาสารคาม 44000 โทรสาร 0 4371 1526 84
สถานที่ ที่ต้ัง โทรศพั ท์ 4. สถานีพัฒนาที่ดิน 221 ถนนชลประทาน ต�ำบลมีชัย อ�ำเภอเมือง โทร. 0 4241 1629 จงั หวดั หนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000 โทรสาร 0 4242 3118 5. สถานีพัฒนาท่ีดิน รมิ ถนนสายมหาสารคาม-กาฬสนิ ธ์ุ ต�ำบลอมุ่ เมา่ โทร. 0 4389 1418 จังหวัดกาฬสินธ์ุ อำ� เภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ 46120 โทรสาร 0 4389 1515 6. สถานีพัฒนาท่ีดิน บ้านดงขมุ ช้าง หมู่ท่ี 3 ตำ� บลพังขว้าง โทร. 0 4274 7121, จงั หวัดสกลนคร อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดสกลนคร 47000 0 4274 7024 โทรสาร 0 4271 1901 7. สถานีพัฒนาท่ีดิน 261 หมู่ 10 ถนนราษฎร์บัวขาว ต�ำบลล�ำภู โทร. 0 4231 1533 จงั หวดั หนองบวั ลำ� ภู อำ� เภอเมือง จงั หวดั หนองบวั ลำ� ภู 39000 โทรสาร 0 4231 1533 ส�ำนกั งานพัฒนาทดี่ ินเขต 6 164 หมู่ 3 ถนนโชตนา ต�ำบลดอนแก้ว อำ� เภอแม่ริม จงั หวัดเชยี งใหม่ 50180 โทร. 0 5322 2564 โทรสาร 0 5321 6219 สถานที่ ทีต่ งั้ โทรศพั ท์ 1. สถานีพัฒนาท่ีดิน 164 หมู่ 3 ถนนโชตนา ตำ� บลดอนแก้ว โทร. 0 5321 1064, จังหวดั เชียงใหม่ อ�ำเภอแม่รมิ จงั หวดั เชยี งใหม่ 50180 0 5322 2728 โทรสาร 0 5322 2728 2. สถานีพัฒนาท่ีดิน 571 ถนนขนุ ลมุ ประพาส อำ� เภอเมอื ง โทร. 0 5361 1853 จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน จงั หวัดแม่ฮ่องสอน 68000 โทรสาร 0 5361 3014 3. สถานีพัฒนาท่ีดิน บา้ นจำ้� ขม้ี ด หมู่ 2 ถนนซปุ เปอรไ์ ฮเวยเ์ ชยี งใหม-่ โทร. 0 5351 1477 จังหวดั ล�ำพนู ล�ำปาง ตำ� บลศรีบวั บาน อำ� เภอเมือง โทรสาร 0 5351 1477 จงั หวัดลำ� พูน 51000 4. สถานีพัฒนาที่ดิน ถนนซปุ เปอร์ไฮเวย์ ต�ำบลเวียงตาล โทร. 0 5426 9569 จงั หวดั ล�ำปาง อ�ำเภอห้างฉตั ร จังหวดั ลำ� ปาง 52190 โทรสาร 0 5426 9570 5. ศูนย์ปฏบิ ัติการ 164 หมทู่ ี่ 3 ถนนโชตนา ต�ำบลดอนแก้ว อ�ำเภอ โทร. 0 5322 2572 โครงการหลวง แม่ริม จงั หวัดเชยี งใหม่ 50180 โทรสาร 0 5321 7798 ภาคเหนอื สำ� นกั งาน พฒั นาทด่ี ินที่สงู n หน่วยงานหลักในการให้ความรู้และสนับสนุนกล้าพันธุ์หญ้าแฝก 85
สาระนา่ รู้เรอ่ื งหญ้าแฝก สำ� นกั งานพัฒนาท่ดี นิ เขต 7 เชงิ พระธาตเุ ขาน้อย ถนนพญาวัด ต�ำบลคู่ใต้ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดน่าน 55000 โทร. 0 5477 1588 โทรสาร 0 5477 1664 สถานท่ี ทีต่ ้ัง โทรศพั ท์ 1. สถานีพัฒนาที่ดิน ถนนสายแพร่-น่าน กิโลเมตรที่ 14 โทร. 0 5475 2469 จงั หวัดน่าน โทรสาร 0 5475 2215 2. สถานีพัฒนาท่ีดิน ถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่ 840 บ้านนางแล โทร. 0 5370 6167 จงั หวดั เชียงราย ต�ำบลนางแล อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย โทรสาร 0 5370 6165 57000 3. สถานีพัฒนาที่ดิน บ้านทุ่งศรี ตำ� บลทุ่งศรี อำ� เภอร้องกวาง โทร. 0 5459 