Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร

คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร

Description: คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร

Search

Read the Text Version

ก คู่มือการแปรรปู วตั ถดุ บิ สมนุ ไพร ฉบับนี้ มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ เผยแพรว่ ธิ ีมาตรฐานในการแปรรปู วตั ถุดบิ สมนุ ไพรสำหรบั เกษตรกร ผู้ประกอบการด้านสมนุ ไพร และผู้สนใจ โดยไดร้ บั งบประมาณ จากกลมุ่ จังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 เชยี งใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน ภายใตโ้ ครงการ Lanna Health Hub 2013 เน้ือหาประกอบดว้ ย การเก็บเกยี่ ววตั ถุดิบสมนุ ไพร การปฏิบัตกิ ารหลังการเก็บ เกี่ยวและแปรรูปสมนุ ไพรต่าง ๆ 14 ชนดิ การประเมนิ คณุ ภาพสมุนไพร การปนเปือ้ นโลหะหนักใน วตั ถุดิบและผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร เชือ้ จลุ นิ ทรยี ์ในผลติ ภณั ฑ์ยาสมนุ ไพร ได้รบั ความรว่ มมอื เป็นอยา่ งดี ดา้ นวชิ าการจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ และศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 1 เชียงใหม่ คณะผ้จู ัดทำหวังวา่ ข้อมลู การแปรรปู วตั ถุดบิ สมนุ ไพรฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ศู้ กึ ษาเกษตรกรและ ผูป้ ระกอบการด้านสมนุ ไพร ในการนำไปปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ ใหม้ มี าตรฐานหากมีขอ้ บกพรอ่ งอนั ใด คณะผจู้ ัดทำขอน้อมรับและจะไดป้ รับปรุงในครงั้ ต่อไป คณะผูจ้ ัดทำ กรกฎาคม 2556

ข รัฐบาลมีนโยบายพฒั นาใหป้ ระเทศไทยเป็นศนู ยก์ ลางบริการสขุ ภาพของเอเชีย (Medical Hub of Asia) ในธรุ กจิ บริการการแพทยแ์ ละทันตกรรม ธรุ กจิ สปาและนวด ธุรกจิ ผลิตภัณฑ์สมนุ ไพร และธรุ กิจการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือกจงั หวัดเชยี งใหม่ ตอบสนองนโยบายมาตง้ั แต่ ปี 2547 โดยใช้ช่ือโครงการ Chiang Mai Health Hub และตอ่ มาได้ขยายเป็นกลมุ่ จงั หวดั ภายใต้ ชื่อ โครงการ Lanna Health Hub ครอบคลมุ จังหวัดเชยี งใหม่ ลำพนู ลำปาง และแมฮ่ อ่ งสอน ธรุ กิจผลิตภณั ฑ์สมุนไพร มี Supply Chain ค่อนข้างยาวตงั้ แตต่ น้ น้ำ กลางนำ้ และปลายนำ้ ไดแ้ ก่ การคัดเลอื กพันธ์ุ สถานที่ เครือขา่ ยเกษตรกร และการเพาะปลูก ไทยใชม้ าตรฐาน GAP ไดแ้ ก่ การแปรรูปเบ้ืองต้น โรงงานผลติ ที่ได้มาตรฐาน GMP การประเมนิ คุณภาพ ภายใต้ห้องปฎิบัติการและวิธีการมาตรฐาน การวิจัยทางคลินิค ได้แก่ การเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ใหค้ วามรูท้ ี่ถูกตอ้ งเสรมิ สร้างจดุ แขง็ ของการตลาด และการนำตลาดทัง้ ภายในและ ภายนอกประเทศ ไทยแบ่งกลยทุ ธ์การดำเนนิ การเป็น 3 กลยุทธ์ ไดแ้ ก่ กลยุทธท์ ่ี 1 การเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน กลยุทธ์ที่ 3 การ ประชาสัมพนั ธ์และการตลาดซ่งึ สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั เชยี งใหม่ ได้รบั มอบหมายให้ทำเป็น กลยุทธ์ที่ 1 และ 2 กลยทุ ธ์ที่ 3 มอบหมายให้สำนักงานพาณชิ ยจ์ ังหวัดเชียงใหม่ เปน็ เจา้ ภาพหลกั การดำเนนิ งานพฒั นาผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพร

ค 1. กลยุทธ์ที่ 1 : การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสมุนไพร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงใหม่ ไดด้ ำเนินการดงั นี้ 1.1 การสรา้ งเครือข่ายผปู้ ระกอบการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ได้ดำเนินการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสมุนไพรรวม กลุ่มเป็นเครือข่ายต่าง ๆ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ชมรมผู้ประกอบการโรงงานผลิตยาสมุนไพรเชียงใหม่ ชมรมผูป้ ระกอบเคร่อื งสำอางจังหวดั เชยี งใหม่ เครอื ข่ายเกษตรอนิ ทรีย์ (ดูแลโดยเกษตรจงั หวัด) เครอื ข่ายผใู้ ชย้ าสมนุ ไพร ไดแ้ ก่ เครือขา่ ยหมอเมืองเชียงใหม่ สมาพนั ธก์ ารแพทยแ์ ผนไทยล้านนา 2. กลยทุ ธท์ ่ี 2 : การพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐาน สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดเชยี งใหม่ ไดด้ ำเนนิ การดังน้ี 2.1 การส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดำเนินการพัฒนา สมุนไพรครบวงจรตั้งแต่การคัดเลือกพันธ์ การเพาะปลูก จนถึงการสร้างโรงงานผลิตยาแผน โบราณต้นแบบ การประเมนิ คณุ ภาพสมุนไพร และรา้ นจำหนา่ ยยาสมนุ ไพรต้นแบบ 2.2 การจัดตั้งคลินิคให้คำปรึกษาผู้ประกอบการสมุนไพรรายบุคคลด้านการผลิต สมุนไพรมาตรฐาน GMP ด้านการขึ้นทะเบียนยาสมุนไพร และการขึ้นทะเบียนเครื่องสำอาง การตัง้ ตำรบั เครื่องสำอาง และเทคนคิ การแก้ไขปญั หาคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ 2.3 การพฒั นาโรงงานผลิตยาสมนุ ไพรตน้ แบบ ภาคเอกชน สาธารณสขุ จงั หวดั เชียงใหม่ ไดส้ ่งเสรมิ ให้ภาคเอกชนมกี ารพฒั นา โดยให้นักวชิ าการจากคณะเภสชั ศาสตร์ มช. ดำเนนิ การ สำรวจวิเคราะห์ข้อมูล การดำเนินงานของโรงงาน สูตรตำรับ วิธีการผลิต บรรจุภัณฑ์ให้มีมาตรฐาน และความน่าเชื่อถือเพิ่มมากขึ้น และการนำผู้ประกอบการไปศึกษาดูงานจากโรงงานผลิตยาสมุนไพร ทไ่ี ดม้ าตรฐานในกรุงเทพและจงั หวัดตา่ ง ๆ เพ่อื นำมาเปน็ แรงกระต้นุ ใหเ้ กิดการพฒั นา

ง 2.4 การจัดทำคู่มอื แปรรปู วตั ถุดบิ สมุนไพร เนือ่ งจากกระบวนการคดั เลือกและนำวัตถุดิบสมุนไพร มาเข้ากระบวนการผลิตในโรงงาน มีความสำคัญมาก เพราะจะสามารถลดปัญหาหลักที่สำคัญ 3 ประการ ได้แก่ ปัญหาด้านสิ่ง ปนเปื้อนทางกายภาพ ปัญหาการปนเปื้อนทางเคมี โลหะหนัก ปัญหาด้านเชื้อจุลินทรีย์ปัญหา ด้านสารสำคัญไม่ถกู ต้องหรือไม่สงู พอ ดังน้นั จึงได้เกิดความร่วมมือระหว่างสำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดเชียงใหม่ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เขต 1 เชยี งใหม่ ในการจดั ทำค่มู ือการแปรรปู วัตถุดิบสมุนไพร ใช้ในการเป็นแนวทางในการ เกบ็ เกยี่ ว การแปรรูปเบอ้ื งต้น และการจดั การต่าง ๆ ท่จี ำเป็นแกเ่ กษตรกรผู้ปลูกสมนุ ไพรดัง ปรากฎในบทต่อไป

จ 3. กลยุทธ์ที่ 3 การประชาสัมพนั ธแ์ ละการตลาด ดำเนนิ การโดยสำนกั งานพาณชิ ยจ์ งั หวัดเชียงใหม่ มีการเผยแพรข่ ้อมูลประชาสมั พันธผ์ า่ น สือ่ ตา่ ง ๆ ทง้ั ทางวารสาร ป้ายสนามบนิ (Bill Board) การรบั มอบผู้ประกอบการสมุนไพรท่ผี า่ น มาตรฐานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวดั เชียงใหมม่ าทำการบม่ เพาะให้เป็นธุรกจิ ทมี่ ีมาตรฐาน สูงขึ้นมีความเป็นมืออาชีพมากขึ้น มีความสามารถในด้านการค้าขายและการตลาดมากขึ้นโดย การเข้าส่รู ะบบ Chiang Mai Brand การดำเนินการจดั ประชุมวชิ าการสขุ ภาพนานาชาติตอ่ เน่ือง 6 ครัง้ และการจัดงานแสดงและจำหน่ายสินค้าด้านสขุ ภาพ ตอ่ เน่ือง 3 ครง้ั (Lanna Health Fair) ส่งผลให้เกิดการพฒั นาผ้ปู ระกอบการ และผลิตภณั ฑ์ตา่ ง ๆ อยา่ งตอ่ เน่ืองเพ่ือใหไ้ ดโ้ อกาส ในการนำสนิ ค้าและบรกิ ารสุขภาพมาแสดงในงานดังกลา่ วนอกจากน้ยี งั มีการนำผู้ประกอบการที่ มขี ีดความสามารถท่ีสูงขึ้นไปแสดงและจำหน่ายสินค้าสุขภาพในกรงุ เทพฯและต่างประเทศเชน่ งาน ThailandTravel Mart งาน Thailand Tourism Festival งานแสดงสินคา้ ในประเทศจีน ญ่ีปนุ่ พมา่ สิงคโปร์ เปน็ ตน้ โดยสรปุ แลว้ แมว้ า่ การพฒั นาสมนุ ไพรในจงั หวดั เชยี งใหมแ่ ละกลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบนจะมี ปญั หาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ มาก แตเ่ มอ่ื มคี วามรว่ มมอื กนั ระหวา่ งหนว่ ยงาน ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคการศกึ ษา มกี ารจดั การอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ งหลายปี กส็ ามารถคลี่คลายปัญหาต่าง ๆ สามารถพฒั นาสมนุ ไพรมาได้ในระดับหนง่ึ คาดว่าเมือ่ ดำเนินการอยา่ งต่อเนอื่ งโดยเฉพาะตน้ นำ้ คอื เกษตรกรผปู้ ลูกสมนุ ไพรจะไดร้ บั ประโยชนอ์ ยา่ งมาก เนอ่ื งจากผู้ประกอบการกลางนำ้ มีความต้อง การวัตถุดิบสมุนไพร ท่มี คี ณุ ภาพ และปรมิ าณทสี่ ูงมากขึ้นทุกปี ท้ังจะเป็นการลดการนำเขา้ วตั ถุ- ดิบสมนุ ไพรจากต่างประเทศส่งเสรมิ ให้เกดิ การพฒั นาตนเองด้านยาสมนุ ไพรมากขนึ้







การเกบ็ เกย่ี วพชื สมนุ ไพรมาใชใ้ นการเตรยี มยา พชื ทเ่ี กบ็ มาจะตอ้ งมปี รมิ าณสารออกฤทธเ์ิ ปน็ ไปตามข้อกำหนด ดงั น้นั จะต้องมกี ารจัดการในเร่อื งตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. ระยะเวลาการเก็บเกีย่ ว ปริมาณสารออกฤทธิ์ในสมุนไพรจะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ แต่ปัจจัย หนึ่งท่ีสำคัญ คอื ชว่ งระยะเวลาทเ่ี หมาะสมในการเกบ็ เก่ยี วพืชสมนุ ไพรซง่ึ จะมีความแตกต่างกนั ใน พืชสมุนไพรแต่ละชนิด และส่วนที่ใช้ของพืช เช่น สมุนไพรประเภทรากหรือหัวหรือเหง้า ควรเก็บในช่วงที่พืชหยดุ การเจริญเติบโตใบและดอกร่วง หมดหรือในชว่ งต้นฤดหู นาวถึงปลายฤดรู อ้ น เปลอื กรากหรือเปลือกต้น จะเก็บในช่วงระหว่างฤดูร้อนถึงฤดูฝน ใบหรือทั้งต้น ควรเก็บในช่วงที่พืชเจริญเตบิ โตมากทส่ี ดุ ดอกโดยทว่ั ไปเกบ็ ในชว่ งดอกเรม่ิ บานแต่ บางชนดิ กเ็ กบ็ ในชว่ งดอกตมู ผลและเมลด็ โดยทั่วไปมักเก็บตอนผลแกเ่ ตม็ ท่ี แต่บางชนิดจะเกบ็ ในชว่ งท่ีผลยงั ไมส่ ุก ระยะเวลา ทีเ่ หมาะสมในการเก็บเก่ียวของพืชสมุนไพรชนดิ ต่าง ๆ ตวั อย่างดังแสดงในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงระยะเวลาเกบ็ เกี่ยวของพชื สมนุ ไพรบางชนิด

