Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัปปุริสธรรม ๗ หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก

สัปปุริสธรรม ๗ หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก

Description: สัปปุริสธรรม ๗ หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก

Search

Read the Text Version

บ๗ทที่ ใหร้ จู้ กั เลอื กคน วันนลี้ ุงจะมาพูด หัวขอ้ สดุ ท้ายให้ฟัง หลานไดฟ้ งั ลงุ ชแ้ี จงใหฟ้ งั มาแลว้ ๖ ขอ้ ยงั เหลอื อกี ขอ้ เดยี ว เป็นข้อสุดท้ายของวิธีที่ทำ�ให้เป็นคนดี ข้อสุดท้ายที่ลุงจะพูดให้ฟัง วนั น้ี ลงุ ตอ้ งพดู มากสกั หนอ่ ย เพราะหลานยงั เปน็ เดก็ อยู่ คดิ อะไรเอง ไมไ่ ดท้ ง้ั หมด ตอ้ งอาศยั ผใู้ หญ่ เชน่ ครู อาจารย์ ชว่ ยแนะ ชว่ ยบอก ใหร้ ู้ 49

หลานยงั คงจ�ำ เรอ่ื งของคนในขอ้ ๖ ทล่ี งุ พดู มาแลว้ วา่ คนเรา ต้องพึ่งพาอาศัยกัน มากน้อยตามเหตุจำ�เป็นท่ีเกิดขึ้น หลานอยู่ โรงเรียน หลานก็มีเพ่ือนนักเรียนเป็นจำ�นวนมาก ในพวกเพ่ือน ๆ ของหลานนั้น ถ้าหลานดูให้ดีจะเห็นว่ามีอยู่หลายชะนิด บางคน เปน็ เพื่อนเรยี น บางคนเป็นเพื่อนเลน่ บางคนกเ็ ปน็ เพยี งเพอื่ นร่วม โรงเรยี น คอื ไม่สนิทสนมกนั นกั และยงั มอี ีกหลายอย่าง หลานตอ้ ง คบเพ่ือน ๆ เหล่านั้นทุกคน เพราะคนเราน้ันดีกัน ดีกว่าโกรธกัน แตเ่ พอ่ื นบางคนชักเราใหเ้ สียหาย เช่น เพอ่ื นท่เี กียจคร้านการเรียน ไปเลน่ กนั เถอะ ใกล้สอบแลว้ ก็มักชวนให้เรา อ่านหนงั สอื ดีกว่า เถลไถลตอ่ การเรยี น ส่วนเพ่อื นท่ดี ี ก็ชกั ชวนเรา ให้ต้ังใจเรียน ถ้าเราคบเพื่อนผิด คือคบเพ่ือนเหลวไหล นานเข้าเราก็จะ กลายเป็นคนเหลวไหลไปตามเพอ่ื น หลานตอ้ งเลอื กเพอื่ นทจี่ ะคบ ลงุ พดู อยา่ งน้ี หลานคงคดิ วา่ ถา้ เพอ่ื นเปน็ อยา่ งน้ี เราเลกิ คบ เพอ่ื นดเู หมอื นจะดกี วา่ เพราะไมต่ อ้ งเลอื กใหเ้ สยี เวลา ลงุ ไมเ่ หน็ ดว้ ย ถ้าหลานจะคดิ อย่างนัน้ เพราะเป็นการคิดผิด 50