7294 จังหวัดแพร่ จงั หวดั แพร่ 54140 4. สถานีพัฒนาที่ดิน หมู่ท่ี 3 ต�ำบลท่าวังทอง โทร. 0 5441 1091 จงั หวัดพะเยา ถนนสายห้วยบง-ห้วยเคยี น กโิ ลเมตรท่ี 4 โทรสาร 0 5441 1091 อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั พะเยา 56000 ส�ำนกั งานพฒั นาทดี่ ินเขต 8 ถนนสายพษิ ณุโลก-วัดโบสถ์ ตำ� บลหวั รอ อำ� เภอเมือง จงั หวดั พิษณุโลก 50180 โทร. 0 5524 1020, 0 5524 1008 โทรสาร 0 5524 5350 สถานที่ ทีต่ ง้ั โทรศพั ท์ 1. สถานีพัฒนาที่ดิน หมู่ท่ี 2 ตำ� บลชยั นาท อำ� เภอวังทอง จงั หวดั โทรสาร 0 5524 1718 จงั หวดั พษิ ณุโลก พิษณโุ ลก 65130 โทร. 0 5524 1417 2. สถานีพัฒนาท่ีดิน กโิ ลเมตรที่ 13 ถนนพษิ ณโุ ลก-เดน่ ชยั ตำ� บลนำ�้ รดิ โทร. 0 5541 1850 จงั หวัดอุตรดิตถ์ อ�ำเภอเมือง จงั หวัดอุตรดติ ถ์ 53000 โทรสาร 0 5541 2022 3. สถานีพัฒนาท่ีดิน ถนนสายเพชรบูรณ์-หล่มสัก กิโลเมตรท่ี 5 โทร. 0 5672 1456 จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ต�ำบลสะเดียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ โทรสาร 0 5674 1112 67000 4. สถานีพัฒนาที่ดิน ถนนเลย-เชียงคาน ต�ำบลนาอ้อ อ�ำเภอเมือง โทร. 0 4281 1328 จงั หวัดเลย จังหวดั เลย 42000 โทรสาร 0 4281 1328 5. สถานีพัฒนาที่ดิน 19 หมู่ 2 ตำ� บลโรงช้าง อำ� เภอเมอื ง จังหวัด โทร. 0 5661 2329 จังหวดั พิจติ ร พจิ ติ ร 66000 โทรสาร 0 5661 2329 86
ส�ำนกั งานพฒั นาท่ีดนิ เขต 9 201/1 หมู่ 1 ถนนริมแม่นำ้� ตำ� บลนครสวรรค์ อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดนครสวรรค์ 60000 โทร. 0 5622 8428, 0 5622 2372 โทรสาร 0 5622 2349 สถานท่ี ที่ตงั้ โทรศัพท์ 1. สถานีพัฒนาท่ีดิน 88 หมู่ 7 ต�ำบลยางตาล อำ� เภอโกรกพระ โทร. 0 5622 0021 จงั หวดั นครสวรรค์ จังหวดั นครสวรรค์ 60170 2. สถานีพัฒนาท่ีดิน 212 หมู่ 2 ต�ำบลหนองบัวใต้ อ�ำเภอเมือง โทรสาร 0 5551 2888 จังหวัดตาก จังหวัดตาก 63000 โทร. 0 5551 2299 3. สถานีพัฒนาที่ดิน ถนนพหลโยธิน กโิ ลเมตรท่ี 346 โทร. 0 5571 2740 จงั หวดั กำ� แพงเพชร ตำ� บลคลองแม่ลาย อำ� เภอเมอื ง โทรสาร 0 5571 2740 จังหวดั กำ� แพงเพชร 62000 4. สถานีพัฒนาท่ีดิน 74 หมู่ 1 ถนนอทุ ัยทพั ทนั ต�ำบลหนองพงั คำ� โทร. 0 5551 4833 จังหวดั อุทัยธานี อ�ำเภอเมือง จังหวดั อทุ ยั ธานี 61000 โทรสาร 0 5551 4833 5. สถานีพัฒนาท่ีดิน บา้ นสระบวั หมู่ 7 ตำ� บลวงั ใหญ่ อำ� เภอศรสี ำ� โรง โทร. 0 5561 4045-6 จงั หวดั สุโขทัย จงั หวดั สโุ ขทัย 64120 สำ� นกั งานพฒั นาทีด่ ินเขต 10 ถนนราชบุรี-จอมบึง กิโลเมตรท่ี 14.5 บ้านทุ่งน้อย ต�ำบลหนิ กอง อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบุรี 70000 โทร. 0 3237 3586, 0 3237 3517 โทรสาร 0 3237 3516 สถานที่ ที่ตง้ั โทรศัพท์ 1. สถานีพัฒนาท่ีดิน กิโลเมตรที่ 5 ถนนราชบุรี-จอมบงึ บ้านทุ่งน้อย โทร. 0 3237 3717 จงั หวัดราชบรุ ี ตำ� บลหนิ กอง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ราชบรุ ี 70000 โทรสาร 0 3237 3718 2. สถานีพัฒนาที่ดิน หมู่ 3 ถนนศาลากลางกองการสตั ว์ ตำ� บลปากแพรก โทร. 0 3451 7196 จังหวดั กาญจนบุรี อ�ำเภอเมือง จังหวดั กาญจนบุรี 71000 โทรสาร 0 3451 7198 3. สถานีพัฒนาที่ดิน 81 หมู่ 9 ตำ� บลบางเก่า อำ� เภอชะอ�ำ โทร. 0 3244 8376 จงั หวัดเพชรบุรี จงั หวัดเพชรบรุ ี 76120 โทรสาร 0 3244 8376 4. สถานีพัฒนาที่ดิน 83 หมู่ 1 ถนนสายธนบุร-ี ปากท่อ โทร. 0 3483 9264 จงั หวดั สมทุ รสาคร กิโลเมตรท่ี 42.5 ต�ำบลบางโทรัด อ�ำเภอเมือง โทรสาร 0 3483 9913 จังหวดั สมทุ รสาคร 74000 5. สถานีพัฒนาที่ดิน หมู่ 13 ต�ำบลบ่อนอก อำ� เภอเมือง โทร. 0 3261 1584 จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ 77210 โทรสาร 0 3261 1584 n หน่วยงานหลักในการให้ความรู้และสนับสนุนกล้าพันธุ์หญ้าแฝก 87
สาระน่ารูเ้ รอ่ื งหญ้าแฝก สำ� นกั งานพฒั นาท่ีดินเขต 11 หมู่ที่ 2 ต�ำบลท่าข้าม อำ� เภอพุนพิน จงั หวัดสุราษฎร์ธานี 84130 โทร. 0 7724 0647 สถานท่ี ทต่ี ั้ง โทรศพั ท์ 1.สถานพี ัฒนาที่ดิน 12 หมู่ 8 ตำ� บลท่าอุแท อำ� เภอกาญจนดิษฐ์ โทร. 0 7728 8640 จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี 84160 2. สถานพี ัฒนาทีด่ นิ ถนนเพชรเกษม บ้านท่งุ ละออง ต�ำบลราชกรดู โทร. 0 7784 0190 จงั หวัดระนอง อ�ำเภอเมือง จงั หวดั ระนอง 85000 โทรสาร 0 7784 0189 3.สถานีพัฒนาท่ดี นิ อ�ำเภอท้ายเหมือง จงั หวดั พังงา 82120 โทร. 0 7658 1406 จังหวดั พังงา โทรสาร 0 7643 4794 4. สถานพี ัฒนาท่ีดนิ ศูนย์ราชการนาสาร ตำ� บลนาสาร โทร. 0 7537 8377 จงั หวดั นครศรธี รรมราช อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั นครศรธี รรมราช 80000 โทรสาร 0 7537 8609 5.สถานีพฒั นาที่ดนิ หมู่ที่ 6 วงั ตะกอ อำ� เภอหลงั สวน โทร. 0 7754 1796 จงั หวัดชุมพร จงั หวัดชมุ พร 86110 โทรสาร 0 7754 1196 6.สถานพี ัฒนาทดี่ ิน 70470/5 ถนนอตุ รกจิ ตำ� บลกระใหญ่ โทร. 0 7562 2815 จังหวดั กระบ่ี อ�ำเภอเมือง จังหวดั กระบ่ี 81000 ส�ำนกั งานพฒั นาทด่ี ินเขต 12 ถนนสายแยกเกาะยอ-สะพานติณสูลานนท์ ต�ำบลเขาพะวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทร. 0 7433 3781, 0 7433 3212 โทรสาร 0 7433 3213 สถานท่ี ท่ตี ง้ั โทรศพั ท์ 1. สถานีพัฒนาท่ีดิน ถนนสายแยกเกาะยอ-สะพานติณสูลานนท์ โทรสาร 0 7447 7460 จังหวดั สงขลา ต�ำบลเขาพะวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทร. 0 7447 7462 2. สถานีพัฒนาท่ีดิน หมู่ท่ี 7 ถนนประชาสงเคราะห์ (สายเอก) โทร. 0 7473 7311 จังหวดั สตูล ต�ำบลควนกาหลง อำ� เภอควนกาหลง โทรสาร 0 7473 7312 จังหวัดสตูล 91130 3. สถานีพัฒนาท่ีดิน 8 หมู่ที่ 7 ถนนเพชรเกษม ตำ� บลบ่อทอง โทร. 0 7343 7220 จังหวัดปัตตานี อ�ำเภอหนองจิก จงั หวดั ปัตตานี 94170 โทรสาร 0 7343 7253 4. สถานีพัฒนาท่ีดิน 101 หมู่ท่ี 1 ตำ� บลธารโต อำ� เภอธารโต โทร. 0 7329 7025 จงั หวัดยะลา จงั หวดั ยะลา 95150 โทรสาร 0 7329 7160 88