2. วิธกี ารเก็บเก่ียว โดยทว่ั ไปวิธีการเกบ็ เกีย่ วส่วนของพืชสมุนไพรท่ีจะนำมาใช้ประโยชน์แบง่ ออกตามสว่ นที่ใช้ ดังน้ี 1) ประเภทรากหรือหัวหรือเหง้า การเก็บควรขุดอย่างระมัดระวัง เพื่อให้ได้รากหรือเหง้าที่สมบูรณ์ ไมถ่ กู ตดั หรอื มีแผลจากอปุ กรณ์ท่ใี ช้ขุดจากน้นั จึงตดั รากฝอยออก 2) เปลือกรากหรือเปลือกตน้ เกบ็ โดยการลอกเปลอื กต้นหรอื ราก สำหรับการลอกเปลอื กตน้ อย่า ลอกออกรอบท้งั ต้นควรลอกออกจากสว่ นกงิ่ หรอื แขนงย่อย หรือใชว้ ธิ ลี อกออกในลกั ษณะคร่ึงวงกลม กไ็ ด้เพื่อไม่ใหก้ ระทบกระเทอื นตอ่ ระบบการลำเลยี งอาหารของพืชและไม่ควรลอกส่วนลำต้นใหญ่ ของต้น 3) ประเภทใบหรือเกบ็ ทงั้ ต้น สำหรับใบเกบ็ โดยวิธีเด็ดหรือตดั สว่ นการเลอื กเกบ็ ใบแกห่ รอื ใบไมอ่ อ่ น ไมแ่ กเ่ กินไป (ใบเพสลาด) ขึ้นกับชนดิ ของพืชทร่ี ะบุใหเ้ ก็บ การเก็บท้งั ต้นจะตดั เอาเฉพาะสว่ นเหนือ ดนิ ขึ้นไป 4) ประเภทดอกเก็บโดยวธิ ีเด็ดหรือตัดดอกตมู ดอกเรม่ิ บานหรือดอกแหง้ ตามกำหนด 5) ประเภทผลและเมล็ดเกบ็ โดยใชว้ ิธเี ด็ดหรือวิธีตัด โดยทวั่ ไปมกั เก็บตอนผลแก่เต็มทแี่ ล้วแต่ บางชนิดจะเกบ็ ในชว่ งทผ่ี ลยังไม่สุก



เมื่อเก็บเกี่ยวพืชสมุนไพรออกจากแปลง อโลหะ ยาฆา่ แมลง และสารอะฟลาท็อกซิน ปลกู หรือตน้ พืชแล้วการปฏิบัติหลังการเกบ็ - เพอื่ ใหอ้ ยู่ในเกณฑ์ปลอดภยั ต่อผ้ใู ช้ ส่วนของ เก่ยี วทถี่ กู วธิ ีมคี วามสำคญั ต่อคณุ ภาพของพืช พชื บางชนดิ ไมส่ ามารถทำความสะอาดดว้ ย สมนุ ไพรท่ีได้อย่างมาก ซงึ่ ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ น้ำ เช่น ดอก ผล และเมลด็ ท่ีหลดุ ร่วงงา่ ย หลังการเกบ็ เกย่ี วขึ้นอยกู่ บั ชนิดของพชื สมุน อาจใชผ้ า้ สะอาดเช็ด รากหรอื ลำต้นทสี่ ะสม ไพร และส่วนของพชื สมนุ ไพรทีจ่ ะนำไปใช้ อาหารหรือผลบางชนิดควรนึ่งหรือลวกน้ำร้อน การปฏบิ ตั ิหลังการเกบ็ เก่ยี วพชื สมุนไพรโดย ก่อนทำให้แหง้ จะทำใหเ้ ก็บรกั ษาไดน้ าน ป้อง ทว่ั ไปมีข้นั ตอน ดังนี้ กนั การเกดิ เชอื้ รา อกี ทัง้ ความร้อนยงั ไปทำลาย เอนไซมซ์ ึง่ เปน็ ตัวเรง่ ใหเ้ กิดการสลายสารใน (1) การคัดแยกผลผลิต สมุนไพรได้ บางกรณีทส่ี ารออกฤทธ์ิสามารถ ภายหลังการเกบ็ เกย่ี วพืชสมุนไพรแล้ว ละลายนำ้ ไดด้ ี การลา้ งจะทำให้สูญเสียสาร จะต้องคัดแยกสิ่งปลอมปนออกจากผลผลิต ออกฤทธเ์ิ หลา่ นน้ั ได้ เชน่ สาหรา่ ยผมนาง สิ่งปนปลอมที่มักพบหรือปะปนมาและสามารถ การลา้ งดว้ ยนำ้ เพยี งหนึง่ หรือสองครง้ั จะทำ แยกออกดว้ ยสายตา ไดแ้ ก่ หนิ ดนิ ทราย ใหป้ ริมาณสารไอโอดีนในสาหรา่ ยลดลง สว่ นของพืชสมุนไพรที่มีรอยของแมลงหรือ โดยเฉลี่ยรอ้ ยละ 50 จงึ ไม่ควรแชส่ มุนไพร สัตว์กัดแทะ หรือส่วนของพืชที่เน่าเสียหรือ ในนำ้ นาน ๆ สำหรับสมุนไพรแหง้ จะเปราะ มีเชื้อรขึ้น นอกจากนี้อาจพบสว่ นอืน่ ของพืช หกั และหลุดรว่ งได้ง่าย การทำความสะอาด ท่ไี มใ่ ชห้ รือสมุนไพรอื่นที่คล้ายคลึงโดยทั่ว ต้องระวงั ถา้ จำเปน็ ต้องลา้ งอาจใชภ้ าชนะที่ ไปส่วนของพืชที่อยู่ใต้ดินจะมีสิ่งปนเปื้อน มีตะแกรงกันสมนุ ไพรไหลลอยตามนำ้ ไป มากกว่าส่วนของพืชที่อยู่เหนือดินจึงควรคัด เลือกสิ่งปนปลอมเหลา่ นีอ้ อกใหห้ มดก่อนนำ (3) การตดั แต่งและลดขนาด ไปทำความสะอาด ก่อนจะนำพชื สมนุ ไพรไปทำให้แหง้ (2) การทำความสะอาด หลงั จากการคัดแยกส่งิ ปลอมปนต่างๆ จะตอ้ งทำการตดั รากฝอยปอกเปลอื กตดั ส่วนท่ี ออกไปแล้ว นำพชื สมุนไพรมาทำความสะอาด เน่าเสยี มีโรคแมลงออกจากส่วนที่มีคุณภาพ เพ่อื กำจัดสิง่ ปนเป้ือนต่างๆ เช่นฝุ่นละออง ดีสำหรับพืชสมุนไพรที่มีขนาดใหญ่หรือมีเนื้อ เชอ้ื จุลนิ ทรยี ์ สารพิษตกคา้ งจำพวกโลหะ แข็งต้องทำการตัดให้เล็กหรือบางลงเพื่อให้ แห้งง่ายและสะดวกในการเกบ็ รกั ษา เช่น

สมุนไพรจำพวกรากหรอื ลำตน้ ใตด้ ิน วัตถดุ บิ ท่ีมคี ุณภาพดแี ต่จะตอ้ งมกี ารใช้ความ เปลือกไม้เนือ้ ไม้ หรือผล ควรหน่ั หรือฝานเป็น รอ้ นในการอบสมุนไพรให้เหมาะสมกับส่วน ช้นิ บาง ๆ กอ่ นทำให้แห้ง ของสมุนไพรท่นี ำมาใช้ เช่น (4) การทำให้แหง้ • ดอกใบและพชื ลม้ ลุก ใชอ้ ณุ หภมู ิไม่ พชื สมุนไพรนอกจากจะใช้สดแลว้ ยงั มีการ เกิน 55 องศาเซลเซียส นำมาทำให้แห้งเพื่อความสะดวกในการเก็บ รักษา และการนำมาใช้ สมุนไพรที่มีความ • เปลอื ก ราก และกิง่ ใช้อณุ หภูมไิ ม่ ชื้นมากเกินไปจะทำใหเ้ กิดเช้อื ราและแบคทเี รีย เกนิ 65 องศาเซลเซียส และยงั เร่งให้เกิดการสูญเสยี สารออกฤทธิ์ ดว้ ย วธิ กี ารทำแหง้ ทำโดยการตากแหง้ หรอื • ผลและเมล็ด ใชอ้ ณุ หภมู ิ ไมเ่ กิน อบแห้งจนเหลือความชื้นในปริมาณที่เหมาะ 80 องศาเซลเซียส แก่การเก็บรกั ษาซง่ึ โดยทั่วไปควรมคี วามชน้ื ไม่เกินร้อยละ 10 ซึ่งในการทำให้แห้งของสมุน • สมุนไพรที่มสี ารระเหยง่าย ใชอ้ ุณหภมู ิ ไพรจะมขี อ้ ควรระวงั ต่าง ๆ ดงั นี้ ไมเ่ กิน 45 องศาเซลเซียส ก.การตากแหง้ พืชสมุนไพรควรตากใน ภาชนะโปร่งสะอาดควรป้องกันฝุ่นละอองและ • สมนุ ไพรที่มีไกลโคไซดแ์ ละอัลคาลอยด์ สัตว์ ควรตากในที่ร่ม การตากแดดควรมีลาน ใช้อณุ หภูมิไมเ่ กนิ 60 องศาเซลเซยี ส เทคนิค ตากและยกให้สูงจากพื้นดิน มีหลังคาพลาสติก ในการอบสมนุ ไพรท่ถี กู ตอ้ งมีดงั นี้ คลุมไม่ตากแดดโดยตรง อาจใช้การปลูกเป็น โรงไม้หลงั คาเปน็ ตาขา่ ยหรือพลาสตกิ วาง • เกลี่ยสมนุ ไพรให้แผ่บางๆบนภาชนะถ้า สมุนไพรบนแครห่ รือเสือ่ มชี ่องระบายอากาศ ซ้อนทับกันหนาทำให้เกิดความร้อนสมุนไพร ด้านขา้ งเพือ่ ปอ้ งกันฝ่นุ ละอองและ ลมวธิ ผี ึ่งใน จะมสี ีดำคุณภาพลดลง ทร่ี ม่ เหมาะสำหรับสมุนไพรทมี่ สี ารระเหยงา่ ย และควรคำนงึ ถงึ สขุ อนามัยให้มาก • สมุนไพรที่เป็นดอกควรทำใหแ้ หง้ โดย ข.การอบแห้งพืชสมุนไพรจะใช้ เรว็ ทีส่ ุด เพ่อื ถนอมสขี องดอกให้เหมือนเดิม อุณหภูมิและระยะเวลาในการอบแตกตา่ งกัน โดยวางให้กระจายบนกระดาษขาว ไปตามสว่ นของพชื สมนุ ไพรการใชเ้ ครอ่ื งอบ แห้งเปน็ วธิ ีทส่ี ะดวกและประหยัดเวลาและได้ • ถา้ เปน็ ดอกไมท้ ี่มกี ลน่ิ หอม ควรผึง่ ใน ทร่ี ม่ มีอากาศถา่ ยเทไดด้ ีหรือผึง่ แดดช่วงส้ัน เพ่อื ป้องกันการเกิดเช้อื รา ดอกไม้บางชนดิ อาจมัดรวมกนั แขวนตากไว้บนราว ใบอาจ ทำให้แห้งวธิ เี ดยี วกับดอก ใบท่อี มุ้ นำ้ ไวม้ าก อาจเพ่มิ ความร้อนในการอบแหง้ ใหส้ ูงกวา่ ปกติ • ส่วนของพืชลม้ ลุกทีเ่ ป็นทง้ั ต้นถา้ ไม่ อมุ้ น้ำมากอาจผูกมัดรวมเป็นกำแล้วตากแห้ง

