34 |ดรณุ ี พวงบุตร ภาพท่ี 2-13 พ้นื ทเ่ี กบ็ เกย่ี ว ผลผลิต ผลผลติ ตอ่ ไร่ ของไทย ในปี 2550-59 ท่มี า: สํานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (2560b) พื้นท่ีปลูกข้าวท่ีสําคัญในประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่จังหวัด อุบลราชธานี นครราชสีมา สุรินทร์ ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ ภาคกลาง ได้แก่จังหวัด สุพรรณบุรี อยุธยา ฉะเชิงเทรา สุโขทัย ภาคเหนือ ได้แก่จังหวัดเชียงราย น่าน พะเยา และภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดสงขลา นครศรธี รรมราช (ภาพที่ 2-14) 4. สถานการณ์การตลาดขา้ วของไทย 4.1 การสง่ ออก ในปี 2555-2559 พบวา่ ปริมาณและมลู ค่าสง่ ออกมีแนวโน้มเพมิ่ ขึน้ รอ้ ยละ 10.71 และร้อย ละ 1.11 ต่อปี ตามลาํ ดบั เนื่องจากตลาดยังคงมีความต้องการข้าวไทยอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2557 ราคาสง่ ออกขา้ วไทยปรับตัวลดลงใกลเ้ คยี งกบั ประเทศคู่แข่ง เชน่ อนิ เดีย และเวียดนาม ส่งผลให้ ประเทศผนู้ าํ เข้าข้าวสงั่ ซอ้ื ข้าวจากไทยเพ่มิ ขน้ึ ในปี 2559 คาดวา่ จะสามารถส่งออกได้ 9.20 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 140,000 ล้านบาท เมื่อ เทียบกับปี 2558 ที่ส่งออกได้ 9.80 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 155,912 ล้านบาท ปริมาณและมูลค่า ลดลงร้อยละ 6.12 และร้อยละ 10.20 ตามลาดับ เน่ืองจากการแข่งขันการส่งออกข้าวของประเทศ ผู้ผลิตท่ีสาคัญในตลาดโลก เช่น อินเดีย เวียดนาม และปากีสถาน รวมทั้งประเทศผู้นาเข้าข้าวประสบ ปัญหาภาวะเศรษฐกิจทาใหก้ าลังซื้อลดลง และชะลอการสง่ั ซอ้ื ข้าว
พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ | 35 4.2 ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ ในปี 2555 - 2559 ราคาท่ีเกษตรกรขายไดข้ องขา้ วเปลือกหอมมะลิ ขา้ วเปลอื กเจา้ ความช้ืน 15% และข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาว มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 9.31 ร้อยละ 6.01 และร้อยละ 0.50 ต่อปีตามลาดับ โดยราคาข้าวเปลือกหอมมะลิลดลงจากตันละ 15,365 บาท ในปี 2555 เหลือตันละ 10,500 บาท ในปี 2559 ขา้ วเปลอื กเจา้ ความช้ืน 15% ลดลงจากตันละ 10,156 บาท ในปี 2555 เหลือตัน ละ 7,950 บาท ในปี 2559 สาหรับข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาว ราคาลดลงจากตันละ 11,925 บาท ในปี 2555 เหลือตันละ 11,530 บาท ในปี 2558 และเพ่ิมเป็นตันละ 12,150 บาท ในปี 2559 เนื่องจากในช่วงปี 2555 – 2557 ราคาข้าวโดยรวมปรับตัวสูงข้ึนจากการท่ีรัฐบาลมีโครงการรับจานา ข้าวเปลือก แต่ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2557 เป็นต้นมา รัฐบาลไม่มีนโยบายแทรกแซงราคา ราคาข้าวจึง เปน็ ไปตามกลไกตลาด ภาพที่ 2-14 พน้ื ทป่ี ลูกข้าวของไทย ทีม่ า: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2560c)
36 |ดรณุ ี พวงบุตร การแปรรูปและผลติ ภณั ฑ์ ในปัจจุบันการผลิตและการส่งออกข้าว ต้องประสบปัญหาหลายประการ โดยเฉพาะปัญหา ความไม่มีเสถียรภาพของระดับราคา และการแข่งขันจากประเทศที่มีต้นทุนการผลิตต่ํากว่า ซึ่งส่งผล กระทบโดยตรงต่อเกษตรกรผปู้ ลูกขา้ ว อตุ สาหกรรมการแปรรปู ข้าว นบั เป็นหนทางหน่ึงท่ีจะช่วยเหลือ เกษตรกร โดยช่วยเพิ่มความต้องการข้าว เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบสําหรับผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวนานาชนิด เป็นการสรา้ งมลู คา่ เพิ่มใหก้ บั ผลผลิตข้าว ซ่ึงจะช่วยเพม่ิ โอกาสในการส่งออก และนํามาซึ่งรายได้ท่ีเป็น เงินตราต่างประเทศ ผลติ ภัณฑแ์ ปรรปู ข้าวทสี่ ําคัญในปัจจบุ นั มหี ลายรปู แบบ (ภาพท่ี 2-15) ดงั นี้ 1. ผลิตภัณฑ์ข้าวก่ึงสําเร็จรูป เช่น โจ๊กก่ึงสําเร็จรูป หรืออาหารจานเดียวประเภทข้าวแช่แข็ง ในรูปแบบต่างๆ เช่น ข้าวผัด ในปัจจุบันผลิตภัณฑ์เหล่านี้ได้รับความนิยมมาก โดยเฉพาะในตลาดที่ พัฒนาแล้ว เช่น ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ ข้าวกระป๋อง ซึ่งมีจุดเด่นที่สามารถเปิด รับประทานได้ทันที อีกท้ังสามารถเก็บรักษาได้นานถึง 2 ปี นับเป็น นวัตกรรมใหม่ที่เป็นกรณีตัวอย่างของการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม ขนาดย่อมที่ประสบ ความสําเร็จ และได้รับการยอมรับจากประเทศต่างๆ ตลาดส่งออกข้าวกระป๋องท่ีสําคัญ ได้แก่ ยุโรป และตะวันออกกลาง 2. ผลิตภัณฑ์ขนมขบเค้ียวและอาหารเช้า ในปัจจุบันการแปรรูปข้าวเป็นขนมขบเค้ียวกําลัง ได้รับความนิยมอย่างมาก ท้ังตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้บริโภค วัยเด็กและวัยรุ่น ในกระบวนการผลิตอาจเตรียมเป็นลักษณะของวัตถุดิบ สุก แห้ง เป็นแผ่นเล็กๆ (flake) หรอื เปน็ กอ้ นโต (dough) แลว้ จงึ ทาํ ให้พองหรือค่ัว ผลิตภัณฑ์เหล่าน้ีอาจมีการนําธัญพืชอ่ืนมา ผสม และมีการเติมสารปรงุ รส วิตามนิ แรธ่ าตแุ ละโปรตนี เพือ่ เสริมโภชนาการ 3. ผลิตภัณฑ์จากกระบวนการหมัก ผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากการหมักข้าวสาร ได้แก่ ข้าวหมาก ขนมจนี และผลิตภัณฑ์ประเภทสุรา ในบรรดาอุตสาหกรรมดังกล่าวมีเพียงขนมจีน ท่ีมีการผลิตในเชิง อุตสาหกรรม ส่วนใหญ่เป็นโรงงานขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์จากกระบวนการหมักข้าวสาร ยังสามารถนําไปใช้เป็นส่วนประกอบในการผลิต เบยี ร์ แตย่ ังมขี อ้ จาํ กัดทางดา้ นคณุ ภาพ เมื่อเทียบกับการใช้ขา้ วบาร์เลยเ์ ป็นวัตถดุ บิ 4. เส้นก๋วยเตี๋ยวและเส้นหมี่ นอกจากจะใช้บริโภคภายในประเทศแล้ว ยังสามารถส่งออกไป ขายยังต่างประเทศได้ด้วย ตลาดส่งออกสําคัญ คือ มาเลเซีย ญี่ปุ่น ปัจจุบันมีการปรับปรุงรูปแบบ ผลติ ภัณฑ์ให้อยใู่ นรปู กงึ่ สําเร็จรปู มากข้ึน ท้งั ในรปู ก๋วยเต๋ยี ว เสน้ หม่ีและกว๋ ยจบ๊ั อีกท้ังมีการพัฒนาโดย เพม่ิ สว่ นประกอบและสารอาหารท่มี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการ เช่น เน้อื สตั ว์ และผัก 5. ขนมหวานและขนมไทย ผลิตภัณฑ์ขนมหวานที่ได้จากการแปรรูปข้าว ในปัจจุบันยังมี ช่องทางขายที่จํากัด เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นการผลิต เพ่ือบริโภคภายในครัวเรือน และขายในท้องถ่ิน เพราะขนมไทยมักเก็บรักษาไม่ได้นาน อีกท้ัง ผู้บริโภคหันไปบริโภคขนมขบเคี้ยว ในตลาดที่มีให้เลือก
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 37 ซ้ือหลายชนิดและสะดวก นอกจากนี้ การผลิตขนมหวานยังมีขั้นตอนยุ่งยาก ไม่มีสูตรการผลิตที แนน่ อน และมมี ูลคา่ เพิ่มน้อย ตอ้ งอาศัยการผลิตในระดับอตุ สาหกรรม เพ่ือลดต้นทนุ ต่อหน่วยลง 6. ผลติ ภณั ฑ์นา้ํ มันรําข้าว รําข้าวสามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตนํ้ามันรํา ซึ่งเป็นนํ้ามันท่ีมี คุณภาพค่อนข้างดี แต่ปัจจุบันต้องประสบกับการแข่งขันกับนํ้ามันพืชท่ีใช้วัตถุดิบชนิดอื่น เช่น นํ้ามัน ถั่วเหลือง และนา้ํ มันปาลม์ 7. แปง้ ขา้ ว สตาร์ชข้าว และสตาร์ชข้าวดัดแปรง ใช้เป็นส่วนประกอบอาหารทอด เช่น โดนัท และไก่ชุบแป้งทอด จะช่วยลดการอมน้ํามันของอาหารทอดได้เป็นอย่างดีถึง 70% ของการอมนํ้ามัน เช่น โดนัทที่ทําจากแป้งสาลีล้วนจะมีไขมันถึง 24-26 กรัม ต่อ 100 กรัมส่วนที่บริโภคได้ สําหรับแป้ง ชบุ ทอดไกท่ ่มี แี ปง้ ข้าวและแปง้ ขา้ วดดั แปรสตาร์ชในส่วนผสมจะลดการอมน้ํามันจากปกติได้ถึง 60% สารสาคญั ในข้าว ข้าวนอกจากจะใช้เป็นแหล่งอาหารที่ให้พลังงานแล้ว ยังพบว่ามีสารสําคัญที่มีประโยชน์ต่อ สุขภาพมากมายหลายชนดิ (ประสิทธ์ิ, 2553) ซงึ่ มีคณุ สมบัติในการปอ้ งกันการเกดิ โรคต่าง ๆ ดังน้ี 1. แอนโทไซยานิน (anthocyanin) เป็นสารได้จากข้าวท่ีมีสีม่วงดํา มีคุณสมบัติในการกําจัด อนมุ ลู อสิ ระในกล่มุ superoxide radical และกลุม่ hydroxyl radical (Ichikawa et al., 2001) 2. สารกาบา (gaba) เป็นสารอาหารท่ีเกิดขึ้นในส่วนของจมูกข้าวและเกิดข้ึนในภาวะท่ีข้าว กําลังงอก กาบามีบทบาทที่สําคัญต่อระบบประสาท ระบบเผาผลาญและช่วยกระตุ้นฮอร์โมนที่สร้าง การเจรญิ เตบิ โตของเซลล์ใหมใ่ ห้กบั ร่างกาย (Patilg and Khan, 2011; Moongngarm et al., 2012) 3. แกมมา-โอไรซานอล เป็นส่วนประกอบของเสตอรอล (sterols) กับกรดเฟอรูลิคเอซิด (ferulic acid) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดความเส่ียงต่อการเกิดโรคโรคมะเร็ง และโรคอ่ืนๆ อีก ดว้ ย ช่วยลดคลอเลสเตอรอล เพ่ิมไขมันที่ดีคือไตรกลีเซอไรด์ และ HDL จึงเป็นการช่วยลดความเส่ียง ต่อการเป็นโรคหวั ใจ (Yoshie et al., 2009) 4. กรดเฟอร์รูริก (ferulic acid) สามารถสกัดได้จากรําข้าว มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูล อิสระโดยการกาํ จดั อนุมลู อสิ ระท่ีเกิดข้นึ ภายในเซลล์ ช่วยป้องกนั ความเสยี หายให้กับเซลล์ และช่วยให้ เซลล์ในร่างกายปรับตัวรับกับสภาวะกดดันหรือกําจัดของเสียที่เกิดภายในเซลล์ได้ดี (Perez-Ternero et al., 2017)
38 |ดรุณี พวงบตุ ร โจ๊กก่งึ สาํ เร็จรปู ซเี รยี ลบาร์ เส้นกว๋ ยจ๊บั นาํ้ มันราํ ขา้ ว เคร่อื งดมื่ อาหารเสรมิ แปง้ เคร่อื งสําอาง แอลกอฮอล์ ภาพที่ 2-15 ตัวอยา่ งผลิตภัณฑแ์ ปรรปู จากขา้ ว
พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ| 39 สรปุ ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญของประเทศไทย เน่ืองจากเป็นท้ังอาหารหลักและสินค้าส่งออก ทสี่ ําคญั ประเทศไทยเปน็ ผู้สง่ ออกขา้ วเปน็ ลาํ ดับตน้ ๆ ของโลก ในแตล่ ะปมี ีการส่งออกข้าวเป็นจํานวน หลายล้านตัน สามารถนํารายได้เป็นจํานวนมากเข้าสู่ประเทศ ในปี 2559/60 พบว่าประเทศไทยมี พื้นท่ีเพาะปลูก 68 ล้านไร่ โดยพ้ืนที่ปลูกข้าวท่ีสําคัญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง มี ผลผลิตรวม 31.8 ล้านตัน และมีผลผลิตต่อไร่ 544 กิโลกรัมต่อไร่ สามารถส่งออกได้ 9.20 ล้านตัน ข้าวสาร มูลค่า 140,000 ล้านบาท ประเทศคูค้าทีส่ าคัญของไทย ได้แก่ สหรฐั อเมริกา ไอวอรีโคสต์ จีน ฟิลปิ ปินส์ อนิ โดนเี ซยี ไนจเี รยี แอฟรกิ าใต้ และเบนิน ส่วนประเทศคู่แข่งท่ีสาคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เวียดนาม จีน ปากสี ถาน และเมยี นมาร์ ในปัจจุบันการผลิตและการส่งออกข้าว ต้องประสบปัญหาหลายประการ โดยเฉพาะปัญหา ความไม่มีเสถียรภาพของระดับราคา และการแข่งขันจากประเทศที่มีต้นทุนการผลิตตํ่ากว่า ซ่ึงส่งผล กระทบโดยตรงตอ่ เกษตรกรผูป้ ลูกข้าว อตุ สาหกรรมการแปรรูปข้าว นับเปน็ หนทางหน่ึงที่จะช่วยเหลือ เกษตรกร โดยช่วยเพ่ิมความต้องการข้าว เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบสําหรับผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวนานาชนิด เปน็ การสร้างมูลค่าเพม่ิ ใหก้ บั ผลผลติ ขา้ ว ซง่ึ จะช่วยเพ่มิ โอกาสในการส่งออก และนํามาซึ่งรายได้ท่ีเป็น เงินตราต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวที่สําคัญในปัจจุบัน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ข้าวกึ่งสําเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวและอาหารเช้า ผลิตภัณฑ์จากกระบวนการหมัก เส้นก๋วยเตี๋ยวและเส้นหมี่ ขนมหวานและขนมไทย ผลิตภัณฑ์น้ํามันรําข้าว แป้งข้าว ผลิตภัณฑ์เครื่องด่ืมเพ่ือสุขภาพ และ ผลิตภณั ฑอ์ าหารเสรมิ และเคร่อื งสาํ อาง
40 |ดรณุ ี พวงบุตร แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 1. จงบอกแหลง่ กาํ เนดิ ขา้ วอยู่ประเทศและทวปี ใด 2. พ้ืนท่ีภาคไหนของประเทศไทย เหมาะสมต่อการปลูกข้าวมากท่สี ดุ เพราะเหตุใด 3. ปจั จุบนั ประเทศไทยสง่ ออกข้าวเปน็ อนั ดบั ที่เท่าไหร่ของโลก 4. ข้าวนาปี มรี ะบบการปลูกเดือนไหนถึงเดือนไหน 5. จงบอกผลติ ภณั ฑแ์ ปรรูปจากข้าวทสี่ ําคัญมา 5 ชนิด
พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 41 เอกสารอา้ งอิง กิง่ แก้ว คณุ เขต. (2551). องค์ความรู้: เทคโนโลยีการปลูกข้าว. สํานักวิจัยและพัฒนาข้าว. กระทรวง เกษตรและสหกรณ์. 73 หน้า. กรมการค้าต่างประเทศ. (2560). ผลิตภัณฑ์จากข้าวและนวัตกรรมข้าวไทย. [Online]. Available: http://www.thairiceforlife.com/riceproducts/index [2017, January 26]. ประสิทธิ์ วงั ภคพัฒนวงศ์. (2553). โภชนาการของข้าวและนวัตกรรมการใช้ประโยชน์. วาสารคลินิก อาหารและโภชนาการ 40: 32-40. นราพิมล. (2014). ส่วนประกอบของข้าว. Online]. Available: http://narapimon.com [2014, January 26]. สํานกั วิจยั และพฒั นาขา้ ว. (2550). โรคข้าวและการป้องกันกาจดั . กรมการขา้ ว. กระทรวงเกษตรและ สหกรณ.์ สาํ นกั พิมพช์ มุ ชนสหกรณก์ ารเกษตร. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560a). สถิตกิ ารเกษตรของประเทศไทย ปี 2559. กระทรวงเกษตร และสหกรณ์. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560b). สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สาคัญและแนวโน้ม ปี 2560. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560c). สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสินค้า ปี 2559. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สํานักวิจัยและพัฒนาข้าว. 2560. องค์ความรู้เร่ืองข้าว. กรมการข้าว. [Online]. Available: http://www.ricethailand.go.th/ [2017, January 2]. Food and Agriculture Organization [FAO]. (2017). Food and Agriculture Organization Corporate Statistical Database. Rome. FAO. Food and Agriculture Organization [FAO]. (2015). Rice. [Online]. Available: http://www.fao.org/ [2017, January 6]. Ichikawa, H., T. Ichiyanagi, B. Xu, Y. Yoshii, M. Nakajima and T. Konishi. (2001). Antioxidant activity of anthocyanin extract from purple black rice. Journal of Medicinal Food. 4: 211-218. Jayasinghe, T. (2014). Origin of Rice in the world. [Online]. Available: https:// www.slideshare.net/ [2014, February 6] Moongngarm, A. N. Daomukda and S. Khumpika. (2012). Chemical compositions, phytochemicals, and antioxidant capacity of rice bran, rice bran layer, and rice germ. APCBEE Procedia. 2: 73-79.
