Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถิ่น (Local Democracy)

ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถิ่น (Local Democracy)

Description: ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถิ่น (Local Democracy)

Search

Read the Text Version

51 กจิ กรรมทท่ี �ำรว่ มกบั ประชาชน รวมทงั้ มชี อ่ งทางการสอื่ สารการท�ำงานของสภาทอ้ งถน่ิ ใหป้ ระชาชน ทราบ เช่น มีข้อมูลการท�ำงานของสภาท้องถิ่นในวารสารของเทศบาล เผยแพร่ผลการประชุม สภาท้องถิ่นให้สาธารณะทราบทางส่ือท่ีเหมาะสมและมีในท้องถ่ิน เช่น เสียงตามสาย วิทยุชุมชน เปน็ ต้น • สมาชิกสภาท้องถิ่นควรกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงศักยภาพของประชาชนและเสริมสร้าง ความเป็นพลเมอื ง รวมท้งั จติ สาธารณะ รว่ มท�ำงานกบั ชมุ ชน เพราะความส�ำเรจ็ ของการปกครอง ท้องถิน่ คอื การใหป้ ระชาชนดแู ลท้องถน่ิ ด้วยตนเอง ไม่ใช่รอรบั ความช่วยเหลือเทา่ นั้น 4. ข้าราชการท้องถนิ่ ในสว่ นของขา้ ราชการทอ้ งถนิ่ นน้ั ผทู้ ดี่ �ำรงต�ำแหนง่ ปลดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ซงึ่ เปน็ ผบู้ งั คบั บัญชาสูงสุดของฝ่ายข้าราชการประจ�ำเป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญท่ีสุดในการส่งเสริมและเสริมสร้างกระบวนการ การมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้นในพ้ืนที่ นอกจากน้ันข้าราชการท้องถิ่นถือเป็นกลไกส�ำคัญท่ีด�ำเนินงานริเริ่มในการวาง รากฐานใหเ้ กดิ กระบวนการการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในพนื้ ท่ี ดงั นน้ั ขา้ ราชการทอ้ งถน่ิ จงึ ควรไดร้ บั การเตรยี ม ความพรอ้ มเพ่อื สง่ เสริมกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน ดังนี้ • ข้าราชการท้องถน่ิ ตอ้ งมคี วามรแู้ ละประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎกี ารบรหิ ารจดั การองคก์ รสมยั ใหมม่ าพัฒนา ปรบั ปรงุ ระบบการใหบ้ รหิ ารงานและใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนในพน้ื ที่ เชน่ มกี ารสอื่ สารและแบง่ ปนั สารสนเทศภายในองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และเพมิ่ ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ของประชาชน ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็ มกี ารวางแผนการพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากรขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และมีการปลูกจิตส�ำนึกให้บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการตระหนักถึงความส�ำคัญ ของการมสี ว่ นรว่ มและมีทศั นคตทิ ี่ดีต่อประชาชน • ขา้ ราชการทอ้ งถน่ิ กบั บทบาทในการสนบั สนนุ กระบวนการคดิ อยา่ งมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ขา้ ราชการ ทอ้ งถนิ่ ควรมคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละวางแผนสง่ เสรมิ แนวทางการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและ เสรมิ พลงั ใหก้ บั ชมุ ชน โดยสง่ เสรมิ การด�ำเนนิ กจิ การใดทจ่ี ะตอบโจทยป์ ญั หาของชมุ ชนไดอ้ ยา่ งตรง ความตอ้ งการ และช่วยสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั ชมุ ชนได้ • มีการก�ำหนดตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของข้าราชการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธ์ิในการด�ำเนินงานพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กร ให้ข้าราชการท�ำงานเชิงรุก ท�ำงานอยบู่ นฐานขอ้ มลู จรงิ ขวนขวายเพอ่ื หาและสรา้ งองคค์ วามรทู้ จ่ี �ำเปน็ ใกลช้ ดิ ประชาชน และ ลงพนื้ ทไ่ี ปถา่ ยทอดความรใู้ หแ้ กป่ ระชาชนซง่ึ จะชว่ ยใหป้ ระชาชนมคี วามรใู้ นการจดั การปญั หาของ ชมุ ชนตนเอง