อยา่ มายุง่ ตามใจเธอกแ็ ล้วกนั เพือ่ นเป็นสิง่ สำ�คญั กับฉนั นะ คนเราตอ้ งคบเพื่อน แตต่ อ้ งรจู้ ักคบ คนที่ไมค่ บเพอ่ื น เป็นคนขาดสมาคม ใช้ไมไ่ ด้ คนดีต้องมกี ารสมาคม จงึ จะเปน็ คนทันสมัย การสมาคมเป็นส่ิงสำ�คัญมาก เพราะทำ�ให้เรามีความรู้ กว้างขวาง การคบเพื่อนเราหลีกไม่ได้ เราตอ้ งคบ แตเ่ ราตอ้ งเลอื ก คนท่ีควรคบหรือไมค่ วรคบ คนนัน้ มที ง้ั ดีและชว่ั คนดีคนช่ัว เราต้องดูที่ความประพฤติ ของเขา ถงึ เขาจะพยายามปกปดิ ความชว่ั ของเขาตอ่ หนา้ เราในทแี รก ๆ ที่คบกัน เราก็จะต้องได้พบความประพฤติท่ีแท้ของเขาในวันต่อไป เราต้องดูให้รู้ ลุงจะบอกลักษณะคนดีและคนชั่วให้หลานจำ�เป็น ความรไู้ ว้ ส�ำ หรับเลือกคบคนต่อไป คนท่ีดี ต้องมีความประพฤติดี มีกิริยาดี สุภาพอ่อนโยน มใี จดี รูจ้ ักมเี มตตา กรุณา แก่คน และแกส่ ตั ว์ คนช่ัว มีความประพฤติไม่ดี มีกิริยากะด้าง๘ หยาบคาย ไม่สภุ าพออ่ นโยน ไมร่ จู้ กั เมตตา กรุณาใคร ๘ กระดา้ ง 51

ทล่ี งุ พูดนี้ เป็นลกั ษณะทวั่ ๆ ไป ลักษณะของเพือ่ นทีด่ ีนน้ั หลานต้องดูให้รู้ ว่าเขาเป็นเพื่อนกับเราด้วยอาการอย่างไร ถ้ามี ลกั ษณะอย่างนี้ คือ ๑. เป็นคนปอกลอก คอยแตจ่ ะเอาเปรียบเรา ๒. ดีแต่พูด ชอบพดู แตส่ ง่ิ ที่ไม่มีประโยชน์ ๓. แสดงท่าทีประจบประแจง เราจะทำ�อะไรเห็นดีด้วย หมดทกุ อยา่ ง ๔. ชกั ชวนเราในทางเสยี หาย เชน่ ชวนเที่ยว ชวนกนิ เหลา้ ชวนเล่นการพะนนั ๙ เพ่ือนที่มีลักษณะอย่างน้ี หลานต้องพยายามตีตัวออกห่าง อยา่ คบเปน็ เพอ่ื นทไ่ี วว้ างใจ จะคบกต็ อ้ งคบเพยี งเปน็ คนรจู้ กั พออยา่ ให้เปน็ การหมางใจกันเปน็ พอ ถา้ คนใดมีลักษณะตรงกนั ข้ามกับทล่ี งุ ชแ้ี จงมาแลว้ คือ ๑. เป็นเพ่ือนมีอุปการะช่วยเหลือเรา ป้องกันภัยให้เรา ทกุ ๆ อย่าง ๒. ร่วมสุขร่วมทกุ ข์กับเรา เราจะเป็นอยา่ งไร เขาไม่ทิง้ เรา และถอื ว่า เราเทา่ กบั ตวั เขา ๓. จะแนะนำ�ชักชวนเราให้ทำ�อะไร ก็ล้วนแต่สิ่งท่ีดี มีประโยชน์ ๔. รักใคร่เราจริง ๆ ใครจะพูดถึงเราในทางดีหรือช่ัว เขา ตอ้ งเปน็ ตวั แทนเราเสมอ ๙ การพนัน 52