42 |ดรณุ ี พวงบตุ ร Patilg, S.B. and M.K. Khan. (2011). Germinated brown rice as a value added rice product: A review. Journal of Food Science and Technology. 48(6): 661-667. Perez-Ternero, C., C.M. Werner, A.G. Nickel, M.D. Herrera, M.J. Motilva, M. Böhm, M. Alvarez de Sotomayor and U. Laufs. (2017). Ferulic acid, a bioactive component of rice bran, improves oxidative stress and mitochondrial biogenesis and dynamics in mice and in human mononuclear cells. Journal of Nutritional Biochemistry. 48: 51-61. Sparks, E. (2017). Rice plant. [Online]. Available: https://figshare.com/ [2017, February 4] Yoshie, A., A. Kanda, T. Nakamura, H. Igusa and S. Hara. (2009). Comparison of gamma- oryzanol contents in crude rice bran oils from different sources by various determination methods. Journal of Oleo Science. 58: 511-8.
แผนการสอนประจาบทท่ี 3 ยางพารา หวั ข้อเน้อื หา ความสาคญั สถานการณ์การผลติ และการตลาด การแปรรูปและผลิตภัณฑ์ 1.1 ยางพาราและความสาคัญ 1.2 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 1.3 การปลกู และการกรดี ยาง 1.4 สถานการณ์การผลติ และการตลาด 1.5 ผลิตภัณฑ์จากการแปรรูป 1.6 สรุปประจาบท แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 3 เอกสารอา้ งอิง วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เม่อื เรยี นจบบทนี้แล้ว ผเู้ รียนสามารถ 1. อธบิ ายความสาคญั และลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ของยางพาราได้ 2. วิเคราะห์สถานการณ์การเปล่ียนแปลงการผลิตและการตลาดยางพารา ในปัจจบุ ันได้ 3. อธิบายเก่ียวกับวธิ ีการปลกู การดูแลรักษา และการกรีดยางได้ 4. สรุปสาระเก่ียวกบั การใช้เทคโนโลยกี ารผลิต การแปรรูปและผลติ ภัณฑ์ยางพารา 5. ตระหนักถงึ มูลคา่ ทางเศรษฐกิจของยางพารา ทีส่ ร้างรายได้ใหก้ บั ประเทศ วิธกี ารสอนและกจิ กรรมประจาบทที่ 3 1. ชแ้ี จงคาอธบิ ายรายวชิ า วัตถุประสงค์ เนอ้ื หา และเกณฑ์การให้คะแนนรายวิชา 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 3. ผูส้ อนอธิบายเนื้อหาเร่อื ง ความสาคัญของยางพารา สถานการณ์การผลติ และการตลาด รวมถงึ การแปรรปู และผลติ ภณั ฑ์จากยางพารา ตามเอกสารประกอบการสอน 4. บรรยายประกอบการฉายภาพสไลด์ (โปรแกรม Power Point) 5. ซกั ถาม และแลกเปล่ียนแนวคิด และเสนอแนะแนวความคดิ 6. สรปุ เนือ้ หาประจาบท 7. ให้ผเู้ รยี นทาแบบฝกึ หัดทา้ ยบทประจาบทที่ 3 เร่ืองสถานการณก์ ารผลติ และการตลาด การแปร รปู และผลติ ภณั ฑ์จากยางพารา และกาหนดส่ง 8. ช้ีแจงหัวขอ้ ทจ่ี ะเรยี นในครัง้ ต่อไป เพื่อให้ผูเ้ รยี นไปศึกษากอ่ นล่วงหนา้ 9. เสริมสรา้ งคุณธรรมและจรยิ ธรรมใหก้ ับนักศึกษาก่อนเลกิ เรียน
44 | ดรณุ ี พวงบุตร ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เคร่อื งคอมพิวเตอร์ 3. ภาพสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) 4. เคร่ืองฉายภาพสไลด์ 5. แบบทดสอบก่อนเรยี นผ่านระบบออนไลน์ (google form) 6. แบบฝกึ หดั หลงั เรียนผา่ นระบบออนไลน์ (kahoot) การวัดผลและประเมินผล 1. จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนผา่ นระบบออนไลน์ 2. จากการทาแบบฝึกหัดท้ายบท 3. จากการการสอบระหว่างภาคการศึกษา
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 45 บทท่ี 3 ยางพารา ยางพารา ถือเปน็ พชื เศรษฐกิจท่ีสาคญั ของไทย สามารถสร้างรายได้ให้กบั ประเทศเปน็ อันดบั สองรองจากขา้ ว โดยพื้นทีป่ ลูกยางทส่ี าคัญของไทยอยู่ในภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื โดยน้ายางพาราเป็นผลผลิตท่ีไดจ้ ากตน้ ยางพารา มีความสาคัญต่อ ภาคอตุ สาหกรรมอย่างมาก โดยมีการนาน้ายางสดไปแปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑย์ างขั้นตน้ จากนนั้ นาไปใช้ ในการผลิตเปน็ ผลติ ภัณฑ์สาเร็จรปู ทีม่ ีมูลคา่ เช่น ยางลอ้ อุปกรณ์ทางการแพทย์ รองเท้า อุปกรณ์กฬี า ผลิตภณั ฑ์เหล่าน้ลี ้วนเปน็ สินคา้ ส่งออกทสี่ รา้ งรายไดเ้ ป็นจานวนมากในแต่ละปี ก่อใหเ้ กิดรายไดแ้ ละ ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ให้ประเทศเป็นอย่างมาก และยงั ส่งผลทาให้เกษตรกรผู้ปลูกยางพารามี รายได้เพิ่มมากข้นึ ดังน้ันยางพารา ถือเป็นพชื เศรษฐกจิ ของไทยอีกพชื หนง่ึ ทก่ี ่อให้เกดิ รายได้จากการ สง่ ออกและเกิดการสร้างงานและอาชีพในท้องถิน่ เพิ่มมากข้ึน ยางพาราและความสาคญั ยางพารา (para rubber) มีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Hevea brasiliensis Muell. Arg. เป็นพืชที่ มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจโลกพืชหน่ึง โดยมีผลิตภัณฑ์ข้ันไปใช้แปรรูปเป็นภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีมูลค่าสูง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานพาหนะและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ท่ีมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ส่งผล ทาใหม้ คี วามตอ้ งการทางการตลาดเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเทศจีนและอินเดีย ส่งผลทาให้ ประเทศผสู้ ่งออกยางพาราท่สี าคญั ไดแ้ ก่ ไทย อนิ โดนีเซีย และมาเลเซยี มีการขยายพื้นท่ีปลูกเพ่ิมมาก ข้ึนในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ส่งผลให้ผลผลิตยางพาราออกสู่ตลาดมากขึ้นเช่นกัน ในปัจจุบัน พบว่า ประเทศผู้นาเข้ายางหลักมีการชะลอการซ้ือยาง ทาให้ความต้องการในการใช้ยางพาราลดลงต่ากว่า ปริมาณผลผลิต ส่งผลกระทบให้ราคายางพารามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ืองตั้งแต่ปี 2557 จนถึง ปจั จบุ ัน สาหรับประเทศไทย ยางพาราเป็นพืชท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจเป็นอันที่ 2 รองจากข้าว โดยประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกยางพาราเป็นอันดับหน่ึงของโลก สามารถทารายได้เข้า ประเทศได้กว่า 3 แสนล้านบาทต่อปี โดยน้ายางสดที่กรีดได้จากต้นยางพาราจะนามาแปรรูปให้อยู่ใน สภาพที่เหมาะสมและสะดวกในการนาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยาง เช่น ยางแผ่น รมควัน ยางแท่ง และยางน้าข้น โดยยางพาราเหล่านี้จะนาไปใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป อ่ืนๆ เช่น ยางยานพาหนะ ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ยางรัดของ และท่อยางต่าง ๆ เป็นต้น ซ่ึง ผลิตภัณฑ์ยางแปรรูปดังกล่าวมีการส่งออกไปยังต่างประเทศประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ และใช้ใน ประเทศเพียง 20 เปอร์เซ็นต์ โดยมีประเทศคู่ค้าท่ีสาคัญ คือ จีน มาเลเซีย และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น (สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560)