• รากและลำตน้ ใตด้ ิน เวลาทต่ี ากหรืออบ เพราะจะทำใหผ้ งยาท่ีละเอยี ดมากเกินตอ้ ง แหง้ ในตู้ ควรหม่ันกลับสมนุ ไพรบอ่ ย ๆ การและทำให้เกิดความรอ้ นระหวา่ งการบด เพอื่ ป้องกันเชื้อรา จะทำใหส้ ารประกอบจำพวกน้ำมันทีม่ อี ยู่ใน ผงยาอัดกันแน่น ร่อนผ่านตะแกรงได้ยาก (5) การบดแรง่ การกำหนดขนาดของผงยาจะขึน้ อยูก่ ับรูป พชื สมนุ ไพรที่จะต้องนำมาบดเป็นผง แบบยาท่ตี อ้ งการ เคร่ืองมือผลติ และกระบวน ละเอียด ควรอย่ใู นสภาวะแหง้ กรอบจงึ จะบด การผลติ เช่นผงยาท่ีจะนำไปบรรจแุ คปซลู ได้ดี มวี ิธีทดสอบความแห้งกรอบของพชื หรอื ทจี่ ะเตรยี มเปน็ ยาเมด็ ควรเปน็ ผงละเอียด สมุนไพรไดง้ า่ ย ๆ คือ การลองหกั สมุนไพรว่า มาก โดยอยา่ งน้อยต้องผ่านตะแกรงขนาดเบอร์ หกั ไดง้ ่ายหรือไม่ หรอื ลองปน่ ด้วยมือวา่ เป็นผง 60 ไดห้ มด ไดง้ ่ายหรือไม่ สมุนไพรก่อนนำไปบดควรมีความ ชน้ื ไมเ่ กินร้อยละ 5 การบดแร่งพืชสมนุ ไพรที่ สมุนไพรท่ีนำไปสกัดด้วยวิธีชง ขนาดของ ถูกวธิ นี ั้น ควรบดสว่ นท้ังหมดของพชื สมุนไพร ผงยาจะขนึ้ กบั ความแข็งของสมนุ ไพร โดยไม่ทิง้ ส่วนทร่ี ่อนไมผ่ ่านตะแกรงเนอื่ ง คุณสมบัติการละลายของสารออกฤทธ์ิใน จากส่วนต่าง ๆ ของสมุนไพรจะถูกบดเป็น สมุนไพร วธิ ีการสกดั ระยะเวลาท่หี มักนำ้ ยา ผงได้ยากง่ายต่างกันและมักมีองค์ประกอบ สกัดและความแรงของยา แต่ถ้าเป็นยาชงที่ ทางเคมีแตล่ ะสว่ นไม่เทา่ กนั เชน่ ฟา้ ทะลายโจร บรรจุผงยาในถงุ ชาตอ้ งแชล่ ะลายในน้าร้อน ใช้ส่วนทีอ่ ยเู่ หนอื ดนิ เปน็ ยา แต่สารออกฤทธิ์ หรือ น้ำเย็นกอ่ นรับประทาน ควรบดยาใหเ้ ขา้ ประเภทแลกโตนจะมีอยใู่ นสว่ นใบมากกวา่ เกณฑ์ คือ ผงยาจะตอ้ งรอ่ นผ่านแรง่ ขนาด ลำต้น ถ้าหากเราเกบ็ แต่ละสว่ นของสมนุ ไพร เบอร์ 20 ไดห้ มด และผา่ นแรง่ ขนาดเบอร์ ท่บี ดเป็นผงงา่ ยเท่านน้ั จะทำให้ได้ผงยาที่มี 60 ไดไ้ มเ่ กนิ ร้อยละ 40 เพราะหากเป็นผง สารออกฤทธไิ์ ม่สมำ่ เสมอกนั ทกุ ครัง้ วธิ ีแก้ ละเอียดกวา่ น้ีจะร่วงผ่านถุงชาออกมาได้งา่ ย ปญั หาอาจนำผงท่ีไม่ผา่ นแรง่ ไปบดรวมกบั สมนุ ไพรรุน่ ใหมท่ ่มี จี ำนวนเทา่ กับสมนุ ไพรรุ่น (6) การบรรจุและเก็บรกั ษา แรกและบดจนเหลือผงยาทไ่ี ม่ผ่านแรง่ จำนวน เมอ่ื พืชสมนุ ไพรแหง้ สนิทแลว้ จะเปน็ เท่ากับครง้ั แรกจะทำใหไ้ ดผ้ งยาท่ีมีสารออก ฤทธสิ์ มำ่ เสมอกนั ทุกครงั้ ที่ บดเทคนคิ การบด ขั้นตอนการเก็บรักษาซึง่ จะต้องมีการป้องกัน สมุนไพรทสี่ ำคัญ คือ ไมค่ วรบดสมุนไพรแบบ ความชื้นทเ่ี กิดกบั พชื ปอ้ งกนั การเข้าทำลาย ตอ่ เน่อื งโดยไม่ร่อนผงยาออกเปน็ ระยะ ๆ ของแมลงเชอ้ื ราและแบคทีเรีย ซง่ึ เป็น องคป์ ระกอบสำคัญทเี่ รง่ ให้สมุนไพรเสอ่ื ม คณุ ภาพเร็วหลักการเก็บรักษาพชื สมนุ ไพรแหง้ ควรปฏบิ ัตดิ งั น้ี

- ควรเก็บรักษาในทส่ี ะอาดเย็นไม่อบั ชนื้ (7) การขนสง่ มอี ากาศถา่ ยเทได้ดแี ละไมถ่ ูกแสงแดด การขนสง่ ควรทำอย่างระมดั ระวัง - เกบ็ ในภาชนะที่ปิดสนิท ปอ้ งกันการ เพอื่ ไม่ให้พชื สมนุ ไพรช้ำหรือเสียหาย ปนเป้ือนและแมลงเขา้ ทำลาย ยานพาหนะท่ใี ช้ในการขนสง่ ต้องเหมาะสม กบั ชนดิ ของผลผลติ อณุ หภูมริ ะหว่างการ - ควรแยกเก็บสมุนไพรแตล่ ะชนดิ ใหเ้ ปน็ ขนส่งไม่ร้อนเกนิ ไปหรือมีการซ้อนทับจนทำ สัดสว่ นเป็นหมวดหมู่ ให้คุณภาพของผลผลิตเสียหายและทำการ ขนส่งให้ถงึ ผูบ้ ริโภคหรอื โรงงานเร็วท่สี ดุ - สมนุ ไพรท่ีมีกลิ่นหอมหรอื ท่ีมีสารระเหย ตอ้ งบรรจุในภาชนะ ทีไ่ ม่ดูดกลิน่ - ถา้ เป็นสมนุ ไพรทช่ี นื้ ง่ายตอ้ งหมั่นนำออก ผง่ึ แดดหรอื อบแหง้ ทกุ 2-3 เดอื น - ควรปิดฉลากแสดงรายละเอยี ดไวท้ ี่ภาชนะ เช่นชื่อสมนุ ไพรวันเดอื นปที ่เี กบ็ - ไม่ควรเก็บนานเกนิ กวา่ 3 ปี เพราะ สารสำคญั ในสมนุ ไพรจะสญู เสยี ไปมากแลว้ การเกบ็ รักษาพืชสมุนไพรไวใ้ นที่แห้งและเยน็ จะมีระยะเวลาการเก็บรักษาแตกต่างตาม ประเภทของพืชสมนุ ไพร ดงั แสดงในตารางที่ 2



1. กระเจยี๊ บแดง สว่ นท่ใี ชป้ ระโยชน์ : กลีบเล้ยี งและกลีบรองดอก การเก็บเกีย่ วผลผลิต ระยะเวลาต้ังแต่ปลูกถึงเกบ็ เก่ียวประมาณ 5-6 เดือนโดยจะเก็บเกย่ี วในช่วงประมาณเดือนธค.- ม.ค. นำดอกกระเจยี๊ บแดง (ซ่ึงจริง ๆ คือ กลีบเลย้ี งและกลบี รองดอกท่เี จรญิ ) มากระท้งุ ด้วยเหล็ก ใหก้ ลีบและกระเปาะหลุดออกจากกัน จากนั้นนำมาทำให้แห้งด้วยการตากแดด หรืออบ หากตาก แดดใหต้ ากประมาณ 5-6 แดดจนแห้งสนทิ การแปรรูป กระเจย๊ี บแห้งสามารถนำมาแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑป์ ระเภทเคร่อื งด่ืม(เชน่ ชากระเจ๊ยี บ ไวน)์ และ ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร (เช่นเยลลี่ แยม ไอศครีม ซอส) นอกจากนั้นยังนำมาใช้ในอุตสาหกรรมสี ผสมอาหาร เนือ่ งจากมีคุณสมบัตขิ องการให้สธี รรมชาตแิ ทนสีทไ่ี ดจ้ ากการสงั เคราะห์ การแปรรูปชากระเจี๊ยบผงชงดมื่ ผลผลติ กระเจีย๊ บแหง้ ทีร่ บั ซ้อื จากเกษตรกรต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพและตรวจวดั ความชื้น เพื่อคดั แยกเฉพาะกลบี เลยี้ งท่มี ีคุณภาพ ก่อนนำเขา้ อบในตู้อบความร้อนทอ่ี ุณหภมู ิ 50-60 องศาเซลเซียส นาน 4-5 ชม. ในส่วนของการแปรรูปชากระเจยี๊ บผง จะนำกระเจี๊ยบแห้งมาบดด้วย เครือ่ งบดและรอ่ นด้วยเครอ่ื งรอ่ น คัดเลือกขนาดตามเกณฑม์ าตรฐานชาสมนุ ไพร จากนั้นจงึ นำบรรจุซอง อัตราแปรสภาพ กระเจี๊ยบสดน้ำหนัก 10 กก. ต่อกระเจีย๊ บแหง้ นำ้ หนกั 1 กก. กระเจี๊ยบแห้งนำ้ หนกั 1 กก. ตอ่ กระเจ๊ียบผงนำ้ หนัก 0.83 กก.

10 2. กวาวเครอื ขาว สว่ นทใ่ี ช้ประโยชน์: หัวใต้ดนิ การเกบ็ เก่ยี วผลผลติ กวาวเครือขาวสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้เมื่อมีอายุตั้งแต่ 2 ปีครึ่ง - 3 ปีขึ้นไป(หากปลูกโดย การเพาะเมล็ด) แต่ถา้ ปลกู ด้วยวิธกี ารเพาะเลย้ี งเน้อื เยื่อ ควรเกบ็ เกีย่ วผลผลิตต้ังแตอ่ ายุ 4 ปีข้นึ ไป โดยเกษตรกรนิยมขุดหัวกวาวเครือขาวในช่วงผลัดใบ (ฤดูแล้ง) เนื่องจากเป็นช่วงที่มีสารสำคัญ สะสมอยใู่ นหัวมากท่สี ุด (ทั้งนขี้ นาด น้ำหนกั และปริมาณสารสำคญั มากนอ้ ยขน้ึ อย่กู ับปจั จัยดา้ น สภาพแวดลอ้ มลักษณะการปลูก) และเม่ือเก็บเกี่ยวผลผลติ หัวสดแลว้ ควรนำมาลา้ งทำความสะอาด ฝานเปน็ ช้ินบาง แลว้ ตากแดดประมาณ 3 วนั (ในขนั้ ตอนนีค้ วรทำภายใน 3 - 4 วนั เพื่อปอ้ งกนั ผลผลติ เนา่ เสียหาย) การแปรรูป ปจั จุบันกวาวเครอื ขาวได้ถกู นำมาใช้เพอ่ื การแปรรปู อย่างหลากหลายและกว้างขวาง ท้ังในและตา่ งประเทศ ในรปู ของยาแผนโบราณ ผลติ ภณั ฑ์อาหารเสรมิ และใช้เป็นส่วนผสม ในผลติ ภณั ฑป์ ระเภทเครื่องสำอาง (เช่นครีมพอกหน้าครีมบำรงุ ผวิ หนา้ )

11 3. ขมนิ้ ตากแดดหมั่นกลับบ่อย ๆ ประมาณ 10- 20 นาทีต่อครั้ง จะทำให้ขมิ้นแห้งเร็วหรือ สว่ นทใี่ ชป้ ระโยชน์: เหง้าสด, แหง้ หากมีตู้อบควรอบท่อี ณุ หภูมิประมาณ 50 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 8-12 ชั่วโมง หรือ การเกบ็ เก่ียวผลผลติ ตากแดด 3 วนั อบ 50 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 3 ช่วั โมง ในการทำแห้งโดยตากแดด ขมิ้นชันควรเก็บในช่วงที่เจริญเติบโตเต็ม ที่ใช้เวลานานอาจจะมีการปนเปื้อนเชื้อ ท่ี อายุประมาณ9-11เดอื นเพราะเหง้ามีความ จุลินทรีย์ได้และสีของขมิ้นแห้งจากการอบ สมบรู ณ์ สามารถเก็บรกั ษาเหงา้ สดไวใ้ นสภาพ จะสม่ำเสมอกว่าการตากแดด ขมิน้ ท่แี หง้ ปกตไิ ดน้ านและมสี ารสำคญั มากเพียงพอ แล้วควรบรรจุในภาชนะที่สะอาดปดิ ให้ โดยสังเกตจากลำต้นเหนือดนิ เริ่มเห่ียวแห้งจน สนิทเกบ็ ในท่แี หง้ และสะอาดหากยงั ไม่ได้ แห้งสนทิ จงึ เร่ิมทำการเกบ็ เก่ียวซง่ึ จะอย่ใู น นำไปใช้ให้นำออกผ่งึ ในที่ร่มทกุ 3-4 เดอื น ชว่ งเดอื นธันวาคม - กุมภาพนั ธ์ ไม่ควรเกบ็ และไมค่ วรเก็บไวน้ านเน่อื งจากปริมาณ เกี่ยวในระยะที่เรม่ิ แตกหนอ่ เพราะทำให้มี นำ้ มันหอมระเหยจะลดลงประมาณ 25 % ปริมาณสารสำคญั ต่ำ เม่อื เกบ็ ไวน้ าน 2 ปี การแปรรปู 2) การทำขมน้ิ ชนั ผง หลังจากการเกบ็ เกีย่ ว นำมาตดั แต่งราก นำขมิน้ ชนั แห้งมาบดดว้ ยเครื่องบดหรอื ล้างทำความสะอาดเพื่อขจดั ดนิ ออก การแปร ดว้ ยการตำแลว้ ร่อนเอาเฉพาะผงขมนิ้ นำมา รูปขม้นิ ชันเป็นการเพิ่มมูลค่าผลผลิตซึ่งขึ้น บรรจุถุงเพื่อจำหนา่ ย ขมน้ิ ชนั ผงจะนำไปใช้ อยู่กับความต้องการของโรงงานแปรรูปที่ เปน็ ส่วนประกอบในผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ เช่นเครือ่ ง จะรับซื้อผลผลิตเพื่อเข้าสู่การผลิตในอุตสาหกรรม สำอางลูกประคบผลติ ภัณฑส์ ุคนธบำบดั หรือ แต่ละประเภทต่อไป ซึ่งการแปรรปู ขั้นต้น ใชใ้ นทางการแพทยใ์ นการรกั ษาโรคตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การทำขม้นิ แห้ง การทำขม้นิ ผง และ เชน่ ใชร้ กั ษาโรคกระเพาะอาหาร ใชล้ ดอาการ การกล่นั น้ำมนั หอมระเหย โดยแต่ละประเภท อกั เสบ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี อตั ราแปรสภาพ : 1) การทำขมิน้ ชันแหง้ ผลผลติ สด : ผลผลติ แหง้ เท่ากับ 6 ตอ่ 1 นำเหง้าขมนิ้ ชันมาทำความสะอาด คดั แยก หัวและแงง่ ออกจากกนั ตดั รากและส่วน ตา่ ง ๆ ท่ีไม่ต้องการทิ้ง คดั เลอื กส่วนท่ี สมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลงนำมาลา้ ง ดว้ ยนำ้ สะอาดหลาย ๆ ครัง้ จากนัน้ นำมาห่ันเป็นช้ินบาง ๆ ใสใ่ นภาชนะ ทมี่ รี โู ปร่งอยา่ ใหท้ ับซอ้ นกัน นำไป