52 ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถ่ิน (Local Democracy) 5. ประชาชนในฐานะพลเมือง ในสังคมประชาธิปไตย หัวใจส�ำคัญคือการเปล่ียนหรือปลูกฝังทัศนคติให้ประชาชนเห็นว่าตนเป็น พลเมือง นักวิชาการทางรัฐศาสตร์แบ่งแยกความแตกต่างระหว่างราษฎรและพลเมือง พลเมืองคือราษฎรหรือ ประชาชนท่ีนอกจากเสียภาษีและปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบาทและอ�ำนาจทางการเมือง คอื ไปใชส้ ทิ ธเิ ลือกตงั้ มสี ิทธใิ นการแสดงความคิดเหน็ ตา่ ง ๆ ทางการเมือง และยงั มสี ทิ ธิเขา้ ไปรว่ มในการท�ำกจิ ตา่ ง ๆ เพอื่ สว่ นรวมไปกบั รฐั ดว้ ย พลเมอื งอาจเปน็ ฝา่ ยรกุ ได้ ไมเ่ ฉอื่ ย สว่ นราษฎรเปน็ ฝา่ ยรบั คดิ วา่ ตนเปน็ ผนู้ อ้ ย นอกจากน้ียังมีการช้ีความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างลูกค้าและพลเมือง ลูกค้าคือคนท่ี ต้องพ่ึงพาและอยู่ในอาณัติของคนท่ีให้ความช่วยเหลือ ลูกค้าคือคนท่ีคอยให้คนอื่นมาท�ำให้แทนโดยผ่าน การแลกเปลย่ี นดว้ ยเงนิ ตราหรอื คา่ ตอบแทน แตพ่ ลเมอื งคอื คนทเี่ ขา้ ใจปญั หาของชมุ ชน และเชอื่ วา่ มคี วามสามารถ ที่จะด�ำเนินการเองได้ พลเมืองที่ดีท�ำให้ชุมชนเข็งแกร่ง ความสนใจเรื่องพลเมืองยังสอดคล้องกับแนวคิด ประชาสังคม (Civil Society) ซึง่ เชื่อในพลงั ของสว่ นรวมทีไ่ ม่ใชร่ ฐั เช่น กลมุ่ อาสาสมัคร สมาคม องคก์ รพัฒนา เอกชน ท่สี ามารถท�ำงานเพ่ือสว่ นรวม ถือวา่ เป็นทนุ ทางสังคม ซงึ่ เปน็ รากฐานของการพัฒนาประชาธิปไตย สังคมประชาธิปไตยตอ้ งการประชาชนท่มี ีลักษณะดังน้ี 1. พลเมอื งตระหนกั รู้ (concerned citizen) ถอื เปน็ หนา้ ทข่ี องประชาชนทตี่ อ้ งตดิ ตามขา่ วสาร เก่ยี วกับสภาพและปัญหาของสังคม ตระหนักรใู้ นสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค สนใจปญั หา ของบ้านเมือง เพราะถ้าประชาชนไม่รู้เรื่อง ไม่มีข้อมูลหรือข้อเท็จจริง การตัดสินใจอย่าง มเี หตมุ ผี ลเพอื่ ประโยชนส์ ว่ นรวมคงเกดิ ไดย้ าก การตดั สนิ ใจคงอยบู่ นพนื้ ฐานของอารมณแ์ ละ ความรูส้ ึกเป็นส�ำคญั การชกั จูงใหเ้ ช่ือทางใดทางหนึ่งเกิดได้งา่ ย 2. พลเมืองกระตือรือร้น (Active Participation) ประชาชนยังต้องมีความกระตือรือร้นใน กจิ การสว่ นรวม สนใจรวมกลมุ่ และรว่ มมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม สง่ ผลใหเ้ กดิ ประชาสงั คม ยนิ ดอี าสาสมคั รท�ำงานเพอื่ บา้ นเพอื่ เมอื ง โดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งรอสว่ นราชการ โดยเฉพาะในประเดน็ ทแี่ กไ้ ขไดด้ ว้ ยตนเองและกลมุ่ ในชมุ ชน รวมทงั้ เขา้ ตดิ ตามและตรวจสอบการท�ำงานของทอ้ งถนิ่

