Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

Description: ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

Search

Read the Text Version

ภูมศิ าสตรป์ ระเทศไทย วชิ ญ์ จอมวิญญาณ์ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี 2560

ก คำนำ ตำรำภูมิศำสตร์ประเทศไทยเล่มน้ีใช้ในกำรเรียนรำยวิชำภูมิศำสตร์ประเทศไทย รหัสวิชำ SE02201 ผู้เขียนได้อำศัยกำรประสบกำรณ์ที่ได้พบเห็นด้วยตนเองและได้รับฟังมำจำกนักวิชำกำร ร่วมกับกระบวนกำรวิเครำะห์และสังเครำะห์ข้อเท็จจริง ฐำนข้อมูล เอกสำร ตำรำ หนังสือและงำน ศึกษำวิจยั ท่มี ีควำมเกี่ยวข้องกับภมู ิศำสตรป์ ระเทศไทย ตำรำภูมิศำสตร์ประเทศไทย มุ่งเน้นให้ผู้ศึกษำมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจและควำมสำมำรถใน ด้ำนกำรวิเครำะห์ลักษณะโดยท่ัวไปของภูมิศำสตร์ประเทศไทย อันประกอบไปด้วย ขอบเขต ท่ีตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอำกำศ ประชำกรและกลุ่มชำติพันธ์ุ ทรัพยำกร ระบบเศรษฐกิจและ แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ เป็นตน้ ตำรำเล่มนปี้ ระกอบไปดว้ ยเน้ือทง้ั สิ้น 8 บท ได้แก่ บทนำ ภมู ิศำสตร์ประเทศไทยภำคเหนือ ภูมิศำสตร์ประเทศไทยภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมิศำสตร์ประเทศไทยภำคตะวันตก ภูมิศำสตร์ ประเทศไทยภำคใต้ ภูมิศำสตร์ประเทศไทยภำคตะวันออก ภูมิศำสตร์ประเทศไทยภำคกลำงและงำน ศึกษำภำคสนำมทำงดำ้ นภูมิศำสตรป์ ระเทศไทย ภำพประกอบท่ีใช้ในตำรำเล่มนี้ส่วนใหญ่เป็นไปตำมกระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนของ นักศึกษำ บันทึกภำพโดย อำจำรย์ชฏล นำคใหม่ สำขำวิชำภูมิสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำ คณะ มนุษยศำสตรแ์ ละสังคมศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏอุดรธำนี ผู้เขียนได้ศึกษำรำยละเอียดเพ่ิมเติมสำหรับรูปแบบกำรเขียนที่เป็นทำงกำรที่ยึดระเบียบ งำนสำรบรรณของสำนักนำยกรัฐมนตรเี ป็นหลัก หวังว่ำเอกสำรกำรสอนน้ีคงอำนวยประโยชน์ตอ่ กำร สอนภูมิศำสตร์ประเทศไทยตำมสมควร หำกท่ำนท่ีนำไปใช้มีข้อเสนอแนะผู้เขียนยินดีรับฟังและ ขอขอบคุณในควำมอนเุ ครำะหน์ ัน้ ณ โอกำสนดี้ ้วย วชิ ญ์ จอมวญิ ญำณ์ มนี ำคม 2560



สารบัญ ค คานา หน้า สารบญั ก สารบญั ภาพ ค สารบญั ตาราง ช ฐ บทท่ี 1 บทนา 1.1 ถิ่นกำเนิดชนชำตไิ ทยตำมหลกั ฐำนทำงประวตั ิศำสตร์ 1 1.2 กำรตง้ั ถิน่ ฐำนในไทยสมัยก่อนประวัติศำสตร์ 1 1.3 ทต่ี งั้ ขอบเขตของประเทศไทย 2 1.4 หลักเขตแดนของประเทศไทย 5 1.5 กำรกำหนดแนวเขตแดนทำงบกของไทยกับเพอ่ื นบ้ำน 7 1.6 กำรกำหนดแนวเขตแดนทำงทะเลของไทยกับเพอื่ นบ้ำน 10 1.7 บทสรุป 19 1.8 แบบฝึกหดั ทำ้ ยบท 24 24 บทที่ 2 ภมู ิศาสตร์ประเทศไทยภาคเหนือ 27 2.1 ทีต่ ้ัง 27 2.2 ขอบเขต 27 2.3 ลักษณะภูมปิ ระเทศ 28 2.4 ลกั ษณะภูมิอำกำศ 34 2.5 ประชำกรภำคเหนอื 44 2.6 ทรพั ยำกร 50 2.7 สภำพเศรษฐกจิ 64 2.8 แผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติและภำคเหนือ 71 2.9 บทสรุป 72 2.10 แบบฝึกหัดท้ำยบท 74 77 บทท่ี 3 ภูมศิ าสตร์ประเทศไทยภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 77 3.1 ท่ตี ้ัง 77 3.2 ขอบเขต

ง หนา้ 78 สารบญั (ตอ่ ) 83 93 3.3 ลกั ษณะภมู ิประเทศ 99 3.4 ลักษณะภมู ิอำกำศ 112 3.5 ประชำกรภำคตะวันออกเฉียงเหนอื 120 3.6 ทรัพยำกร 122 3.7 สภำพเศรษฐกิจ 123 3.8 แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ 125 3.9 บทสรปุ 125 3.10 แบบฝึกหัดท้ำยบท 125 บทท่ี 4 ภมู ิศาสตร์ประเทศไทยภาคตะวันตก 127 4.1 ทต่ี ัง้ 132 4.2 ขอบเขต 143 4.3 ลกั ษณะภมู ิประเทศ 147 4.4 ลกั ษณะภมู ิอำกำศ 159 4.5 ประชำกรภำคตะวันตก 166 4.6 ทรพั ยำกร 168 4.7 สภำพเศรษฐกิจ 169 4.8 แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติและภำคตะวันตก 171 4.9 บทสรปุ 171 4.10 แบบฝึกหัดทำ้ ยบท 171 บทท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์ประเทศไทยภาคใต้ 173 5.1 ทตี่ งั้ 178 5.2 ขอบเขต 189 5.3 ลกั ษณะภูมิประเทศ 195 5.4 ลักษณะภมู อิ ำกำศ 210 5.5 ประชำกร 218 5.6 ทรพั ยำกร 5.7 สภำพเศรษฐกจิ 5.8 แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำตแิ ละภำคใต้

สารบญั (ตอ่ ) จ 5.9 บทสรปุ หนา้ 5.10 แบบฝกึ หัดทำ้ ยบท 220 บทท่ี 6 ภมู ศิ าสตรป์ ระเทศไทยภาคตะวันออก 221 6.1 ทตี่ ัง้ 223 6.2 ขอบเขต 223 6.3 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 223 6.4 ลักษณะภูมอิ ำกำศ 225 6.5 ประชำกร 230 6.6 ทรัพยำกร 240 6.7 สภำพเศรษฐกจิ 244 6.8 แผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติและภำคตะวนั ออก 253 6.9 บทสรุป 261 6.10 แบบฝึกหัดท้ำยบท 263 บทที่ 7 ภูมิศาสตรป์ ระเทศไทยภาคกลาง 264 7.1 ทีต่ ้ัง 267 7.2 ขอบเขต 267 7.3 ลักษณะภูมปิ ระเทศ 267 7.4 ลักษณะภูมิอำกำศ 269 7.5 ประชำกร 274 7.6 ทรัพยำกร 285 7.7 สภำพเศรษฐกจิ 290 7.8 แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำตแิ ละภำคกลำง 302 7.9 บทสรุป 313 7.10 แบบฝกึ หัดทำ้ ยบท 315 บทที่ 8 งานศกึ ษาภาคสนามทางดา้ นภมู ศิ าสตรป์ ระเทศไทย 316 8.1 กำรศกึ ษำภำคสนำม 319 319 8.2 ประเภทของกำรศึกษำภำคสนำมทำงด้ำนภมู ิศำสตร์ 321 8.3 ควำมสำคัญของกำรศกึ ษำภำคสนำมทำงด้ำนภมู ิศำสตร์ 324 8.4 กระบวนกำรในกำรศกึ ษำภำคสนำม 328

ฉ หนา้ 334 สารบญั (ต่อ) 335 8.5 เทคนิควิธกี ำรในกำรศกึ ษำภำคสนำม 336 8.6 หลกั กำรศึกษำภำคสนำม 8.7 บทบำทของผู้ศกึ ษำงำนศกึ ษำภำคสนำม 338 8.8 จรยิ ธรรมในกำรศกึ ษำภำคสนำมทำงดำ้ นภมู ิศำสตร์ 340 8.9 งำนศึกษำภำคสนำมทำงด้ำนภูมิศำสตรท์ ี่มคี วำมสำคัญในประเทศไทย 8.10 ประโยชน์ของกำรศกึ ษำภำคสนำมทำงด้ำนภูมิศำสตร์ 351 8.11 ปญั หำในกำรศกึ ษำภำคสนำมทำงด้ำนภมู ิศำสตร์ 8.12 บทสรุป 352 8.13 แบบฝกึ หดั ท้ำยบท 353 บรรณานุกรม ภาคผนวก 355 357 365

ช สารบญั ภาพ ภาพ หน้า 1.1 แผนทีข่ อบเขตประเทศไทย 6 1.2 เสน้ แบง่ เขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกบั ราชอาณาจักรกัมพชู า 11 1.3 แนวเขตแดนประเทศไทยทางทิศตะวันออก (อาเภออรัญประเทศและอาเภอ 12 คลองใหญ่) 1.4 เสน้ แบ่งเขตแดนทางบก ระหว่างประเทศไทยกบั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตย 13 ประชาชนลาว 1.5 แนวเขตแดนประเทศไทยทางทิศตะวันออก (แม่นาโขง) 14 1.6 เส้นแบง่ เขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกบั สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมาร์ 15 1.7 แนวเขตแดนประเทศไทยทางทศิ ตะวนั ตก (แนวเทือกเขาตะนาวศรีและแม่นา 16 สาละวิน) 1.8 เสน้ แบง่ เขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกบั ประเทศมาเลเซีย 18 1.9 แนวเขตแดนประเทศไทยทางทิศใต้ (อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา) 19 1.10 แผนที่อาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย 21 1.11 จดุ ยุทธศาสตรท์ ่ีสาคญั ในประเทศไทย 23 2.1 ขอบเขตจังหวดั ในภาคเหนือ 28 2.2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของภาคเหนือ 30 2.3 ลุ่มนาในภาคเหนือ 33 2.4 สถติ ิอณุ หภูมิเฉล่ียรายจงั หวดั ภาคเหนอื ปี 2560-2561 37 2.5 อุณหภูมิสูงสดุ เฉลีย่ ตามสถานีวดั ภาคเหนือ รายปี 2559 39 2.6 อณุ หภูมิต่าสดุ เฉลี่ยตามสถานีวดั ภาคเหนือ รายปี 2559 40 2.7 ปริมาณนาฝนตามสถานีวัดในภาคเหนือปี 2560-2561 42 2.8 จานวนประชากร ในภาคเหนือ ปี พ.ศ. 2560 45 2.9 ความหนาแน่นประชากร ในภาคเหนอื ปี พ.ศ. 2560 46 2.10 เขือ่ นในภาคเหนอื 52 2.11 ร้อยละเนือท่ปี ่าไม้ของภาคเหนือ ปี พ.ศ. 2551, 2557 และ 2559 55 2.12 อุทยานแหง่ ชาติและเขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ป่าภาคเหนือ 63 2.13 กราฟแสดงเนือท่ีเพาะปลูกผลผลิตทางดา้ นการเกษตรรายจังหวัด ปี 2558 (ไร่) 65 2.14 กราฟแสดงสถิติการปศุสัตว์ (สกุ ร โคเนอื กระบือ เป็ด) ปี 2560 รายจงั หวัด 67 ภาคเหนือ

ซ หนา้ 67 สารบัญภาพ (ตอ่ ) 68 70 ภาพ 78 2.15 กราฟแสดงสถิติการปศุสัตว์ (โคนม แพะ แกะ) ปี 2560 รายจังหวดั ภาคเหนือ 81 2.16 กราฟแสดงสถติ ิการปศุสตั ว์ (ไก่) ปี 2560 รายจงั หวัดภาคเหนอื 82 2.17 เส้นทางคมนาคมภาคเหนือ 86 3.1 ขอบเขตจงั หวดั ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 89 3.2 ลักษณะภูมิประเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 90 3.3 ลุ่มนาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 92 3.4 สถติ อิ ุณหภมู ิเฉล่ยี รายจังหวดั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ปี 2560-2561 95 3.5 สถติ ิอุณหภมู สิ ูงสุดเฉลยี่ รายปี 2559 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 96 3.6 สถิติอณุ หภูมิต่าสดุ เฉล่ยี รายปี 2559 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 102 3.7 สถติ ปิ ริมาณนาฝนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปี 2560-2561 106 3.8 จานวนประชากรภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ปี พ.ศ. 2560 111 3.9 ความหนาแนน่ ของประชากรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. 2560 114 3.10 เข่ือนในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 116 3.11 รอ้ ยละของเนือที่ปา่ ไม้ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 3.12 อทุ ยานแหง่ ชาติและเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ปา่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 116 3.13 เนือทเ่ี พาะปลูกผลผลิตทางด้านการเกษตรรายจงั หวดั ปี 2558 (ไร)่ 3.14 สถิติการปศุสัตว์ (เปด็ โคเนือ สุกร) ปี 2560 รายจังหวัดภาค 117 117 ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 120 3.15 สถติ กิ ารปศุสัตว์ (กระบือ โคนม แพะ) ปี 2560 รายจงั หวัดภาค 126 128 ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 131 3.16 สถิตกิ ารปศุสตั ว์ (แกะ) ปี 2560 รายจังหวดั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 135 3.17 สถติ กิ ารปศุสตั ว์ (ไก)่ ปี 2560 รายจงั หวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 137 3.18 เสน้ ทางคมนาคมภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 138 4.1 ขอบเขตจังหวดั ในภาคตะวนั ตก 4.2 ลกั ษณะภูมิประเทศภาคตะวันตก 4.3 ลมุ่ นาภาคตะวันตก 4.4 สถติ ิอณุ หภมู เิ ฉลย่ี รายจงั หวัดภาคตะวนั ตกปี 2560-2561 4.5 อณุ หภมู ิสงู สุดเฉล่ียรายปี พ.ศ. 2559 ในภาคตะวนั ตก 4.6 อณุ หภมู ิตา่ สุดเฉลยี่ รายปี พ.ศ. 2559 ในภาคตะวนั ตก