12 4. คำฝอย การแปรรูป ส่วนทีใ่ ช้ประโยชน์: กลีบดอก คำฝอยมีการนำมาใชท้ ง้ั ในอตุ สาหกรรม ด้านอาหาร โดยการสกัดนำ้ มันจากเมลด็ เพื่อ การเกบ็ เกยี่ วผลผลิต นำมาแปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์ประเภทน้ำมันปรุง อาหาร มาการีน น้ำมันสลัด เนื่องจากพบว่าใน ดอกคำฝอยมรี ะยะเวลาตง้ั แตป่ ลูกถงึ เก็บเก่ยี ว เมล็ดมีปริมาณน้ำมันที่ประกอบไปด้วยกรด ประมาณ 4-6 เดือน โดยดอกหรอื เกสรเกบ็ เมอ่ื ตน้ ไขมันไม่อิ่มตัวในปริมาณมาก ส่วนกากที่เหลือ มีอายุประมาณ 90-100 วัน (หรอื สังเกตจาก จากการสกัดยังสามารถนำไปทำเป็นอาหาร กลบี ดอกมีสีแดงสม้ ) สว่ นเมลด็ เก็บเม่ือตน้ มี สัตว์หรือปุ๋ยได้ สำหรับผู้ประกอบการแปรรูป อายปุ ระมาณ 120-150 วัน ( หรือ 30 วนั ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น (กลุ่มแม่บ้าน, วิสาหกิจ หลังจากดอกบาน) ซงึ่ สามารถเก็บเกีย่ วทัง้ ชุมชน, โรงพยาบาล) ส่วนใหญจ่ ะแปรรูปจาก ต้นหรือเฉพาะดอก จากนั้นนำกลีบดอกมา กลบี ดอกคำฝอยเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทชงดื่ม ตากแหง้ ประมาณ 3 วัน หรอื ผงึ่ ลมประมาณ ได้แก่ ดอกคำฝอยแห้งบรรจถุ งุ ชาดอกคำฝอย 7 วันเพ่อื ใหไ้ ด้กลบี ดอกแหง้ เปน็ ตน้ ผลผลติ : กลบี ดอกสด 100-150 กก.ตอ่ ไร่ อัตราแปรสภาพ (หรอื ดอกคำฝอยแหง้ 10-15 กก.ต่อไร)่ ดอกคำฝอยสดนำ้ หนกั 10 กก. ตอ่ ดอกคำฝอยแหง้ นำ้ หนัก 1 กก. ดอกคำฝอยแห้งน้ำหนัก 1 กก. ตอ่ ดอกคำฝอยผงนำ้ หนกั 0.90 กก.

13 5. เจียวกูห้ ลาน (ปัญจขนั ธ)์ 6. ตะไคร้หอม สว่ นที่ใชป้ ระโยชน:์ ใบและเถา สว่ นทใ่ี ชป้ ระโยชน์: ใบสด การเกบ็ เก่ยี วผลผลิต การเก็บเกยี่ วผลผลิต เกบ็ เกี่ยวสว่ นเหนอื ดินขนึ้ มาประมาณ ตะไครห้ อมเกบ็ เก่ียวได้หลังปลกู 6-8 23 ข้อ แล้วแยกส่วนใบก้านออกจากกัน เดอื น อายกุ ารใหผ้ ลผลิต 2-3 ปี โดยตัดเอา ล้างทำความสะอาดหลังจากนน้ั นำมาตดั สว่ นใบซึ่งอย่เู หนอื พ้ืนดิน 25-30 เซนติเมตร เป็นทอ่ น ๆ ยาวประมาณ 1 ซม. เพ่ือให้ตน้ ทเ่ี หลอื แตกใบใหมไ่ ดเ้ รว็ ขึน้ เก็บเกยี่ วแตล่ ะครงั้ ให้หา่ งกัน 3 เดือน ตดั ได้ การแปรรูป ปีละ 2-3 ครงั้ ใบทีต่ ดั มานำไปสกดั น้ํามนั หอมระเหยโดยวธิ ีการกลัน่ ด้วยนำ้ หรอื กลั่น นำปัญจขันธท์ ่ที ำความสะอาดแลว้ มาค่ัว ด้วยไอนำ้ ดว้ ยไฟออ่ น แลว้ อบท่ีอณุ หภูมิ 40-60 องศา เปน็ เวลาประมาณ 4 ชม. อัตราแปรสภาพ ใบสด : นํา้ มนั หอมระเหยเทา่ กับ 1 ตัน : 1 ลิตร

14 7. บอระเพด็ การเก็บเกี่ยวผลผลติ 8. พญายอ เร่ิมเกบ็ เก่ียวไดเ้ มื่ออายุ 2 ปีขน้ึ ไป สว่ นท่ใี ชป้ ระโยชน:์ ใบสด โดยเก็บเถาสดทีเ่ จริญเต็ม ทนี่ ำมาตาก แดด 3-5 วัน จนแหง้ สนิท จากนั้น การเก็บเกี่ยวผลผลิต นำเถาแหง้ มาหนั่ เฉียงเปน็ แวน่ ๆ หนา 1-2 เซนติเมตรการตัดเถามาใช้ให้ เรม่ิ เก็บเก่ียวไดต้ ั้งแต่อายุ6เดือนตดั ตน้ เหลือเถาไวป้ ระมาณ 2-3 วา เหนอื ผวิ ดิน 10 ซม. ล้างนํ้า 1-2 คร้งั ผ่งึ ในที่ ร่มจนแห้งสนทิ อตั ราแปรสภาพ อัตราแปรสภาพ ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง้ เทา่ กับ 4-5 ต่อ : 1 ผลผลิตสด : ผลผลิตแหง้ เทา่ กบั 4 ต่อ : 1

15 9. พรกิ ไทย สว่ นทีใ่ ชป้ ระโยชน์: ผลแหง้ การเกบ็ เกีย่ วผลผลิต เก็บเมอื่ ผลสุก ผลพรกิ ไทยช่อเดียวกันจะสกุ เป็น สีแดงไมเ่ ทา่ กันเมอ่ื พบวา่ มีผลเร่ิมสุกในชอ่ ใดทำ การเก็บชอ่ นัน้ มาทงั้ ช่อ อัตราแปรสภาพ ผลผลิตสด : ผลผลติ แห้งเทา่ กับ 3 :ตอ่ 1 10. ไพล ส่วนท่ใี ชป้ ระโยชน:์ เหง้า การเก็บเกี่ยวผลผลิต เหงา้ ไพลสามารถเกบ็ ไดเ้ มอื่ มอี ายุ 2-3 ปี เก็บ ในช่วงเดอื นกมุ ภาพันธ์-เมษายน จะสงั เกตเหน็ ตน้ ไพลแหง้ และฟุบ หา้ มเก็บไพลขณะทเ่ี ริ่มแตกหนอ่ ใหมเ่ พราะจะทำให้ไดน้ าํ้ มันไพลท่มี ปี รมิ าณและ คณุ ภาพตํา่ อตั ราแปรสภาพ ผลผลติ สด : นา้ํ มันหอมระเหยเทา่ กบั 1 ตนั : 8-10 ลิตร

16 11. เพชรสงั ฆาต 12. ฟ้าทะลายโจร สว่ นท่ีใชป้ ระโยชน์: เถาสด ส่วนทใ่ี ชป้ ระโยชน์: ท้งั ตน้ การเกบ็ เก่ยี วผลผลิต การเก็บเกี่ยวผลผลติ เรม่ิ เกบ็ เก่ยี วได้เมอื่ อายุ 6 เดือนขนึ้ ไป เก็บในช่วงเรมิ่ ออกดอกอายุ 110-150 วัน ใช้เถาหรอื ลำต้นสดทุกสว่ น การตดั ใหเ้ หลือ ใช้กรรไกรหรอื เคียวเกยี่ วทั้งต้นใหเ้ หลือตอสูง เถาไว้ 1-2 วา นำเถาไปห่นั แล้วอบให้แหง้ ประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร ปหี นึง่ เกบ็ เกี่ยว ได้ 2-3 ครง้ั อตั ราแปรสภาพ การแปรรปู ผลผลติ สด : ผลผลติ แหง้ เท่ากับ 6-7 : 1 ฟ้าทะลายโจรทเี่ ก็บเกยี่ วแลว้ นำมาล้างนาํ้ ใหส้ ะอาด ตากในท่รี ม่ 5-7 วัน หรอื อบท่ี อณุ หภูมปิ ระมาณ 50 องศาเซลเซียส จนแห้ง สนิท บรรจใุ นถงุ พลาสตกิ เก็บในบรเิ วณที่เย็น และไมโ่ ดนแสงแดด อตั ราแปรสภาพ ผลผลิตสด : ผลผลิตแหง้ เท่ากบั 4 : 1

17 13. มะแว้งเครือ ส่วนท่ีใชป้ ระโยชน์: ผลสด/แหง้ การเกบ็ เกี่ยว เร่ิมเกบ็ ผลผลติ ไดเ้ ม่ืออายุ 8-10 เดอื นเก็บผล ในระยะเริม่ แก่แต่ยงั ไมส่ กุ สังเกตท่ผี ลเรม่ิ มสี ีเหลืองสม้ (ผลที่แกเ่ ต็มทจี่ ะมสี สี ม้ เข้ม) การแปรรปู นำผลทเี่ ก็บมาล้างน้ำสะอาด ตากแดดเป็น เวลา 3-5 วัน ใหแ้ หง้ สนทิ หรอื อบทีอ่ ุณหภูมิ ประมาณ 50 องศาเซลเซยี ส จนแห้งสนิทบรรจุใน ถุงพลาสตกิ เกบ็ ในบรเิ วณทเี่ ยน็ และไม่โดนแสงแดด 14. วา่ นหางจระเข้ อัตราแปรสภาพ สว่ นทใี่ ชป้ ระโยชน์: วนุ้ ในใบสด ผลผลติ สด : ผลผลิตแห้งเทา่ กับ 3 : 1 การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ เก็บเกีย่ วได้หลังปลูก 8-12 เดือน โดยเก็บใบ ล่างข้ึนไป สังเกตเน้อื วุ้นทโ่ี คนใบดา้ นในเต็มและ ลายทใ่ี บลบหมดแลว้ เก็บไดป้ ลี ะ 8 ครั้ง ระวงั อยา่ ให้ใบว่านช้ํา