เพ่ือนท่ีมีลักษณะอย่างนี้ หลานของลุงจงคบเถิด เพราะ เปน็ เพ่ือนที่ดีแท้ เราจะเลือก การเลือกคนที่ควรคบ คบใครดีนะ และไม่ควรคบนนั้ เปน็ ส่ิงส�ำ คญั เพราะจะทำ�เรา ให้เปน็ ได้ท้ังดีและชั่ว คบเพอ่ื นดี เปน็ สิรมิ งคลแกต่ ัว คบเพ่อื นชัว่ ความอัปมงคล กบ็ ังเกดิ แกเ่ รา พระท่านสอนให้เรารู้จักเลือกคน เพราะเป็นวิธีท่ีทำ�คนให้ เป็นคนดีอย่างน้ี หลานต้องจำ�ไว้ให้ดี ย่ิงหลานโตข้ึนหลานจะต้อง ติดต่อกับคนมากข้ึน ถ้าไม่ระวังตัวในเร่ืองคบคนแล้ว หลานทำ�ดี มาแต่ต้น จะพลาดมือกลายเป็นคนชั่วได้ ข้อนี้หลานควรจำ�ให้ แม่นยำ� พระท่านเรียกว่า ปุคคลปโรปรัญญุตา แปลว่า ความเป็น ผรู้ ้จู กั เลือกคนท่คี วรคบ ซ่ึงเปน็ ขอ้ ที่ ๗ ข้อสดุ ท้าย 53

ค�ำ ถาม ประ จำ� บท ๑. ๒. คนมีก่ชี ะนิด ? คนดี คนชว่ั เรารไู้ ด้ ดว้ ยอะไร ? ๓. ๔. คนชะนิดไหน ทำ�ไมเราจึงตอ้ ง ควรคบ ชะนิดไหน ไมค่ วรคบ ? คบเพือ่ น ? ๕. ๖. ๗. เพ่ือนดี และไมด่ ี การรูจ้ ัก พระท่านเรยี ก ตา่ งกนั อยา่ งไร ? เลือกคบคน การรจู้ กั เลือกคบคน ดอี ย่างไร ? ว่าอยา่ งไร ? 54

สรปุ หลานตอ้ งจำํ�เรื่อง ที่ลุงสอนให้ดนี ะ หลานรักจะเป็นคนดี หลานต้องนึกถึงเร่ืองท่ีลุงชี้แจงมา แต่ต้นจนจบในวันนี้ไว้เสมอ หลานเข้าใจคำ�อธิบายของลุงดีแล้ว ลุงใคร่จะให้หลานจ�ำ หัวข้อของ เร่ือง สปั ปุริสธรรมนแ้ี ต่ย่อ ๆ ตาม คำ�พระไว้ จะท�ำ ใหห้ ลานจ�ำ ได้นานไมล่ ืมเสียงา่ ย ๆ คือ หลานจงจำ� ดังนี้ สัปปุริสธรรม ธรรมของสัตบุรุษ คือ วิธีทำ�ให้ตัวเราเป็น คนดี ๗ อยา่ ง 55

ขอ้ ๑. ธัมมญั ญตุ า ความเป็นผ้รู ู้จกั เหตุดแี ละชวั่ ขอ้ ๒. อัตถญั ญุตา ความเปน็ ผู้รู้จกั ผลดีและชว่ั ขอ้ ๓. อัตตญั ญตุ า ความเปน็ ผ้รู ูจ้ กั ตน ข้อ ๔. มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ คือความ พอดี ขอ้ ๕. กาลญั ญตุ า ความเปน็ ผรู้ จู้ กั เวลา ไมใ่ หเ้ วลาผา่ นไป โดยไมไ่ ดท้ �ำ อะไรใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กต่ วั เรา ข้อ ๖. ปริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมนุมชน และความ ประพฤติท่ตี ้องใชต้ ่อชุมนมุ ชน ขอ้ ๗. ปคุ คลปโรปรญั ญตุ า ความเปน็ ผรู้ จู้ กั เลอื กคนทค่ี วร คบและไมค่ วรคบ หลานจ�ำ อยา่ งยอ่ ๆ อยา่ งนไ้ี ดแ้ ลว้ จะเปน็ เครอ่ื งเตอื นใจให้ หลานตง้ั หนา้ ท�ำ ตวั ใหเ้ ปน็ คนดี หลานจะไดม้ ชี อ่ื วา่ เปน็ สตั บรุ ษุ คอื คนดี สมกบั ทห่ี ลานของลงุ เปน็ คนไทย ชาตไิ ทย ชาตทิ เ่ี คารพนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาอนั เปน็ ศาสนาประจ�ำ ชาตขิ องเรามาแต่ด้ังเดิม 56