สารบญั ภาพ (ต่อ) ฌ ภาพ หน้า 4.7 สถิติปริมาณนาฝนตามสถานวี ัดในภาคตะวนั ตกปี 2560-2561 141 4.8 จานวนประชากรภาคตะวนั ตก ปี พ.ศ. 2560 144 4.9 ความหนาแนน่ ของประชากรภาคตะวันตก ปี พ.ศ. 2560 145 4.10 เข่อื นในภาคตะวนั ตก 150 4.11 ร้อยละเนือท่ปี า่ ไมใ้ นภาคตะวันตก 153 4.12 อุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพนั ธุ์สัตว์ป่าภาคตะวนั ตก 158 4.13 กราฟแสดงเนือท่เี พาะปลกู ผลผลติ ทางดา้ นการเกษตรรายจังหวดั ปี 2558 160 4.14 สถติ ิการปศสุ ัตว์ (โคเนือ สุกร เปด็ ) ปี 2560 รายจงั หวัดภาคตะวันตก 161 4.15 สถติ กิ ารปศุสตั ว์ (โคนม กระบือ แกะ) ปี 2560 รายจงั หวดั ภาคตะวันตก 162 4.16 สถิติการปศสุ ตั ว์ (ไก่) ปี 2560 รายจังหวดั ภาคตะวนั ตก 162 4.17 เส้นทางคมนาคมภาคตะวันตก 165 5.1 ขอบเขตจงั หวดั ภาคใต้ 172 5.2 ลกั ษณะภูมิประเทศภาคใต้ 174 5.3 ลมุ่ นาหลักภาคใต้ 177 5.4 สถิติอณุ หภูมิเฉลย่ี รายจงั หวัดภาคใตป้ ี 2560-2561 181 5.5 สถิตอิ ุณหภมู ิสูงสดุ เฉลี่ยตามสถานวี ัด ภาคใต้ ปี 2559 184 5.6 สถติ อิ ุณหภมู ิต่าสดุ เฉลีย่ ตามสถานีวัด ภาคใต้ ปี 2559 185 5.7 สถติ ิปริมาณนาฝนตามสถานีวัดในภาคใต้ ปี 2560-2561 188 5.8 จานวนประชากรภาคใต้ ปี พ.ศ. 2560 191 5.9 ความหนาแนน่ ของประชากรภาคใต้ ปี พ.ศ. 2560 192 5.10 เข่ือนในภาคใต้ 197 5.11 ร้อยละเนือทป่ี ่าไมข้ องภาคใต้ 201 5.12 อทุ ยานและเขตรักษาพนั ธ์สุ ัตว์ป่าภาคใต้ 209 5.13 เนอื ท่ีเพาะปลูกผลผลติ ทางด้านการเกษตรรายจงั หวัด ปี 2558 211 5.14 สถติ ิการปศสุ ตั ว์ (โคเนือ สกุ ร เปด็ ) ปี 2560 รายจังหวดั ภาคใต้ 213 5.15 สถติ ิการปศสุ ัตว์ (โคนม กระบือ แพะ แกะ) ปี 2560 รายจงั หวดั ภาคใต้ 213 5.16 ภาพ 5.16 สถิติการปศุสตั ว์ (ไก)่ ปี 2560 รายจงั หวดั ภาคใต้ 214 5.17 เสน้ ทางคมนาคมภาคใต้ 217

ญ สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพ หนา้ 6.1 ขอบเขตจังหวัดในภาคตะวันออก 224 6.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศภาคตะวันออก 226 6.3 ลมุ่ นาหลกั ภาคตะวนั ออก 229 6.4 สถติ อิ ุณหภูมเิ ฉลย่ี รายจังหวัดภาคตะวันออกปี 2560-2561 233 6.5 สถิตอิ ุณหภูมิสูงสดุ เฉลี่ยตามสถานวี ดั ของภาคตะวันออก ปี 2559 235 6.6 สถติ อิ ุณหภูมิต่าสดุ เฉลยี่ ตามสถานวี ดั ของภาคตะวนั ออก ปี 2559 236 6.7 สถติ ปิ รมิ าณนาฝนตามสถานวี ัดในภาคตะวนั ออกปี 2560-2561 238 6.8 จานวนประชากรภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. 2560 241 6.9 ความหนาแน่นของประชากรภาคตะวันออก ปี พ.ศ. 2560 242 6.10 เขือ่ นในภาคตะวนั ออก 246 6.11 รอ้ ยละเนือท่ีปา่ ไม้ของภาคตะวันออก 249 6.12 อุทยานแหง่ ชาติและเขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั ว์ปา่ ภาคตะวนั ออก 252 6.13 เนือที่เพาะปลูกผลผลิตทางดา้ นการเกษตรรายจงั หวดั ปี 2558 254 6.14 สถติ ิการปศุสัตว์ (โคเนือ สกุ ร เป็ด) ปี 2560 รายจังหวัดภาคตะวันออก 255 6.15 สถิตกิ ารปศสุ ัตว์ (โคนม กระบือ แพะ แกะ) ปี 2560 รายจังหวัดภาคตะวันออก 256 6.16 สถิตกิ ารปศุสตั ว์ (ไก)่ ปี 2560 รายจังหวดั ภาคตะวนั ออก 256 6.17 เสน้ ทางคมนาคมภาคตะวนั ออก 260 7.1 ขอบเขตจังหวดั ในภาคกลาง 268 7.2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศภาคกลาง 272 7.3 ลุ่มนาหลักภาคกลาง 273 7.4 สถิตอิ ณุ หภูมิเฉลยี่ รายจงั หวดั ภาคกลางปี 2560-2561 277 7.5 สถติ ิอณุ หภูมิสงู สุดเฉลี่ยตามสถานีวดั ภาคกลาง ปี 2559 280 7.6 สถิติอุณหภูมติ ่าสดุ เฉล่ียตามสถานีวดั ภาคกลาง ปี 2559 281 7.7 สถิติปรมิ าณนาฝนตามสถานีวัดในภาคกลางปี 2560-2561 284 7.8 จานวนประชากรภาคกลาง ปี พ.ศ. 2560 287 7.9 ความหนาแน่นของประชากรภาคกลาง ปี พ.ศ. 2560 288 7.10 เขื่อนในภาคกลาง 293 7.11 ร้อยละเนือท่ปี า่ ไม้ของภาคกลาง 297

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ฎ ภาพ หน้า 7.12 อุทยานแห่งชาติและเขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั ว์ปา่ ภาคกลาง 301 7.13 เนอื ที่เพาะปลูกผลผลิตทางดา้ นการเกษตรรายจงั หวดั ปี 2558 304 7.14 สถติ ิการปศุสัตว์ (โคเนือ สกุ ร เป็ด) ปี 2560 รายจังหวดั ภาคกลาง 306 7.15 สถิตกิ ารปศุสตั ว์ (โคนม กระบือ แพะ แกะ) ปี 2560 รายจงั หวัดภาคกลาง 307 7.16 สถิติการปศุสัตว์ (ไก)่ ปี 2560 รายจงั หวัดภาคกลาง 308 7.17 เส้นทางคมนาคมภาคกลาง 312 8.1 การศกึ ษาภาคสนามเพื่อการสารวจ 325 8.2 การศึกษาภาคสนามเพ่ือปรบั ปรงุ ขอ้ มูล 326 8.3 การศึกษาภาคสนามเพื่อการพัฒนาพืนทเ่ี ปา้ หมายและชุมชน 327 8.4 การศกึ ษาภาคสนามเพ่ือการฝึกปฏิเสธการในการเรยี นการสอน 328 8.5 การใชแ้ บบสอบถาม 329 8.6 การสมั ภาษณ์ 330 8.7 การบันทึกข้อมลู ภาคสนาม 331 8.8 การรวบรวมข้อมูลภาคสนามโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 332 8.9 การรวบรวมข้อมลู แบบสอบถามดว้ ยระบบออนไลน์ 333 8.10 การศึกษาภาคสนามชุมชนบ้านปากโสม-ลาภูพาน 341 8.11 การศกึ ษาภาคสนามชุมชนบา้ นลาดเจริญ 342 8.12 การศกึ ษาภาคสนามชมุ ชนบา้ นท่าระแนะ 344 8.13 การศึกษาภาคสนามชมุ ชนริมนาจนั ทบูร 345 8.14 การศึกษาภาคสนามภาคกลางและภาคตะวนั ตก 347 8.15 การศึกษาภาคสนามในภาคเหนอื 349 8.16 การศกึ ษาภาคสนามจังหวดั กระบี่ 350



สารบัญตาราง ฐ ตาราง หน้า 2.1 สถิตอิ ณุ หภูมเิ ฉล่ยี รายจังหวัดภาคเหนือปี 2560-2561 36 2.2 สถติ อิ ณุ หภูมิสงู สุดและต่าสดุ ตามสถานวี ัด ภาคเหนอื ปี 2559 37 2.3 สถิติปริมาณน่าฝนตามสถานีวัดในภาคเหนือปี 2560-2561 41 2.4 จา่ นวนประชากรและความหนาแน่นโดยรวมในภาคเหนือ 44 2.5 เนอื ทป่ี ่าไม้ของภาคเหนือ (ตารางกโิ ลเมตร) 54 2.6 เนอื ท่เี พาะปลูกผลผลิตทางดา้ นการเกษตรรายจงั หวดั ปี 2558 (ไร)่ 65 2.7 สถติ ิการปศสุ ตั ว์ปี 2560 รายจังหวดั ภาคเหนอื 66 3.1 สถิตอิ ุณหภูมเิ ฉลย่ี รายจงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือปี 2560-2561 85 3.2 สถิติอุณหภูมสิ งู สดุ และตา่ สดุ ตามสถานีวัด ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ปี 2559 86 3.3 สถิติปรมิ าณนา่ ฝนตามสถานีวดั ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ปี 2560-2561 91 3.4 ประชากรและความหนาแน่นของประชากรภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 94 3.5 เนือทป่ี ่าไมข้ องภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 105 3.6 เนือท่เี พาะปลูกผลผลติ ทางดา้ นการเกษตรรายจงั หวดั ปี 2558 (ไร่) 113 3.7 สถิตกิ ารปศุสัตว์ปี 2560 รายจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 115 4.1 สถิตอิ ณุ หภมู ิเฉลี่ยรายจังหวัดภาคตะวันตกปี 2560-2561 134 4.2 สถิตอิ ณุ หภมู สิ ูงสุดและต่าสดุ ตามสถานวี ดั ภาคตะวนั ตก ปี 2559 136 4.3 สถิตปิ ริมาณนา่ ฝนตามสถานวี ัดในภาคตะวันตกปี 2560-2561 140 4.4 จา่ นวนประชากรและความหนาแนน่ ของประชากรภาคตะวนั ตก 143 4.5 เนือทป่ี า่ ไม้ของภาคตะวนั ตก 153 4.6 เนือทเ่ี พาะปลูกผลผลติ ทางดา้ นการเกษตรรายจังหวัด ปี 2558 160 4.7 สถติ กิ ารปศสุ ัตวป์ ี 2560 รายจงั หวดั ภาคตะวนั ตก 161 5.1 สถิติอุณหภมู เิ ฉลย่ี รายจังหวัดภาคใตฝ้ ัง่ ตะวันออกปี 2560-2561 179 5.2 สถติ ิอุณหภมู เิ ฉลย่ี รายจงั หวัดภาคใต้ฝง่ั ตะวนั ตกปี 2560-2561 180 5.3 สถิติอณุ หภูมิสูงสุดและตา่ สุดตามสถานีวัด ภาคใต้ ปี 2559 182 5.4 สถติ ปิ รมิ าณน่าฝนตามสถานีวัดในภาคใตฝ้ งั่ ตะวันออก ปี 2560-2561 186 5.5 สถติ ปิ ริมาณน่าฝนตามสถานีวัดในภาคใต้ฝ่ังตะวันตก ปี 2560-2561 187 5.6 จ่านวนประชากรและความหนาแนน่ ของประชากรภาคใต้ 190 5.7 เนือทป่ี ่าไมข้ องภาคใต้ 200

ฑ หนา้ 211 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) 212 232 ตาราง 234 5.8 เนอื ท่เี พาะปลูกผลผลติ ทางด้านการเกษตรรายจังหวัด ปี 2558 237 5.9 สถติ กิ ารปศสุ ตั ว์ปี 2560 รายจงั หวดั ภาคใต้ 240 6.1 สถติ ิอุณหภูมเิ ฉลย่ี รายจงั หวดั ภาคตะวนั ออกปี 2560-2561 249 6.2 สถติ อิ ุณหภมู ิสงู สุดและต่าสุดตามสถานวี ดั ภาคตะวันออก ปี 2559 254 6.3 สถิติปรมิ าณน่าฝนตามสถานีวัดในภาคตะวนั ออกปี 2560-2561 255 6.4 จ่านวนประชากรและความหนาแนน่ ของประชากรภาคตะวันออก 276 6.5 เนอื ที่ปา่ ไม้ของภาคตะวันออก 278 6.6 เนือท่ีเพาะปลูกผลผลิตทางดา้ นการเกษตรรายจังหวัด ปี 2558 283 6.7 สถิติการปศสุ ตั วป์ ี 2560 รายจังหวัดภาคตะวันออก 286 7.1 สถติ ิอณุ หภมู ิเฉลี่ยรายจงั หวดั ภาคกลางปี 2560-2561 296 7.2 สถติ ิอุณหภูมสิ งู สุดและต่าสุดตามสถานวี ัด ภาคกลาง ปี 2559 303 7.3 สถติ ิปรมิ าณนา่ ฝนตามสถานีวัดในภาคกลางปี 2560-2561 305 7.4 จา่ นวนประชากรและความหนาแนน่ ของประชากรภาคกลาง 7.5 เนอื ที่ปา่ ไม้ของภาคกลาง 7.6 เนือทเ่ี พาะปลูกผลผลติ ทางดา้ นการเกษตรรายจังหวดั ปี 2558 7.7 สถติ กิ ารปศสุ ัตว์ปี 2560 รายจงั หวัดภาคกลาง

1 บทที่ 1 บทนำ ภมู ศิ าสตร์ประเทศไทยเป็นศาสตร์ท่ีมเี น้ือหาสาระเก่ยี วกับสสารหรือลักษณะที่อยู่รอบๆ ตวั เรา ในท่ีนี้หมายถึง ประเทศ จังหวัด อาเภอ ตาบลและหมู่บ้าน ในวิชาภูมิศาสตร์ประเทศไทยจะ อธิบายองค์ประกอบโดยรวมด้านต่างๆ ของไทยเพ่ือความเข้าใจในศาสตร์ด้านนี้ โดยภูมิศาสตร์ ประเทศไทยจะเน้นหนักไปในลักษณะเฉพาะของประเทศไทยท่ีมีความแตกต่างไปจากประเทศหรือ พื้นท่ีอ่ืนๆซง่ึ ความแตกต่างนี้เองที่เป็นลักษณะท่ีมีความน่าสนใจและเป็นเสน่ห์ของวิชาน้ดี ้วย 1.1 ถ่นิ กำเนดิ ชนชำตไิ ทย ในการศึกษาภูมิศาสตร์ประเทศไทย จุดแรกสุดท่ีผู้ศึกษาควรเข้าใจคือ มนุษย์ หรือ ประชาชนคนไทย เนื่องจากการสร้างคาจัดความของเมือง รัฐหรือประเทศส่วนใหญ่มักจะถูกกาหนด โดยตัวบุคคลเป็นหลัก ทฤษฎีการย้ายถิ่นฐานจะอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และพ้ืนท่ีได้เป็น อย่างดี เนื่องจากการย้ายถ่ินของมนุษย์นั้นส่วนมากมักจะเกิดข้ึนก็ต่อเมื่อประสบกับเหตุการณ์หรือ สภาวะที่ไม่เป็นไปด้านดีนัก อาจด้วยสาเหตุหลายประการ เช่น สภาวะอากาศท่ีเลวร้าย การรุกราน ของชนเผ่ารอบข้างหรือสภาวะอดอยากจากการขาดแคลนอาหาร โดยตามทฤษฎีแล้วสามารถแบ่งได้ เป็น 5 ทฤษฎี คือ คนไทยอพยพมาจากเทือกเขาอลั ไต คนไทยอพยพมาจากตอนกลางของประเทศจีน บริเวณมณฑลเสฉวน คนไทยอพยพมาจากทางตอนใต้ของประเทศจีน คนไทยอพยพมาจากคาบสมุทร อินโดจีน คาบสมทุ รมลายูและหมู่เกาะต่างๆ ของประเทศอินโดนเิ ซยี และคนไทยอาศัยดนิ แดนประเทศ ไทยหรือท่ีเดิม จากทฤษฎีทั้ง 5 น้ีสามารถสรุปได้ว่า ทฤษฎีท่ีความน่าจะเป็นไปได้ของการอพยพของ คนไทยนั้นมีความเป็นไปน้อยมากที่จะมีการอพยพมาจากถ่ินอื่นซ่ึงสอดคล้องกับทฤษฎีท่ีว่าชนชาติ ไทยนั้นมีการตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่คาบสมุทรอินโดจีนมาแต่ด้ังเดิม หลักฐานประกอบที่มีความสาคัญ และสามารถอ้างองิ ได้ คือ ร่องรอยที่พบในยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ ได้แก่ ยคุ หนิ เกา่ ยคุ หินกลาง ยุคหิน ใหม่และยุคโลหะ ท่ีพบท้ังโครงกระดูกในถ้าของยุคหินเก่า ภาพเขียนสีโบราณในยุคหินใหม่ รวมไปถึง อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทาจากวตั ถุในยุคสาริดหรือยคุ โลหะ เป็นต้น รวมไปถึงในด้านกายวิภาค ศาสตร์ ท่ีทาการศึกษาเร่ืองโครงกระดูกท่ีขุดค้นพบน้ันมีรูปร่างโครงสร้างและมวลกระดูกที่ใกล้เคียง กบั คนไทยในปจั จุบนั มาก และยังพบว่าด้านภาษาศาสตร์ ภาษาไทยจัดอยู่ในกลุ่มภาษามอญและเขมร ทีใ่ ช้เพอ่ื การสื่อสารมาเป็นเวลานานแลว้ ในภูมภิ าคเอเชียอาคเนย์ จากหลักฐานอ้างองิ ท่ีได้กล่าวมาน้ัน ชนชาตไิ ทยหรอื คนไทยนั้นควรจะเป็นเจ้าของถ่นิ ฐานดง้ั เดิมมาเป็นระยะเวลาที่