46 | ดรณุ ี พวงบตุ ร ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ยางพารา เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ต้นมีความสูงประมาณ 25-30 เมตร ใบประกอบแบบน้ิว มือ ประกอบด้วยใบย่อย 3 ใบ มีลักษณะรูปรีหรือรูปไข่กลับ มีดอกตัวผู้และตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน ดอกเพศผสู้ ีเหลือง ดอกเพศเมียมีฐานดอกสีเขยี ว เมล็ดเป็นรูปไข่ (Verheye, 2010) โดยมีลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ท่ีสาคัญดังนี้ 1. ราก (root) ยางพารามีระบบรากเป็นระบบรากแก้ว (tap root system) ประกอบด้วยรากแก้ว (tap root) ทม่ี ีความยาวโดยเฉล่ียตามความลึกของดนิ ประมาณ 2.5 เมตร ในต้นยางท่มี ีอายุ 3 ปี ทาหน้าที่ ยดึ เกาะพยงุ ลาต้นไม่ใหโ้ คน่ ล้มเมื่อลมแรงและมีน้าท่วม รากแขนง (lateral root) แตกแขนงออกมา จากช้ัน pericycle ของรากแก้ว มีความยาวเฉล่ีย 7-10 เมตร เจริญอยู่ในระดับผิวดินบริเวณทรงพุ่ม ทาหน้าทดี่ ูดยดึ นา้ และธาตอุ าหารสง่ ไปยังใบเพือ่ ขบวนการสงั เคราะห์แสง (ภาพท่ี 3-1) ภาพท่ี 3-1 ลกั ษณะรากยางพารา ทม่ี า: Masson and Monteuuis (2017) 2. ลาต้น (stem) ลาต้นยางพาราแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ตามชนิดของวัสดุปลูก คือ ลาต้นรูปกรวย (cone) เป็น ลาตน้ ที่เกดิ จากการปลกู ด้วยเมลด็ (seedling tree) ส่วนฐานของลาตน้ จะโตแล้วค่อยเล็กลงตามความ สูง และลาต้นรูปทรงกระบอก (cylinder) เป็นลาต้นที่เกิดจากการปลูกด้วยต้นติดตา (budded stump) ในช่วงแรกลาต้นท้ังสองชนิดมีเกล็ดใบ (scale leaves) อยู่ตรงส่วนตายอด ทาหน้าที่ห่อหุ้ม ใบอ่อนไม่ให้ได้รับอันตราย ถัดลงมาก็เป็นกลุ่มของใบซ่ึงแตกเป็นฉัตรรอบลาต้น เม่ือลาต้นมีอายุมาก ขึ้นก็จะมีการแตกกิ่งก้านสาขา ฉัตรใบบริเวณล่าง ๆ จะร่วงหล่นไปกลายเป็นลาต้นเปลือย (bare trunk) ความสูงของลาต้นเปลือยแตกต่างกันออกไปโดยเฉล่ียแล้วประมาณ 2.0-2.5 เมตร ส่วนประกอบของลาตน้ ทเ่ี ราจะนามาใชป้ ระโยชน์ในการสกัดนา้ ยางคือสว่ นเปลือกอ่อน (ภาพที่ 3-2)
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 47 ภาพที่ 3-2 ลกั ษณะลาต้นยางพารา ทม่ี า: ผเู้ ขียน 3. ใบ (leaf) ใบยางพาราจัดเป็นใบประกอบ (compound leaf) แบบ palmate ในใบประกอบชุดหนึ่ง ของยางพารามี 3 ใบยอ่ ย ซงึ่ เรยี กวา่ trifoliage leaves ใบย่อยแต่ละใบจะมีก้านใบย่อย (peteolule) ซึ่งมีความยาวโดยเฉล่ียประมาณ 0.5 - 2.5 เซนติเมตร แตกออกตรงส่วนปลายของ peteole ณ จุด เดียวกัน peteole ของใบยางพาราจะมีความยาวโดยเฉลี่ย 15 เซนติเมตร การเรียงตัวของใบในฉัตร เป็นแบบเกลียว (spiral) ใบท่ีแก่ท่ีสุดของกลุ่มใบย่อยคือ ใบท่ีใหญ่ที่สุดและมี peteolule ยาวกว่า แผ่นใบหรือตวั ใบมีขนาดแตกต่างกันออกไป โดยเฉลี่ยแล้วมีความกว้างเป็นครึ่งหน่ึงถึงหน่ึงในสามของ ความยาวใบ (ภาพที่ 3-3) ภาพที่ 3-3 ลกั ษณะใบยางพารา ทีม่ า: ผู้เขียน
48 | ดรณุ ี พวงบตุ ร 4. ดอก (flower) ดอกยางพารามีเกิดเปน็ จานวนมากจากตาตรงซอกใบ (axillary bud) มีลักษณะเป็นช่อสั้น ๆ ตรงฐานของกลุ่มใบใหม่ ช่อดอกของยางพาราเป็นแบบ compound raceme หรือ panicle ในช่อ ดอกหนึ่ง ๆ ประกอบด้วย แกนใหญ่ของช่อเรียกว่า main axis แล้วมีการแตกแขนงของช่อดอกเป็น แขนงยอ่ ยอกี มากมาย แขนงย่อยแรกท่ีแตกจาก main axis เรียกว่า primary branch แขนงย่อยที่ 2 แตกจาก primary branch เรียกว่า secondary branch อันเป็นท่ีต้ังของก้านชูดอก (peduncle และ pedicel) การแตกแขนงของช่อดอกในลักษณะดังกล่าวจะลดหล่ันกัน มองดูแล้วคล้ายรูป สามเหลี่ยม ในช่อดอกจะประกอบไปดว้ ยดอก 2 ชนดิ แยกกัน คือ 4.1 ดอกตัวเมีย (pistillated flowers) มีขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ส่วนปลายสุดของแขนงช่อดอก ประกอบด้วยชั้นต่าง ๆ ดังน้ี กลีบเล้ียงสีเหลือง เม่ือบานรูปร่างคล้ายระฆัง (bell-shape) จานวน 5 กลีบ กลีบดอกไม่มี เกสรตัวเมียซึ่งประกอบด้วย รังไข่ 3 พู และยอดเกสรตัวเมียที่ไม่มีก้านชู (sessile stigma) มีลักษณะ 3 แฉก เกสรตวั ผ้ซู ่ึงเป็นหมนั (staminode) จานวน 5 อัน 4.2 ดอกตัวผู้ (staminated flowers) มีขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในตาแหน่งท่ีต่ากว่าดอกตัวเมียใน แขนงเดียวกนั ของชอ่ ดอก ในช่อดอกหนึ่ง ๆ จะมีดอกตัวผู้ประมาณ 60-80 ดอก ประกอบด้วยช้ันต่าง ๆ ดังนี้ กลีบเล้ียงจานวน 5 กลีบ กลีบดอกไม่มี เกสรตัวผู้ท่ีไม่มีก้านชูละอองเกสร (sessile stamen) จานวน 10 อันเรียงกันเป็น 2 วง วงละ 5 อนั รอบ corollar tube (ภาพท่ี 3-4) หลังจากแทงชอ่ ดอกแลว้ 2 อาทิตย์ ช่อดอกมีการพัฒนาเต็มที่พร้อมท่ีจะบานโดยดอกตัวผู้จะ บานกอ่ น ชว่ งการบานของดอกตัวผู้ 1 วันก็จะร่วง ส่วนดอกตัวเมียจะบานในช่วงเวลาถัดมา อาจบาน นาน 3-5 วนั ดอกตวั ผู้ ดอกตัวเมยี ภาพที่ 3-4 ลกั ษณะดอกยางพารา ทีม่ า: ศยามล (2558)
พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 49 5. ผล (fruit) ดอกตวั เมียทส่ี ามารถผสมตดิ ให้ผลมเี พยี ง 30-50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนดอกท่ผี สมไม่ติดจะร่วงหล่น ไป หลังจากผสมแล้ว รังไข่จะพัฒนามาเป็นผลภายในเวลา 3 เดือน และต่อมาอีก 3 เดือน ผลก็จะสุก ผลท่ีแก่มีขนาดใหญ่ แน่น มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-5 เซนติเมตร ประกอบด้วย 3 พู แต่ละพูจะบรรจุ 1 เมล็ด ส่วนประกอบของผลมีเปลือกผล (epicarp) และผลช้ันกลาง (mesocarp) บางนิ่ม ส่วนผล ชัน้ ใน (endocarp) แขง็ หนา เมือ่ ผลสุก ผลชัน้ ในจะแตกออกเป็น 6 สว่ น (ภาพท่ี 3-5) 6. เมลด็ (seed) เมล็ดมีขนาดใหญ่ รูปร่างกลมถึงรีแล้วแต่พันธุ์ เมล็ดแน่นเป็นมัน เปลือกของเมล็ด (seed coat) แขง็ มีสนี า้ ตาลออ่ น สีเทา มีจุดน้าตาลเข้ม ประปราย ด้านท้องของเมล็ดตรงปลายสุดด้านหน่ึง จะเป็นท่ีต้ังของขั้วเมล็ด (hilum) และ micropyle ซึ่งเป็นทางงอกของรากอ่อน ถัดมาเป็นรอยที่ funiculus อ้อมมาติดกับเมล็ดตรงขั้วเรียกว่า raphe รูปร่างของเมล็ดขึ้นอยู่กับการกดของผลซ่ึงมี เมลด็ บรรจุอยู่ภายใน ภายในเมล็ดมีอาหารสะสมเปน็ พวกไขและมนั สีขาวเม่ือมีชวี ิตอยู่ และเปล่ียนเป็น สเี หลืองเม่อื เมลด็ แก่ นา้ หนกั ของเมลด็ โดยเฉลย่ี 2-4 กรมั ตอ่ เมลด็ (ภาพท่ี 3-5) ภาพที่ 3-5 ลักษณะผลและเมล็ดยางพารา ท่ีมา: ปลายแปน้ พิมพ์ (2010) 7. นา้ ยาง (Latex) น้ายาง เป็นของเหลวสีขาวถึงขาวปนเหลือง ขุ่นข้น อยู่ในท่อน้ายางซึ่งเรียงตัวกันอยู่ในส่วน เปลือกของต้นยางพารา การท่ีจะเอาน้ายางออกจากต้นยาง จะต้องใช้มีดกรีดยางเพื่อตัดท่อน้ายางให้ ขาดออกจากกัน ในน้ายาง จะมีส่วนประกอบหลักที่สาคัญอยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นเน้ือยาง (เนื้อยาง แห้ง) และส่วนที่ไม่ใช่ยาง เน้ือยางแห้ง คือ ปริมาณของเนื้อยางท่ีอยู่ในน้ายาง ตามปกติในน้ายางจะมี เนือ้ ยางแห้งประมาณ 25-45% (ภาพที่ 3-6)