ภาคผนวก สัปปุริสธรรม ๗ หนังสือสอนพระพทุ ธศาสนาแกเ่ ด็ก นายสง กรอไุ ร แต่ง ได้รบั พระราชทานรางวลั ชั้นที่ ๑ ในการประกวดประจำ�พุทธศักราช ๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ มิ พพ์ ระราชทาน เนื่องในงานพระราชพิธีวศิ าขบูชา พทุ ธศักราช ๒๔๘๘



ก (สำ�เนา) ที่ ๓๓๖/๒๔๘๘ สำ�นกั งานราชเลขานุการในพระองค์ ๑๐ เมษายน ๒๔๘๘ เรอ่ื ง การประกวดแตง่ หนงั สือสอนพระพุทธศาสนาแกเ่ ด็ก ราชเลขานกุ ารในพระองค์ ทูล นายกราชบณั ฑิตยสถาน ลายพระหตั ถท์ ี่ ๑๕๑/๒๔๘๘ ลงวันที่ ๖ มนี าคม ๒๔๘๘ ว่าการประกวดแต่งหนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก เพื่อรับ พระราชทานรางวัลและพิมพ์พระราชทานในงานพระราชกุศล วศิ าขบชู าประจ�ำ พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ ราชบณั ฑติ ยสถานไดป้ ระกาศ ให้แต่งประกวดตามหัวข้อธรรมเรื่อง “สัปปุริสธรรม ๗” มีผู้แต่ง ส่งเข้าประกวด ๖ ราย ราชบัณฑิตยสถานได้ตั้งให้พระศรีสมโพธิ สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การศึกษาเป็นกรรมการตรวจในทาง หลกั ธรรม ซ่ึงเปน็ การตรวจชน้ั ตน้ พระศรสี มโพธิได้ตรวจคดั เลือก ได้ฉะบับที่ถูกต้องตามหลักธรรม ซึ่งจัดว่าอยู่ในชั้นดีควรได้รับการ พิจารณาต่อไป ๓ ฉะบับ คือฉะบับหมายเลขที่ ๑-๒ และ ๓ ราชบัณฑิตยสถานได้ส่งหนังสือทั้ง ๓ ฉะบับให้สำ�นักศิลปกรรม ตรวจในเชิงวรรณคดีอีกชั้นหนึ่ง สำ�นักศิลปกรรมได้ตรวจคัดเลือก

แลว้ เสนอความเหน็ วา่ ฉะบบั ทแ่ี ตง่ ดถี งึ ระดบั ควรไดร้ บั พระราชทาน รางวัล มีเพียงฉะบับเดยี ว คือฉะบับหมายเลขท่ี ๑ ความเห็นของ สำ�นักศิลปกรรมนี้ ในที่ประชุมใหญ่แห่งราชบัณฑิตเห็นพ้องด้วย จึงให้เปิดชื่อผู้แต่ง ปรากฏว่า นายสง กรอุไร เปรียญ เป็นผู้แต่ง ดังส�ำ เนาหนังสอื หมายเลขที่ ๑ ซึ่งได้เสนอไปนนั้ ฯ พณ ฯ ผ้สู �ำ เรจ็ ราชการแทนพระองคใ์ นพระปรมาภไิ ธย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ตรวจพจิ ารณาแลว้ เหน็ ชอบดว้ ยในการที่ จะให้หนังสือฉะบับหมายเลขท่ี ๑ ไดร้ บั พระราชทานรางวัล จงึ ทลู มาเพื่อทรงทราบ (ลงนาม) เกล้า ฯ เฉลียว ปทุมรส (นายเฉลยี ว ปทุมรส)