สถานที่ ที่ตง้ั โทรศัพท์ 5. สถานีพัฒนาที่ดิน กโิ ลเมตรท่ี 74 ถนนเอเชีย พทั ลงุ -ร่อนวบิ ลู ย์ โทร. 0 7468 2168 จงั หวดั พทั ลุง หมู่ที่ 9 ต�ำบลโตนดด้วน อ�ำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 93110 6. สถานีพัฒนาที่ดิน กโิ ลเมตรที่ 19 ถนนนราธวิ าส-ตากใบ ต�ำบลตากใบ โทร. 0 7351 3535 จงั หวัดนราธวิ าส อำ� เภอตากใบ จงั หวดั นราธิวาส 96110 โทรสาร 0 7351 5998 7. สถานีพัฒนาท่ีดิน 7 ถนนเจมิ ปญั ญา ต�ำบลทบั เทยี่ ง อ�ำเภอเมอื ง โทร. 0 7521 2944 จงั หวัดตรงั จงั หวัดตรัง 92000 โทรสาร 0 7421 2944 8. ศูนย์ศกึ ษาการ อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดนราธวิ าส 96000 โทร. 0 7351 3560 พัฒนาพกิ ุลทองฯ โทรสาร 0 7351 3561 ข้อมลู จากกรมพัฒนาที่ดนิ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทร. 0 2579 0111 2) รายชอื่ ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาอันเนื่องมาจากพระราชดำ� ริ ทง้ั 6 ศนู ย์ สถานท่ี ท่ีตัง้ โทรศัพท์ 1. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขา อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โทร. 0 3859 9105-6 หินซ้อน อันเน่ืองมาจาก 24120 พระราชดำ� ริ 2. ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ตำ� บลกะลวุ อเหนอื อำ� เภอเมอื ง โทร. 0 7354 2062-3 พิกุลทอง อันเนื่องมาจาก จังหวัดนราธิวาส 96000 พระราชดำ� ริ 3. ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อำ� เภอท่าใหม่ จงั หวดั จันทบรุ ี 22120 โทร. 0 3938 8116-8 อ่าวคุ้งกระเบน อันเน่ือง มาจากพระราชดำ� ริ 4. ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาภพู าน ตำ� บลห้วยยาง อำ� เภอเมือง โทร. 0 4271 2975 อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ จงั หวัดสกลนคร 47000 5. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วย อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 0 5338 9163 ฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจาก 50220 พระราชดำ� ริ 6. ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทราย อำ� เภอชะอำ� จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทร. 0 3259 3252-3 อันเน่อื งมาจาก พระราชด�ำริ n หน่วยงานหลักในการให้ความรู้และสนับสนุนกล้าพันธุ์หญ้าแฝก 89
สาระน่าร้เู รื่องหญา้ แฝก โครงการพัฒนาและรณรงคก์ ารใช้หญา้ แฝกอนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริ จดั ท�ำโดย คณะอนกุ รรมการด้านวิชาการตดิ ตามและประเมนิ ผล การด�ำเนนิ งานพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอนั เนื่องมาจากพระราชดำ� ริ สำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำริ (สำ� นกั งาน กปร.)
Search