53

54 ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถ่ิน (Local Democracy) องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ สามารถส่งเสริมความเป็นพลเมอื งของประชาชนได้โดย 1. การส่งเสริมการรวมกล่มุ ของประชาชน การรวมกลมุ่ นห้ี มายถงึ การรวมกลมุ่ โดยแนวนอน ทง้ั ในรปู ของการจดั ตงั้ เปน็ ชมุ ชนในละแวกบา้ น เดยี วกนั หรอื การรวมกล่มุ ตามความสนใจ เช่น กลมุ่ อาชีพ กลุม่ ส่งิ แวดล้อม และกลุ่มเยาวชน รวมทัง้ การรวม กลุ่มมิตร เช่น กลุ่มเส่ียวที่เกิดในปีเดียวกัน ซึ่งการรวมกันกันในลักษณะเช่นน้ีเป็นการเสริมสร้างส่ิงที่เรียกว่า ทนุ ทางสงั คม เพราะการรวมกลมุ่ เปน็ การพฒั นาใหค้ นมมี มุ มองทกี่ วา้ งกวา่ เรอ่ื งของตนเองและเหน็ แกป่ ระโยชน์ ของส่วนรวมมากข้ึน ท�ำให้เกิดความผูกพันและสร้างความไว้วางใจซ่ึงกันและกันในที่สุด ทุนทางสังคมน้ีท�ำให้ การรวมพลงั กนั ท�ำงานเพอื่ สว่ นรวมเปน็ เรอ่ื งงา่ ยเนอ่ื งจากประชาชนอาจจะยงั ไมค่ นุ้ เคยกบั การรวมตวั ในลกั ษณะน้ี ในระยะแรกของการสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาจเขา้ ไปใหค้ วามชว่ ยเหลอื ภาคประชาชนในการจดั ตง้ั ประชาคม กลมุ่ และชมรมตา่ ง ๆ ได้ ทงั้ นโ้ี ดยการสนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนทอี่ ยอู่ าศยั ในละแวกเดยี วกนั รวมตวั กนั เปน็ ชมุ ชน มกี ารเลอื กตงั้ ประธานชมุ ชน และคณะกรรมการ ชุมชน เพื่อท�ำให้หน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชนในชุมชน สนับสนุนให้มี การประชมุ ประชาคมหมูบ่ า้ นอย่างสมำ่� เสมอ (เชน่ ทุกเดอื น) เพ่อื รว่ มกันระบุปญั หาและแสวงหาแนวทางแก้ไข ปญั หาของชมุ ชน กอ่ นน�ำเสนอตอ่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ตอ่ ไป รวมถงึ สนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนมกี จิ กรรมท�ำรว่ มกนั อย่างสม่�ำเสมอ เพ่ือสร้างความใกล้ชิด คุ้นเคย และความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันระหว่างสมาชิกในชุมชน โดยกิจกรรมน้ีอาจเป็นกิจกรรมพัฒนาชุมชน หรือกิจกรรมตามประเพณีของท้องถิ่นก็ได้ นอกจากน้ัน องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ควรตอ้ งมกี จิ กรรมพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะในการท�ำงานใหก้ บั ผนู้ �ำและสมาชกิ ของกลมุ่ ดว้ ย อนึ่ง ขนาดของชุมชนหรือกลุ่มไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป เพราะจะท�ำให้ยากต่อการสร้าง ความคนุ้ เคยระหวา่ งสมาชกิ ในชมุ ชนดว้ ยกนั และอาจท�ำใหก้ ารพดู คยุ หารอื ระหวา่ งสมาชกิ เปน็ ไปอยา่ งไมท่ ว่ั ถงึ 2. การสร้างความรว่ มมอื และการประสานงานระหว่างชุมชน นอกเหนือจากการสรา้ งเสริมความเขม้ แข็งแต่ละกลมุ่ และชมุ ชนแลว้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ควรสร้างความเขม้ แข็งใหแ้ กท่ ้องถ่นิ โดยภาพรวมด้วย กล่าวคอื ควรสนับสนุนให้ชุมชนและกลมุ่ ตา่ ง ๆ ในพืน้ ท่ี มีการปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกันท้ังในรูปของการสร้างความร่วมมือ เช่น การท�ำกิจกรรมพัฒนาท้องถ่ิน ขุดคลอง ท�ำความสะอาดถนนร่วมกัน และในรูปแบบของการถ่ายทอดองค์ความรู้ระหว่างกัน (Knowledge Transfer) เช่น มีการเชิญตัวแทนประชาชนจากชุมชนท่ีมีความรู้ด้านการจัดท�ำแผนพัฒนาชุมชนไปเป็นวิทยากรถ่ายทอด ความรู้ให้แก่ประชาชนในชุมชนอ่ืน หรือการแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีแต่ละชุมชมมีความถนัดต่างกัน เพ่ือให้ประชาชนที่อยู่ต่างชุมชนได้มีโอกาสพบปะและสร้างความคุ้นเคยกัน ท้ังในลักษณะท่ีเป็นทางการและ ไมเ่ ป็นทางการ

55 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเปิดโอกาสให้กลุ่มองค์กรต่าง ๆ ได้มีกิจกรรมและร่วมกับองค์กร ปกครองทอ้ งถ่นิ และภาคสว่ นอ่ืน ๆ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง การพฒั นาใหป้ ระชาชนตระหนกั ในพลงั ของตนและกลมุ่ หรอื ชมุ ชน ตอ้ งมกี ารท�ำงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพราะกิจกรรมต่าง ๆ เปิดเร่ืองของกระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) ดังนั้น ควรมีการสนับสนุน กลุ่มชุมชนให้มีบทบาทในการด�ำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การส่งเสริมให้มีการประกวด ชมุ ชนดเี ดน่ หรอื ชมุ ชนธรรมาภบิ าล หรอื การประกวดชมุ ชนนา่ มองตา่ ง ๆ รวมทง้ั ในกรณขี องกลมุ่ อาชพี ตา่ ง ๆ สง่ เสริมใหม้ กี ารประกวดการด�ำเนินงานและแสดงผลงานในเวทีระดบั ภาคหรือระดบั ชาติ 4.2 กรณศี กึ ษาประชาธปิ ไตยทอ้ งถน่ิ ผา่ นการมสี ว่ นรว่ มของ ประชาชน “สภาเมอื งขอนแก่น : ต้นแบบประชาธิปไตยภาคประชาชน” สภาเมืองขอนแก่นเริ่มต้นจากการจัดประชุมท�ำแผนพัฒนาเมืองแบบมีส่วนร่วมของเทศบาล นครขอนแก่นในปี พ.ศ.2540 โดยได้รับความช่วยเหลือจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะกรรมการประสานงานองค์การพัฒนาเอกชนภาคอีสาน และรัฐบาลประเทศเดนมาร์กภายใต้โครงการ DANCED ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว คณะผบู้ รหิ ารไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ ภาคสว่ นตา่ ง กรณศี กึ ษาประชาธปิ ไตยทอ้ งถน่ิ ผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน (Focus Group) เพื่อรับฟังความเห็นและข้อเสนอแนะจากองค์กรภาค ประชาชนในพ้ืนท่ีท่ีมีผลต่อโครงการพัฒนาของเทศบาล การประชุมในลักษณะดังกล่าวได้รับความสนใจจาก ชาวเมืองขอนแก่นเป็นอย่างมาก จนในปี พ.ศ.2541 คณะผู้บริหารของเทศบาลจึงได้สานต่อแนวคิดในการจัด เวทีรับฟังข้อมูล ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากประชาชนชาวเมืองขอนแก่นท่ีมีต่อการบริหารงานและ การด�ำเนินโครงการต่าง ๆ ของเทศบาล ในที่สุดได้พัฒนามาเป็นการจัดประชุมสภาเมืองที่สืบเนื่องมาจนถึง ปัจจุบัน ประชาชนจ�ำนวนมากต้องการเข้าถึงข้อมูลของทางเทศบาลเพ่ือใช้ประกอบการตัดสินใจ และต้องการ ให้เวทีสภาเมืองเป็นเวทีในการก�ำหนดทิศทางการพัฒนาเมืองในระยะยาว ซึ่งหลักการพื้นฐานที่ส�ำคัญของ การจดั ประชมุ สภาเมอื งกค็ อื ผบู้ รหิ ารของเทศบาลมคี วามเหน็ วา่ อ�ำนาจในการบรหิ ารเมอื งของประชาชนมไิ ดจ้ �ำกดั อยู่เพียงเฉพาะวันเลือกตั้งเท่านั้น หากแต่มีอ�ำนาจอยู่ในมือตลอดเวลา ดังน้ันจึงต้องเปิดโอกาสให้ประชาชน เขา้ ถงึ และรบั รคู้ วามเปน็ ไปของเมอื งขอนแกน่ มากทสี่ ดุ นอกจากนย้ี งั เหน็ วา่ การบรหิ ารเมอื งขอนแกน่ เปรยี บเสมอื น กบั การทปี่ ระชาชนซงึ่ เปน็ ผถู้ อื หนุ้ วา่ จา้ งผจู้ ดั การใหบ้ รหิ ารเมอื ง เมอื่ ผจู้ ดั การคดิ จะท�ำอะไรกต็ ามจงึ ตอ้ งแจง้ และ