ข (สำ�เนา) ที่ ๑๕๑/๒๔๘๘ ราชบัณฑติ ยสภา ๖ มีนาคม ๒๔๘๘ เรือ่ ง การประกวดแต่งหนังสือสอนพระพทุ ธศาสนาแกเ่ ดก็ เรยี น ฯ พณ ฯ ผู้ส�ำ เรจ็ ราชการแทนพระองค์ ข้าพเจ้าขอรายงานการประกวดแต่งหนังสือสอนพระ- พทุ ธศาสนาแกเ่ ดก็ เพอ่ื รบั พระราชทานรางวลั และพมิ พพ์ ระราชทาน ในงานพระราชพธิ ีวิศาขบูชา ประจ�ำ พุทธศักราช ๒๔๘๘ ดง่ั ตอ่ ไปนี้ การประกวดแต่งหนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก ประจ�ำ ปนี ้ี ราชบณั ฑติ ยสถานไดป้ ระกาศใหแ้ ตง่ ประกวดตามหวั ขอ้ ธรรมเรอื่ ง “สัปปุริสธรรม ๗” มีผ้แู ตง่ สง่ เข้าประกวด ๖ ราย เปน็ พระภกิ ษุ ๓ ราย คฤหัสถ์ชาย ๓ ราย ราชบณั ฑติ ยสถานได้ตั้งให้ พระศรีสมโพธิ สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การศึกษาเป็นกรรมการ ตรวจในทางหลักธรรม ซึ่งเป็นการตรวจชั้นต้น พระศรีสมโพธิได้ ตรวจคัดเลอื กได้ฉะบับท่ีถูกต้องตามหลกั ธรรม ซ่ึงจดั วา่ อยใู่ นชน้ั ดี ควรได้รบั การพจิ ารณาต่อไป ๓ ฉะบับ คือฉะบบั หมายเลขที่ ๑-๒ และ ๓

ราชบัณฑิตยสถานได้ส่งหนังสือทั้ง ๓ ฉะบับนั้นให้สำ�นัก ศลิ ปกรรมตรวจในเชงิ วรรณคดอี กี ชน้ั หนง่ึ ส�ำ นกั ศลิ ปกรรมไดต้ รวจ คัดเลือกหนังสือทั้ง ๓ ฉะบับนั้นแล้ว เสนอความเห็นว่าฉะบับที่ แต่งดถี งึ ระดบั ควรไดร้ บั พระราชทานรางวลั มีเพียงฉะบับเดียว คือ ฉะบบั หมายเลขท่ี ๑ ความเหน็ ของส�ำ นกั ศลิ ปกรรมนใ้ี นทป่ี ระชมุ ใหญ่ แห่งราชบัณฑติ เหน็ พ้องด้วย จึงใหเ้ ปิดชือ่ ผ้แู ตง่ ปรากฏวา่ นายสง กรอุไร เปรียญ เป็นผู้แต่ง ข้าพเจ้าขอเสนอสำ�เนาหนังสือฉะบับ หมายเลขที่ ๑ น้นั มาพรอ้ มกบั หนงั สอื น้ี ขอแสดงความนับถืออยา่ งยิง่ (ลงพระนาม) วรรณไวทยากร (พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ วรรณไวทยากร) นายกราชบณั ฑติ ยสถาน

นายสง กรอไุ ร

สปั ปรุ สิ ธรรม ๗ หนงั สือสอนพระพทุ ธศาสนาแก่เด็ก ISBN : 978-616-7975-07-8 แต่งโดย นายสง กรอไุ ร ได้รับพระราชทานรางวลั ช้ันที่ ๑ ในการประกวดหนงั สอื สอนพระพุทธศาสนาแก่เด็กประจำ�ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ พิมพค์ ร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๔๘๘ พิมพค์ รั้งที่ ๒ (ปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๕๙ จำ�นวน ๓,๐๐๐ เลม่ จัดพิมพโ์ ดย สำ�นกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี สวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๓ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๒ ๖๕๑๑ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๓๙๒๓ ออกแบบปก/รปู เลม่ /และภาพประกอบโดย ไพยนต์ กาสี เสาวณีย์ เทย่ี งตรง และ อนันต์ กิตติกนกกลุ พิมพท์ ี่ หจก. แอลซีพี ฐติ พิ รการพิมพ์ ๑๐๕/๖๖-๖๗ ถนนประชาอทุ ศิ ซอย ๔๕ แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรงุ เทพฯ ๑๐๑๔๐