2 ยาวนานเพียงแต่ว่าการระบุว่าประเทศไทยที่มีขอบเขตรูปร่างดังปัจจุบันน้ันเพ่ิงมีการสร้างและ ตีความหมายมาเมือ่ ไมน่ านน้ีเอง 1.2 กำรตง้ั ถ่นิ ฐำนในไทยสมัยกอ่ นประวตั ิศำสตร์ การตั้งถ่ินฐานของมนุษย์ตามหลักการทางภูมิศาสตร์นั้น ถือเป็นกิจกรรมที่ความสาคัญ อยา่ งหน่งึ เนื่องจากการตั้งถ่ินฐานของมนษุ ยจ์ ะต้องมีพัฒนาการ สัง่ สมประสบการณแ์ ละท่ีขาดไม่ได้คือ ปัจจัย 4 ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์นั้นพบหลักฐานของการตั้งถ่ินฐานของมนุษย์ในพ้ืนท่ีต่างๆ ของ ประเทศไทย สงิ่ เหล่าน้เี ป็นเครอ่ื งมือช้วี ัดถึงความสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์และลักษณะทางดา้ นกายภาพ ที่ท่ีมีมานานกว่าหม่ืนปี โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ช่วงสาคัญ ได้แก่ ช่วงก่อนประวัติศาสตร์และ ช่วงยุคนครรัฐ 1.2.1 ช่วงก่อนประวัติศาสตร์ ประกอบไปด้วยยุคหินเก่า ท่ีระบบการตั้งถ่ินฐานของมนุษย์ ยังเป็นเพียงพวกเร่ร่อน อาศัยอยู่อย่างไม่เป็นหลักแหล่ง คล้ายกับกลุ่มมนุษย์ก่ึงลิงที่เพิ่งมีการ วิวัฒนาการมา หลักฐานในยุคนี้พบว่า มีการใช้เครื่องมือหยาบๆแต่ไม่พบโครงกระดูกสันนิษฐานว่าผุ กร่อนหรือเส่ือมสลายไปตามการเวลา ในประเทศไทยพบที่จังหวัดกาญจนบุรี เชียงใหม่และเชียงราย ยุคหินกลางคือยุคที่มนุษย์มีพัฒนาการในการดารงชีพมากข้ึนกว่ายุคก่อนแต่ไม่มากนัก ความเหมือน นั้นคือ ลักษณะการดารงชีวิตท่ีคล้ายเดิมแต่ที่วิวัฒนาการข้ึนมานั้น คือ ลักษณะฝีมือท่ีมีความประณีต และละเอียดอ่อนมากย่ิงขึ้น หลกั ฐานท่พี บคอื โลงศพไม้ หมอ้ ดนิ เผา ด้านเปลอื กหอยรวมไปถึงกระดูก สัตว์ต่างๆ ในประเทศไทยพบท่ีจังหวัดแม่ฮ่องสอน ยุคหินใหม่ คือยุคที่มนุษย์ก้าวเข้าสู่การ เปลี่ยนแปลงทสี่ าคัญท่ีสุด คือ การต้ังชุมชน การเล้ียงสัตว์ การเพาะปลูก การทาเคร่ืองใช้ในครัวเรอื น เช่น การทอผ้า การประดิษฐ์อุปกรณ์ในการดารงชีพ ภาพเขียนสีรวมไปถึงเครื่องประดับหรือเครอ่ื งใช้ ทางด้านจิตวิญญาณ ในประเทศไทยพบท่ีจังหวัดกาญจนบุรีและอุบลราชธานีและยุคโลหะท่ีดาเนิน ผ่านไปไมน่ านมาน้ี คอื ยคุ ที่สามารถอธิบายไดว้ า่ มนุษย์น้ันมวี วิ ัฒนาการจากการใชเ้ ครือ่ งมือหนิ เปล่ียน มาเป็นใช้เคร่ืองมือโลหะเพ่ือดารงชีวติ โดยที่ในยุคแรกนั้นจะใช้สาริด คือ ใช้แร่ทองแดงและดีบุกผสม กันเพ่ือหล่อเป็นเคร่ืองมือ ยุคต่อมา จะมีการถลุงเหล็ก ซ่ึงเป็นธาตุท่ีมีความแข็งแกร่งและคุณภาพ ดีกว่าสาริด เคร่ืองมือเครื่องใช้ก็มีการพัฒนาให้ดีข้ึนกว่าเดิม เช่น มีการเขียนสีหรือลวดลายลงไปท่ี แสดงถึงศิลปกรรมในท้องถ่ินน้ันๆด้วย ในประเทศไทยพบที่จังหวัดขอนแก่น อุดรธานีและกาญจนบุรี เปน็ ตน้ 1.2.2 ช่วงยุคประวัติศาสตรห์ รอื ยุคนครรัฐ นครรัฐคือ อาณาจักร (kingdom) หรือรูปแบบ การปกครองในยุคอดีต ที่มีระบบการปกครองแบบกษัตริย์หรือขุนศึกและมีผู้ใต้บังคับบัญชาแบ่งเป็น ระดับตา่ งๆตามหน้าทีข่ องตน สามารถจาแนกออกได้เป็นตามภูมิภาคของประเทศไทยในปจั จุบนั คือ

3 1. ภาคเหนือ มีลักษณะเป็นภูมิประเทศแคบประกอบกับการที่มีประชากรน้อยทาให้ จาเป็นต้องมีการเลือกภูมิประเทศท่มี ีความเหมาะสมในการตั้งถิน่ ฐานซึ่งได้แก่ แอง่ และทร่ี าบล่มุ แม่น้า ท่ีมีความเหมาะสมในการต้ังถ่ินฐานท่ีสุดในภาคเหนือของประเทศไทย อาณาจักรในภาคเหนือของ ประเทศไทยประกอบไปด้วย อาณาจักรโยนกเชียงแสน คือ อาณาจักรที่เก่าแก่ท่ีสุดในภาคเหนือของประเทศ ไทย ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยและตอนเหนือของประเทศเมียนมาร์และลาว มีจุด ศูนย์กลางท่ี อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายในปัจจุบัน เป็นอาณาจักรท่ีมีความสัมพันธ์กับแหล่งน้า สาคัญสองแหล่ง คอื แม่น้าโขงและทะเลสาบเชยี งแสน อาณาจักรหริภุญชัย ตั้งอยู่ในแอ่งเชียงใหม่-ลาพูนปัจจุบันมีแม่น้าปิงและแม่น้า กวงเป็นแม่น้าสายสาคัญ โดยที่อาณาจักรหริภุญชัยนั้นได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรละโว้ในเชิง วัฒนธรรมเปน็ สว่ นมากและขยายดินแดนออกไปยงั แอง่ ขา้ งเคยี ง เช่น แอ่งลาปาง เป็นตน้ อาณาจักรล้านนา เป็นอาณาจักรที่สร้างข้ึนตามหลักทางด้านฮวงจุ้ยที่สาคัญ กลา่ วคือ มีด้านหนงึ่ ของเมอื งติดกบั ภูเขาและอกี ด้านหนงึ่ ของเมืองติดกบั แมน่ ้า ตามความเชื่อทีผ่ ู้ต่อต้ัง เมืองเหน็ วา่ เปน็ พ้นื ท่ีทม่ี ีความเหมาะสม คาว่าเชียงใหม่ ตามภาษาล้านนาเดมิ เชยี ง แปลวา่ เมอื ง และ ใหม่ คือ การสร้างขึ้นมาใหม่ สามารถสรุปได้ว่า อาณาจักรล้านนาท่ีมีศูนย์กลางปัจจุบันอยู่ที่จังหวัด เชียงใหม่คือ เมืองหลวงแห่งใหม่ของอาณาจักรล้านนา โดยท่ีอาณาจักรล้านนาน้ันสามารถตงั้ อยู่ไดม้ า เป็นระยะเวลา 700 ปี ถอื เป็นอาณาจกั รทีม่ รี ะยะเวลาการตัง้ ถ่นิ ฐานยาวนานทสี่ ุดในประเทศไทย 2. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มลี กั ษณะภมู ิประเทศเป็นทรี่ าบสูงท่ีมีแม่น้าโขงเป็นแม่น้า สายหลัก ตามหลักทางภูมิศาสตร์แม้ว่าในภูมิภาคน้ีจะค่อนข้างแห้งแล้งแต่เป็นพื้นที่ที่มีอารยธรรม เจริญก้าวไกลกว่าพ้ืนท่ีใดๆในเอเชียอาคเนย์ อาณาจักรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ประกอบไปดว้ ย อาณาจักรฟูนัน เป็นอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ มีอาณาเขต พืน้ ท่ภี าคตะวันออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย ต้งั อยใู่ นขอบเขตพ้ืนท่ลี มุ่ แม่นา้ โขงทั้งหมด อาณาจักรขอม คือ อาณาจักรท่ีต้ังอยู่ในพื้นที่ราบลุ่มแม่น้าโขงตอนล่าง เป็น อาณาจักรที่มีวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยโดยตรงในหลายๆด้านท้ังในอดีตและปัจจุบัน นักวิชาการในปัจจบุ นั เช่ือว่า อาณาจกั รขอมคือ แหลง่ กาเนดิ อารยธรรมท่ีเก่าแก่ท่มี อี ทิ ธิพลต่อประเทศ ไทยรวมถงึ การกอ่ ตั้งอาณาจกั รอโยธยาด้วยท้ังในประเดน็ ทางด้าน ภาษา ความเปน็ อยู่และ วัฒนธรรม เป็นตน้ อาณาจักรศรีโคตรบูร ต้ังอยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยและ ตอนกลางของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวริมฝั่งแม่น้าโขง มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองท่าแขก สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

4 3. ภาคกลาง เป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มแม่น้าท่ีมีอาณาเขตกว้างและมีลักษณะภูมิประเทศท่ี เหมาะสมสาหรบั การตั้งถ่นิ ฐานมากท่สี ดุ ในประเทศไทย การต้ังถ่ินฐานในสมยั อดตี มาจนถงึ ปัจจุบันน้ัน จงึ มีความสืบเนอ่ื งกนั มาโดยผา่ นแม่น้าสายสาคญั ที่ไหลผ่านจนกลายเปน็ พ้ืนที่อารยธรรม อาณาจกั รใน ภาคกลางของประเทศไทยประกอบไปด้วย อาณาจักรทวารวดี เป็นอารยธรรมที่ต้ังอยู่ในพ้ืนที่ภาคกลางของประเทศไทย บริเวณจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรีและราชบุรี ตามลุ่มแม่น้าสาคัญคือ แม่น้าแม่กลอง แม่น้า เจ้าพระยาและแม่นา้ ทา่ จีน อาณาจักรละโว้ คือ ความต่อเนื่องของอาณาจักรทวารวดีที่เดิมได้รบั อิทธิพลจาก อาณาจักรขอมเป็นพ้ืนท่ีอุดมสมบูรณ์ระหว่างแม่น้าสาคัญ 3 สายไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสัก และแม่น้าลพบุรี การที่อาณาจักรละโว้นน้ั มีตาแหน่งท่ีตั้งอยู่ริมแม่นา้ ทาให้เอื้ออานวยตอ่ การตดิ ต่อคา้ ขายกับหลากหลายชาติ อาทิ จนี และกัมพูชา เปน็ ตน้ อาณาจักรสุโขทัย เป็นนครรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่ได้รับการยอมรับในเชิง การปกครอง ขอบเขตพื้นที่และวัฒนธรรมที่มีความสืบเน่ืองมาจนปัจจุบัน อาณาจักรสุโขทัยตั้งอยู่ใน พ้ืนท่ีท่ีราบลุ่มแม่น้ายม ซ่ึงมีความอุดมสมบูรณ์สูง อาจกล่าวได้ว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นอาณาจักรที่มี ความเหมาะสมอย่างมากในการต้งั ถ่ินฐานของมนุษยท์ ห่ี น่ึง อาณาจักรอโยธยา เป็นอาณาจักรที่สืบทอดอานาจต่อมาจากอาณาจักรสุโขทัย ตั้งอยู่ในพื้นท่ีราบลุ่มแม่น้า 3 สาย คือ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสักและแม่น้าลพบุรีคล้ายกับ อาณาจกั รละโวแ้ ต่มลี กั ษณะพเิ ศษทางด้านภมู ิประเทศคือ เป็นเกาะหรือที่ราบนา้ ทว่ มถงึ ทั้งน้ีหมายถึง เป็นพื้นที่เนินหรือดอนที่มีน้าท่วมในฤดูฝนหรอื ฤดูน้าหลาก และเป็นประโยชนอ์ ย่างมากในหลายกรณี ทางด้านยุทธศาสตร์และเศรษฐกิจเช่น การเกษตรกรรม การคมนาคมขนส่งและยุทธวิธีทางการทหาร เปน็ ต้น 4. ภาคใต้ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นชายฝั่งแคบๆแม้จะไม่เหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน ของอาณาจักรขนาดใหญ่แต่ก็เพียงพอต่อการสร้างพ้ืนท่ีอิทธิพลทางทะเลสาหรับกลุ่มพ่อค้าและนัก เดินเรือในยุคสมัยน้ัน อาณาจักรในภาคใต้จึงเปรียบเสมือนท่าเรือขนาดเล็กแต่มีอิทธิพลต่อระบบ เศรษฐกจิ ของอาณาจกั รอย่างมาก อาณาจักรในภาคใตข้ องประเทศไทยประกอบไปด้วย อาณาจักรศรีวิชัย ต้ังอยู่บริเวณตอนใต้ของไทยมีขอบเขตรวบไปถึงคาบสมุทร มลายูท้ังหมด มีศนู ยก์ ลางอยู่ที่จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี อาณาจักรลังกาสุกะ มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ในจังหวัดปัตตานีและจังหวัด ยะลา โดยมีศูนยก์ ลางอยทู่ ี่อาเภอยะรัง จงั หวดั ปัตตานี อาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นช่ือท่ีเรียกตามชาวจีนท่ีเข้ามาค้าขายท่ีเรียกประเทศ ไทยว่า “ถามมะแหล่ง”ต้ังอยู่ในพื้นท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราชปัจจุบัน มีลักษณะเป็นคาบสมุทรที่ เหมาะสมตอ่ การตดิ ต่อคา้ ขายกับประเทศต่างๆ