56 ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถ่ิน (Local Democracy) สอบถามผถู้ อื หนุ้ กอ่ นจงึ จะด�ำเนนิ การได้ เขา้ ท�ำนองวา่ “ทะเลาะกนั กอ่ นท�ำ” นนั่ เอง ดงั นนั้ ในการประชมุ สภาเมอื ง เทศบาลต้องท�ำให้ประชาชนมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจที่พร้อมท่ีสุด ให้ความส�ำคัญกับการแลกเปล่ียน ขอ้ มลู และความคดิ เหน็ ในวงกวา้ ง มกี ารเชญิ ใหก้ ลมุ่ คนทม่ี สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งโดยตรง (active citizen) เขา้ รว่ มอยา่ ง ทัว่ ถึง และจะเปิดโอกาสใหแ้ ก่ประชาชนทกุ คนอยา่ งเทา่ เทียมกนั ในการแสดงความคดิ เหน็ โดยทั่วไปเทศบาลจะจดั การประชุมสภาเมืองขอนแกน่ ประมาณ 3 เดือนตอ่ ครง้ั และมปี ระชาชน ซง่ึ เป็นตัวแทนองคก์ รชมุ ชนในพน้ื ทจี่ �ำนวนมากกว่า 140 แหง่ เข้ารว่ มประชมุ ลกั ษณะการประชมุ จะด�ำเนินการ โดยคณะผบู้ รหิ ารของเทศบาล ประเดน็ วาระตา่ ง ๆ จะถกู ก�ำหนดขนึ้ ลว่ งหนา้ และแจง้ ใหแ้ กอ่ งคก์ รชมุ ชนรบั ทราบ กอ่ นการเขา้ ประชมุ และในการประชมุ มกั จะเรม่ิ ตน้ วาระดว้ ยการน�ำเสนอประเดน็ ปญั หาและความจ�ำเปน็ ในการ ด�ำเนนิ โครงการปรบั ปรงุ พฒั นา จากนน้ั จะมกี ารน�ำเสนอผลการศกึ ษาเบอื้ งตน้ โดยนกั วชิ าการหรอื คณะท�ำงานท่ี รับผิดชอบ และตามด้วยการเปิดเวทีให้มีการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นจนถึงการหาข้อสรุปร่วมกันของ ทีป่ ระชมุ ทั้งน้ีการประชุมแตล่ ะครงั้ ใชเ้ วลาประมาณ 4 - 5 ชัว่ โมง และเมื่อไดม้ ติจากการประชมุ สภาเมอื งแลว้ คณะผู้บริหารเทศบาลก็จะน�ำมติดังกล่าวเข้าสู่ท่ีประชุมสภาเทศบาลและคณะท�ำงานที่เก่ียวข้องเพ่ือก�ำหนด แนวนโยบายการด�ำเนินงานท่เี หมาะสมตอ่ ไป10 10 วีระศักด์ิ เครือเทพ. เรียนรู้จากประสบการณ์จริงของนวัตกรรมท้องถิ่นไทย. [ออนไลน์]. ไม่ปรากฏปีท่ีเผยแพร่. แหล่งที่มา : https://www.trf.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=974:2012-08-22- 07-56-48&catid=34:research-digest&Itemid=145&option=com_content&view=article&id=974:2012- 08-22-07-56-48&catid=34:research-digest&Itemid=145 [17 กันยายน 2561]