50 | ดรุณี พวงบตุ ร ภาพท่ี 3-6 น้ายางพารา ที่มา: ผู้เขียน ถน่ิ กาเนดิ และสภาพแวดล้อม ยางพารา มีถ่ินกาเนิดบรเิ วณล่มุ นา้ อะเมซอน ประเทศบราซิลและประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้ (ภาพท่ี 3-7) ยางพาราถูกนามาใช้ประโยชน์เริ่มแรกจากการท่ี โจเซฟ พริสลี่ ได้ค้นพบว่ายางที่ได้จาก ต้นไม้ชนิดน้ีสามารถนามาลบรอยดา รอยขีดเขียนของดินสอได้ เมื่อปี พ.ศ. 2313 จนกระท่ังถูกเรียก ขานกันในช่ือว่า Rubber ต่อมายางได้มีการผลิตและซ้ือขายกันอย่างกว้างขวางในอเมริกาใต้ และมี ศนู ย์กลางของการซอื้ ขายอยทู่ ่ีเมอื งทา่ แห่งหน่งึ ท่ีชือ่ พารา (Para) ดงั นนั้ จงึ นิยมเรียกยางท่ีซ้ือขายกันท่ี เมอื งทา่ แหง่ นีว้ า่ ยางพารา สาหรบั ประเทศไทย ยางพาราถูกนาเข้ามาปลูกครั้งแรกโดย พระยารัษฏานุประดิษฐ์ ณ ระนอง เจ้าเมืองตรัง เม่ือประมาณปี พ.ศ. 2442-2444 และได้กระจายการทาสวนยางไปทั่วทั้งภาคใต้ และ แพร่หลายไปยังภาคตะวันออก โดยเฉพาะใน 5 จังหวัดที่สาคัญ ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ระยอง ชลบุรี จันทบุรี และตราดและภาคอื่น ๆ โดยในปี 2521 ได้เร่ิมปลูกยางกันอย่างจริงจังตามหลักวิชาการใน แหล่งปลูกยางใหมภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือโดยได้ทดลองปลูกทจ่ี ังหวัดหนองคาย บุรีรัมย์ และจังหวัด สุรินทร์ และมีการขยายเขตปลูกยางออกไปในจังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนถึง ปจั จบุ นั ในปี 2559 มพี ้ืนท่ปี ลูกยางพารา 5.14 ลา้ นไร่ สภาพแวดท่ีเหมาะสมต่อการปลูกยางพาราอยู่บริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร ซ่ึงมีอากาศร้อน ฝนตก ชุก และดินดี โดยพ้ืนที่ปลูกยางพาราส่วนใหญ่อยู่ในแถบทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ ไทย อินโดนเี ซีย และมาเลเซีย และทวีปแอฟริกา
พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 51 บราซลิ ภาพที่ 3-7 แหล่งกาเนดิ ของยางพารา ทม่ี า: Uconn (2017) ระยะการเจริญเตบิ โตและการพฒั นาของยางพารา จากการศึกษา Feldmann et al (2005) ได้แบ่งระยะการเจริญเติบโตของยางพารา ออกเป็น 9 ระยะ (ภาพที่ 3-8) ดงั นี้ 1. ระยะงอก (germination) 2. การพัฒนาทางใบ (leaf development) 3. การยืดยาวของลาตน้ (stem elongation) 4. ระยะตน้ แตกตา (development of harvestable vegetative propagated organs) 5. การแทงชอ่ ดอก (Inflorescence emergence) 6. ระยะดอกบาน (flowering) 7. การพฒั นาผล (development of fruit) 8. ระยะเมล็ดสกุ แก่ (seed ripening) 9. ระยะแกแ่ ละตน้ ตาย (senescence and death) ภาพที่ 3-8 ระยะการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของยางพารา ทม่ี า: Feldmann et al (2005)
52 | ดรณุ ี พวงบตุ ร การปลูกและการกรดี ยาง เม่ือเร่ิมเข้าฤดูแล้งประมาณเดือนมกราคม ควรจะเตรียมพ้ืนท่ีสาหรับปลูกยางพาราโดยเก็บ ไม้ออกจากบริเวณพื้นท่ีให้เรียบร้อย ทาการไถพรวนดินและวางแนวขุดหลุมปลูก หากผสมปุ๋ย อนิ ทรยี ์รองก้นหลุมด้วยควรจะดาเนินการให้เสร็จก่อนจะปลูกยางในช่วงฤดูฝน 1 เดือน โดยฤดูฝนจะ เร่ิมต้นในเดือนพฤษภาคม หากพื้นที่มีความช้ืนเพียงพอ ก็จะสามารถปลูกต้นยางชาถุงได้ และการ ปลกู ต้นตอควรให้มคี วามชนื้ เต็มท่ีในขณะปลูกไม่น้อยกว่า 2 เดือน หลังปลูก 15 วัน ถึง 1 เดือนควรมี การปลูกซอ่ ม โดยต้องปลกู ซอ่ มใหเ้ สร็จกอ่ นจะหมดฤดูฝนอยา่ งน้อย 2 เดือน เพราะในช่วงกลางฤดูฝน ฝนมักตกท้ิงช่วงให้ฝักของเมล็ดยางพาราแห้ง และแตกร่วงหล่น การตกของเมล็ดยางพาราช่วงนี้ เรียกว่า เมล็ดยางในปี (เป็นเมล็ดท่ีสาคัญในการขยายพันธ์ุยางพารา) ประมาณเดือนกรกฎาคมถึง เดือนกันยายน ขึ้นอยู่กับพื้นท่ี เมล็ดยางพาราเหล่านี้นามาปลูกเพ่ือทากล้ายางสาหรับติดตาในแปลง ปลกู หรือนาไปทาเป็นวสั ดุปลูกขยายพันธ์ุตอ่ ไปกไ็ ด้ สาหรับการปลูกยางพารา มีวิธีการปลูกหลายวิธีการที่ใช้ได้ผลดีและนิยมนามาปฏิบัติกัน ได้แก่ วิธปี ลูกดว้ ยเมล็ดแลว้ นามาติดตาในแปลง การปลูกด้วยต้นตอตา และการปลูกด้วยต้นยางชาใน ถุง การจะเลือกใช้วิธกี ารใดในการปลกู ยางพารานั้นขน้ึ อยู่กับหลายปจั จัย โดยในแต่ละวิธีมีรายละเอียด ดงั นี้ วิธปี ลูก 1. การปลกู ดว้ ยเมล็ดแล้วตดิ ตาในแปลง การปลูกสร้างสวนยางพาราโดยวิธีนี้จะได้ต้นยางพาราท่ีมีระบบรากที่แข็งแรงดี มีการ เจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอ ข้อดีของต้นยางพาราท่ีติดตาแล้ว คือยังคงจานวนเหลือพอที่จะใช้ปลูก ซอ่ มหรืออาจจาหนา่ ยให้เจ้าของสวนอ่ืนได้อีก การปลกู แบบดังกลา่ วมวี ธิ ีการ ดังนี้ 1.1 การเตรียมพ้ืนท่ี โดยการไถพลิกดิน และเก็บเศษวัชพืชออกจากพ้ืนท่ีให้หมด จากน้ันทา การไถพรวนซ้าอีกครัง้ เพอ่ื ให้ดนิ รว่ นและทาการปักไม้ชะมบตามระยะปลูกทก่ี าหนด 1.2 เตรยี มหลมุ ปลูก โดยให้ขนาดของหลุมท่ใี ช้ปลูก มีความกว้าง ยาวและลกึ เท่ากบั 50 × 50 x 50 เซนติเมตร หลังจากนนั้ ให้ตากแดดทิ้งไว้ 10 ถึง 15 วัน เพ่ือให้มีการย่อยของดินท่ีอยู่ช้ันบนผสม กับปุ๋ยหนิ ร็อคฟอสเฟตในอตั รา 170 กรมั ต่อหลุมคลกุ เคลา้ ลงไปในหลุม 1.3 นาเมล็ดมาปลูกลงในหลุมท่ีเตรียมไว้หลุมละ 3 เมล็ด มีระยะห่างระหว่างเมล็ด 25 เซนติเมตร การวางเมล็ดควรวางให้ด้านแบนของเมล็ดคว่าลง หรือหากปลูกด้วยเมล็ดงอกก็ให้ด้าน รากของเมลด็ คว่าลง ลกึ ลงไปจากผวิ ดินประมาณ 3 เซนตเิ มตร 1.4 ทาการติดตา เม่ือกล้ายางมีอายุได้ 7-8 เดือนหรือมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลาต้น ประมาณ 1.0-1.5 เซนติเมตร ก็จะทาการติดตาบริเวณตาแหน่งในระดับสูงจากพื้นดิน ประมาณ 10 เซนติเมตร หลังจากนั้น 21 วัน หากการติดตาสาเร็จมากกว่า 1 ต้น ก็ให้เลือกตัดเฉพาะยอดต้น