5 1.3 ท่ีตง้ั ขอบเขตของประเทศไทย ตาแหน่งที่ตั้งของประเทศไทยอยู่ในระหว่างละติจูดที่ 5 องศา 37 ลิปดา ถึง 20 องศา 28 ลิปดาเหนือและลองจิจูดท่ี 97 องศา 21 ลิปดา ถึง 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก โดยมีรอยต่อกับ ประเทศใกลเ้ คยี ง ดังนี้ ทศิ เหนอื ติ ด ต่ อ กั บ ส า ธ า ร ณ รั ฐ แ ห่ ง ส ห ภ า พ เ มี ย น ม า ร์ แ ล ะ ส า ธ า ร ณ รั ฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐ ประช าธิปไตยประช าช นลาว แ ล ะ ราชอาณาจกั รกมั พชู า ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ประเทศมาเลเซยี

6 ภาพ 1.1 แผนทีข่ อบเขตประเทศไทย ที่มา: ดดั แปลงจากขอ้ มูลของศนู ยภ์ ูมภิ าคเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (ภาคเหนอื ) (2560)

7 ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีท้ังหมดโดยประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 320.70 ล้านไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น 76 จังหวัด ตามการแบ่งภาคทางภูมิศาสตร์นั้นสามารถจาแนก ประเทศไทยออกได้เป็นทั้งหมด 6 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก ภาคใต้ ภาคตะวันออกและภาคกลาง ภาคเหนือมจี านวน 9 จังหวดั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจานวน 20 จังหวดั ภาคตะวันตก มีจานวน 5 จังหวดั ภาคใตม้ ีจานวน 14 จงั หวดั ภาคตะวันออกมีจานวน 7 จังหวดั ภาคกลางมีจานวน 21 จังหวัดและกรงุ เทพมหานคร โดยจังหวัดที่มีขนาดใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย คือ จังหวัดนครราชสีมา พ้ืนที่รวมประมาณ 20,493.964 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 12,808,728 ไร่ ส่วนจังหวัดที่เล็กที่สุดคือ จังหวัด สมุทรสงคราม พ้ืนท่ีรวมประมาณ 416.707 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 260,440 ไร่และมีจุดท่ีใช้ แสดงขอบเขตที่สาคัญทง้ั หมด 4 แห่งไดแ้ ก่ จดุ เหนอื สดุ ต้ังอยทู่ ี่อาเภอแม่สาย จังหวัดเชยี งราย ละตจิ ูดที่ 20 องศา 21 ลิปดาเหนือ และลองจจิ ูดที่ 99 องศา 55 ลิปดาตะวนั ออก จุดใต้สุด ตั้งอยู่ที่อาเภอเบตง จังหวัดยะลา ละติจูดที่ 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ และ ลองจจิ ดู ท่ี 101 องศา 08 ลิปดาตะวนั ออก จุดตะวันออกสุด ต้ังอยู่ที่อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ละติจูดท่ี 15 องศา 38 ลิปดาเหนอื และลองจิจดู ที่ 105 องศา 37 ลปิ ดาตะวันออก จุดตะวันตกสุด ต้ังอยู่ที่อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ละติจูดท่ี 18 องศา 34 ลิปดาเหนือและลองจจิ ูดท่ี 97 องศา 21 ลปิ ดาตะวันออก 1.4 หลักเขตแดนของประเทศไทย เขตแดน คือ หลักสากลในการกาหนดเขตแดนของรัฐหรือประเทศเป็นท่ียอมรับของทุก ประเทศ โดยการปักปันเขตแดน (Demarcation) จากการตกลงด้วยสันติวิธีหรือเกิดจากการบังคับ เขตแดนน้ีมีท้ังทางบก ทางทะเล ทางอากาศ ซึ่งมีความสาคัญกับประเทศไทยมาต้ังแต่สมัยอดีต เนือ่ งจากเปน็ การกาหนดขอบเขตพนื้ ท่ีแต่ในบางกรณีนนั้ บางพ้นื ที่อาจมีปญั หาทบั ซ้อนเกิดขนึ้ ได้ คาจากดั ความท่ีควรร้เู กี่ยวกับเขตแดน เขตแดนระหวา่ งประเทศ (international boundary) แนวพรมแดน (frontier) ชายแดน (border) สนั ปันนา้ (watershed)

8 รอ่ งน้าลกึ (thalweg) เขตแดนทางบกหรอื เขตแดนบนแผ่นดิน (land boundary) เขตแดนทางทะเล (maritime boundary) การกาหนดเขตแดน (delimitation) คอื การกาหนดทางด้านการทูต การปักปนั เขตแดน (demarcation) คอื การกาหนดทางดา้ นงานภาคสนาม เส้นมธั ยะ (median line) ตามหลกั การสามารถแบ่งเกณฑ์หลกั ๆในการกาหนดเขตแดนออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.4.1 เขตแดนตามลักษณะภูมิประเทศหรือลักษณะตามธรรมชาติ (natural boundary) แนวความคิดน้ีได้ยึดเอาสิ่งท่ีเป็นสภาพธรรมชาติทางกายภาพท่ีเด่นและมองเห็นได้ชัด เพื่อเป็นหลักในการแบ่งเส้นเขตแดน ได้แก่ ภูเขา หรือทิวเขา แม่น้า อ่าว ทะเลสาบ ทะเลทราย ช่อง แคบ ป่าไม้และหนองบึง เนื่องจากในสมัยก่อนลักษณะภูมิประเทศดังกล่าวเป็นส่ิงกีดขวางตาม ธรรมชาติซ่ึงก่อใหเ้ กิดอุปสรรคต่อการไปมาหาสู่กันระหว่างกลุ่มชนที่อาศยั อยู่ในบรเิ วณด้านของสภาพ ธรรมชาตินั้นๆ แม้ว่าในปัจจุบันสภาพธรรมชาติจะไม่ได้เป็นอุปสรรคกีดขวางการเดินทางติดต่อ ระหว่างกลุ่มชนต่างๆมากนักแต่การใช้สภาพธรรมชาติเป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศก็ยังคงมี อยอู่ ย่างแพร่หลาย โดยมหี ลกั การสาคัญดงั น้ี การใช้ภูเขาหรือทิวเขา ภูเขา หรือทิวเขาเป็นสภาพธรรมชาติท่ีมองเห็นได้ชัดเจน อกี ทั้งยงั เป็นอุปสรรคกีดขวางการเดินทางตดิ ต่อระหวา่ งกลุ่มชนท่ีอาศยั อยู่ 2 ดา้ นของภูเขาหรอื ทิวเขา น้ันๆ จึงนิยมใช้ภูเขาหรือทิวเขาเป็นแนวแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศแต่พบปัญหาในการกาหนดเสน้ แบ่งเขตแดนให้ชัดเจนได้อย่างไร เน่ืองจากภูเขาและทิวเขามักครอบคลุมอาณาบริเวณค่อนข้าง กว้างขวาง ลักษณะภูมิลักษณ์ที่นิยมใช้กันมาก คือ เส้นสันปันน้า (watershed line หรือ water dividing line) ซ่ึงเป็นเส้นสมมติท่ีลากเชอ่ื มจุดต่างๆ บนสันเขาท่ีแบ่งน้าที่อยู่แต่ละด้านของสันเขาให้ ไหลในทศิ ทางตรงข้ามกันไปสู่แม่น้าลาธาร ในกรณที ีม่ สี นั เขาแยกออกเป็นหลายสันจะยึดถือสนั เขาที่มี ความต่อเนอื่ งมากที่สุดเป็นแนวของสันปันน้า นน่ั คอื สนั เขาทีส่ งู ทีส่ ดุ ไม่จาเป็นต้องเป็นสนั ปนั น้าเสมอ ไปแต่เลอื กสนั เขาท่ีสูงและมคี วามตอ่ เนื่องมากที่สดุ ซงึ่ มกั ไดร้ ับการพิจารณาใหเ้ ปน็ สันปนั นา้ การใช้แม่น้าการกาหนดเส้นแบ่งเขตแดนในแม่น้า มีวิธีกาหนดได้หลายแนวทาง ขนึ้ อยู่กบั ประเทศคู่สญั ญาจะใช้แนวทางใด แนวทางที่ใชก้ ันมากมี 5 แนวทาง ดงั น้ี 1) การให้ฝั่งทั้งสองของแม่น้าเป็นเส้นแบ่งเขตแดน วิธีน้ีแม่น้าจะเป็น กรรมสิทธิ์หรือเขตอธิปไตยร่วม (joint sovereignty) ของท้ัง 2 ประเทศ ตัวอย่างเช่น แม่น้าเมยและ แมน่ ้าสาละวนิ ซึ่งกาหนดให้แนวชายฝง่ั ของท้งั สองประเทศเป็นเสน้ แบง่ เขตแดน ระหวา่ งประเทศไทย กับสหภาพเมียนมาร์ โดยฝั่งตะวันออกเป็นของประเทศไทย ฝั่งตะวันตกเป็นของประเทศเมียนมาร์ เปน็ ต้น

9 2) การใช้แนวกึ่งกลางหรือเส้นมัธยะ (median line) ของแม่น้าเป็นเส้น แบ่งเขตแดน เส้นกึ่งกลางหรือเส้นมัธยะนี้ คือ เส้นที่ลากไปตามแนวก่ึงกลางความกว้างของลาน้า ที่ ระดับนา้ เฉลี่ยจะแบ่งลาน้าออกเปน็ 2 สว่ นเทา่ ๆ กัน มคี วามเทา่ เทียมกนั ในการใช้ประโยชน์จากแม่น้า สาหรับประเทศหรือรัฐบนชายฝ่งั ทั้งสองของแม่น้า มีความนิยมในการใช้แนวทางดังกล่าวเพ่ือกาหนด เส้นแบ่งเขตแดน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในกรณีที่แม่น้าที่ตื้นหรือมีขนาดเล็กท่ีใช้เดินเรือไม่ได้ (non- navigable river) 3) การใช้แนวร่องน้าลึก (thalweg) เป็นเส้นแบ่งเขตแดน มักจะใช้ใน แมน่ ้าขนาดใหญ่ ที่สามารถเดินเรอื ขนาดใหญ่ได้ (navigable river) เพอื่ เป็นหลักในสิทธิอนั ชอบธรรม ทเ่ี ท่าเทียมกันของรฐั ชายฝงั่ ทง้ั สองของแม่นา้ ท้ังในการใช้น้าและสิทธเิ สรภี าพในการเดนิ เรอื 4) การใช้เสน้ แบง่ เขตแดนโดยคานึงถงึ สภาพธรรมชาติของแมน่ ้า ในกรณี ท่ีแม่น้ามี 2 ร่องน้า ในตอนใดตอนหนึ่ง บริเวณปากแม่น้า จะกาหนดเส้นแบ่งเขตแดนโดยให้แต่ละ ประเทศหรือรัฐเป็นเจ้าของเดินเรือในร่องน้าของตนเอง เส้นแบ่งเขตแดนแบบนี้จึงกาหนดขึ้น โดยให้ อยู่ระหว่างรอ่ งน้าทง้ั สองนนั่ เอง 5) การกาหนดเส้นแบ่งเขตแดนโดยใช้หลักความต่างในแต่ละช่วงลาน้า แนวทางนี้ใช้หลักการกาหนดเส้นแบง่ เขตแดนแบบใดกับแม่นา้ เพ่ือแบ่งอาณาเขตหรือดินแดนระหวา่ ง รัฐน้ันพิจารณาสภาพจากธรรมชาติของแม่น้าน้ันในแต่ละช่วงๆว่าจะเหมาะสมกับการใช้วิธีใด อาจจะ ใช้หลายวิธีท่ีหลากหลายกันในแมน่ า้ สายนน้ั ๆ 1.4.2 เขตแดนท่ีสร้างข้ึนหรือกาหนดข้ึนเอง (artificial boundary) มักจะใช้สิ่งท่ี มนุษย์สร้างข้ึนหรือจัดทาขึ้นโดยไม่จาเป็นที่จะต้องอาศัยลักษณะตามธรรมชาติ เช่น สร้างกาแพง รั้ว สะพาน ถนน อนุสาวรยี ์ หรือสิ่งก่อสรา้ งอ่นื ๆ นยิ มใชใ้ นการแบง่ เส้นเขตแดน บริเวณทรี่ าบโล่ง หรอื ไม่ มีสภาพธรรมชาติท่ีเด่นๆ อย่างอื่นปรากฏอยู่ จาเป็นท่ีจะต้องสร้าง หรือจัดทาส่ิงที่จะบ่งบอกแนวเขต แดนให้เหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน เพือ่ จะไดไ้ ม่เกิดปัญหาในกรณีของการรุกลา้ ดินแดน ในการกาหนดเส้นแบ่ง เขตแดน แบบที่ไม่อาศยั สภาพธรรมชาติ มีวิธีการต่างๆ ทส่ี าคญั ดงั น้ี 1) เส้นแบ่งเขตแดนทางเรขาคณิต (geometric boundary line) เป็นแนวเขต แดนท่ีอาศัยหลักเกณฑ์ทางเรขาคณิตกาหนดแนวข้ึน เช่น ใช้แนวละติจูด หรือลองจิจูด หรือตามส่วน โค้งของเส้นเมริเดียนและเส้นขนานละติจูดหรือใช้เส้นตรงท่ีลากเช่ือมระหว่างจุด 2 จุด แนวเขตแดน ตามหลักเกณฑ์ทางเรขาคณิตน้ีเป็นเพียงแนวทางท่ีสมมุติ ไม่สารมารถมองเห็นได้ในพ้ืนที่หรือในภูมิ ประเทศของเขตแดนน้ันนอกจากจะมีการปกั ปนั เขตแดนหรือปักหลักเขตแดน 2) เส้นแบ่งเขตแดนทางพันธศุ าสตร์ (genetic boundary line) คือการแบ่งแนว เขตแดนโดยใช้หลักเกณฑ์ทางวัฒนธรรม ศาสนา และภาษาเป็นตัวกาหนด เพื่อให้ประชาชนที่มี วฒั นธรรมและประเพณีอย่างเดียวกันสามารถอยู่รว่ มกันไดโ้ ดยสนั ติ บางคร้ังเรียกว่า แนวเขตแดนเชิง วัฒนธรรม (cultural boundary)

10 3) เส้นแบ่งเขตแดนทางมานุษยวิทยา - ภูมิศาสตร์ (Anthropo - Geographic boundary line) คือ แนวความคิดที่คานึงถึงองค์ประกอบทางด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรมและสภาพภูมิ ประเทศ เพื่อกาหนดแนวหรือเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศซึ่งแนวทางปฏิบัติท่ีเกิดขึ้นได้ยากใน การที่จะปฏบิ ัตติ ามหลักเกณฑ์หรือตามแนวความคิดนไี้ ด้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์จงึ ไม่นยิ มนามาใช้มาก นัก 1.5 กำรกำหนดแนวเขตแดนทำงบกของไทยกบั เพอ่ื นบำ้ น เส้นแบ่งเขตแดนระหวา่ งประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านเกิดจากการทาความตกลงเพอ่ื กาหนดเส้นแบ่งเขตแดน การกาหนดเส้นแบ่งเขตแดนมักจะเกิดขึ้นในรูปแบบของหนังสือสนธิสัญญา ฉบับตา่ งๆ โดยมีประเทศไทยฝา่ ยหน่งึ กับประเทศอังกฤษหรือประเทศฝรัง่ เศสอีกฝา่ ยหนึ่งเป็นคู่สัญญา เร่ิมมาตั้งแต่ พ.ศ. 2408 (ค.ศ. 1865) จนถึง พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เนื่องจากเป็นกรณีปัญหามา ตั้งแต่ในสมยั ยุคการล่าอาณานคิ ม ลักษณะเส้นเขตแดนของไทย มี 2 ลกั ษณะ เสน้ เขตแดนท่ยี อมรบั โดยพฤตินยั (non-agreement boundary) เส้นเขตแดนที่กาหนดอยา่ งเปน็ ทางการ (agreement boundary) สนธิสญั ญา (treaty) อนุสญั ญา (convention) พิธีสาร (protocol) ขอ้ ตกลง (agreement) บันทึกวาจา (proces Verbal) บันทกึ ความเขา้ ใจ (memorandum of understanding) การทาหนังสือสัญญาที่ว่าด้วยเขตแดนกับประเทศเพ่ือนบ้าน เกิดขึ้นเป็นเวลานาน ซึ่ง ประเทศไทยได้กระทากับประเทศมหาอานาจตะวันตก คือ อังกฤษ และฝร่ังเศส ท่ีได้เข้ามาปกครอง ดินแดนของประเทศเพ่ือนบ้านเป็นอาณานิคม เม่ืออาณานิคมเหล่าน้นั ได้รับอิสรภาพหลังสงครามโลก คร้ังที่ 2 จึงเกิดเป็นประเทศท่ีเรียกร้องเอกราชขึ้น ประกอบไปด้วย สหภาพเมียนมาร์ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชาและมาเลเซีย ประเทศเพ่ือนบ้านเหล่านี้ได้รับการ สืบสิทธิ (succession) ในหนังสือสัญญาว่าด้วย การกาหนดแนวเขตแดนระหว่างประเทศไทยกับ ประเทศอังกฤษหรือประเทศฝร่ังเศสที่เก่ียวกับดินแดนหรืออาณาเขตมาจนถึงปัจจุบัน (โครงการ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, 2561) 1.5.1 เส้นแบ่งเขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา แนวเขตของ แดนไทยและกัมพูชามีความเกี่ยวพันกับแนวเขตแดนของประเทศไทยและลาว เน่ืองจากกลุ่มรัฐ