57 “เวทีข่วงผญ๋า ฮอมก�ำก๊ึด เวทีของประชาชน : เทศบาลต�ำบล เกาะคา จังหวัดล�ำปาง” เวทขี ว่ งผญา๋ ฮอมก�ำกดึ๊ และ เวทปี ระชาคม เปน็ การใชพ้ นื้ ทส่ี าธารณะของชมุ ชน (public space) เช่น ศาลาอเนกประสงค์ ลานบ้าน ลานวัด และสวนสาธารณะ เปน็ เวทกี ารแลกเปล่ียนความคดิ เห็นเพอ่ื ร่วมกนั คน้ หาปญั หา ตแี ผข่ อ้ มลู ความคดิ ระดมความคดิ เหน็ เพอ่ื หาแนวทางการแกไ้ ขปญั หา ตลอดจนการตดิ ตามผลจาก การแกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ ในระดับหมู่บ้านและระดับต�ำบล โดยใชก้ ลวิธีการค้นหาบุคคลท่ีมีจิตอาสาในการท�ำงาน เพอื่ มาเปน็ แกนน�ำหลกั (นกั วจิ ยั ชมุ ชน) ในการน�ำคดิ และสรปุ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เพอ่ื น�ำเสนอตอ่ เทศบาลต�ำบลเกาะคา พรอ้ มทง้ั ประชาสมั พนั ธใ์ หป้ ระชาชนในหมบู่ า้ นไดร้ บั ทราบวา่ ตอนนปี้ ญั หาทพี่ วกเขาเสนอมขี น้ั ตอนการด�ำเนนิ งาน ไปถึงไหนแล้ว วิธีน้ีท�ำให้คนในชุมชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของพื้นที่ (sense of belongings) เห็นคุณค่าและ ความส�ำคัญของทุกความคดิ เห็น ทง้ั ยังช่วยเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการมสี ่วนรว่ มในชุมชนอีกดว้ ย จากการใชพ้ นื้ ทสี่ าธารณะในการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ รว่ มถกประเดน็ ปญั หาสาธารณะ (common issues) ท�ำให้เกิดกลุ่มคนในชุมชนท่ีมีจิตอาสาต้องการพัฒนาและดูแลหมู่บ้านให้มีความสุข โดยทุกหมู่บ้านมี การคน้ หาบคุ คลทม่ี จี ติ อาสาประมาณ 2 - 5 คน เพอื่ ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ นกั วจิ ยั ชมุ ชน มหี นา้ ทช่ี วนคยุ เพอ่ื รบั ทราบปญั หา วเิ คราะหพ์ นื้ ที่ หาพนื้ ที่สร้างสรรค์ ค้นหาขอ้ มลู น�ำเสนอขอ้ มูล และจดั เวทสี ะท้อนความคดิ เหน็ ของประชาชน นอกจากนี้ต�ำบลเกาะคายังมี สภาองค์กรชุมชน เป็นตัวแทนจากภาคประชาชนทุกหมู่บ้านเพื่อ รวบรวมขอ้ มลู ปญั หา และประสานการท�ำงานกบั หนว่ ยงานภายนอกเพอื่ มาชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ งบประมาณ ในการพัฒนาหมบู่ ้านหรอื ต�ำบลในทุกกลุ่มเป้าหมาย เทศบาลต�ำบลเกาะคายงั ไดป้ รบั ปรงุ อาคารอเนกประสงคห์ รอื ศาลาทอ่ี า่ นหนงั สอื พมิ พข์ องหมบู่ า้ น ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนเทศบาลต�ำบลเกาะคา เพ่ือเป็นแหล่งการศึกษาเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และประชาชน ทั่วไป และเพ่ือเป็นการยกระดับการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนของท้องถ่ิน นอกจากน้ี เทศบาลต�ำบลเกาะคา ยังจดั ตัง้ แหล่งสืบค้นขอ้ มลู ของทอ้ งถน่ิ ภายในศนู ย์เรยี นรชู้ มุ ชน ประกอบดว้ ย ห้องอนิ เตอรเ์ นต็ ชุมชน ต้หู นงั สือ ชุมชน และลานกิจกรรมชมุ ชนอีกด้วย การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้วยการเปิดพ้ืนที่สร้างสรรค์เพ่ือชุมชน (creative space) แบบน้ี เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการอ่าน การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต และการมี ปฏสิ มั พนั ธ์ พดู คยุ ซกั ถามระหวา่ งกนั การแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ประกอบกบั การเปดิ เผยขอ้ มลู และการบรหิ าร จัดการอย่างโปร่งใสของเทศบาลต�ำบลเกาะคา ก่อให้เกิดการรวมตัวกันในชุมชน เกิดสร้างสรรค์กิจกรรม อนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน เกดิ การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนเพอื่ รว่ มกนั คดิ แกไ้ ขปญั หา ทง้ั หมดนนี้ �ำไปสคู่ วามเขม้ แขง็ ของชุมชน ประชาชนมีจิตส�ำนึกสาธารณะ เกิดความรักและรูส้ ึกเปน็ เจา้ ของชุมชนท้องถ่นิ อย่างแท้จริง