18

19 นุษย์เราใชส้ มุนไพรในการรกั ษาอาการ การประเมนิ คณุ ภาพสมนุ ไพร หมายถงึ การ เจบ็ ป่วยมาเป็นเวลานาน ในอดตี ผ้ใู ช้มักเก็บ พิสจู น์ (identify) หรือ การตรวจสอบวา่ สมุนไพรตามป่าหรอื มีการปลูกในบรเิ วณบา้ น สมุนไพรนนั้ เป็นชนิดทถี่ ูกต้องหรือไม่ มสี ่งิ เพือ่ ใชห้ รอื นำมาแลกเปลย่ี นกนั ในระหวา่ งชุมชน ปนปลอมหรอื ไม่ มีปรมิ าณสารสำคัญเทา่ ใด มี แต่เมื่อความต้องการสมุนไพรมีปริมาณมาก คุณสมบัติอน่ื ๆ ดมี ากนอ้ ยเพียงใด ทงั้ น้ีโดย ขึน้ บางชนิดเปน็ สินค้าส่งออก มคี วามจำเป็น พจิ ารณาจากค่าต่าง ๆ ทีห่ าได้ เช่น ความชน้ื ทจี่ ะตอ้ งสนองความตอ้ งการของตลาด จงึ มี สิง่ ปนเป้อื น ปรมิ าณเถ้า ซึ่งในการตรวจสอบ การเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว ทำให้คุณค่าของ คุณภาพของสมุนไพรนนั้ ๆ ในแง่ของเอกลกั ษณ์ สมนุ ไพรในยคุ ปัจจบุ นั มคี วามผันแปรจาก ความบรสิ ทุ ธ์ิ คณุ สมบัตมิ ีกระบวนการในการ หลายปัจจัย ทำให้จำเป็นต้องศกึ ษาถงึ คณุ ค่า ตรวจสอบ ดงั น้ี หรือคุณภาพของสมนุ ไพร โดยเฉพาะสมุนไพร ที่นำมาใช้เป็นวัตถุดิบทางยา คุณภาพของยา 1. การตรวจสอบโดยใช้อวัยวะรบั สมุนไพรนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบสารสำคัญ ความรู้สกึ (organoleptic method) ที่มีอยู่ ซงึ่ ปจั จยั สำคญั ทที่ ำใหค้ ณุ ภาพของ คือ การใช้ประสาททั้งห้า รูป รส กลิ่น เสียง สมนุ ไพรเปลี่ยนแปลงมีหลายประการ ไดแ้ ก่ สัมผัส ในการประเมิน วิธีนี้เป็นการตรวจ สายพันธุ์ของพชื สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สอบเบื้องต้นทสี่ ำคัญ ซง่ึ จะบอกลักษณะของ การปลูก การเกบ็ เกยี่ ว เปน็ ตน้ คุณภาพของ พชื สมนุ ไพรในเบ้ืองต้นโดยเฉพาะรูปพรรณ ยาสมนุ ไพรที่เปลี่ยนแปลงส่งผลถึงคณุ ภาพ สณั ฐานที่ปรากฏจะชว่ ยระบชุ นดิ พืชได้เน่ือง ประสทิ ธภิ าพของยาได้ จึงมีการกำหนดมาตร จากพืชบางชนดิ นนั้ มเี อกลักษณ์ชดั เจน เช่น ฐานของสมุนไพรขึ้น จนั ทน์ 8 กลีบ มีรูปดาว 8 แฉก หรอื โกฐกะ กล้งิ มลี กั ษณะคล้ายเม็กระดุมแบน ๆ

20 นอกจากนนั้ สีและลักษณะสงั เกตภายนอก เคมี ตรวจสอบด้วยปฏิกริยาต่าง ๆ เช่น รอยหักและสีภายในกลน่ิ และรส ล้วนชว่ ยใน ปฏิกิริยาการเกิดสี, iodine value ตลอดจน การตรวจสอบชนิดพืช เชน่ พชื บางชนดิ การใชเ้ ทคนิคทางโครมาโทกราฟี มกี ล่ินเฉพาะตวั ได้แก่ อบเชย เทยี นขา้ ว เปลือก ย่ีหร่า มหาหิงค์ุ เป็นตน้ ส่ิงปนปลอมในเภสชั ภณั ฑธ์ รรมชาติ(adul- terant in natural pharmacetuicals) 2. การตรวจสอบโดยใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ (microscopic metod) เปน็ ส่ิงท่หี ลกี เลย่ี งได้ยาก อาจเกิดโดยการ โดยอาศยั ดูลกั ษณะเนื้อเย่อื เฉพาะ ดขู นาดและ จงใจหรือไมก่ ต็ าม การปนปอมทำใหค้ ุณภาพ ปริมาณของสงิ่ ท่พี บ เช่น เมด็ แป้ง ดูผลกึ ของ ต่ำลง ซึ่งการปนปลอมที่เกิดขึ้นนั้นขึ้นอยู่กับ สาร ตลอดจนหาคา่ เฉพาะบางชนิดซึง่ การ ชนิด ราคา ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค โดย ตรวจสอบในวิธีนี้นอกจากจะช่วยตรวจเอก สง่ิ ที่ใชป้ นปลอมมกั จะหางา่ ย ราคาถูก และ ลกั ษณ์ของพืชแล้ว ยังชว่ ยตรวจสอบการ เปน็ ส่งิ ที่คลา้ ยคลงึ กับของแทม้ ากที่สดุ ใน ปนปลอมอกี ดว้ ย การประเมินคณุ ภาพสมุนไพรนนั้ จึงมกี าร ตรวจหาการปนปลอมหรือการตรวจหาความ 3. การประเมินคุณภาพทางชีววทิ ยา (bi- บริสุทธขิ์ องสมนุ ไพร สามารถทำไดห้ ลายวิธี ological method) เชน่ การหาสิ่งแปลกปลอม (foreign matter) ด้วยตาเปล่าและกล้องจุลทรรศน์การหา เป็นการทดสอบฤทธท์ิ างชวี วทิ ยา โดยการ ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด(acid-insol- ทดสอบกบั สง่ิ มชี ีวิต อาจเปน็ สัตวท์ ดลอง หรือ uble ash) การหาปริมาณองค์ประกอบสำคัญ อวยั วะส่วนใดส่วนหนง่ึ ที่ตัดออกมา เพื่อให้ การหาปริมาณน้ำหรือความชื้นนอก ทราบฤทธแ์ิ ละความแรงของยาสมุนไพร จากนั้นในการประเมินคุณภาพของสมุน ไพรจะมีการตรวจสอบค่าคงที่ต่างๆ โดยใน 4. การประเมินคณุ ภาพทางเคมี (chemi- การตรวจสอบจะต้องทำการสุ่มตัวอย่างที่ cal method) เปน็ ตวั แทนมาไมต่ ำ่ กวา่ 3 ตัวอย่างตอ่ ชนิด เพื่อหาค่าเฉลี่ยในแต่ละตัวอย่าง นำตัวอย่าง สมนุ ไพรมีสารองค์ประกอบทางเคมี ซึ่งเป็น มาบดเปน็ ผงผา่ นแร่งเบอร์ 20-40 ถ้าตัว สารที่ทำให้เกิดฤทธิ์ในการรักษา ดังนั้นการ อยา่ งไม่สามารถทำเป็นผงได้ ใหท้ ำเปน็ ชนิ้ ทดสอบทางเคมีจึงมีความสำคัญในการ เล็กท่สี ดุ เทา่ ทจ่ี ะทำได้ ใสข่ วดสีชา ปิดสนทิ ควบคุมคุณภาพการตรวจสอบทาง เกบ็ ไว้วเิ คราะห์ รายละเอียดในการตรวจสอบ คา่ คงที่ตา่ ง ๆ มีดังนี้

21 1. การหาน้ำหนักที่หายไปเมื่อทำให้แห้ง 5. ปริมาณส่งิ สกัด (extractive value) (loss on drying) เป็นการหาปริมาณสารสกัดที่ได้จากสมุนไพร เมอ่ื ใชต้ ัวทำละลายชนดิ ต่าง ๆ วธิ ีการนจี้ ะ เป็นการควบคุมปริมาณความชื้นในตัวยา กำหนดไว้สำหรับสมุนไพรที่ไม่มีวิธีวิเคราะห์ สมุนไพร ซ่ึงเป็นสงิ่ ท่ีจำเป็น ทั้งนีเ้ นอื่ งจากความ ทางเคมหี รือชีววทิ ยาที่เหมาะสม สำหรับ ชื้นจะส่งเสริมการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ การเลือกตัวทำละลายจะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ ก่อให้เกิดการสลายตัวขององค์ประกอบ ของสารองค์ประกอบสำคัญในสมุนไพรชนิด สำคัญในสมนุ ไพรได้ นน้ั ๆ 2. ปริมาณเถา้ รวม (total ash) 6. การวัดปริมาณน้ำมันระเหย (voltile เป็นเถ้าที่ได้หลังจากการเผาตัวยาที่ oil determination) อุณหภูมิสูง(450-800 ซ) ในปัจจุบันเถ้ารวม ทพี่ บในพืชเพมิ่ สูงขึน้ เน่อื งจากการใช้ปุ๋ยเคมี น้ำมันหอมระเหยเป็นส่วนประกอบสำคัญ ในการเพาะปลกู ท่พี บได้ในพืชหลายชนดิ โดยเฉพาะเครือ่ งเทศ 3. ปริมาณเถ้าท่ไี ม่ละลายในกรด (acid เชน่ กะเพรา โหระพา กระวาน การกำหนด insoluble ash) ปริมาณน้ำมันหอมระเหยเป็นการควบคุม เป็นการหาปริมาณของเถ้าที่ไม่ละลายใน สมุนไพรอีกวธิ ีหน่ึง โดยใช้วิธกี ารกลั่น กรดเกลอื สารเหลา่ น้ีเปน็ ส่งิ ปนปลอมประเภท สารอนินทรีย์ ไดแ้ ก่ ดนิ ทราย เป็นต้น ส่ิงเหล่า 7. การวัดปริมาณน้ำในยาสมุนไพร น้มี กั ปะปนมากับรากหรือเหง้า (moisture content) 4. ปรมิ าณเถ้าท่ลี ะลายนำ้ ได้ (water soluble ash) เป็นการตรวจสอบปริมาณน้ำหรือความ ชื้น ในพชื ท่ีมีนำ้ มนั หอมระเหยเปน็ องค์ประกอบ เปน็ คา่ ความแตกต่างระหว่างปริมาณ ซึ่งจะใช้วิธีการหาปริมาณความชื้นด้วยการ ของปริมาณเถ้ารวมและเถ้าที่เหลือจาก อบแหง้ ไม่ได้ เนอื่ งจากนำ้ มนั หอมระเหยจะ ตม้ เถา้ รวมกบั นำ้ ปรมิ าณเถา้ ชนดิ ตา่ งๆของ ออกมาพรอ้ มกบั นำ้ ทำให้หาปริมาณนำ้ ท่แี ท้ สมนุ ไพรแตล่ ะชนิดจะแตกต่างกันไป ค่าเหลา่ จริงไมไ่ ด้ ในกรณนี ้ีจงึ ต้องใช้วธิ ีการอนื่ เช่น นี้เปน็ เครือ่ งบง่ ช้ีถงึ คุณภาพ และความสะอาด ใช้วธิ ี Azeotropic distillation method ของสมนุ ไพร รวมทงั้ ใหข้ ้อมลู เก่ียวกับการปน นอกจากนี้แล้วยังมีการทดสอบ อื่น ๆ ปลอมสมุนไพร ทีเ่ ฉพาะสำหรบั สมุนไพรในบางกล่มุ ตาม คุณสมบัติของสมุนไพรนั้น เช่น การหาความ

22 ขม (bitter index) ในบอระเพด็ หรือการ 1) ชอ่ื ทางการเป็นภาษาอังกฤษ (official ทดสอบการพองตวั (swelling index) English title) ในเม็ดแมงลกั บกุ ค่าการพองตวั (swelling index) เปน็ การทดสอบเพอ่ื หาคุณสมบตั ใิ น ชือ่ น้ีเป็นชอ่ื ทีใ่ ชท้ ่วั ไปในเภสัชตำรับขององั กฤษ การพองตัวของสมุนไพรที่มักประกอบด้วย และอเมรกิ าเชน่ U.S.P., B.P., N.F. และ B.P.C. สารเมือก ทพ่ี องตวั ไดใ้ นน้ำ เชน่ เมด็ แมงลกั ตัวอยา่ งเช่น Rhubarb U.S.P. หรอื Nutgall N.F. เทยี นเกล็ดหอย บุก สารในกลมุ่ นม้ี ปี ระโยชน์ ในการนำมาใช้เปน็ ยาระบาย หรอื ใช้เปน็ สาร 2) ชอื่ ภาษาละติน (Latin title) ชว่ ยแขวนตะกอน คา่ ความขม (bitter in- ชอ่ื น้มี กั จะนำมาจากชื่อสกลุ (genus) ของพชื dex) สารองค์ประกอบในสมุนไพรบางชนิด หรือสัตว์ที่เป็นต้นกำเนิดของยาสมุนไพรหรือ มรี สขมจดั ซง่ึ ในการใชป้ ระโยชนใ์ นทางยาใช้ ไดจ้ ากชอ่ื ตวั (species)หรอื ทง้ั 2 อยา่ งหรอื เปน็ ฤทธิข์ องรสขมดงั กลา่ ว เชน่ ใชเ้ พอื่ ใหเ้ กิด ชือ่ พอ้ ง (synonym) ทเี่ คยใช้กนั มาก่อนเชน่ ความอยากอาหารด้วยผลของการ กระตุ้นการหลั่งของน้ำย่อยในกระเพาะ Cascara sagrada (bitter tonic) 3) แหล่งกำเนิดทางชีววทิ ยา (biological ยาสมนุ ไพรทจ่ี ะเขา้ สกู่ ระบวนการผลติ เปน็ origin) ยาสำเรจ็ รปู จะตอ้ งผา่ นการวเิ คราะหม์ าตรฐาน เสยี กอ่ นซง่ึ มาตรฐานเหล่านี้จะถูกกำหนดไว้ หมายถงึ ชอื่ วิทยาศาสตร์(scientificname) ในแต่ละ monograph อย่างละเอยี ดในเภสัช ที่ใหย้ าสมนุ ไพรน้ัน อาจได้มาจากพืช (botani- ตำรับยาสมุนไพร สมุนไพรแต่ละชนิดที่จะ cal origin) หรือสัตว์ (zoological origin) นำมาใช้เป็นยาได้จะต้องถูกกำหนด ไว้เป็นมาตรฐานตามเภสัชตำรับของ 4) มาตรฐานคุณภาพและความบรสิ ุทธิ์ แตล่ ะประเทศ (National Pharmacopoeia) หมายถึง คณุ ภาพและความบริสุทธิต์ ามมาตรฐาน เภสัชตำรับเหล่านี้มีการแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยน ท่กี ำหนดไว้ เช่น กำหนดค่าของส่ิงเจือปน (im- แปลงอยู่เสมอรายละเอียดที่สำคัญของยาสมุน purity) ที่ไม่เปน็ โทษ วา่ อยใู่ นปรมิ าณไมเ่ กนิ ขีด ไพรนน้ั ๆ มีการจำแนกออกเปน็ หวั ข้อตา่ ง ๆ กำหนดเทา่ ใด เช่น คา่ ความชนื้ (moisture), รายละเอยี ดตา่ ง ๆ เรียกเป็น Monograph อนิ ทรวี ัตถุแปลกปลอม (foreign organimatter), ซ่ึงมีหวั ข้อ ดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี เถา้ ที่ไม่ละลายในกรด (acid insoluble ash)