11 บริเวณลุ่มแม่นา้ โขงมักจะมีกรณีพิพาทกันในเร่ืองของเขตแดนกับประเทศตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศฝรั่งเศสท่ีมีอิทธิพลอยู่ในบริเวณดินแดนอินโดจีนท่ีประกอบไปด้วย ประเทศเวียดนาม ประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ซึ่งในอดีตกลุ่มประเทศเหล่าน้ีอยู่ในอารักขาหรือเป็นดินแดนส่วน หน่ึงของประเทศไทย การเข้ามาของลัทธิจักรวรรดินิยมทาให้ประเทศไทยในยุคน้ันทาการเจรจา ต่อรองเพ่ือแลกเปล่ียนดินแดนกับพ้ืนท่ีสาคัญรวมเวลาทั้งสิ้น 74 ปี เริ่มจาก ราชอาณาจักรเขมร (ประเทศกัมพูชาปัจจุบัน) เป็นรัฐในอารักขาของฝร่ังเศส ดินแดนบางส่วนของประเทศลาวและ ประเทศกัมพูชาเป็นของไทย ตามด้วยการส่งมอบพื้นที่ฝ่ังซ้ายของแม่น้าโขง ซึ่งประกอบไปด้วย ประเทศลาวเกือบทั้งประเทศและตอนเหนือของกัมพูชา ต่อมามีการแลกเปล่ียนจังหวัดจันทบุรีกับ ดินแดนฝ่งั ซ้ายของแม่น้าโขงท่ีรวมเอาอาเภอด่านซ้าย จังหวดั เลยไว้ และครง้ั สุดทา้ ยมีการแลกเปล่ียน อาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลยและจังหวัดตราดและหมู่เกาะใต้แหลมสิงห์กับดินแดนของกัมพูชาส่วน สุดท้ายและหลังจากน้ันมีกรณีการแลกเปลี่ยนเกิดข้ึนแต่เป็นการแลกเปล่ียนเป็นกรณีช่ัวคราวเท่านั้น หลังสงครามโลกครงั้ ทีส่ องยุติจึงมผี ลเชน่ เดมิ ภาพ 1.2 เส้นแบ่งเขตแดนทางบกระหวา่ งประเทศไทยกับราชอาณาจกั รกมั พูชา ท่ีมา: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน (2560) ความยาวและลักษณะโดยสรุปของเส้นแบ่งเขตแดนไทย – กัมพูชา ความยาวของเส้น แบ่งเขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา มีรวมท้ังสิ้น 798 กิโลเมตร ประกอบไปด้วย

12 เส้นเขตแดนตามแนวสันปันน้าของทิวเขาพนมดงรัก ยาว 364 กิโลเมตร จังหวัด อบุ ลราชธานี จังหวดั ศรีสะเกษ จงั หวดั สุรนิ ทร์และจังหวดั บรุ รี มั ย์ เส้นเขตแดนตามลาน้าสายต่างๆ ยาว 216 กิโลเมตร ในจังหวัดสระแก้วและ จงั หวัดจนั ทบรุ ี เส้นเขตแดนตามแนวเส้นตรง ยาว 57 กิโลเมตร ในจังหวัดสระแก้วและจังหวัด จนั ทบรุ ี เส้นเขตแดนตามแนวสันปันน้าของทิวเขาบรรทัด ยาว 160 กิโลเมตร ในจังหวัด ตราด เส้นเขตแดนตามแนวเสน้ ตรง ยาว 1 กิโลเมตร ในจงั หวดั ตราด ภาพ 1.3 แนวเขตแดนประเทศไทยทางทศิ ตะวันออก (อาเภออรัญประเทศและอาเภอคลองใหญ่) ทม่ี า: ผู้เขยี น 1.5.2. เส้นแบ่งเขตแดนทางบก ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว เส้นแบ่งเขตแดนทางบก ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาวมจี ดุ เร่มิ ตน้ จากการทาสญั ญาวา่ ด้วยการปักปนั เขตแดนระหว่างสยามกบั ฝรงั่ เศส ประเทศไทยต้อง ยกดินแดนฝ่ังซ้ายฟากตะวันออกของแม่น้าโขง รวมท้ังเกาะทุกเกาะในแม่น้าโขงให้แก่ฝร่ังเศสตามมา การแลกเปลยี่ นจังหวดั จันทบรุ กี บั ดินแดนฝง่ั ขวาบางสว่ นของแม่นา้ โขงและอาเภอดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย คณะกรรมการปักปนั เขตแดนสยาม - ฝรง่ั เศสทาการสารวจปักปันเขตแดนออกเป็น 2 สว่ น คอื ส่วนท่ี 1 ทาการสารวจปักปันเขตแดนไทยและลาว ตอนบน ต้ังแต่แก่งผาได อาเภอ เวียงแก่น จังหวัดเชียงรายไปตามสันปันน้าของทิวเขาหลวงพระบาง ต่อด้วยลาน้าเหือง จนออกสู่ แม่นา้ โขงที่ปากนา้ เหือง อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ส่วนที่ 2 ทาการสารวจปักปันเขตแดนไทยและลาว ตั้งแต่แม่น้าโขง ตรงปากห้วยดอน อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ไปตามสันปันน้าของทิวเขาพนมดงรัก จนกระท่ังถึงเขตต่อ ระหว่างจงั หวัดศรีสะเกษกับจงั หวัดสรุ นิ ทร์ เสน้ แบง่ เขตแดนได้กันเอาพืน้ ท่ีของเมืองเสียมราฐและพระ

13 ตะบองไว้ในเขตไทยและเส้นแบ่งเขตแดนได้ไปตามเส้นแบ่งเขตจังหวัดจันทบุรีกับจังหวัดตราดออกสู่ ทะเลทป่ี ากนา้ เวฬุ ต่อมาจึงเกิดแลกเปล่ียนจังหวัดตราดกับอาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย กับเมืองเสียมราฐ ศรี โสภณ และพระตะบอง ของประเทศกัมพูชาจากหนังสือสัญญาท่ีไทยทาไว้กับฝรั่งเศส ประเทศไทยไม่ มีข้ออ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนฝ่ังซ้าย รวมท้ังเกาะทุกเกาะในแม่น้าโขง ต่อมามีการทาอนุสัญญา กาหนดเสน้ แบ่งเขตแดนระหวา่ งไทยและลาว ในแมน่ า้ โขง มรี ายละเอียดดังต่อไปนใี้ นตอนท่ีแมน่ ้าโขง ไม่แยกออกเป็นหลายสายเพราะมีเกาะต้ังอยู่ให้ถือร่องน้าลึกเป็นเส้นแบ่งเขตแดน ส่วนในตอนที่แยก ออกเปน็ หลายสายให้ใช้ร่องนา้ ลึกของสายแยกทใี่ กล้ฝัง่ ไทยท่ีสุดเปน็ เสน้ แบ่งเขตแดน แม้ภายหลังร่อง น้าลึกดังกล่าวจะตื้นเขินจนเชื่อมเกาะติดกับฝั่งก็ยังคงให้ถือร่องน้าเดิมท่ีตื้นเขินนั้นเป็นเส้นแบ่งเขต แดนตลอดไป หากจะย้ายเส้นแบ่งเขตแดนก็ให้เปน็ หน้าท่ีของคณะข้าหลวงใหญ่ประจาแมน่ ้าโขงเป็นผู้ พิจารณา โดยย้ายไปได้เพียงร่องน้าท่ีอยู่ใกล้ที่สุดถัดจากร่องน้าเดิมท่ีตื้นเขินเท่านั้น นอกจากนี้ยังได้ ระบุชื่อเกาะจาวน 8 เกาะให้เป็นดินแดนของไทยด้วย เช่น ดอนเขียว ดอนเขียวน้อย ดอนน้อย ดอน บา้ นแพง แมว้ ่าจะมกี ารแกไ้ ขหรือยกเลิกสญั ญาแต่ทุกกรณีก็จะกลับสูส่ ภาพเดิมหลังสงครามโลกครั้งท่ี สองยตุ ิลงเชน่ เดยี วกันกบั กรณขี องเสน้ แบง่ เขตแดนไทยและกมั พชู าที่กลา่ วมาแลว้ ภาพ 1.4 เสน้ แบ่งเขตแดนทางบก ระหวา่ งประเทศไทยกับสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทมี่ า: โครงการสารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน (2560)

14 ความยาวและลักษณะโดยสรุปของเส้นแบ่งเขตแดนไทย – ลาว ความยาวของเส้นเขต แดนไทย - ลาว มีรวมกนั ทัง้ ส้นิ 1,810 กิโลเมตร ประกอบไปด้วย เส้นเขตแดนตามรอ่ งน้าลึกของแม่นา้ โขง ยาว 97 กิโลเมตร ในจงั หวดั เชียงราย เส้นเขตแดนตามสันปันน้าของทิวเขาหลวงพระบาง ยาว 505 กิโลเมตร ใน จงั หวดั เชยี งราย พะเยา น่าน อตุ รดิตถ์ และพษิ ณุโลก เส้นเขตแดนตามร่องน้าลึกของแม่น้าเหืองงา ยาว 19 กิโลเมตร ในจังหวัด พิษณุโลก เสน้ เขตแดนตามรอ่ งน้าลกึ ของแมน่ ้าเหอื ง ยาว 134 กโิ ลเมตร ในจังหวัดเลย เสน้ เขตแดนตามร่องน้าลึกของแมน่ า้ โขง ยาว 858 กิโลเมตร ในจงั หวดั เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อานาจเจริญ และอุบลราชธานี โดยจังหวัดหนองคายมีเส้นเขตแดนในลาน้าโขงยาว ทีส่ ุด คือ 329 กิโลเมตร เส้นเขตแดนตามสันปันน้าของทิวเขาพนมดงรัก ยาว 197 กิโลเมตร ในจังหวัด อุบลราชธานี ภาพ 1.5 แนวเขตแดนประเทศไทยทางทศิ ตะวนั ออก (แม่นา้ โขง) ที่มา: ผู้เขยี น 1.5.3. เส้นแบง่ เขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกบั เมียนมาร์ เสน้ แบง่ เขตแดนไทยและ เมียนมาร์ กาหนดขึ้นตามหนังสือสัญญาที่ทาระหว่างสยามและประเทศอังกฤษ โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนสาคญั คือ แนวเขตแดนไทย - เมียนมาร์ ช่วงตอนบน ตั้งแต่สบเมยจนถึงสบรวก กาหนดให้ต้ังแต่สบ เมยขึ้นไปทางทิศเหนือ แม่น้าสาละวินเป็นแนวเขตแดนระหว่างสยามกับเมียนมาร์ของอังกฤษ โดยมี ตัวลาน้าเป็นกลางฝ่ังตะวันตกเป็นดินแดนของเมียนมาร์และฝั่งตะวันออกเป็นดินแดนของสยาม ยกเว้นดนิ แดนส่วนเล็กๆ ทางตะวันออกของแมน่ ้าสาละวินทีย่ ังเป็นของไทยอยู่ คือ เมืองตว่ นและเมือง สาด ซึ่งไทยก็ต้องยอมยกดินแดนส่วนน้ีให้แก่เมียนมาร์ ของอังกฤษ ต่อมาได้มีการแลกเปล่ียนหนังสือ

15 ความตกลงว่าด้วยเขตแดนระหว่างเมียนมาร์ (เชียงตุง) กับสยาม ให้ใช้แนวร่องน้าลึกของแม่น้าสาย เป็นแนวเขตแดน แทนที่จะใช้แนวกึ่งกลางลาน้าตามที่กาหนดไว้แต่เดิมและจึงขยายออกไปถึงแม่น้า รวก แนวเขตแดนไทย - เมียนมาร์ ช่วงตอนล่าง ต้ังแต่สบเมยจนถึงปากน้ากระบุรี ประเทศ อังกฤษได้ส่งข้าหลวงใหญ่ประจาอินเดียมาติดต่อกับรัฐบาลสยามเพื่อขอปักปันเขตแดนระหว่างสยาม กับดินแดนพม่าในปกครองของอังกฤษและได้มีการจัดต้ังคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนร่วมกันขึ้นมา ข้าหลวงปักปันเขตแดนได้ร่วมกันสารวจและชี้แนวเขตแดน ฝ่ายอังกฤษเป็นผู้จัดทาแผนท่ีโดยเร่ิม ต้ังแต่สบเมย (จุดที่แม่น้าเมยบรรจบกับแม่น้าสาละวิน) ลงมาจนถึงปากน้ากระบุรี ซึ่งออกสู่ทะเลท่ี ปลายแหลมวิกตอเรีย หลังจากทาแผนท่ีแสดงแนวเขตแดนบริเวณน้ี เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ได้มีการทา หลักฐานทางกฎหมายในรูปของอนสุ ญั ญา ภาพ 1.6 เส้นแบ่งเขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกบั สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ ท่มี า: โครงการสารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน (2560) ความยาวและลักษณะโดยสรุปของเส้นแบ่งเขตแดนไทย – เมียนมาร์ ความยาวของ เสน้ เขตแดนไทย - เมียนมาร์ มีท้ังสนิ้ 2,401 กิโลเมตร ประกอบไปด้วย