58 ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถ่ิน (Local Democracy) “LINE@yalacity : พื้ นท่ีการมีส่วนร่วมแบบใหม่ยุคดิจิทัล ในเทศบาลนครยะลา” Social media คือ สื่อสังคมออนไลน์ยุคใหม่ท่ีเข้ามามีบทบาทสําคัญในชีวิตประจําวันของเรา ทกุ คน และถอื เปน็ โอกาสทน่ี า่ จบั ตามองขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทจ่ี ะใชช้ อ่ งทางนใี้ นการเขา้ ถงึ ประชาชน ได้มากย่ิงข้ึน เทศบาลนครยะลาเป็นหนึ่งในองค์กรปกครองท้องถ่ินแห่งแรก ๆ ในประเทศไทยที่เห็นโอกาสน้ัน เดือนสิงหาคม 2560 ท่ีผ่านมา นายพงษ์ศักด์ิ ยิ่งชนม์เจริญ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลาได้เพ่ิมช่องทาง Social media ใหม่ ๆ ในการสือ่ สารองคก์ รแบบ Two Way Communication ระหวา่ งเทศบาลกบั ประชาชน นน่ั คอื การใชแ้ อพพลเิ คชนั่ LINE ผา่ น Line@yalacity และ Facebook Accounnt เทศบาลนครยะลา Yalacity เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูล - ข่าวสาร ร่วมเสนอปัญหา/ความต้องการตลอดจนร่วมเสนอไอเดียและ แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ประชาชาสามารถเข้ามาเป็นสมาชิกในกลุ่มไลน์ดังกล่าวได้ด้วยตนเอง โดยการเพ่ิมเพ่ือนใน แอพพลิเคช่ันไลน์ ในชื่อ Line@yalacity หลังจากเข้าเป็นสมาชิกของชุมชน Line@yalacity แล้ว ประชาชน จะใชช้ อ่ งทางนใี้ นการรายงานปญั หาในพนื้ ท่ี ไมว่ า่ จะเปน็ การไดร้ บั บรกิ ารสาธารณะจากเทศบาลไมท่ วั่ ถงึ ปญั หาขยะ หรือปัญหาความขัดข้องอ่ืน ๆ ที่ส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจ�ำวันของประชาชนก็สามารถรายงานผ่านไลน์น้ีได้ หลงั จากที่ไดร้ ับเรื่องแลว้ ท่านนายกจะมอบหมายให้หนว่ ย/แผนกท่มี ีความเกย่ี วข้องลงไปศกึ ษาปัญหาหนา้ งาน และด�ำเนินการแก้ไขทันที พร้อมท้ังต้องรายงานผลผ่านไลน์ Line@yalacity น้ีด้วย เพื่อให้ประชาชนได้ทราบ ความคบื หนา้ ไปพรอ้ ม ๆ กนั อยา่ งไรกต็ าม บรกิ ารนย้ี งั มคี า่ ใชจ้ า่ ยรายเดอื นทท่ี างเทศบาลตอ้ งรบั ผดิ ชอบ แตถ่ อื วา่ เปน็ การลงทนุ ทน่ี อ้ ยแตค่ มุ้ คา่ เพราะไมเ่ พยี งแตจ่ ะท�ำใหป้ ระชาชนไดร้ บั ความรวดเรว็ ในการบรกิ ารเทา่ นน้ั แตย่ งั เปน็ ช่องทางท่เี ปดิ ให้เทศบาลไดต้ ิดตอ่ กับประชาชนโดยตรง ไดน้ �ำประเด็นอน่ื ๆ มาบอกกลา่ วเพ่อื ใหป้ ระชาชน ทราบ ถือเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ท่ีเข้าถึงประชาชนในยุคดิจิทัลจริง ๆ อีกทั้งยังสะดวกต่อประชาชน ผรู้ บั บรกิ ารอกี ด้วย “CAR Score : เทศบาลเมอื งเขาสามยอดกบั นวตั กรรมการตดิ ตาม และประเมนิ ผลแบบมสี ว่ นรว่ มจากประชาชน” เทศบาลเมืองเขาสามยอดเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอีกหน่ึงแห่งที่เน้นการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการด�ำเนนิ งาน เริม่ จากการวางแผนพฒั นาท้องถ่ิน โดยมีฐานคิดวา่ แผนทอ้ งถน่ิ ที่ดนี ั้นตอ้ งเกิดจาก ความตอ้ งการของประชาชนอยา่ งแทจ้ รงิ โดยใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั ท�ำแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ตง้ั แต่ เริ่มเสนอโครงการจนถึงการติดตามและประเมินผลตามหลักธรรมมาภิบาล ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม เทศบาลเร่ิมจากการส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องรวมถึงภาคประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับการติดตามประเมินผล และร่วมเป็นคณะกรรมการติดตามประเมินผลโครงการด้วย โดยเชิญวิทยากร