พชื ไร่เศรษฐกิจ| 53 ยางพาราทสี่ มบรู ณท์ ี่สดุ ทม่ี คี วามสงู ระดบั 10-15 เซนติเมตร เอียง 45 องศา ทางด้านตรงข้ามกับแผ่น ตา จากนน้ั อีก 1 เดือน ถา้ หากตาของต้นทต่ี ดั ยงั ไม่แตกก็พิจารณาติดต้นอื่นต่อไป 1.5 การดูแลรักษา ก่อนทาการติดตาต้องทาการกาจัดวัชพืชพร้อมกับการใส่ปุ๋ยก่อนทุกครั้ง โดยใช้สูตร 1 หรือ 3 ในอตั รา 15 กรัมต่อต้นหลังจากปลูกไปแล้วในเดอื นที่ 1 เดือนท่ี 2 และเดือนที่ 3 และก่อนติดตา 1 เดือน จากน้ันหลังจากการติดต้นเดิมแล้วก็จะใส่ปุ๋ยสูตร 1(18-10-6) หรือสูตร 3 (16-18-14) 2. การปลกู ด้วยตน้ ตอตา ต้นตอตาคือต้นกล้ายางท่ีติดตาด้วยยางพันธ์ุดีไว้เรียบร้อยแล้ว แต่ตายังไม่แตกออกมา มองเห็นเฉพาะแผ่นตาและตาเป็นตุ่มติดอยู่เท่าน้ัน การปลูกโดยใช้ต้นตอตาน้ีในปัจจุบันเป็นที่นิยม มากที่สุด เพราะง่ายต่อการปฏิบัติและต้นยางพารามีการเจริญเติบโตได้ดี ลักษณะของต้นตอยางท่ีดี จะต้องมีส่วนของรากแก้วท่ีมีความสมบูรณ์ ลาต้นไม่คดงอ ความยาววัดจากโคนต้นตอดินความสูงไม่ น้อยกว่า 20 เซนติเมตร ลาต้นตรงมีเส้นผ่าศูนย์กลางบริเวณท่ีติดตาไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตรและไม่ ควรโตกว่า 1.5 เซนติเมตร และระยะจากตาถึงโคนต้นคอดินต้องไม่เกิน 8 เซนติเมตร และระยะจาก ตาจนถึงรอยตัดระยะไม่น้อยกว่า 8 เซนติเมตรเช่นกัน ขนาดของแผ่นตาความกว้างไม่เกิน 1.2 เซนติเมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร ส่วนรอยตัดเหนือแผ่นตาต้องให้ลาดเอียง 45 องศา ไปตามแนวด้านตรงข้ามกับแผ่นตา สาหรับข้อท่ีควรระวังในการปลูกด้วยต้นตอตา คือขณะทา การปลูกควรให้แผ่นตาอยู่ในแนวทิศเหนือทิศใต้ เพ่ือไม่ให้แผ่นตาถูกแสงแดดมากจนเกินไป การปลูก จะตอ้ งอดั ดินใหแ้ น่นท่สี ดุ เทา่ ที่จะทาได้เพื่อให้รากสัมผสั กับดินให้มากที่สุด โดยมีข้ันตอนและวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 1. การเตรยี มพน้ื ท่สี าหรับการปลูก จะต้องทาการไถพลิกดิน จานวน 2 ครั้ง และเก็บเศษไม้ และวัชพืชออกจากพื้นที่ให้หมด จากน้นั จงึ ทาการไถพรวนซา้ อีกครั้งเพ่ือให้ดินร่วนซุย และปักไม้ชะมบ ตามระยะปลูกตามที่กาหนดไว้ 2. ขุดหลุมที่จะทาการปลูก มีขนาด 50 x 50 x 50 เซนติเมตร และตากหลุมไว้ 10 ถึง 15 วัน เพื่อให้เกิดการย่อยดินทุกชั้นและผสมปุ๋ยหินฟอสเฟต อัตรา 170 กรัมต่อหลุมใส่ลงไปในหลุมท่ี เตรียมไว้ 3. ใช้เหล็กหรือไม้ปลายแหลมแทงลงไปในหลุม ขนาดเกือบเท่าความยาวของรากแก้ว นาต้น ตอตาลงไปปลูกโดยให้แผ่นตาอยู่ในแนวเหนือหรือใต้ จากน้ันอัดดินให้แน่นเท่าท่ีจะทาได้ แล้วทา การกลบดนิ ให้อยใู่ นแนวระดบั ท่ดี ินอยบู่ ริเวณสว่ นรอยต่อของรากกับลาต้น และหลังทาการปลูกเสร็จ ควรพูนดินบริเวณโคนต้นให้สูงข้ึนเล็กน้อย เพ่ือป้องกันน้าขัง คลุมโคนต้นด้วยเศษฟางข้าวหรือวัสดุ อน่ื ๆ เท่าทจ่ี ะหาได้ ในกรณที ีฝ่ นไม่ตก ติดต่อกันหลายวันหลังจากปลูกไปแล้วควรใช้น้ารดต้นไม้ด้วย ดว้ ยอตั ราประมาณ 5 ลิตรตอ่ ตน้ หรือตามความเหมาะสม การดแู ลรักษาด้านอนื่ ๆ
54 | ดรุณี พวงบตุ ร 3. การปลกู ดว้ ยตน้ ยางชาถงุ มขี นั้ ตอนและวธิ ีปฏิบัตดิ งั นี้ 3.1 เตรียมต้นยางชาถุงโดยใช้ต้นตอตาเขียว เริ่มตั้งแต่การนาดินกรอกใส่ถุง ขนาด 4 x 15 น้วิ โดยใช้ดินร่วนผสมปุ๋ยหินฟอสเฟตอัตรา 7-10 กรัมต่อถุง แล้วนามาอัดใส่ถุงให้แน่น ใช้ไม้ปลาย แหลมปักลงบริเวณกลางถุงให้เป็นรู ใช้ต้นตอตาปลูกให้ตาสูงจากดินในถุง ประมาณ 2 นิ้ว อัดดินให้ แน่นแล้วนาไปเรียงไว้ในท่ีร่มท่ีมีแดดราไร ในระยะแถวกว้าง 10 ถุง และเม่ือตาแตกออกจึงจัดขยาย เป็น 4 ถุงต่อความกว้างของแถว การบารุงรักษาหลังจากตางอกแล้ว 2-3 สัปดาห์ ให้ใส่ปุ๋ยสูตร 1 ในครัง้ แรกและครง้ั ต่อไปทกุ 2 ถงึ 4 สัปดาห์ ในอตั รา 5 กรัมต่อถุงจนกว่าต้นตาจะโต 1-2 ฉัตร และ มีใบแก่เต็มที่ (โดยการสังเกตยอดของฉัตรที่เริ่มผลิตยอดอ่อนเป็นปุ่มขึ้นมา) จากน้ันก็พร้อมท่ีจะย้าย ตน้ และนาไปปลูกในแปลงได้ 3.2 การปลูก เริ่มต้ังแต่การเตรียมพื้นท่ี การเตรียมหลุมปลูก ซ่ึงจะเหมือนกับการปลูกด้วย ต้นตอตา ส่วนวิธีการปลูก ให้ใช้มีดคมกรีดเอาก้นถุงออก กรณีที่มีราม้วนอยู่ก้นถุงให้ตัดออกด้วย นา ถุงหย่อนลงในหลุม แลว้ ใช้มดี กรีดถุงอีกครัง้ จากกน้ ถุงจนถึงปากถุงท้ัง 2 ข้าง จากนั้นนาดินมากลบ พอหลวมแล้วดึงเอาถุงพลาสติกออก และกลบดินเพ่ิมและกดให้แน่นจนได้ระดับบริเวณโดยให้โคน ตน้ สงู อย่ใู นระดบั เดยี วกบั ต้นท่ีปลกู ในถุง ส่วนการดูแลรักษาโดยเฉพาะระยะเวลาการใส่ปุ๋ย ชนิดของ ปยุ๋ และปรมิ าณทใ่ี ส่ก็จะกระทาเหมือนกนั กบั การปลกู ดว้ ยต้นตอตา การปลกู ด้วยต้นยางชาถงุ เปน็ วิธปี ลกู ยางพาราทปี่ ระสบผลสาเร็จสูงสดุ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับวิธี อ่ืนๆ เน่ืองจากช่วยให้ต้นยางพารามีการเจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอ ลดช่วงระยะเวลาในการดูแล รักษาต้นยางอ่อนให้ส้ันลง และสามารถกรีดยางได้เร็วกว่าการปลูกด้วยต้นตอตาหรือติดตาในแปลง การปลูกด้วยตน้ ยางชาถุง มีอยวู่ ิธีการปฏิบตั ิ 2 วิธีคอื การใชว้ ิธตี ิดตาในถุง ทาโดยการปลูกต้นกล้ายาง ในถุง ขนาด 8 x 10 น้ิว เม่ือต้นกล้ายางอายุ 4 ถึง 8 เดือน ก็ทาการติดตา และอีกวิธีหน่ึงคือ การใช้ ต้นตอตาเขียวมาปลูกในถุง ขนาด 5 x 16 น้ิว และขนาด 4 x 15 น้ิว ทั้ง 2 วิธีจะมีความแตกต่างกัน คือ การชาถุงด้วยต้นตอตาเขียวจะใช้เวลาในการแตกฉัตรที่ 1 และ 2 นานกว่าวิธีการติดตาในถุง คือ การปลูกด้วยต้นตอตาเขียวจะใช้เวลาเติบโต 7½ ถึง 10 สัปดาห์ แต่การติดตาในถุงจะใช้เวลา 6 ถึง 7½ สัปดาห์เทา่ น้ัน ในดา้ นความเสยี หายเม่ือย้ายทจี่ ะปลูก คือต้นยางชาถุงที่ปลูกด้วยวิธีติดตาในถุงจะ มีความเสยี หายสงู กว่าการชาถุงดว้ ยตน้ ตอตาเขียว 5 ถงึ 6 เท่าตวั การกรีดยาง การกรีดยางต้องยึดหลักท่ีว่าเม่ือกรีดแล้วจะต้องได้น้ายางมากที่สุด เปลือกเสียหายน้อยที่สุด กรีดได้นาน 25-30 ปี และประหยดั คา่ ใช้จ่ายมากที่สดุ ขนาดของต้นยางทีเปิดกรีดได้ ต้องมีเส้นรอบต้นไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร วัดได้ท่ีความสูง จากพ้ืนดิน 150 เซนติเมตร โดยเปิดกรีดครั้งแรกเม่ือมีจานวนต้นยางท่ีพร้อมเปิดกรีดในสวนเกินกว่า ครึ่งหนึ่งของต้นยางท้ังหมดในสวน ส่วนต้นยางติดตา สามารถเปิดกรีดครั้งแรกได้ที่ระดับความสูงจาก พ้ืนดิน 50, 75, 100, 125 และ 150 เซนติเมตรระดับใดระดับหนึ่งก็ได้ แต่ถ้าเปิดกรีดต่าจะได้รับ ผลผลิตมากกว่า