16 เส้นเขตแดนตามลาน้าโดยใช้ร่องน้าลึกของแม่น้ารวกและแม่น้าสาย รวมยาว 59 กิโลเมตร ในจงั หวดั เชยี งราย เส้นเขตแดนตามสันปันน้าของทิวเขาแดนลาว ทิวเขาถนนธงชัยเหนือและทิวเขา ถนนธงชัยตะวันตก รวมยาว 632 กโิ ลเมตร ในจงั หวัดเชียงราย เชยี งใหม่และแมฮ่ อ่ งสอน เส้นเขตแดนตามแนว 2 ฝั่งของแม่น้าสาละวิน ยาว 127 กิโลเมตร ในจังหวัด แมฮ่ ่องสอน เส้นเขตแดนตามแนว 2 ฝ่ังของแม่น้าเมย ยาว 345 กิโลเมตร และแนว 2 ฝั่งของ ห้วยวาเลย์ ยาว 44 กโิ ลเมตร ในจงั หวัดตาก เส้นเขตแดนตามสันปันน้าของทิวเขาถนนธงชัยกลาง ยาว 127 กิโลเมตร และ เปน็ เสน้ ตรง ยาว 63 กิโลเมตร ในจงั หวดั ตากและจงั หวดั กาญจนบรุ ี เส้นเขตแดนตามสันปันน้าของทิวเขาตะนาวศรี ยาว 865 กิโลเมตร ในจังหวัด กาญจนบรุ ี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบครี ีขันธ์ ชุมพรและระนอง เส้นเขตแดนในแนวร่องน้าลึกของคลองกระ และแม่น้ากระบุรี รวมยาว 139 กโิ ลเมตร ในจังหวัดระนอง ภาพ 1.7 แนวเขตแดนประเทศไทยทางทิศตะวนั ตก (แนวเทือกเขาตะนาวศรีและแมน่ ้าสาละวิน) ทม่ี า: ผู้เขยี น 1.5.4. เสน้ แบ่งเขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกบั ประเทศมาเลเซียหนงั สือสัญญาและ อนุสัญญาของแนวเขตแดนไทยและมาเลเซีย แนวเขตแดนไทยและมาเลเซียเกิดการลัทธิจักรวรรดิ นิยมของชาติมหาอานาจตะวันตกและการการแทรกแซงทางการเมืองของประเทศอังกฤษ ในพื้นท่ี คาบสมุทรมลายูทางทิศใต้ของประเทศไทย ในขณะนั้นหลายรัฐในดินแดนคาบสมุทรมลายูตกใน อารักขาของประเทศไทย อาทิ ปะหัง เประ ไทรบรุ ี ตรงั กานู กลันตันและปะลิส เปน็ ตน้ โดยที่อังกฤษ เข้าควบคมุ รัฐปะหังและเประเป็นแห่งแรก ประเทศไทยและประเทศอังกฤษจงึ ประชมุ หารือทาหนังสือ สัญญาเขตแดนระหว่างสยามกับอังกฤษในคาบสมุทรมลายูเก่ียวกับการกาหนดแนวเขตแดนระหว่าง

17 เมืองรามัน (จังหวัดยะลา) ไทรบุรี กลันตันและตรังกานู ซึ่งเป็นหัวเมืองฝ่ายสยามกับเมืองเประและ ปะหังทอ่ี งั กฤษไดย้ ึดไว้ก่อนแล้ว มรี ายละเอียดคือ สยามยอมยกดินแดนเมืองกลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี และปะลิสตลอดจนเกาะที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงเมืองเหล่าน้ี ให้แก่อังกฤษเพ่ือให้ได้มาซึ่งอานาจศาลของ สยามทจ่ี ะใช้บังคับแก่คนในบังคับอังกฤษท่ีพานักอาศัยอยู่ในสยามและมหี นงั สือสญั ญาวา่ ด้วยเขตแดน แนบท้ายหนังสือสัญญาดังกล่าว โดยได้กาหนดแนวเขตแดนระหว่างสยามกับมลายูของอังกฤษไว้ว่า \"เขตแดนเริ่มต้นตั้งแต่ฝั่งเหนือของปากแม่น้าปะลิสขึ้นไปทางทิศเหนือจนถึงสันเขาที่ปันน้าตกแม่น้า ปะลิสฝ่ายหนึ่งกับแม่น้าปูโยอีกฝ่ายหน่ึงต่อไปตามสันเขานี้จนถึงยอดเขาเยลี หรือต้นน้าโก - ลก จากน้ัน ก็ใช้ร่องน้าลึกของแม่น้าโก - ลก เป็นเขตแดนจนออกสู่ทะเลท่ีตาบลปากน้าตะใบหรือตาบา (Kuala Tabar)” หลังจากน้ันท้ังสองฝ่ายได้จัดตั้งคณะกรรมการปักปันเขตแดนอังกฤษ - สยาม (Anglo - Siamese Boundary Demarcation Commission) เพื่อปักปันเส้นแบ่งเขตแดนระหว่าง สยามกับมลายูของอังกฤษ คณะกรรมการปักปันเขตแดนดังกล่าวได้ร่วมกันปักปันเขตแดน และ ปักหลักเขตแดนรวม 72 หลักและหลักเสริมอีก 35 หลัก รวมเป็นหลักเขตแดนท้ังหมด 107 หลักท้ัง ได้จัดทาแผนท่ีมาตราส่วน 1 : 100,000 และ 1 : 250,000 แสดงตาแหน่งของหลักเขตแดนท้ัง 107 หลักไว้ดว้ ย นายกรฐั มนตรขี องไทยและของมาเลเซียไดเ้ ห็นชอบร่วมกนั จัดต้ังคณะกรรมการจดั ทาหลัก เขตแดนร่วมระหว่างไทย - มาเลเซียเพื่อดาเนินการสารวจและจัดทาหลักเขตแดนเสริมหลักเขตแดน ท่ีสยามกับอังกฤษได้เคยปักปันและปักหลักเขตแดนไว้แต่เดิมจานวน 107 หลัก ดังได้กล่าวแล้วใน ข้างต้น เพื่อให้เห็นเส้นแบ่งเขตแดนเด่นชัดยิ่งข้ึนและสามารถจัดทาหลกั เขตแดนได้รวม 12,169 หลัก เป็นระยะทาง 551.5 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 87 ของเส้นแบ่งเขตแดนทางบก คงค้างไว้ 2 พื้นที่ คือ พ้ืนท่จี ากหลักที่ 69 - 72 และพนื้ ทแี่ นวเขตแดนตามลาน้าโก - ลก เน่ืองจากยังมีปัญหาขัดแย้งที่ยังตก ลงกันไมไ่ ด้

18 ภาพ 1.8 เสน้ แบ่งเขตแดนทางบกระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศมาเลเซีย ที่มา: โครงการสารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชน (2560) ความยาวและลกั ษณะโดยสรุปของเส้นแบ่งเขตแดนไทย – มาเลเซยี ความยาวของเส้น แบ่งเขตแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียมีรวมท้ังส้ิน 647 กิโลเมตร ประกอบไป ด้วย เสน้ เขตแดนตามสันปันนา้ ของทิวเขาสันกาลาครี ี ยาวประมาณ 552 กโิ ลเมตร ใน จงั หวดั สตูล สงขลา ยะลาและนราธิวาส เส้นเขตแดนตามแนวร่องน้าลึกของแม่น้าโก - ลก จนถึงปากแม่น้า ยาว 95 กิโลเมตร ในจังหวดั นราธวิ าส

19 ภาพ 1.9 แนวเขตแดนประเทศไทยทางทิศใต้ (อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา) ทม่ี า: Globe Media Asia (2017) 1.6 กำรกำหนดแนวเขตแดนทำงทะเลของไทยกับเพื่อนบำ้ น อาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย (maritime zone) นั้นมีพื้นท่ีมากกว่า 350,000 ตารางกิโลเมตรเป็นพ้ืนที่ครึ่งหนึ่งของอาณาเขตทางบกที่มีประมาณ 513,000 ตารางกิโลเมตร ความ ยาวของชายฝ่ังทะเลฝ่ังอ่าวไทยและอันดามันมีระยะทางมากกว่า 2,815 กิโลเมตรครอบคลุมพ้ืนที่ 23 จังหวัดของประเทศไทย ซ่ึงการใช้ประโยชน์จากพ้ืนท่ีในทะเลนี้เองทาให้ต้องการจัดเขตน่านน้าโดย แบ่งออกเป็น 6 เขต ให้ความหมายตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (สถาบันวจิ ยั ทรพั ยากรทางนา้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2560) 1.6.1 น่านน้าภายใน (internal water) คือ น่านน้าของแผ่นดินของประเทศไทยตาม แนวเส้นฐาน (baselines) ภายในทะเลอาณาเขต อาจจะประกอบไปด้วย อ่าว แม่น้า ปากแม่น้าหรือ ทะเลสาบ เป็นต้น รัฐที่อยู่ติดชายฝ่ังน้ันจะมีอธิปไตยเหนือน่านน้าภายในนี้เชน่ เดียวกับอธิปไตยเหนือ เขตแดนบนบก การลุกล้าอาณาเขตน่านน้าภายในของประเทศนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นทางน้าหรือทาง อากาศ พาหนะท่ีเข้ามาจะต้องทาการขออนุญาตรัฐที่ถืออธิปไตยบริเวณชายฝ่ังก่อนเสมอ ตามภาพ 1.10 พื้นที่น่านน้าภายในจะอยู่ถัดจากเส้นฐานไปจนถึงชายฝ่ังซึ่งแสดงไว้เป็นสีเขียว ประกอบไปด้วย 5 พื้นที่ ได้แก่ พื้นท่ีที่ 1 อ่าวประวัติศาสตร์ ได้แก่ บริเวณอ่าวไทยรูปตัว ก. เหนือเส้นฐานท่ี กาหนดขอบเขตอ่าวประวัตศิ าสตร์ พื้นท่ที ี่ 2 ไดแ้ ก่ บริเวณแหลมสงิ ห์ถงึ หลกั เขตแดนไทย-เขมร พืน้ ทท่ี ่ี 3 ไดแ้ ก่ บรเิ วณตง้ั แตแ่ หลมใหญถ่ งึ แหลมหนา้ ถ้า

20 พื้นที่ที่ 4 ได้แก่ บริเวณตั้งแต่ เกาะภูเก็ต ถึง พรมแดนไทย-มาเลเซียเชื่อมเส้น ฐานตรงและน่านนา้ ภายใน ของประเทศไทย พื้นที่ท่ี 5 ได้แก่ บริเวณตัง้ แต่เกาะกงออกถงึ พรมแดนไทย-มาเลเซยี 1.6.2 ทะเลอาณาเขต (territorial sea) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมาย ทะเล ค.ศ. 1982 กาหนดให้ความกว้างของทะเลอาณาเขตไม่เกิน 12 ไมล์ทะเลโดยวัดจากเส้นฐาน (baselines) รฐั รมิ ชายฝั่งจะเป็นผ้กู าหนดข้อบังคบั และมีอานาจอธิปไตยในพื้นท่ีทะเลอาณาเขต ซึ่งยัง รวมไปถงึ พ้ืนท่ีบนอากาศเหนือทะเลอาณาเขต (air space) พื้นดินท้องทะเล (sea-bed) และดินใต้ผิว ดินของทะเลอาณาเขต (subsoil) ด้วย แต่จะมกี ารยกเว้นในกรณีของยานพาหะต่างสัญชาติทาการขอ อนุญาต “การใช้สิทธกิ ารผา่ นโดยสจุ ริต” พน้ื ที่นีจ้ ะแสดงไว้ด้วยสีเหลอื งตามภาพ 1.10 1.6.3 เขตต่อเน่ือง (contiguous zone) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมาย ทะเลปี ค.ศ. 1982 ได้กาหนดให้เขตต่อเน่ืองมีระยะไม่เกินไปกว่า 24 ไมล์ทะเลจากเส้นฐานซึ่งใช้วัด ความกว้างของทะเลอาณาเขต รัฐชายฝ่ังมีอานาจในด้านต่างๆ เช่น ดาเนินการควบคุมที่จาเป็นเพ่ือ ป้องกันการฝ่าฝืนกฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร (customs) การคลัง (fiscal) การเข้าเมือง (immigration) หรือการสขุ าภบิ าล (sanitation) ดว้ ยบทลงโทษของรฐั น้ันๆได้ รวมไปถงึ หน้าที่ในการ คุ้มครองวัตถุโบราณหรือวัตถุทางด้านประวัติศาสตร์ท่ีถูกค้นพบใต้ทะเลในเขตต่อเนื่องนี้ด้วย โดยใน ภาพ 1.10 จะแสดงเป็นพนื้ ทีส่ นี ้าเงนิ 1.6.4 เขตเศรษฐกิจจาเพาะ (exclusive economic zone) คือ พื้นท่ีที่อยู่ถัดไปจาก ทะเลอาณาเขต ตามอนสุ ัญญาเขตเศรษฐกิจจาเพาะจะต้องไม่ขยายออกไปเกิน 200 ไมลท์ ะเลจากเส้น ฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขต รัฐชายฝ่ังมีอธิปไตยในเขตเศรษฐกิจจาเพาะหลายด้าน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงทางดา้ นเศรษฐกิจ อันประกอบไปด้วย การสารวจ (exploration) การแสวงประโยชน์ (exploitation) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (resources management) การผลติ พลงั งานจากนา้ ลมและกระแสนา้ การสร้างและควบคุมการสร้างโครงสร้างต่างๆ รวมไปถึงเกาะเทียม (artificial islands) นอกจากน้ันประเทศอื่นๆ มีสิทธิในการเดินเรือ (freedom of navigation) การบิน (freedom of over flight) การวางท่อใต้ทะเลและสายเคเบิล ( freedom of the laying of submarine cables and pipelines) ผา่ นได้ ตามภาพ 1.10 แสดงด้วยสฟี ้าและสีม่วง 1.6.5 ไหลท่ วปี (continental shelf) คือ พ้นื ดินใตท้ ้องทะเล (sea-bed) และดนิ ใตผ้ วิ ดิน (subsoil) ที่ขยายออกไปตามธรรมชาติจนถึงขอบทวีปหรือเป็นระยะทางไม่เกิน 200 ไมล์ทะเล จากเส้นฐาน ในกรณีที่พื้นท่ีไหล่ทวีปแคบกว่าเขตเศรษฐกิจจาเพาะให้ถือว่าไหล่ทวีปมีความกว้างถึง

21 200 ไมลท์ ะเลตามความกว้างของเขตเศรษฐกิจของรฐั น้ัน โดยท่รี ัฐมีอธปิ ไตยเหนือทรัพยากรธรรมชาติ ทง้ั ที่มชี ีวติ และไม่มชี วี ติ ในทะเลและใตด้ ินของเขตไหลท่ วีป โดยมี 2 กรณี ไดแ้ ก่ 1) เป็นสิทธิแต่เพียงผู้เดียว (exclusive rights) คือ รัฐชายฝ่ังมีอานาจอธิปไตย เหนือทรัพยากรบนหรือได้พ้ืนท่ีไหล่ทวีป รัฐหรือประเทศอื่นไม่มีสิทธิที่จะเข้ามาทาการสารวจหรือ แสวงผลประโยชน์ได้หากไม่ไดร้ บั ยนิ ยอมจากรฐั ชายฝัง่ 2) สิทธิของรัฐชายฝ่ังเหนือไหล่ทวีปเป็นการถืออธิปไตยโดยการรับรู้ท่ัวกันผ่าน กระบวนการครอบครองที่มีมาแต่เดิม ไม่จาเป็นต้องมีการแจ้งหรือเข้ายึดครอง ผู้ท่ีเข้ามาภายหลังจะ ทาการลว่ งล้าโดยไม่ขออนุญาตไมไ่ ด้ 1.6.6 ทะเลหลวง (high seas) คือ พ้ืนท่ีนอกเหนือจากน่านน้าภายใน (internal waters) ทะเลอาณาเขต (territorial sea) เขตเศรษฐกิจจาเพาะ (Exclusive Economic Zone) หรือ น่านน้าของรัฐหมู่เกาะ (archipelagic waters) ทะเลหลวงน้ันเปิดสิทธิการเข้าถึงและใช้ประโยชน์แก่ ทุกรัฐบนโลก โดยท่ีการใช้ประโยชน์ร่วมกันนั้นจะต้องมีความร่วมมือในด้านการอนุรักษ์ บารุงรักษา กาหนดมาตรการอย่างเป็นสากล โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านการประมง สิทธิในการใช้ทะเลหลวงน้ัน ประกอบไปดว้ ย การเดนิ เรอื (navigation) การบนิ (over flight) และการทาประมง (fishing) ภาพ 1.10 แผนทอี่ าณาเขตทางทะเลของประเทศไทย ทีม่ า: สถาบันวจิ ยั ทรัพยากรทางน้า จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย (2560)