59 จากภายนอกมาให้ความรู้แก่ประชาชน เพ่ือให้ประชาชนสามารถจัดท�ำแผนชุมชน และติดตามประเมินผล แผนชมุ ชนดว้ ยตนเองได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ในส่วนของแผนท้องถิ่นภาพรวมน้ัน เทศบาลได้น�ำวิธีการท่ีเรียกว่า CAR Score (Community Assessment Report) ซง่ึ เปน็ การตดิ ตามประเมนิ ผลตามแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ดว้ ยวธิ กี ารใหเ้ ครอื ขา่ ยภาคประชาชน ตรวจสอบการด�ำเนนิ งานของเทศบาลวา่ โครงการหรอื กจิ กรรมใดของทางเทศบาลทไี่ ดด้ �ำเนนิ การแลว้ บา้ ง โดยมี การใชส้ เี ปน็ สญั ลกั ษณ์ คอื สนี ำ้� เงนิ ส�ำหรบั โครงการทดี่ �ำเนนิ การแลว้ และสแี ดงส�ำหรบั โครงการทยี่ งั ไมด่ �ำเนนิ การ ประชาชนสามารถตดิ ตามความกา้ วหนา้ เปน็ รายโครงการเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจอยา่ งชดั เจนกบั ประชาชน รวมถงึ มีการจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์แสดงข้อมูลการด�ำเนินกิจกรรมตามแผนพัฒนาท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้ได้สะท้อนให้ เหน็ ถงึ การบรหิ ารงานทมี่ คี วามโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และเปน็ การท�ำงานรว่ มกนั ระหวา่ งภาครฐั และภาคประชาชน จากตน้ นำ�้ ถงึ ปลายนำ�้ ท�ำใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และก�ำกบั ตรวจสอบการท�ำงานของเทศบาลไดง้ า่ ยขนึ้ เป็นไปตามหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ทั้งยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างประชาชนกับเทศบาลอีกดว้ ย “Ichikawa’s Participatory Budgeting : เม่ือเงินท้องถ่ิน ถูกเลอื กใช้โดยประชาชน กรณีศกึ ษาเมืองอชิ กิ าวา ประเทศญีป่ นุ่ ” ญี่ปุ่นถือเป็นหนึ่งในประเทศท่ีให้ความส�ำคัญกับการปกครองท้องถิ่นมากที่สุดในโลก รัฐบาล ท้องถิ่นนั้นมีอ�ำนาจกว้างขวาง โดยมีงบประมาณเป็นคร่ึงหน่ึงของรายจ่ายสาธารณะ เทียบเท่ากับร้อยละ 10 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ อย่างไรก็ตามประชาชนในอดีตประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมกับกระบวนการ งบประมาณเทา่ ใดนกั จงึ เกดิ ความพยายามทจี่ ะน�ำประชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกระบวนการนม้ี ากขนึ้ โดยองคก์ ร ระดบั รากหญา้ ทไ่ี ดร้ บั การจดทะเบยี นตามกฎหมายในปี 1998 รว่ มกนั ผลกั ดนั จนในปี 2003 ไดเ้ กดิ กระบวนการ หลายอย่างทีเ่ ก่ียวกับการมีสว่ นร่วมในระบบงบประมาณทอ้ งถิ่นของประชาชนและองค์กรเหล่าน้ีเองกม็ ีสว่ นใน การอภปิ รายและเสนอวธิ กี าร เชน่ การใหเ้ ปดิ เผยกระบวนการจดั ท�ำงบประมาณ การปรกึ ษาหารอื กบั สาธารณะ เรือ่ งงบประมาณ การจัดงบประมาณโดยตรงจากประชาชน เป็นตน้ เมืองอิชิกาวา ในจังหวัดชิบะ ของประเทศญ่ีปุ่น ซ่ึงมีประชากร 473,000 คน เป็นผู้เสียภาษี 230,000 คน ไดใ้ ชง้ บประมาณแบบมสี ว่ นรว่ มโดยแบง่ รอ้ ยละ 1 ของภาษรี ายไดข้ องผอู้ ยอู่ าศยั ไปจดั สรรปนั สว่ น ให้กับโครงการไม่แสวงหาก�ำไร โดยมีองค์กรไม่แสวงหาก�ำไรเสนอโครงการมาให้ประชาชนในเมืองเลือกเพ่ือน�ำ ไปท�ำกจิ กรรมหรอื สง่ิ กอ่ สรา้ งทกี่ อ่ ประโยชนแ์ กช่ มุ ชน ตวั แบบนนี้ ายกเทศมนตรเี มอื งอชิ กิ าวารบั มาจากประเทศ ฮงั การี โดยใหป้ ระชาชนผจู้ า่ ยภาษมี สี ทิ ธอ์ิ อกเสยี งทางอนิ เตอรเ์ นต็ เพอื่ เลอื กโครงการสาธารณะทเ่ี สนอโดยองคก์ ร ไมแ่ สวงหาก�ำไร 3 องคก์ าร แผนกจิ กรรมเหลา่ นจี้ ะถกู อภปิ รายกนั ในสภาเมอื งเพอ่ื ใหป้ ระชาชนไดท้ ราบทมี่ าทไี่ ป