23 5) แหลง่ กำเนดิ ทางภมู ิศาสตร์ (geographi- 9) การบม่ (curing) cal sources หรือ habitat) เปน็ วธิ กี ารทท่ี ำให้แห้งชา้ ๆ เพอ่ื ให้เอนไซม์ท่ี หมายถึง ถนิ่ กำเนิดของยาสมุนไพรน้นั มีอย่ทู ำปฏิกิรยิ าขน้ึ ตวั อย่างของสมุนไพรทตี่ อ้ ง 6) การบรรยายลกั ษณะ (description) การบ่มเช่น Vanilla, Coca, Gentian เป็นการบรรยายถึง รปู รา่ ง ลักษณะของ Tobacco เปน็ ต้น ในบางกรณี เชน่ Cascara ยาสมุนไพรว่าเป็นส่วนใดของต้นไม้หรือสัตว์ sagrada เม่ือเกบ็ เปลือกไว้ 1 ปี ที่อณุ หภูมหิ อ้ ง รปู ลักษณะภายนอก ภายใน ขนาด สี กลิ่นรส แลว้ นำไปใช้ irritant principle จะถูกทำลาย อย่างไรอาจมีลักษณะทางจุลทรรศน์ที่เด่นชัดหรือ ไปหมด วิธีการตรวจสอบ 7) วธิ กี ารเกบ็ เก่ยี ว (collection of crude 10) สารสำคญั (constituents) drugs) ในยาสมนุ ไพรหนง่ึ ๆ นัน้ จะมีสารประกอบ เป็นวิธีการเก็บ และไดย้ าสมนุ ไพรมา อยู่หลายชนิด บางชนดิ กเ็ ป็นสารออกฤทธิ์ 8) การทำให้แหง้ (drying) (active constituents) ท่ีทำใหเ้ กดิ ผลทาง เพอ่ื ขจดั ความชน้ื ออกไปใหห้ มดเพอ่ื ปอ้ งกนั การ ชีวภาพ ซึ่งสามารถใชบ้ ำบัดรกั ษาโรค เปลี่ยนแปลงของสาสำคัญเนื่องจากเชื้อราหรือ 11) ประโยชน์ (uses) เอนไซม์ซง่ึ อาจใชว้ ิธีผง่ึ แดด (sun dry), ผง่ึ ในรม่ หมายถึง ประโยชน์ หรอื สรรพคณุ ในการบำบดั (air dry) หรอื อบในตูอ้ บ (artificial heat) โรคของยาสมุนไพรน้ัน ๆ ว่าใชบ้ ำบัดโรคอะไร หรอื ทำให้เกดิ ภาวะต่อรา่ งกายอยา่ งไร

24 ปจั จบุ นั แนวโนม้ ของผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื สขุ ภาพดงั เชน่ ผลติ ภณั ฑย์ าจากสมนุ ไพรไดก้ ลบั มาสคู่ วามสนใจ ของผู้บริโภคอีกครัง้ เน่อื งจากอิทธิพลของกระแสโลก (Globalization) ในเร่อื งการรักษาและดูแลสขุ ภาพ ดว้ ยผลติ ภณั ฑท์ ม่ี าจากธรรมชาตเิ พราะมคี วามเชอ่ื มน่ั วา่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากธรรมชาตนิ น้ั มคี วามปลอดภยั หรอื เกดิ ผล ขา้ งเคยี งทไ่ี มพ่ งึ ประสงคน์ อ้ ยกวา่ ยาแผนปจั จบุ นั และจากการทม่ี วี ธิ กี ารรกั ษาพยาบาลดว้ ยการแพทยท์ างเลอื ก ในโรงพยาบาลกเ็ ปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ สงั คมไทย ทำใหม้ คี วามตน่ื ตวั ในการใชส้ มนุ ไพรและการแพทยแ์ ผน ไทยเพิ่มมากข้นึ รวมทงั้ รฐั บาลไดม้ ีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาศกั ยภาพของสมุนไพรและการแพทย์ แผนไทย ทั้งนี้การปนเปื้อนโลหะหนักในสมุนไพรปัจจุบันก็พบได้มากขึ้น อาจเกิดจากการที่มีมลพิษ จากท้งั การเกษตรและอตุ สาหกรรมเพ่ิมขึ้น ทำให้มสี ารเคมีและโลหะหนกั ตกค้างสะสมในดินและนำ้ ซึ่ง สามารถถูกดูดซึมเข้าสสู่ มนุ ไพรได้มากขึน้ โดยมรี ายงานการปนเปอื้ นของโลหะหนักในยาแผนโบราณ บางชนิด ซ่ึงโลหะหนกั เหล่าน้ันสามารถก่อให้เกิดพิษตอ่ ผู้บริโภคได้ ทงั้ พษิ เฉียบพลันและพษิ เรื้อรัง และ จากรายงานของสถาบันโรคผวิ หนงั ในประเทศไทย พบวา่ โรคพิษสารหนสู ว่ นใหญ่จะพบในผ้ปู ว่ ยทม่ี ี ประวัติกนิ ยาสมุนไพรหรือยาต้มแผนโบราณที่มสี ารหนผู สม โดยมีผู้ปว่ ยด้วยโรคพิษสารหนทู เ่ี กดิ จากยา รกั ษาโรค โดยเฉล่ียปลี ะประมาณ 10 ราย ดังนั้นจงึ มีความจำเปน็ อย่างยง่ิ ที่ต้องมกี ารควบคมุ คุณภาพ ของยาจากสมนุ ไพรและยาแผนโบราณเหลา่ นี้ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนได้รบั ความปลอดภัยในการบรโิ ภคยา และได้รบั ยาท่ีมปี ระสิทธิภาพในการรกั ษาโรคหรืออาการเจ็บป่วย ทงั้ น้ีสำนกั งานคณะกรรมการอาหาร และยาได้ประกาศหลักเกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณเกี่ยวกับมาตรฐานการปนเปื้อน เชอ้ื จุลินทรียแ์ ละโลหะหนัก มีผลใช้บงั คบั นับแตว่ นั ถดั จากประกาศในราชกิจจานเุ บกษาฉบบั ประกาศ ทั่วไป เล่ม 121 ตอนพเิ ศษ 43 ง วันที่ 21 เมษายน 2547 โดยคำขอข้นึ ทะเบียนยาแผนโบราณทกุ ตำรบั ตอ้ งมผี ลการตรวจวเิ คราะหก์ ารปนเป้อื นเชื้อจลุ นิ ทรีย์ และมแี นวโน้มที่ตอ่ ไปในอนาคตจะต้องใชผ้ ลการ ตรวจวิเคราะหก์ ารปนเปื้อนโลหะหนักประกอบการขนึ้ ทะเบียนดว้ ย

25 โลหะหนัก หมายถงึ โลหะท่ีมีความหนาแน่นเกนิ กวา่ 5 กรัมต่อลกู บาศก์เซนติเมตร เช่น ตะกว่ั แคดเมยี ม และสารหนู เป็นตน้ สารพิษเหล่านี้เม่ือสะสมอยใู่ นรา่ งกายจนถงึ ระดับ หนง่ึ กจ็ ะแสดงอาการออกมาให้เหน็ ซง่ึ ผลของความเปน็ พิษของโลหะหนักตอ่ กลไกระดับ เซลลม์ 5ี แบบ คือ ทำใหเ้ ซลลต์ าย, เปล่ยี นแปลงโครงสร้างและการทำงานของเซลล,์ เปน็ ตวั การทำให้เกิดมะเรง็ , เปน็ ตวั การทำให้เกดิ ความผดิ ปกติทางพันธกุ รรม และทำความ เสียหายต่อโครโมโซม ซงึ่ เปน็ ปัจจยั ทางพันธกุ รรม บรรดาโลหะหนักเหล่านี้สามารถเข้าสู่ร่างกาย โดยไม่ร้ตู ัวจากสิ่งแวดล้อม(ดนิ น้ำอากาศ)อาหาร ยาจากสมนุ ไพร หรอื จากข้าวของเครอื่ งใช้ในครัว- เรอื น สาเหตุของการปนเปอ้ื นมาจากธรรมชาติ กระบวนการผลิต วตั ถุดบิ และการปนเป้ือนโดย สารเคมีที่ถูกปล่อยเป็นของเสียออกมาจากโรงงาน อตุ สาหกรรมประเภทต่าง ๆ คนเรามโี อกาสไดร้ บั ตะกว่ั โดยตรงจากการกนิ อาหาร นำ้ ดม่ื สมั ผสั ผวิ หนงั ผา่ นเครอ่ื งสำอางทป่ี นเปอ้ื นตะกว่ั หรอื หายใจเอาสารตะกว่ั เจอื ปนเขา้ ไป กลมุ่ ผเู้ สย่ี งสงู ตอ่ การเกดิ โรคพษิ ตะกว่ั ไดแ้ ก่ คนงานทท่ี ำเหมอื งตะกว่ั โรงงานผลติ แบตเตอร่ีโรงงานผลติ ช้นิ ส่วนอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพิวเตอร์ โรงงานผลิตสีโรงงานผลติ สารพิษกำจัดศตั รพู ืช และคนที่อาศยั อยูใ่ กลบ้ ริเวณโรงงานหลอมตะกวั่ หรือใกลโ้ รงงานทมี่ ีการใชส้ าร- ตะกั่วเปน็ วตั ถดุ บิ ตำรวจจราจร และคนทอ่ี ยู่ในบริเวณท่มี ีการจราจรหนาแนน่ เป็นเวลานาน เด็กอาจ ได้รับสารตะกั่วจากการหยิบสิ่งที่มีสารตะกั่วปนเปื้อนเข้าปาก หรือรับจากน้ำนมแม่ที่มีสารตะกั่ว แม้แต่ทารกในครรภ์ก็สามารถรับสารตะกั่วจากมารดาได้ทางสายสะดือ สารตะกั่วมีพิษมากโดย เฉพาะเด็ก ซงึ่ อาจมีผลทำให้สมองพิการ สว่ นผใู้ หญ่อาจมผี ลต่อระบบทางเดนิ อาหารและระบบ ประสาท สำหรบั อนั ตรายโดยทว่ั ไปนน้ั ทำใหเ้ มด็ เลอื ดแดงอายสุ น้ั ลง ทำใหเ้ ปน็ โรคเลอื ดจาง และเปน็ อันตรายต่อระบบประสาทไต ทางเดนิ อาหารตับ และหัวใจ อาการโรคพษิ ตะก่ัวเกดิ ได้กบั หลายระบบ ของรา่ งกายคอื ระบบประสาทส่วนกลางและสมอง อาการสำคญั ท่พี บ คือสมองเสอื่ มจากพษิ ตะกั่ว