พชื ไร่เศรษฐกจิ | 55 วธิ ตี ดิ รางและถว้ ยรบั น้ายาง การติดรางรองนา้ ยางควรห่างลงมาจากรอยกรีด 25 เซนติเมตร หรือ 9-10 น้ิว ไม่ควรกดราง ให้ลึกถึงเยื่อเจริญของต้นยาง ควรติดลวดและวางถ้วยรับน้ายางห่างจากรางรับน้ายางประมาณ 5-7 เซนติเมตร หรือ 2-3 น้ิว เวลาที่เหมาะสมในการกรีดยาง ควรจะเร่ิมกรีดยางต้ังแต่ตอนเช้า ประมาณ 06.00-08.00 น. เพราะจะทาให้ปฏิบัติงานได้สะดวกเนื่องจากมองเห็นชดเจนกว่า กลางคืนและ ผลผลิตท่ีได้ใกล้เคียงกับการ กรีดในตอนกลางคืน ขนาดของงานกรีดยาง คนกรีดยาง 1 คน จะ สามารถกรีดยางในสวนยางท่ีปลูกในพ้ืนที่ ราบ ตามระบบคร่ึงลาต้นวันเว้นวัน ได้ประมาณ 400-450 ตน้ ต่อวนั วธิ ีการกรดี ยาง ควรกรีดยางโดยใช้วิธีกระตุกข้อมือหรือการซอย พร้อมกับย่อตัวและสลับเท้า ไปตามรอยกรีดของต้นยาง อย่ากรีดโดยวิธีใช้ท่อนแขนลากหรือกระชากเป็นอันขาด การกรีดโดยวิธี กระตุกขอ้ มอื จะทาให้กรดี ได้เรว็ ควบคมุ การกรดี งา่ ย กรดี เปลอื กไดบ้ าง แม้จะกรีดบาดเนื้อไม้ก็จะบาด เป็นแผลเล็กๆ เทา่ นั้น ระบบการกรีดยาง เน่ืองจากในระยะ 2-3 ปีแรกของการกรีด ต้นยางยังอยู่ในระยะการ เจรญิ เติบโตคอ่ นข้างสูง การกรดี ยางมากเกินไปจะทาให้ต้นยางชะงักการเจรญิ เตบิ โต ดังนั้นจึงควรกรีด ยางในระบบคร่ึงต้นวันเว้นวันโดยหยุดกรีดในช่วงผลัดใบและไม่มีการกรีดชดเชยเพ่ือทดแทนวันท่ีฝน ตกจนกระทั่งปีที่ 4 ของการกรีดเป็นต้นไป จึงสามารถกรีดชดเชยได้ ระบบกรีดครึ่งลาต้นวันเว้นวันนี้ ใช้ไดก้ ับยางเกอื บทกุ พันธ์ุ ยกเว้นบางพันธ์ทุ ีเป็นโรคเปลือกแห้งได้ง่ายเท่าน้ันทีควรใช้ระบบกรีดครึ่งลา ตน้ วนั เว้นสองวนั โรคและแมลงทส่ี าคญั ของยางพารา โรคของยางพาราเกิดจากเชื้อต่างๆ ทเี่ ปน็ สาเหตุ แบ่งตามลักษณะอาการของโรค ซึ่งทาให้ต้น ยางมีอาการผิดปกติ ตามส่วนต่างๆ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของต้นยาง (สถาบันวิจัยยาง, 2549) ได้แก่ 1. โรคตายยอด (die back) เกิดจากเชื้อรา โดยมีลักษณะอาการ คือ ก่ิงก้านหรือยอด แห้ง ตายจากปลายก่ิงหรือยอดเข้าหาส่วนโคนทีละน้อย แล้วลุกลามไปจนถึงโคนต้น ในที่สุดต้นยางจะยืน ต้นตาย ถา้ อาการรนุ แรงตน้ ยางจะแหง้ ตายตลอดท้ังต้น เปลือกลอ่ นออกจากเน้ือไม้ มีเส้นใยและสปอร์ ของเชอื้ ราสีดาหรอื สขี าวเกิดข้ึนบริเวณเปลือกด้านใน นอกจากน้ี มแี บคทเี รยี และไส้เดือนฝอยอาศัยอยู่ ท่ัวไป ถ้าอาการไม่รุนแรงต้นยางมักแห้งหรือตายเฉพาะก่ิงยอด ส่วนของลาต้นหรือกิ่งก้านที่ยังไม่ตาย จะแตกแขนงออกมาใหม่ 2. โรคเปลือกแห้ง เกิดจากการกรีดเอาน้ายางมากเกินไป ทาให้เนื้อเย่ือบริเวณเปลือกท่ีถูก กรดี มีธาตุอาหารมาหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ จนทาให้เปลือกยางบริเวณนั้นแห้งตาย โดยมีลักษณะอาการ คือ ความเข้มข้นของน้ายางจางลง หลังจากกรีดเปลือกยางจะแห้งเป็นจุด ๆ อยู่ตามรอยกรีด ระยะ
56 | ดรุณี พวงบตุ ร ต่อมาเปลอื กทยี่ ังไมไ่ ด้กรดี จะแตกแยกเปน็ รอยและล่อนออก ถ้ากรีดต่อไปเปลือกยางจะแห้งสนิท ไม่มี น้ายางไหลออกมา 3. โรคเส้นดา (black stripe) เกิดจากเชื้อรา โดยมีลักษณะอาการ คือ บริเวณเหนือรอยกรีด ในระยะแรกเปลือกจะเป็นรอยช้า ต่อมาจะเปล่ียนเป็นรอยบุ๋มสีดาหรือสีน้าตาล ขยายข้ึนลงเป็นเส้น ตามแนวยืนของลาตน้ เม่ือเฉอื นเปลือกออกดจู ะพบรอยบุ๋มสีดานน้ั เป็นลายเส้นดาบนเนื้อไม้ อาการข้ัน รุนแรงทาให้เปลือกของหน้ากรีดบริเวณท่ีเป็นโรคปริ เน่า มีน้ายางไหลตลอดเวลา จนเปลือกเน่าหลุด ไปในท่ีสุด เปลือกงอกใหม่เสียหาย กรีดซ้าไม่ได้ อายุการให้ผลผลิตลดลงเหลือ 8-16 ปี ถ้าการเข้า ทาลายของเช้ือไม่รุนแรง เปลอื กจะเปน็ ปมุ่ ปม 4. โรคเปลือกเน่า (mouldy rot) เกิดจากเช้ือรา โดยมีลักษณะอาการ คือ เปลือกเหนือรอย กรดี มีลักษณะฉ่านา้ เปน็ รอยชา้ สีหมน่ ตอ่ มากลายเปน็ รอยบ๋มุ ปรากฏเส้นใยของเชื้อราสีขาวเทาข้ึนปก คลุมตรงรอยแผล เม่ืออาการรุนแรงข้ึน เช้ือราจะขยายลุกลามเป็นแถบขนานกับรอยกรีดยางอย่าง รวดเรว็ ทาใหเ้ ปลือกบริเวณดงั กลา่ วเนา่ หลดุ เปน็ แอง่ เหลอื แต่เนื้อไม้สีดา และไม่สามารถกรีดซ้าหน้า เดิมได้อีก เมื่อเฉือนเปลือกบริเวณข้างเคียงรอยแผลออกดู จะไม่พบอาการเน่าลุกลามออกไป ซ่ึงต่าง จากโรคเส้นดา จะมีลายเส้นดาขยายขึน้ ไป และลุกลามลงใตร้ อยกรีด 5. โรครากขาว (white root disease) เกิดจากเช้ือรา โดยมีลักษณะอาการ คือ พุ่มใบแสดง อาการใบเหลืองผิดปกติ 1–2 ก่ิง หรือท้ังต้น ถ้าเป็นยางเล็กใบจะเห่ียวเฉา ขอบใบม้วนงอลงด้านล่าง แล้วร่วง ก่อนที่จะยืนต้นตาย บริเวณรากที่ถูกเช้ือเข้าทาลายมีร่างแหเส้นใยสีขาวแผ่คลุมเกาะติดผิว ราก เมื่อเส้นใยอายุมากขน้ึ จะกลายเป็นเส้นกลมนูนสเี หลืองซดี เน้อื ไมข้ องรากท่ีเป็นโรคใหม่ ๆ จะแข็ง กระด้าง สีน้าตาลซีด ในระยะรุนแรงจะเป็นสีขาวหรือสีครีม ถ้าอยู่ในที่ชื้นแฉะจะอ่อนน่ิม บริเวณโคน ต้นหรือรากที่โผล่พ้นดินจะปรากฏดอกเห็ดขนาดไม่แน่นอน มีลักษณะเป็นแผ่นแข็งครึ่งวงกลมแผ่น เดียว หรือซ้อนกันเป็นช้ัน ๆ ผิวด้านบนเป็นสีเหลืองส้ม โดยมีสีเข้มและอ่อนเรียงสลับกันเป็นวง ผิว ดา้ นล่างเป็นสสี ม้ แดงหรอื น้าตาล ขอบดอกเห็ดมีสีขาว 6. หนอนทราย (cockchafers) เข้าทาลายโดยกนิ รากยางในระยะต้นเล็กอายุ 6-12 เดือน ทา ให้ตน้ ยางมอี าการใบเหลอื งและเหี่ยวแหง้ ตาย มกั พบในสวนยางท่ีปลกู ทดแทน 7. ปลวก (termites) ตน้ ยางที่ถูกทาลายส่วนมากจะมอี าการใบเหลืองเหมือนโรคราก ทาลาย ลาต้นยางได้ทุกระยะ โดยการกัดกินรากและโคนต้น ต้นยางที่ปลูกใหม่จะถูกทาลายอย่างรวดเร็ว ต้น ยางใหญ่ท่ีถูกทาลายจะไม่สามารถมองเห็นลักษณะการทาลายจากภายนอกได้เลย จนกระทั่งต้นยาง โคน่ ล้มเพราะถกู ลมพัดแรงหรือตอ้ งขุดรากข้ึนดจู งึ จะเห็นโพรงปลวกท่ีโคนราก 8. เพลี้ยหอย (scale insects) ส่วนของกิ่งก้านที่ถูกเพลี้ยหอยดูดกินจะเห่ียวดา และมีซาก เพล้ียหอยเกาะกงิ่ กา้ นทม่ี นั เกาะ ต่อมากิง่ กา้ นน้ันจะแหง้ ตาย ถา้ มจี านวนมากจะลกุ ลามไปส่วนอ่ืน