60 ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถ่ิน (Local Democracy) และข้อดีข้อเสียของโครงการ เป็นการให้ข้อมูลแก่ประชาชนในเบื้องต้นก่อนการโหวตลงคะแนนว่าชุมชน จะเลือกโครงการใดให้องค์กรไปท�ำ นอกจากน้ียังมีการตั้งคณะกรรมการเพ่ือกลั่นกรองแผนและกิจกรรมด้วย เม่ือประชาชนโหวตแล้วเทศบาลก็จะจัดสรรเงินตามที่สัญญาไว้เพื่อให้องค์การด�ำเนินการตามแผนที่เสนอแก่ ประชาชน เมอ่ื เวลาผา่ นไป วธิ กี ารนไ้ี ดร้ บั ความนยิ มมากขนึ้ องคก์ รทเี่ ขา้ รว่ มเพมิ่ จาก 81 องคก์ รเปน็ 130 องคก์ ร และไดเ้ งนิ ทนุ เพมิ่ จาก 12 ลา้ นเยน (เกอื บ 4 ลา้ นบาท) เปน็ 20 ลา้ นเยน (ประมาณ 6 ลา้ นบาท) โดยมโี ครงการ ทน่ี ่าสนใจ เช่น การสร้างสระวา่ ยน้�ำเพื่อผ้ปู ่วยทางจิต เปน็ ตน้ 11 11 ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. งบประมาณแบบมีส่วนร่วม : บทเรียนจากต่างประเทศและความท้าทายส�ำหรับ ประเทศไทย. วารสารการจดั การภาครฐั และภาคเอกชน ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 1 : 24 – 25. และ Scott Fletcher. Participatory Budgeting in Ichikawa City (Japan). [Online]. 2018. Available from: https://participedia.net/en/cases /1-support-scheme-participatory-budgeting-ichikawa-city-japan [2018, September 17]

61 บรรณานกุ รม กฎหมาย รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540 พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2552 ระเบยี บส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการรบั ฟงั ความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัตวิ ่าดว้ ยการลงคะแนนเสยี งเพอื่ ถอดถอนสมาชิกหรอื ผู้บริหารทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญตั ิวา่ ดว้ ยการเขา้ ชือ่ เสนอข้อบัญญตั ทิ อ้ งถ่ิน พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัตขิ ้อมลู ขา่ วสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 เอกสารภาษาไทย โกวิทย์ พวงงาม. (2553). ธรรมาภิบาลท้องถ่ิน : ว่าด้วยการมีส่วนร่วมและความโปร่งใส. กรุงเทพฯ : มูลนิธิส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน. ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. งบประมาณแบบมีส่วนร่วม : บทเรียนจากต่างประเทศและความท้าทายส�ำหรับ ประเทศไทย. วารสารการจดั การภาครฐั และภาคเอกชน ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 : 24 – 25. ธเนศวร์ เจรญิ เมอื ง. (2545). 100 ปกี ารปกครองทอ้ งถน่ิ ไทย พ.ศ. 2440 – 2540. กรงุ เทพฯ : โครงการจดั พมิ พ์ คบไฟ. หน้า 42 – 47. ยอดพล เทพสทิ ธ.ิ (2558). หลกั ประชาธปิ ไตยทอ้ งถนิ่ และการมสี ว่ นรว่ มในการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ของฝรง่ั เศส. วารสารสงั คมศาสตร์ ปที ่ี 11 ฉบับที่ 1 (ม.ค. - ม.ิ ย. 2558) : 123 - 145. วฒุ สิ าร ตนั ไชย และ เอกวรี ์ มสี ขุ . (2559). การปฏริ ปู สถาบนั และกระบวนการเพอ่ื เสรมิ สรา้ งประชาธปิ ไตยทอ้ งถนิ่ ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบนั พระปกเกล้า. หน้า 42 – 56. อเนก เหลา่ ธรรมทศั น.์ (2552) แปรถนิ่ เปลย่ี นฐาน: สรา้ งการปกครองทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ปน็ รากฐานของประชาธปิ ไตย. พิมพ์คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : ส�ำนักพิมพม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

62 ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถ่ิน (Local Democracy) อเนก เหล่าธรรมทศั น.์ (2545). ประชาธปิ ไตยทอ้ งถิ่น : สาระส�ำคญั ของการเมอื งและการปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : มิตใิ หม่. อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือ การมีส่วนร่วมของประชาชนส�ำหรับผู้บริหารท้องถ่ิน. กรงเทพฯ : ส. เจริญ การพิมพ์. อรทยั ก๊กผล และ ธนิษฐา สุขะวฒั นะ. (2551). คู่มอื สมาชิกสภาทอ้ งถ่นิ . กรงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า. เอกสารภาษาอังกฤษ International Institute for Democracy and Electoral Assistance (International IDEA). (2015). Local Democracy. 2nd ed. Stockholm: International IDEA. p 3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ วรี ะศักด์ิ เครือเทพ. เรียนรู้จากประสบการณจ์ รงิ ของนวตั กรรมทอ้ งถิ่นไทย. [ออนไลน์]. ไมป่ รากฏปีท่เี ผยแพร่. แหลง่ ทม่ี า : https://www.trf.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=974:2012- 08-22-07-56-48&catid=34:research-digest&Itemid=145&option=com_content &view=article&id=974:2012-08-22-07-56-48&catid=34:research-digest&Itemid=145 [17 กนั ยายน 2561] สภานักพัฒนาเพ่ือประชาธิปไตย. คลังบทความ ระบอบประชาธิปไตย. [ออนไลน์]. 2553. แหล่งที่มา: http://article-spadmc.blogspot.com/2010/11/democracy-system.html [11 กนั ยายน 2561] John Dewey. On Democracy. [Online]. (n.d.). Available from: https://wolfweb.unr.edu/ homepage/lafer/dewey%20dewey.html [2018, September 17] Scott Fletcher. Participatory Budgeting in Ichikawa City (Japan). [Online]. 2018. Available from: https://participedia.net/en/cases/1-support-scheme-participatory-budgeting- ichikawa-city-japan [2018, September 17]