26 พบในเดก็ มากกวา่ ผู้ใหญ่ มีอาการหงดุ หงิดง่าย กระวนกระวาย ซึม เวยี นศรี ษะ รายทีเ่ ป็นรุนแรงอาจ มีอาการส่นั เวลาเคล่อื นไหว ชัก หมดสติ และเสียชีวติ ได้ ระบบประสาทสว่ นปลายและกล้ามเนอื้ พบ มีอาการปวดตามกล้ามเนอื้ และขอ้ ตา่ ง ๆ กลา้ มเนื้อทใ่ี ช้บ่อยมอี าการอ่อนแรงหรืออัมพาต,ระบบ ทางเดนิ อาหาร เป็นอาการท่พี บได้บ่อยทสี่ ดุ ผปู้ ว่ ยมอี าการเบอื่ อาหาร คลนื่ ไส้ อาเจียนโดยเริม่ แรก มักมอี าการท้องผูก แต่บางรายอาจมอี าการท้องเดิน นำ้ หนักลด กลา้ มเน้ือหนา้ ท้องบีบเกรง็ และกด เจ็บ ทำให้มอี าการปวดทอ้ งมาก, ระบบเลือด มกั พบมอี าการซีด ทำใหเ้ ปน็ โรคเลือดจาง,ระบบทาง เดนิ ปสั สาวะ ผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ บั ตะกว่ั เปน็ เวลานาน ๆ อาจเกดิ ภาวะไตวายเรอ้ื รงั ,ระบบโครงสรา้ ง ตะกั่วจะไปสะสมท่ีกระดกู โดยเฉพาะที่ส่วนปลายกระดูกยาว,ระบบสืบพันธ์ ผู้ไดร้ ับตะก่ัวตดิ ตอ่ กัน เป็นเวลานาน อาจเปน็ หมนั ได้ทงั้ ชายและหญิง และระบบอน่ื ทำใหเ้ กดิ ความผดิ ปกติในการทำงาน ของต่อมไทรอยด์ และการผิดปกติของดีเอ็นเอ จะพบในแหล่งสังกะสีและตะกั่ว การบริโภคอาหารหรือฝุ่นที่ปนเปื้อนแคดเมียม นิยมใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมผลิต ปรมิ าณสงู จะทำใหห้ ายใจตดิ ขดั เยอ่ื ปอดถกู ทำ แบตเตอร่ีอปุ กรณไ์ ฟฟา้ โลหะผสมอะไหล่ ลาย ถงุ ลมโปง่ พอง คลนื่ ไส้ อาเจยี น ออ่ นเพลยี รถยนต์ โลหะผสมในอุตสาหกรรมเพชร- เจบ็ หน้าอก โลหติ จางเรื้อรัง ไตพกิ าร ปวดกระ- พลอย แคดเมียมที่ปนเปื้อนในนำ้ อาหาร ดกู สันหลงั ปวดแขนขา อาจเสยี ชวี ติ ได้ ยาสมนุ ไพรเม่อื เขา้ สู่รา่ งกายจะถกู ดดู ซึมใน โรคที่เกิดจากพิษของแคดเมียมเรียกว่า กระเพาะอาหาร แล้วแพร่กระจายไปที่ตับ โรคอไิ ต-อิไต (Itai Itai disease) ม้ามและลำไส้ การเขา้ สูร่ า่ งกายของแคด- เมียม ไม่ว่าทางใดแมไ้ ดร้ ับปริมาณน้อยแต่ ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานจะถูกสะสมไว้ ที่ไต จากการให้หนูบริโภคอาหารที่มีแคด- เมียมพบว่า หนูมีอาการ hyperglycemia และลดระดบั ของอินซลู นิ ในตับอ่อน ทำให้ การทำงานของไตผิดปกติ กรณขี องคนทีม่ ี

27 สารหนู (arsenic) มกั พบปนเปือ้ นอยใู่ น ผกั ท่ีเยอื่ เมอื ก เมื่อสมั ผสั กบั ฝุ่นผงหรือกา๊ ซจะทำ ผลไม้ นำ้ ด่ืม อาหารทะเล ยาแผนโบราณ และ ให้เกดิ การระคายเคืองตรงส่วนนนั้ และฝ่นุ ผง เป็นองค์ประกอบสำคัญในอุตสาหกรรมการ บางส่วนจะลงไปในปอดมีอาการคล้ายกับเป็น ผลติ ยากำจดั ศตั รพู ชื อตุ สาหกรรมฟอกหนงั และ หวัดคัดจมูก, ตาจะเกดิ แดง ตาอกั เสบ,ระบบหายใจ โรงงานถลงุ เหล็กเป็นตน้ เม่ือร่างกายได้รบั สาร สารหนูจะไปสะสมที่ปอดทำให้หลอดลมเกิด หนูเข้าไปทางการหายใจหรือจากการกินอาหาร อาการอักเสบอาจจะมีผลทำให้เกิดมะเร็งที่ปอด ท่ปี นเปื้อน หรอื ทางผิวสัมผัสจากเครื่องสำอาง ระบบประสาท สารหนเู มอ่ื เขา้ ไปสรู่ ะบบการไหล- ทป่ี นเปือ้ น สารหนูจะถดู ดู ซมึ เข้าไปอยู่ตามสว่ น เวียนของเลือดจะมีผลต่อน้ำย่อยที่ช่วยเผา ต่างๆ ของรา่ งกาย เชน่ เลอื ด ปสั สาวะ เสน้ ผม ผลาญอาหารทำให้หน้าที่การทำงานเสียไป และเนื้อเยื่ออน่ื ๆปรมิ าณแตกตา่ งกันไป ลักษณะ เกิดการเบ่อื อาหาร ปลายประสาทอกั เสบ แขน การเกิดพิษเนื่องจากสารหนูส่วนใหญ่เป็นการ และขาชาอาจจะเปน็ อัมพาต,ระบบสมอง เกิดพิษเรื้อรังจากการสัมผัสสารหนูเข้าสู่ร่าง ทำให้เกิดการระคายเคอื งตอ่ สมอง กระสับกระส่าย กายนานตดิ ตอ่ กัน อาการทีแ่ สดงออกทาง ความจำเสอ่ื มและอน่ื ๆเชน่ เกดิ เลอื ดจาง ระบบต่าง ๆ อาจแยกไดเ้ ป็น ท่ีผิวหนัง ผวิ หนัง อาการทางตับ ไต ส่วนใหญ่ที่สัมผัสกับสารหนูจะเกิดการระคาย เคือง เกิดเปน็ โรคผิวหนงั โดยเฉพาะผวิ ที่ ทั้งนี้องค์การอนามัยโลกและตำรามาตรฐาน อยูต่ ามซอกมมุ ตา่ งๆ เชน่ รักแร้ ซอกคอ หู ยาสมนุ ไพรไทย (ThaiHerbal Pharmaco หนังตา มุมปาก ซึง่ บางทีจะเปน็ ตุ่มแขง็ ใสพอง poeia) กำหนดใหส้ มนุ ไพรและยาจากสมนุ ไพร หรือผวิ หนงั แขง็ ด้าน โดยเฉพาะผวิ หนงั ที่ฝ่าเท้า มีการปนเปือ้ นของตะกวั่ ไดไ้ มเ่ กนิ 10 มลิ ลกิ รมั ฝ่ามอื อาจจะหลุดออกมา หรือบรเิ วณท่สี ัมผัส ตอ่ กิโลกรัม แคดเมยี มไมเ่ กิน 0.3 มิลลิกรมั ตอ่ จะเป็นจุดสีๆ คลา้ ยกับเม็ดฝนเกดิ เป็นหดู และ กิโลกรัม และสารหนไู ม่เกนิ 4 มิลลิกรัมตอ่ ต่อไปอาจจะเป็นสาเหตุของมะเร็งที่ผิวหนัง, กโิ ลกรัม ข้อกำหนดนีใ้ ช้สำหรับควบคมุ คณุ ภาพ

28 ของวัตถดุ บิ และผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร โดยการตรวจหาปรมิ าณโลหะหนกั ทป่ี นเป้อื น จะอาศัย วธิ อี ะตอมมิกสเปกโตรสโกปแี บบดูดกลนื แสง (Atomic Absorption Spectroscopy: AAS) ใช้เคร่อื งมือ พเิ ศษของห้องปฏบิ ัตกิ าร Atomic Absorption Spectrophotometer หรือ ใช้วธิ ี อะตอมมกิ สเปกโตรสโกปแี บบปลอ่ ยแสง (Atomic and Optical Emission Spectroscopy: AES และ OES) ใชเ้ ครอ่ื งมอื พเิ ศษของห้องปฏิบัตกิ าร ICP Spectrometer (Inductively Coupled Plasma Spectrometer) โดยสามารถส่งตรวจการปนเปื้อนโลหะหนักได้ที่ห้อง ปฏิบัติการของหนว่ ยงานต่าง ๆ เชน่ กรมวิทยาศาสตร์- การแพทย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์แต่ละภูมิภาค มหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ หรือหนว่ ยงานท่ีรบั ตรวจสอบ ตวั - อย่างที่ส่งตรวจต้องเป็นวัตถุดิบสมุนไพรที่ทำให้แห้ง และบดเป็นผงละเอยี ด ปรมิ าณประมาณ 20 - 50 กรมั ดังนนั้ จากการทโ่ี ลหะหนักสามารถก่อใหเ้ กิดพิษเฉียบ พลันหากได้รับปริมาณครั้งละมาก ๆ และเกิดพิษเรื้อรัง หากได้รับในปริมาณน้อยแต่สะสมเป็นเวลานาน การ ตรวจหาปริมาณการปนเปื้อนโลหะหนักในสมุนไพรจึง เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ผลิตควรตระหนักถึงอีกข้อหนึ่ง นอก เหนือไปจากการตรวจการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์และ สารพษิ ตกคา้ งจากสารเคมใี ช้ฆา่ แมลง เพอื่ ให้ผลิตภณั ฑ์ ยาจากสมุนไพรมีความปลอดภัย ชว่ ยสรา้ งความมนั่ ใจ ให้กบั ผบู้ ริโภคยิง่ ข้ึน

29

30 ปัจจุบนั มคี วามนยิ มใชผ้ ลติ ภัณฑ์ยาสมุนไพรมากยงิ่ ขึน้ ซ่ึงมสี รรพคณุ และคณุ ประโยชนม์ ากมายถา้ ผลิตไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี แตถ่ า้ ผลิตภัณฑย์ าสมุนไพรผลติ ไม่ ถูกวิธีก็อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ยาสมุนไพร เพือ่ การพฒั นาคุณภาพในการผลิตให้มคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน ดงั นี้ เกณฑ์ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรสำหรับรับประทานที่ไม่ต้องผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อ จลุ ินทรีย์กอ่ นรับประทาน เชน่ ยาผง ยาลูกกลอน ยาเม็ด ยาแคปซลู ตาม Thai Pharmacopoeia Volume I and II, SUPPLEMENT 2005

31 เกณฑ์ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรสำหรับรับประทานที่ต้องผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ กอ่ นรับประทาน เช่น ชงในนำ้ เดือด รวมทง้ั ยาสมุนไพรที่ใช้ภายนอกตาม Thai Pharmacopoeia Volume I and II, SUPPLEMENT 2005 เกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรบั ยาแผนโบราณ ตาม ประกาศสำนกั งานคณะกรรมการ อาหารและยา เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาขน้ึ ทะเบียนตำรับยาแผนโบราณเก่ียว กับมาตรฐานการปนเปือ้ นเชื้อจลุ นิ ทรยี แ์ ละโลหะหนัก ลงวนั ท่ี 25 มนี าคม2547

32 เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งซึ่งมีขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น (microorganism) มีอยู่ทว่ั ไปในส่งิ แวดล้อม แบคทีเรยี บางชนดิ สามารถ ทำให้เกิดโรคในมนุษย์ได้ในขณะเดียวกันก็มีแบคทีเรียบางชนิดที่มี ประโยชนต์ ่อรา่ งกายมนษุ ยเ์ ปน็ อยา่ งย่งิ แบคทีเรียส่วนใหญ่สามารถอยเู่ ปน็ อสิ ระนอกรา่ งกายมนษุ ยไ์ ด้ มีเพยี งบางชนิดเท่านน้ั ทจี่ ำเป็นจะตอ้ งอาศัย อยูใ่ นเซลล์ของมนษุ ย์เพือ่ การดำรงชวี ิตแบคทีเรยี ชนดิ แอโรบคิ มักทำให้ เกดิ โรคในอวยั วะทม่ี อี อกซิเจนพอเพยี ง เชน่ ผิวหนัง ช่องปาก ปอด ทาง เดนิ หายใจ กระเพาะปสั สาวะ รปู รา่ งของแบคทเี รยี เชน่ แบคทเี รยี รปู รา่ งกลม เรยี กว่า คอคคัส (Coccus) แบคทีเรียรปู ร่างเปน็ แทง่ เรยี กวา่ บาซลิ ลัส (Bacillus)

33 มีท้งั เซลล์เดยี วและเป็นเสน้ ใย รวมกลมุ่ เรียกว่าขยมุ้ รา (mycelium) เจริญอยู่ในน้ำ บนบก และซากพชื ซากสตั ว์ ตอ้ งการความชน้ื กรณีเซลล์เดยี ว หรอื ยีสต์ จะเหน็ ด้วยตาเปลา่ เป็นสีขาวหรอื สีครีม ดงั จะสังเกตจากฝ้าขาว ทีล่ ิ้นผู้ปว่ ยที่ติดเชื้อยีสต์ กรณเี ปน็ เส้นใย จะเห็นเป็นจุดสีดำ สีเทา เขยี ว ข้นึ กบั ชนิดของเชอ้ื รา เช่น รา บนขนมปัง สำหรบั เห็ดรา มสี ารพิษเขา้ ทำ ลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร ตบั หัวใจ