22 1.6.7 จุดยุทธศาสตร์สาคัญในการป้องกันประเทศเกิดจากการติดต่อระหว่างประเทศไทย กบั ประเทศเพ่อื นบา้ นทาได้หลายทางโดยการผ่านจดุ ต่างๆท่ีมีความสาคัญ ในบางด่านใช้เพื่อการติดต่อ เดินทางมาเป็นเวลานานแล้ว มีท้ังที่เป็นช่องเขาและทางผ่านพรมแดน จุดยุทธศาสตร์ที่สาคัญใน ประเทศไทยมี ดังตอ่ ไปน้ี 1. บริเวณช่องสิงขร จ.ประจวบคีรขี ันธ์ 2. บรเิ วณคอคอดกระ 3. บรเิ วณกน้ อ่าวไทย 4. บริเวณฉนวนไทย พรมแดนเรขาคณิต 5. บรเิ วณ อ.นาแหว้ จ.เลย 6. บริเวณด่านเจดยี ์ 3 องค์

23 ภาพ 1.11 จุดยุทธศาสตร์ที่สาคญั ในประเทศไทย ที่มา: ดัดแปลงจากข้อมูลของศนู ย์ภมู ิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภมู ิสารสนเทศ (ภาคเหนือ) (2560)

24 1.7 บทสรปุ ประเทศไทยต้ังอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ตาแหน่งกลางคาบสมุทรอินโดจีน ต้ังอยู่อยู่ใน ระหว่างละติจดู ที่ 5 องศา 37 ลิปดา ถึง 20 องศา 28 ลิปดาเหนือและลองจิจูดที่ 97 องศา 21 ลิปดา ถงึ 105 องศา 37 ลปิ ดาตะวนั ออก ประเทศไทยมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ขอบเขตของประเทศไทยติดต่อกับหลาย ประเทศเพือ่ นบ้านประกอบการการเปน็ ศูนย์กลางของภูมภิ าคทาให้มีความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจที่ เป็นกระแสหลกั ทางด้านการพัฒนา ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของประเทศไทยมีความซับซ้อนและยุ่งยาก โดยที่เห็นได้จากในสมัยโบราณแต่ในยุคหลังลักษณะของการตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย มีความเป็น รูปแบบมากยิ่งขึ้น สังเกตได้จากอาณาจักรของไทยในสมัยโบราณที่ ขอบเขตไม่ได้เป็นไปตามรัฐภาค ของอาณาจกั รน้ันๆ ในสมัยปจั จุบันขอบเขตของประเทศไทยนัน้ เปน็ ไปตามหลกั สากลมากย่งิ ขน้ึ สามารถจาแนก ออกได้เป็นหลักเกณฑ์ทั้งทางด้านทางบกและทางทะเล พรมแดนเหล่านี้จะเป็นตัวชี้วัดขอบเขตต่างๆ ทางด้านภูมิศาสตร์ของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี แนวเขตแดนของประเทศไทยติดต่อกับประเทศ เพ่ือนบ้านที่สาคัญ ประกอบไปด้วย เมียนมาร์ ลาว กัมพูชาและมาเลเซีย โดยท่ีพรมแดนที่สาคัญน้ัน ได้แก่ เทือกเขาและแม่น้าท่ีเป็นแนวพรมแดนธรรมชาติ มีบางส่วนเท่านัน้ ท่ีเป็นพื้นท่ีราบทีจ่ าเป็นต้อง ใช้พรมแดนทางดา้ นเรขาคณิตหรอื พรมแดนทกี่ าหนดข้นึ โดยมนษุ ย์ 1.8 แบบฝกึ หดั ทำ้ ยบท ตอนท่ี 1 จงอธบิ ำยอย่ำงละเอยี ด 1. จงอธบิ ายลกั ษณะของอารยธรรมของประเทศไทยว่าเปน็ ไปในลกั ษณะรูปแบบใด 2. จงอธบิ ายถงึ ความแตกตา่ งของการต้งั ถิน่ ฐานของแตล่ ะอาณาจักรตา่ งๆ ในประเทศไทย 3. สันปันน้า (watershed) และร่องน้าลึก (thalweg) ในบริบททางภูมิศาสตร์ มีความ แตกตา่ งกันอย่างไร 4. แนวพรมแดนธรรมชาตแิ ละแนวพรมแดนทมี่ นุษย์สรา้ งขน้ึ มีความแตกต่างกนั อย่างไร 5. ตามความเข้าใจของนักศึกษา แนวพรมแดนทางธรรมชาติประเภทใดมีความชัดเจนใน ประเทศไทย จงอธิบายพรอ้ มยกตวั อยา่ ง

25 ตอนที่ 2 จงเตมิ ขอ้ ควำมให้สมบรู ณ์

26

27 บทที่ 2 ภมู ศิ าสตรป์ ระเทศไทยภาคเหนือ ภาคเหนือของประเทศไทยนั้นเดิมรู้จักกันในชื่อ อาณาจักรล้านนา ก่อนท่ีจะมีการรวม ดินแดนภูมิภาคต่างๆ เป็นมณฑลของไทย รู้จักกันในชื่อมณฑลพายัพของประเทศไทยที่แปล ตีความหมายได้ว่า รัฐที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ภาคเหนือน้ันเป็นที่ทราบกันดีในด้านความ หลากหลายทางดา้ นภมู ปิ ระเทศและวัฒนธรรม ภาคเหนอื จงึ เป็นภูมภิ าคทีม่ คี วามน่าสนใจและมีคุณค่า ทางการศกึ ษาภมู ศิ าสตร์ 2.1 ทีต่ งั้ ตาแหน่งที่ตั้งของภาคเหนืออยู่ระหว่างละติจูดท่ี 17 องศา 09 ลิปดา ถึง 20 องศา 27 ลิปดาเหนือและลองจิจูดท่ี 97 องศา 21 ลิปดา ถึง 101 องศา 20 ลิปดาตะวันออก โดยทางทิศเหนือ และทิศตะวันตกติดต่อกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ทางทิศตะวันออกติดกับสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวและทางทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดตาก สุโขทัยและพิษณุโลก ตามลักษณะ ทางภูมิศาสตร์ของภาคเหนือน้ันมีลักษณะทางด้านกายภาพและวฒั นธรรมที่แตกต่างจากภูมิภาคอน่ื ๆ อยา่ งชดั เจน (นวลศิริ วงศท์ างสวัสดิ์, 2525: 4) 2.2 ขอบเขต ภาคเหนือมพี ้ืนทโ่ี ดยประมาณ 93,690.85 ตารางกิโลเมตร ตามการแบ่งภาคทางภูมิศาสตร์ นั้นสามารถจาแนกภาคเหนือออกได้ทั้งหมด 9 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง น่าน แพร่ พะเยา แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ โดยจังหวัดท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุด คือ จังหวัดเชียงใหม่มีพื้นท่ีรวม ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร จังหวัดท่ีเล็กท่ีสุด คือ จังหวัดลาพูนมีพ้ืนท่ีรวมประมาณ 4,505 ตารางกโิ ลเมตร

28 ภาพ 2.1 ขอบเขตจังหวดั ในภาคเหนือ ท่ีมา: ดดั แปลงจากขอ้ มลู ของศนู ย์ภูมภิ าคเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ (ภาคเหนือ) (2559) 2.3 ลักษณะภมู ิประเทศ ภมู ิประเทศคอื สิ่งบ่งชว้ี า่ พ้นื ที่น้ันๆมลี กั ษณะเป็นอย่างไร ภมู ปิ ระเทศจะทาใหผ้ ู้ศกึ ษาได้รับรู้ ว่าพ้นื ท่ีนน้ั ๆ มีลักษณะความโดดเด่นมากน้อยเพยี งใด ในภาคเหนือลักษณะภมู ิประเทศจะมีความโดด เด่นแตกต่างจากภูมิภาคอื่น อาจจะมีความคล้ายคลึงกับภาคตะวันตกบ้างในบางลักษณะ แต่เม่ือ เปรยี บเทียบกับภมู ภิ าคอน่ื ๆนั้นพบว่าแตกต่างกนั อยา่ งสน้ิ เชงิ 2.3.1 ลักษณะโดยท่ัวไป พ้ืนที่ภาคเหนือโดยส่วนมากน้ันสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทคือเทือกเขาสูงและท่ีราบระหว่างหุบเขาหรือที่ราบลุ่มแม่น้า มีท่ีราบประมาณ 1 ใน 4 ของ พ้ืนท่ีท้ังหมด ลักษณะภูมิสัณฐานที่สาคัญของภาคเหนือสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ สณั ฐานหนิ แกรนิต สณั ฐานหินบะซอลต์ สัณฐานหินปูนและสณั ฐานตะกอนทับถม 2.3.2 เทือกเขา ในภาคเหนือมีเทือกเขาท่ีสาคัญมากมายวางตัวในแนวเหนือใต้ไปกับการ ไหลของแม่น้า โดยที่เทือกเขาส่วนใหญ่มีความสูงเกินกว่า 1,000 เมตรเม่ือวัดจากระดับน้าทะเลปาน กลาง เทือกเขาแดนลาว มีแหล่งกาเนิดมาจากทางตอนใต้ของประเทศจีน ทอดตัวลงมาทาง ทิศใต้พาดผ่านภาคตะวันตกของประเทศไทย ความยาวรวมทั้งหมดของเทือกเขา 1,330 กิโลเมตร มี

29 ความสาคัญตอ่ ประเทศทางดา้ นยุทธศาสตร์ เนอ่ื งจากเปน็ แนวพรมแดนธรรมชาตริ ะหว่างประเทศไทย และประเทศเมียนมาร์ ในเขตจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยเร่ิมจากพื้นท่ีดอยผา้ ห่มปก อาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ พาดผ่านไปจนถึงช่องเมืองแหง อาเภอเวียงแหง ก่อนไปบรรจบกับ เทือกเขาถนนธงชัย ความยาวโดยรวมประมาณ 120 กิโลเมตร ยอดเขาที่สาคัญ ได้แก่ ดอยผ้าห่มปก เป็นยอดเขาท่ีสูงท่ีสุด ต้ังอยู่ในเขตบริเวณอาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ระดับความสูงจาก ระดับนา้ ทะเล 2,253 เมตรเปน็ พ้ืนทตี่ ้นนา้ ลาธารหลายสาย อาทิ แมน่ า้ แม่แตงและแม่นา้ ฝาง เป็นต้น เทือกเขาถนนธงชัย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของภาคเหนือ เร่ิมจากแนวรอยต่อกับ เทอื กเขาแดนลาวทอดตวั ลงไปทางทิศใต้ ประกอบไปด้วย 3 แนวเทือกเขาย่อย ประกอบไปดว้ ย เทอื กเขาถนนธงชยั ตะวันตก เป็นแนวพรมแดนธรรมชาติที่สาคญั ระหว่างประเทศ ไทยและประเทศเมียนมารจ์ ุดเร่ิมต้นบริเวณพื้นท่ีอาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พาดลงมาทาง ทศิ ใตจ้ นถึงอาเภอท่าสองยาง จงั หวดั ตาก ความยาวโดยรวมประมาณ 305 กิโลเมตร เทือกเขาถนนธงชัยกลาง จุดเร่ิมต้นบริเวณพ้ืนที่อาเภอแม่สะเรียง จังหวัด แม่ฮ่องสอน จังหวัดตาก พาดลงมาทางทิศใต้จนถึงพื้นที่ต้นน้าแม่น้าแควน้อยและแม่น้าแควใหญ่และ ไปบรรจบกบั เทือกเขาตะนาวศรี บริเวณ อาเภอเมืองกาญจนบุรี จงั หวดั กาญจนบุรี ความยาวโดยรวม ประมาณ 880 กิโลเมตร เทือกเขาถนนธงชัยตะวันออก จุดเร่ิมต้นบริเวณพ้ืนที่ต้นน้าแม่แจ่มและแม่น้าปิง ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ พาดลงมาทางทิศใต้ ความยาวโดยรวมประมาณ 225 กิโลเมตร ยอดเขาท่ี สาคัญ ได้แก่ ดอยอินทนนท์หรือดอยอ่างกาหลวง เป็นยอดเขาที่สูงท่ีสุดในเทือกเขาน้ี และสูงที่สุดใน ประเทศไทยด้วย ต้ังอยู่ในเขตบริเวณอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ระดับความสูง จาก ระดับน้าทะเล 2,565 เมตรเป็นพนื้ ท่ีตน้ น้าลาธารหลายสาย อาทิ แมน่ ้าปาย แม่น้ายวม แมน่ ้าเมย น้า แมแ่ จม่ และนา้ แม่ตนื่ เปน็ ต้น เทือกเขาผีปันน้า เป็นเทือกเขาที่ครอบคลุมภาคเหนือเป็นบริเวณกว้าง เป็นเทือกเขา ต้นน้าลาธารใน 2 ระบบส่วนแรกคือระบบลุ่มน้า ปิง วัง ยมและน่าน ที่ไหลลงสู่แม่น้าเจ้าพระยาใน ภาคกลางและระบบลุ่มน้ากกและแม่น้าอิง ที่ไหลลงสู่แม่น้าโขงในทางทิศตะวันออกของภาคเหนือ ประกอบไปด้วย 3 แนวเทือกเขาสาคัญ ไดแ้ ก่ เทือกเขาผีปันน้าตะวันตก ยอดเขาที่สาคัญ ได้แก่ ดอยผาโจ้ ตั้งอยู่ในเขตบริเวณ อาเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปาง ระดับความสูงจากระดับน้าทะเล 2,012 เมตร ดอยขุนตาล ตั้งอยู่ใน เขตบริเวณอาเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปางและเขตอาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน ระดับความสูงจาก ระดับน้าทะเล 1,348 เมตรและดอยแม่โถ จังหวัดเชียงราย ระดับความสูงจากระดับน้าทะเล 2,000 เมตร เทือกเขาผีปันน้ากลาง เป็นส่วนของพ้ืนที่ราบสลับกับยอดเขาหรือเนินเขาที่มี ความสูงไมม่ าก

30 เทือกเขาผีปันน้าตะวันออก ยอดเขาท่ีสาคัญ ได้แก่ ดอยเปช้าง ต้ังอยู่ในเขต บริเวณอาเภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่ ระดับความสงู จากระดับน้าทะเล 1,084 เมตร เทือกเขาหลวงพระบางเป็นแนวเทือกเขาพรมแดนท่ีตั้งอยู่ทางทิศทางตะวันออกของ ภาคเหนือของประเทศไทย มีความสาคัญเน่ืองจากเป็นแนวพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในพ้ืนท่ีอาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย อาเภอเฉลิม พระเกียรติ อาเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน อาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์และอาเภอชาติตระการ จังหวัดพษิ ณโุ ลก ความยาวโดยรวมประมาณ 590 กโิ ลเมตร ยอดเขาทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่ ดอยภเู มียง ตงั้ อยู่ ในเขตบริเวณอาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ระดับความสูงจากระดับน้าทะเล 2,300 เมตรและดอย โล ตั้งอยู่ในเขตบรเิ วณอาเภอบอ่ เกลือ จังหวดั นา่ น ระดบั ความสูงจากระดบั นา้ ทะเล 2,077 เมตร เป็น เทือกเขาต้นน้าลาธารหลายสาย อาทิ น้าว้าและน้าปาดท่ีไหลไปรวมกับแม่น้านา่ นรวมไปถึงลาน้าสาย ย่อยท่ไี หลยอ้ นลงแม่นา้ โขง ภาพ 2.2 ลักษณะภมู ปิ ระเทศของภาคเหนือ ทีม่ า: ดัดแปลงจากข้อมลู ของศนู ย์ภมู ภิ าคเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (ภาคเหนือ) (2559) 2.3.3 แม่น้าและแหล่งน้า พื้นท่ีส่วนใหญ่ของภาคเหนือเป็นภูเขา ดังนั้นภาคเหนือจึงเป็น แหล่งต้นน้าลาธารที่สาคัญของประเทศหลายสาย และบริเวณรอบแหล่งน้านั้นถือว่าเป็นพ้ืนท่ี เกษตรกรรมท่สี าคัญของภาคเหนือ ดังภาพ 2.3