34 แบคทีเรียวงศ์นี้พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ เช่นในดนิ น้ำและพืชนอกจากน้ียงั พบในลำไส้ ของคนและสัตว์จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “Enteric bacilli” มักก่อโรคในระบบทาง เดนิ อาหาร โดยการกนิ อาหารหรือน้ำดมื่ ทมี่ ี เช้อื ปนเขา้ ไป และกรณีการพบเปน็ เช้ือก่อโรค แบบฉวยโอกาส (Opportunistic patho- gens) พบกอ่ ใหเ้ กิดการติดเชอื้ นอกระบบ ทางเดินอาหารและเป็นสาเหตุสำคัญส่วนใหญ่ จะเป็นการตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล (Nosoco- mial infection) โรคที่พบบอ่ ยทีส่ ุด คอื ติด เช้ือในระบบทางเดินปัสสาวะ เปน็ แบคทเี รยี ในกลมุ่ โคลฟิ อรม์ เปน็ ตวั ชส้ี ขุ ลกั ษณะ การปนเปอ้ื นของอจุ จาระ มอี ยตู่ ามธรรมชาตใิ น ลำไส้ใหญ่ของสัตว์และมนุษย์ แบคทีเรียชนิด นท้ี ำใหเ้ กดิ อาการทอ้ งเสยี บอ่ ยทส่ี ดุ ทั้งในเด็กและ ผู้ใหญ่ ทำให้ถ่ายอุจจาระเหลวหรือเป็นน้ำแต่ อาการมักไม่รุนแรงเพราะทั้งเด็กและผู้ใหญ่ มักมีภูมิต้านทานอยู่บ้างแล้วเพราะได้ รับเชื้อนี้เข้าไปทีละน้อยอยู่เรื่อย ๆ เชื้อนี้มัก มากับอาหาร น้ำ หรือมือของบคุ ลากรผปู้ ฏบิ ัติงาน

35 เป็นแบคทีเรยี ทม่ี ีชีวิตอยู่ในอากาศ ฝุ่นละออง ขยะมลู ฝอย น้ำ อาหาร และนม หรอื อาหารบรรจเุ สรจ็ สภาวะแวดลอ้ มภายนอกมนษุ ยแ์ ละ สตั ว์ ซง่ึ มนษุ ย์และสัตวเ์ ปน็ แหล่งปฐมภูมิของเชอ้ื ชนิดนโ้ี ดยจะพบอยตู่ าม ทางเดนิ หายใจ ลำคอ หรือ เส้นผม และผิวหนงั ถึง 50 % หรอื มากกวา่ น้ี ในคนที่มีสขุ ภาพดี และอาจพบเชอื้ ชนดิ นี้ 60 – 80 % ในผู้ทสี่ ัมผสั โดยตรง กบั ผปู้ ว่ ยหรือผูท้ ่สี มั ผสั กับสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล ตลอดจนบคุ ลากร ผูป้ ฏบิ ตั ิงาน รวมทั้งขัน้ ตอนการบรรจุ และสภาพแวดลอ้ มภายนอกนน้ั กเ็ ป็น สาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้เกิดการปนเปื้อนในคนส่วนมากพบบริเวณผิวหนัง เปน็ ตน้ เหตุของการเกดิ ฝี หนอง จากการอกั เสบของบาดแผล และอวัยวะ ตา่ งๆบางสายพนั ธท์ุ ป่ี ลอ่ ยพษิ (Toxin) จะทำใหเ้ กดิ อาการทอ้ งรว่ งอาเจยี น ร่วมด้วย ปกติจะพบกระจายในดนิ น้ำ ขยะ หรือในพืช และเปน็ normal flora ในลำไส้คนสามารถทำให้เกิดโรคในคนรวมทั้งสัตว์แมลงและต้นไม้ได้ บา้ ง เป็นเชอ้ื โรคฉวยโอกาสจะมีการตดิ เช้อื กบั ผ้ทู ่ภี มู ิคุ้ม กันต่ำหรือป่วยมากๆหรือผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาลบางทีจึง เรยี กโรคตดิ เชอื้ ทเ่ี กดิ จาก ว่าโรคติดเช้ือในโรงพยาบาล เชื้อนี้สามารถแพร่กระจายภายในโรงพยาบาลโดยบุคลากรอุปกรณ์การแพทย์ ผิวหนัง น้ำยาฆา่ เชอ้ื และอาหาร ซึ่งเป็นสาเหตสุ ว่ นใหญใ่ นการกอ่ ใหเ้ กดิ โรคปอดบวม สำหรับผู้ปว่ ยท่มี ีอาการหนกั อยแู่ ล้วจะเสียชีวิตเน่อื งจาก โรคติดเชือ้ จาก ซ่ึงดื้อยาปฏชิ วี นะมากทำใหย้ ากต่อการรกั ษา

36 เชือ้ มักปนเปื้อนมากับนำ้ และอาหาร และบางครั้งอาจเกิดจากสตั ว์เลยี้ ง ที่อาศัยตามอาคารบ้านเรือนซึ่งเป็นพาหนะของเชื้อด้วยเหตุนี้จึงทำให้ เชื้อSalmonelaเป็นสาเหตสุ ำคญั ท่ีทำใหเ้ กดิ อาการท้องร่วงประกอบกับ เชื้อมีอตั ราการแพรร่ ะบาดสูง จึงสามารถพบผปู้ ่วยท่ีเป็นโรคจากเชือ้ น้ีใน อตั ราสงู ดว้ ยและเราเรยี กโรคทเ่ี กดิ จากเชอ้ื Salmonella วา่ Salmonellosis พบบอ่ ยในสตั ว์ปกี สัตว์เล้ือยคลาน แมลงตา่ งๆ ในมลู ของนก,หนู ปนเป้อื น ระหว่างผ่งึ ตวั ยาให้แหง้ เกบ็ ไม่ดี เชอื้ อยู่รอดได้นาน เกดิ อาการท้องร่วง อาเจยี นอยา่ งรุนแรงการตม้ เดอื ดทำลายได้

37 แบคทีเรียกลุ่มนี้จะมาจากดินเป็นส่วนใหญ่และสามารถทนต่อสภาวะ แวดลอ้ มได้สูง มหี ลายสายพนั ธุ์ทีก่ อ่ ใหเ้ กิดโรคในคน ไดแ้ ก่ Clostridium- tetani เปน็ สาเหตขุ องโรคบาดทะยกั แหล่งเกบ็ ของเชือ้ พบไดท้ กุ ทีอ่ าจอยู่ ในดนิ หรอื การสัมผสั กับสง่ิ สกปรก Clostridium perfringens ทำใหเ้ กดิ โรค gasgangrene หรือโรคเนื้อตายเนา่ (myonecrsis) มีลกั ษณะของโรคคือ โลหติ เปน็ พิษ และมีก๊าซอยใู่ นเนือ้ เย่ือรอบๆบาดแผล Clostridium botulinum ทำให้เกดิ โรคโบทลู ซิ มึ ในคน (human botulism หรอื food-borne botulism) มักเกิดอาการอ่อนเพลยี ปวดทอ้ ง เวียนศีรษะ ปากคอแห้ง คลนื่ ไส้ อาเจียน ขึ้นหลงั จากได้รับเชือ้ จากการรับประทาน 1- 2 วัน อาจเสียชวี ิตภายใน 1 วนั โบทลู ิซึมท่เี กิดจากบาดแผล (wound -botulism) เกดิ จาก toxin เขา้ ทางบาดแผล มีอาการผดิ ปกติทางประสา ทเกดิ ข้นึ ระยะฟกั ตวั ของโรคประมาณ 4-14 วนั หลงั จากเกิดบาดแผล

38 2.1 แหลง่ ปลูก เลือกแหลง่ ปลูกทีไ่ มม่ กี ารเลีย้ งสตั ว์รว่ มดว้ ย เน่ืองจาก มูลสตั วจ์ ะมีการปนเปอื้ นเชื้อ จุลนิ ทรยี ก์ ลมุ่ E. coli ได้มาก 2.2 วตั ถดุ บิ และส่วนประกอบ ควรเลอื กทีส่ ะอาดและมีการเกบ็ รักษาทเ่ี หมาะสม - ก่อนนำมาใชต้ ้องมกี ารทำความสะอาด โดยเฉพาะสว่ นที่สัมผัสกบั ดินมากกวา่ สว่ นอน่ื ๆ ของพชื ได้แก่ สว่ นราก เหง้า เนื่องจาก ส่วนทีผ่ สั กับดิน อาจมกี ารปนเป้ือนเช้ือจุลนิ ทรียท์ อี่ ยู่ ในดนิ กลุม่ Clostridium ไดง้ า่ ย ในขณะเดยี วกนั สมนุ ไพรที่ได้จากดอกและใบทีมพี ้นื ผิวกว้าง จะพบปรมิ าณจลุ ินทรีย์สงู เช่นกนั - การทำสมุนไพรใหแ้ หง้ ควรอบในตอู้ บ หรืออาจตากในโรงไมห้ ลงั คาเปน็ ตาข่ายโดยวาง สมุนไพรบนตะแกรงมชี ่องระบายอากาศด้านข้าง เพอ่ื ปอ้ งกันฝุ่นละอองและลมถ้าจำเป็นผง่ึ ใน ที่ร่มได้ ถ้าเป็นสมุนไพรทม่ี สี ารระเหยงา่ ย 2.3 การเกบ็ รักษาพชื สมนุ ไพร - สถานท่ีเก็บรกั ษาต้องแหง้ มีการถ่ายเทของอากาศดี ควรมกี ารปอ้ งกันสัตว์ นก หนู และแมลงรบกวน - ภาชนะส่วนใหญใ่ ชแ้ กว้ มีฝาปดิ เหมาะสำหรบั สมนุ ไพรท่ีหัน่ เปน็ ช้นิ เล็กๆหรอื ปน่ เปน็ ผงแห้งดแี ลว้ ควรปิดฝาให้สนทิ เพือ่ ไมใ่ ห้อากาศเข้า มีการควบคมุ ความชืน้ และ อุณหภูมใิ นการจัดเกบ็ สำหรบั สมนุ ไพรชิน้ ใหญ่ อาจเกบ็ ในถุงผา้ หรือถงุ กระดาษทบึ ทป่ี กปิด มิดชดิ ไมใ่ หถ้ ูกแสง เพราะแสงเป็นตัวการทำลายสรรพคุณทางยาได้ (หา้ มใช้ถุงปุ๋ย หรอื ถงุ ที่ เคยบรรจสุ ารเคมอี น่ื ๆ) การเกบ็ ในถงุ พลาสตกิ ทป่ี ดิ สนทิ จะเปน็ การเพม่ิ ความชน้ื ในถงุ ถา้ สมนุ ไพร มีความชน้ื มากทำใหเ้ ชอ้ื จุลินทรียส์ ามารถเจรญิ เติบโตได้ดีบนสมุนไพรนั้นๆ - ควรแยกเก็บสมุนไพรแต่ละชนดิ ให้เปน็ สดั สว่ นและเป็นหมวดหมู่ โดยใชร้ ะบบ FIFO (First In First Out) วัตถดุ บิ ที่รบั เข้าก่อนควรจ่ายออกกอ่ น

39 2.4 ขัน้ ตอนการผลิต - สถานทห่ี รอื อาคารผลติ ควรมกี ารทำความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ หอ้ งปดิ มดิ ชดิ เพอ่ื ปอ้ งกนั สัตว์นำเชื้อแมลงและฝ่นุ ผงอื่นๆเข้ามา และไมอ่ ย่ไู กล้เคียงกับสถานที่อาจก่อให้เกิดการปนเปอื้ น เชน่ บริเวณทีเ่ ลยี้ งสตั ว์แหล่งเก็บหรือกำจดั ขยะ - อุปกรณ์ เคร่ืองมือ ควรมีการลา้ งทำความสะอาดและฆ่าเชอ้ื ทกุ คร้ังทง้ั กอ่ นและหลังการใช้ งาน และหลีกเลี่ยงอุปกรณส์ ว่ นท่ีสัมผัสยาที่เปน็ วัสดไุ ม้เพราะถ้าชื้นหรอื เกบ็ รักษาไม่ไดจ้ ะทำใหข้ ้ึน ราง่าย หากจำเปน็ ตอ้ งใช้ใหท้ ำความสะอาดเชด็ ใหแ้ ห้ง และตากแดด - มรี ะบบการขนยา้ ย และการขนส่งสมุนไพรทดี่ ี - มีการกำจดั ขยะสิ่งสกปรกและนำ้ ทง้ิ อยา่ งเหมาะสมเพือ่ ไม่กอ่ ให้เกดิ การปนเปอ้ื นกลับลงสู่ ผลิตภณั ฑ์ 2.5 บุคลากร ต้องไม่เป็นโรคติดตอ่ หรอื บาดแผลทีจ่ ะทำให้เกิดการปนเป้ือนกบั ยาทผี่ ลิต รักษาความสะอาดส่วน บคุ คลให้ดี เช่น สวมเสอ้ื ผ้าท่สี ะอาด แต่งกายมดิ ชิด มีหมวกคลมุ ผม เพ่ือปอ้ งกันไม่ให้เส้นผมหล่นลง ในผลิตภัณฑ์ มผี า้ ปิดจมกู ไมไ่ ว้เลบ็ ยาว มีระเบียบวนิ ยั ในการปฏิบัตงิ านอย่างถกู วิธแี ละเคร่งครดั เชน่ ล้างมือทุกครัง้ ทงั้ ก่อนและหลงั การปฎบิ ัติงาน หลงั การใชห้ อ้ งสุขาและเม่อื มือสกปรกเนื่องจากเชอ้ื แบคทีเรยี กล่มุ E. coli สามารถปนเปื้อนมาไดเ้ ม่ือเขา้ ห้องสขุ าแลว้ ไมล่ ้างมอื และไมค่ วรไม่รับประทาน อาหารในห้องปฏบิ ตั งิ าน

40