31 แม่น้าปิง แหล่งต้นกาเนิดจากดอยถ้วย เทือกเขาแดนลาว อาเภอเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม่ ไหลผ่านจังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ตากและรวมกับแม่น้าวังท่ีตาบลบ้านตาก จังหวัดตากและ ไหลผ่านจังหวัดกาแพงเพชรและบรรจบกับแม่น้าน่าน บริเวณปากน้าโพ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ รวมความยาวท้ังสิ้น 715 กิโลเมตร ปรากฏลุ่มน้าสาขาหลายสาย อาทิ น้าแม่แตง นา้ แม่กวง นา้ แมง่ ัด น้าแม่ทา น้าแมแ่ จม่ และนา้ แม่ตน่ื น้าแม่ล้ี แหล่งต้นกาเนิดจากดอยขุนแม่กวง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน ไหลผ่าน อาเภอล้ี บ้านโฮ่ง แม่ทา บรรจบกับแม่น้าปิงบริเวณอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ รวมความยาว ท้งั สนิ้ 210 กิโลเมตร ปรากฏล่มุ นา้ สาขาหลายสาย อาทิ น้าแม่จาง แม่น้าวัง แหล่งต้นกาเนิดจากเทือกเขาผีปันน้า เขตอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ไหล ผ่านจังหวัดลาปางและจังหวดั ตาก ไหลบรรจบกับแม่น้าปิง บริเวณตาบลบ้านปากวัง อาเภอบ้านตาก จังหวดั ตาก รวมความยาวทั้งส้ิน 335 กโิ ลเมตร ปรากฏลุ่มน้าสาขาหลายสาย อาทิ นา้ แมจ่ างแม่น้าตุ๋ย แม่น้ายม แหล่งต้นกาเนิดจากดอยขุนยวม เทือกเขาผีปันน้า อาเภอปง จังหวัดพะเยา ไหลผ่านจังหวัดพะเยา แพร่ สุโขทัย พิจิตร พิษณุโลก บรรจบกับแม่น้าน่าน บริเวณตาบลเกยชัย อาเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ รวมความยาวท้ังสิ้น 556 กิโลเมตร ปรากฏลุ่มน้าสาขาหลายสาย อาทิ นา้ แมง่ าว แม่น้าน่าน แหล่งต้นกาเนิดจากภูจาม เทือกเขาหลวงพระบาง อาเภอปัว จังหวัดน่าน ไหลผ่านจังหวัดน่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลกและจังหวัดนครสวรรค์ รวมความยาวท้ังส้ิน 740 กิโลเมตร ปรากฏลุ่มนา้ สาขาหลายสาย อาทิ น้าปาดและนา้ ว้า แม่น้ารวก แหล่งต้นกาเนิดจากดอยผาแลง เทือกเขาแดนลาว รัฐเชียงตุง สาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์บรรจบกับนา้ แมส่ าย อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ไหลลงสู่แม่น้าโขง บริเวณ อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย รวมความยาวทั้งสิ้น 40 กิโลเมตร บริเวณที่แม่น้ารวกมาบรรจบกบั แม่น้าโขง เรียกว่า สบรวก หรือท่ีเรียกว่า สามเหล่ียมทองคา ซ่ึงเป็นพื้นที่ที่มีความสาคัญด้านพ้ืนท่ี ปลูกพชื เสพติด แม่น้าสาย แหล่งต้นกาเนิดจากภูเขาในเทือกเขาแดนลาว เมืองทุม สาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมียนมาร์ไหลผ่านเส้นพรมแดนประเทศไทย รวมความยาวทั้งส้ิน 15 กิโลเมตร หลังจากนั้น ไหลไปบรรจบกบั แมน่ า้ รวก แม่น้ากก แหล่งต้นกาเนิดจากเทือกเขาแดนลาว เมืองเชียงตุง สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ไหลผ่านเขตแดนประเทศไทยบริเวณอาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ผ่านจังหวัดเชียงรายและ ไหลลงแมน่ ้าโขง บรเิ วณอาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชยี งราย รวมความยาวทง้ั สน้ิ 285 กิโลเมตร ปรากฏ ลมุ่ นา้ สาขาหลายสาย อาทิ น้าแม่ฝางและนา้ แม่ลาว

32 แม่น้าอิง แหล่งต้นกาเนิดจากเทือกเขาผีปันน้า จังหวัดเชียงราย ไหลผ่านกว๊านพะเยา บรเิ วณอาเภอเมือง จังหวดั พะเยา และไหลยอ้ นขนึ้ เหนือลงสแู่ ม่นา้ โขง บริเวณอาเภอเชยี งของ จังหวดั เชียงราย รวมความยาวทัง้ สิ้น 240 กโิ ลเมตร แม่น้าปาย แหล่งต้นกาเนิดจากเทือกเขาถนนธงชัย บริเวณอาเภอปาย จังหวัด แม่ฮ่องสอน ไหลลงสู่ทิศใต้ บริเวณอาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ผ่านเข้าสู่ประเทศ เมียนมาร์ ไปบรรจบกับแมน่ ้าสาละวิน รวมความยาวในเขตแดนประเทศไทยทงั้ ส้ิน 135 กโิ ลเมตร แม่น้ายวม แหล่งต้นกาเนิดจากเทือกเขาถนนธงชัย บริเวณอาเภอขุนยวม จังหวัด แม่ฮ่องสอน ไหลลงสู่ทิศใต้ บริเวณอาเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ไปบรรจบกับแม่น้าเมยเขต อาเภอแม่สะเรียง จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน รวมความยาวในเขตแดนประเทศไทยท้ังส้ิน 215 กโิ ลเมตร แม่น้าเมย เส้นพรมแดนประเทศไทยและประเทศเมียนมาร์ แหล่งต้นกาเนิดจากเขา โพโช เทือกเขาถนนธงชัย ประเทศเมียนมาร์ ไหลย้อนจากทิศใต้ขึ้นสู่ทิศเหนือ ผ่านจังหวัดตากและ แม่ฮ่องสอน บรรจบกับแมน่ ้าสาละวนิ รวมความยาวในเขตแดนประเทศไทยทงั้ สน้ิ 365 กโิ ลเมตร 2.3.4 ลักษณะภูมิประเทศเฉพาะ คือ ลักษณะภูมิประเทศท่ีมีความจาเพาะเจาะจงซ่ึงจะ แสดงรูปร่างหรือลักษณะออกมาตามโครงสร้างธรณีพื้นฐาน โดยในภาคเหนือลักษณะเด่นท่ีชัดเจนจะ เป็นเทือกเขาสูงส่วนมาก และยังประกอบไปด้วยลักษณะเฉพาะแบบอ่ืนๆ อีก ได้แก่ (กวี วรกวิน, 2556: 21-22) ท่ีดอนเชิงเขา (foothill slope) เป็นภูมิประเทศท่ีสาคัญท่ีมีลักษณะท่ีพบแตกต่างไป จากในภูมิภาคอื่นๆ คือ เป็นแนวของเนินดินที่เกิดจาการตกตะกอนและสะสมตัวของตะกอนในลาน้า (bed load) ท่ีถกู พัดพามาเปน็ เวลานาน พบมากในพืน้ ท่บี รเิ วณท่ีราบเชิงเขาและหุบรอบแอง่ ตา่ งๆ ใน ภาคเหนือ ต่อมาเมื่อถูกกัดกร่อนจากน้าและลมจึงเกิดเปน็ ลกั ษณะภมู ิประเทศแบบเนินหรือโคกท่ีเปน็ แนวยาวขึ้นมา ในภาคเหนือเรียกลักษณะแบบนี้ว่า “สัน” ที่มักจะปกคลุมไปด้วยพืชพรรณธรรมชาติ ประเภทต่างๆ อาทิ “สนั ผกั หวาน” เปน็ เนินหรือโคกยาวทปี่ กคลุมไปดว้ ยตน้ ไม้ประเภทผกั หวาน “สนั ผีเส้ือ” หมายถึง เนินหรือโคกยาวท่ีต้งั อยู่รมิ แม่นา้ และมีผีเสือ้ ชุกชุมและ “สันโก้ง” หมายถึง เนินหรือ โคกยาวที่มีลักษณะรูปร่างท่ีโค้ง เป็นต้น นอกจากนั้นลักษณะภูมิประเทศแบบน้ีอาจถูกกัดเซาะจนแร่ ธาตุในดนิ หมดไป ดนิ จงึ ขาดความอุดสมบูรณ์กลายเป็นแท่งหรือเสาหินรูปดอกเห็ด ซง่ึ จัดเปน็ ลักษณะ ภูมิประเทศแบบทุรกันดาร (badland) ที่ไม่เหมาะสมสาหรับการตั้งถ่ินฐานหรือทาการเกษตรแต่ถูก พัฒนามาเป็นสถานท่ีท่องเท่ียว เช่น แพะเมืองผี อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ฮ่อมจ๊อม อาเภอนา นอ้ ย จงั หวัดน่าน ภูมิประเทศหินปูน (karst topography) เทือกเขาที่สลับซับซ้อนของภาคเหนือส่วน หน่ึงเป็นเทือกเขาหินปูนสลับตัวแทรกอยู่กับเทือกเขาหินแกรนิต หินปูน (Calcium) มีคุณสมบัติคือ ละลายได้ด้วยน้าและกรด ลักษณะภูมิประเทศแบบนี้จึงสามารถพบ โพรงหรือถ้า (cave) หินงอก (stack) หินยอ้ ยหรือนมผา (pillar) และถ้านา้ ลอดซึ่งเปน็ ถ้าทีถ่ ูกธารนา้ กัดเซาะจนทะลุลักษณะเหล่าน้ี

33 จะถูกพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเท่ียวที่สาคัญทางด้านการศึกษาภูมิศาสตร์ได้ เช่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน จงั หวดั ลาปางและจังหวัดแพร่ ภูมิประเทศช่องเขาน้าตัดหรือน้ากัด (water gap) หรือในภาษาท้องถ่ินภาคเหนือ เรียกว่า “ช่องน้าลัดหรือออบ” มีลักษณะเป็นช่องเขาแคบๆ เกิดจากการกัดเซาะของลาธารขนาดเลก็ บริเวณต้นน้า (youth age stream) มีระดับน้าไหลแรงจงึ สามารถกัดกรอ่ นลึกลงไปในช่องเขาหรือหุบ เขาได้ ลักษณะภูมิประเทศลักษณะน้ีในภาคเหนือ ได้แก่ ออบหลวงอยู่ในอาเภอฮอดและออบขานอยู่ ในอาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ น้าตก (waterfall) คือ การทากระแสน้าในช่วงระยะวัยเยาว์ไหลผ่านภูมิประเทศแบบ ตา่ งๆ จนมีขนาดพอสมควรเม่อื ไหลผ่านหน้าผาหรือหุบเขาจะกลายมาเป็นสายน้าที่ตกจากทสี่ ูง น้าตก ที่มีช่ือเสียงทางการท่องเที่ยว ได้แก่ น้าตกแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่ น้าตกแจ้ซ้อน จังหวัดลาปาง เป็น ตน้ ภาพ 2.3 ลุ่มนา้ ในภาคเหนือ ทีม่ า: ดดั แปลงจากข้อมูลของศูนย์ภมู ิภาคเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคเหนือ) (2559)

34 2.4 ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิอากาศ หมายถึง สภาพอากาศของทวีปประเทศ เมือง หรือท้องถิ่นแห่งใดแห่งหนึ่ง ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหน่ึงและต้องเปน็ ลักษณะอากาศทีม่ ีระยะเวลาพอสมควรท่ีจะสามารถใช้แทน สภาพอากาศได้ โดยมีองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ ความเร็วลม เมฆ รวมถึงปรมิ าณหยาดนา้ ฟ้าดว้ ย 2.4.1 ลักษณะทั่วไป ภาคเหนือตั้งอยู่ทางตอนบนของประเทศมีลกั ษณะเป็นเทือกเขาสูงจงึ มีลักษณะภูมิอากาศค่อนข้างเย็นและอาจจะมีอากาศท่ีหนาวจัดในบางพื้นท่ี เน่ืองจากสภาวการณ์ ปัญหาทางด้านภูมิอากาศในปัจจุบัน ทาให้ลักษณะภูมิอากาศมีความแปรปรวนในภาคเหนือ ภมู อิ ากาศของภาคเหนือจัดอย่ใู นประเภทสะวันนาหรือมรสมุ สลับฤดแู ล้งอย่างละ 6 เดอื น 2.4.2 ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ ลกั ษณะอากาศของภาคเหนือ มีหลากหลายปัจจัยแต่สาเหตุหลักๆท่ี ทาให้ลักษณะภมู อิ ากาศน้นั มีความแตกตา่ งกันประกอบไปดว้ ย 1. ละติจูด ภาคเหนือตั้งอยู่ในเขตละติจูดสูงกว่าภูมิภาคอ่ืนๆ ในประเทศไทย ลักษณะ อากาศจึงมีความเย็นของอากาศมากกว่าภูมิภาคอื่นๆ ลักษณะของละติจูดเช่นน้ี พบในพื้นท่ีตั้งแต่ ระดับละตจิ ดู ท่ี 17 องศาเหนือ เปน็ ต้นไป 2. ปรากฏการณ์ทางภูมิอากาศ ด้วยละติจูดท่ีสูงสุดของประเทศไทยแม้ว่าจะไม่สูงมาก ภาคเหนือน้ันยังคงเป็นภูมิภาคที่มีอากาศเย็นสบายเกือบตลอดทั้งปี ปรากฏการณ์ที่โดดเด่นมากใน ภาคเหนือ คือ มวลความกดอากาศต่าจากประเทศจีนเมื่อพิจารณาร่วมกับปัจจัยอ่ืนๆแล้ว ในบางช่วง ปที าให้ภมู ิภาคนมี้ ีอณุ หภูมริ ะดับเยน็ จดั และเยอื กแข็งตามบรเิ วณยอดดอยสูง 3. ลกั ษณะภมู ิประเทศ พื้นทีภ่ าคเหนือส่วนใหญ่ที่มีความสงู จากระดบั นา้ ทะเลมากกว่า 1,000 เมตร ลักษณะอากาศจะมีความเย็นคล้ายคลึงกับในประเทศเมียนมาร์เน่ืองจากอยู่ในละติจูดท่ี ใกล้เคียงกันด้วยแต่ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นเทือกเขาสูงน้ีเองทาให้ภาคเหนือมีความหนาวเย็นของ อากาศมากกว่าภูมิภาคใดๆ ในประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือน กมุ ภาพันธ์ 4. ส่ิงแวดล้อมและพฤติกรรมมนุษย์ ในภูมิภาคต่างๆ พฤติกรรมของมนุษย์น้ันจะ เป็นไปในภาคส่วนของการคมนาคมขนส่งและอุตสาหกรรมเป็นส่วนมาก แต่พฤติกรรมของภาคเหนือ น้ันปัจจัยเพิ่มเติมคือระบบเกษตรกรรมการเผาไหม้เศษวัสดุทางการเกษตรกรรม เป็นผลกระทบท่ี สาคัญต่อภูมิอากาศในภาคเหนือจนมีความรุนแรงจนถึงข้ันกลายเป็นปัญหาหมอกควันขึ้นในช่วงฤดู หนาวระหว่างเดอื นมกราคมไปจนถงึ เดอื นเมษายน 5. ระยะหา่ งจากทะเล ระยะหา่ งประมาณกว่า 800 กโิ ลเมตร ทาใหภ้ าคเหนือมีฤดูแล้ง ท่ียาวนานและมีอากาศร้อนจัดในฤดูร้อน ในฤดูหนาวน้ันมีอากาศแล้งและแห้งจัด ท้ังน้ีเป็นตาม ลกั ษณะโดยท่ัวไปของพน้ื ท่ตี อนในของประเทศ (inland) ทีไ่ ด้รับอิทธพิ ลลมทะเลนอ้ ยมาก