พชื ไร่เศรษฐกิจ| 57 สถานการณ์การผลติ และการตลาดของยางพารา 1. สถานการณก์ ารผลติ ยางพาราของโลก จากการวเิ คราะหส์ ถานการณก์ ารผลติ พน้ื ทปี่ ลูกยาง ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ปี 2012-2016 พบว่า เนื้อท่ีปลูกยางพาราของโลกเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มข้ึนจาก 73.97 ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 78.00 ลา้ นไร่ ในปี 2559 หรอื เพิม่ ขึ้นร้อยละ 1.23 ต่อปี สาหรับผลผลิตยางพาราของโลกเพ่ิมขึ้นจาก 11.66 ล้านตัน ในปี 2012 เป็น 12.43 ล้านตัน ในปี 2016 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 1.29 ต่อปี ถึงแม้ว่า ราคายางพาราจะลดตา่ ลงในปี 2013 ตอ่ เนอ่ื งมาจนถงึ 2016 แตเ่ นื่องจากยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจท่ี ให้ผลตอบแทนสูงเมื่อเทียบกับพืชเศรษฐกิจอ่ืนจึงจูงใจให้มีการขยายเนื้อที่ปลูกเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในประเทศผผู้ ลติ หลัก สง่ ผลใหเ้ นื้อทเ่ี ปิดกรดี เพิ่มมากขึ้น (FAO, 2017) ประเทศผู้ผลิตยางพารารายใหญข่ องโลก 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ในปี 2016 มเี น้ือทีป่ ลูกยางพารารวม 49.12 ล้านไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.97 ของเนื้อที่ปลูกยางพาราของโลก และมผี ลผลิตรวม 7.99 ลา้ นตัน คดิ เป็นร้อยละ 64.28 ของผลผลิตโลก โดยอินโดนเี ซยี เป็นประเทศท่ีมี เนื้อที่ปลูกยางพารามากทส่ี ดุ ในโลก มีการขยายเนอ้ื ทีป่ ลูกเพม่ิ ข้นึ อย่างต่อเนื่องร้อยละ 1.23 ต่อปี จาก 21.78 ล้านไร่ ในปี 2012 เป็น 22.74 ล้านไร่ ในปี 2016 รองลงมาคือประเทศไทยมีพ้ืนที่ปลูกยาง 19.34 ลา้ นไร่ และประเทศมาเลเซยี มีพ้นื ที่ 6.71 ล้านไร่ (ภาพท่ี 3-9) ภาพที่ 3-9 พ้นื ทีเ่ กบ็ เก่ียวยางพาราของประเทศ 10 อนั ดบั แรกของโลก ในปีการผลิต 2555-2559 ทม่ี า: FAO (2017)
58 | ดรุณี พวงบตุ ร จากการวิเคราะห์ปริมาณผลผลิต พบว่าไทยมีผลผลิตเป็นอันดับ 1 ของโลก มีผลผลิต 4.48 ลา้ นตนั รองลงมา คอื อินโดนีเซีย โดยผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนร้อยละ 0.69 ต่อปี จาก 3.01 ล้านตัน ในปี 2012 เป็น 3.16 ล้านตัน ในปี 2016 (ภาพที่ 3-10) สาหรับมาเลเซียมีเนื้อท่ีปลูกเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากอินโดนีเซีย และไทย โดยมีเน้ือท่ีปลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.32 ต่อปี จาก 6.51 ล้านไร่ ใน ปี 2012 เป็น 6.83 ล้านไร่ ในปี 2016 ในขณะท่ีผลผลิตลดลงร้อยละ 7.47 ต่อปี จาก 0.92 ล้านตัน ในปี 2012 เหลอื 0.67 ล้านตัน ในปี 2016 (ภาพท่ี 3-10) ภาพท่ี 3-10 ผลผลิตยางพาราของประเทศ 10 อนั ดับแรกของโลกในปีการผลติ 2012-2016 ที่มา: FAO (2017) การวิเคราะห์ในส่วนของผลผลิตต่อพื้น ในปี 2012-2016 พบว่าประเทศที่มีผลผลิตต่อพ้ืน สูงสุด คือ อินโดนีเซีย รองลงมาคือ ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม โดยมีผลผลิตเฉล่ีย 335, 269 และ 266 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ตามลาดับ (ภาพท่ี 3-11) ในปี 2560 มีเนื้อที่ปลูกยางพาราของโลก 80.90 ล้านไร่ เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 2.72 สาหรบั ผลผลติ ยางพารา 13.53 ล้านตัน เพ่ิมข้ึนจากปี 2559 ร้อยละ 9.11 ถึงแม้ว่าราคายางพาราจะ ลดต่าลงในปี 2556 ตอ่ เน่ืองมาจนถึงปี 2559 แต่เนื่องจากก่อนหน้าน้ันยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่ให้ ผลตอบแทนสูงเมื่อเทียบกับพืชเศรษฐกิจอ่ืน จึงจูงใจให้ขยายเนื้อที่ปลูกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเร่ิม กรีดได้ในปัจจุบัน โดยเฉพาะในประเทศผู้ผลิตหลักส่งผลให้เน้ือที่เปิดกรีดเพิ่มมากข้ึน (สานักงาน เศรษฐกจิ การเกษตร, 2560)
พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 59 ภาพที่ 3-11 ผลผลิตตอ่ พน้ื ที่ยางพาราของประเทศ 10 อันดบั แรกของโลกในปีการผลิต 2012-2016 ทม่ี า: FAO (2017) 2. สถานการณก์ ารตลาดยางพาราของโลก ในชว่ ง 5 ปที ีผ่ า่ นมาความต้องการใช้ยางพาราของโลกมแี นวโนม้ เพิ่มข้นึ ร้อยละ 3.09 ต่อปี จาก 11.05 ล้านตัน ในปี 2012 เพมิ่ ขน้ึ เป็น 12.48 ล้านตัน ในปี 2016 โดยความต้องการใช้ยางพารา ของประเทศตา่ ง ๆ เป็นดังนี้ 1) จีน เป็นประเทศที่มีการลงทุนจากต่างประเทศสูงจึงทาให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่าง รวดเรว็ รวมทง้ั มีการขยายตัวของอตุ สาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมตอ่ เน่ือง เชน่ อุตสาหกรรมยาง ล้อ อุปกรณ์และอะไหล่รถยนต์ ทาให้จีนมีความต้องการใช้ยางพาราเพ่ืออุตสาหกรรมดังกล่าวเพิ่มข้ึน อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2012-2016 การใช้ยางของจีนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองจาก 3.89 ล้านตัน ในปี 2012 เปน็ 4.69 ลา้ นตัน ในปี 2016 หรอื เพ่ิมข้นึ ร้อยละ 4.77 ต่อปี 2) กลมุ่ ประเทศสหภาพยุโรป มีความต้องการใช้ยางพาราเพ่ิมข้ึนจาก 1.08 ล้านตัน ในปี 2555 เปน็ 1.25 ลา้ นตนั ในปี 2559 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 3.90 ต่อปี เน่ืองจากความต้องการใช้ยางพาราเพื่อ ผลิตเป็นผลติ ภณั ฑย์ งั มอี ย่อู ยา่ งตอ่ เนือ่ ง 3) อนิ เดีย มีความต้องการใช้ยางพาราเพิ่มข้ึนจาก 0.99 ลา้ นตนั ในปี 2555 เปน็ 1.02 ลา้ นตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 0.91 ต่อปี เน่ืองจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์และ อุตสาหกรรมต่อเนอ่ื งภายในประเทศ 4) สหรัฐอเมริกา มีความต้องการใช้ยางพาราลดลงจาก 0.95 ล้านตัน ในปี 2012 เหลือ 0.92 ล้านตัน ในปี 2016 หรอื ลดลงร้อยละ 0.32 ตอ่ ปี เน่อื งจากภาวะเศรษฐกิจซบเซา
60 | ดรณุ ี พวงบตุ ร 5) ญปี่ นุ่ มีความตอ้ งการใช้ยางพาราในประเทศลดลงจาก 0.73 ลา้ นตนั ในปี 2012 เหลือ 0.66 ล้านตัน ในปี 2016 หรือลดลงร้อยละ 2.28 ต่อปี เน่ืองจากญ่ีปุ่นได้มีการย้ายฐานการผลิตไปยัง ประเทศแหลง่ วตั ถุดิบ เช่น อินโดนีเซีย เพิ่มขน้ึ การส่งออก ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การส่งออกยางพาราโลกเพิ่มข้ึนจาก 8.87 ล้านตัน ในปี 2012 เป็น 10.92 ลา้ นตัน ในปี 2016 หรอื เพ่มิ ขึน้ ร้อยละ 4.58 ต่อปี โดยการส่งออกยางพาราของประเทศผู้ผลิต ท่ีสาคัญคือ ไทย 3.60 ล้านตัน ส่วนอินโดนีเซีย ส่งออกยางพาราอันดับ 2 ของโลกรองจากไทย ถึงแม้ การส่งออกจะเพ่มิ ขึ้นจาก 2.52 ล้านตัน ในปี 2012 เป็น 2.54 ล้านตัน ในปี 2016 แต่ในภาพรวมการ ส่งออกยางพาราของอินโดนีเซีย ลดลงร้อยละ 0.17 ต่อปี โดยลดลงจาก 2.77 ล้านตัน ในปี 2013 เหลือเพียง 2.54 ลา้ นตนั ในปี 2016 เวียดนาม ส่งออกยางพาราอันดับ 3 ของโลก ส่งออกเพิ่มข้ึนจาก 1.02 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 1.17 ล้านตัน ในปี 2016 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 2.97 ต่อปี มาเลเซีย ส่งออกยางพาราอนั ดับ 4 ของโลก มปี รมิ าณการสง่ ออกลดลงจาก 1.29 ล้านตัน ในปี 2012 เป็น 0.99 ล้านตัน ในปี 2016 หรือลดลงร้อยละ 6.77 ต่อปี โดยปริมาณการส่งออกส่วนหนึ่งเป็นการนาเข้าจาก ประเทศอน่ื ๆ (ภาพท่ี 3-12) ในช่วง 5 ปีท่ีผ่านมาราคายางพาราในตลาดโลกปรับลดลงอย่างต่อเน่ือง เน่ืองจากได้รับ ผลกระทบจากวกิ ฤติเศรษฐกิจของสหภาพยโุ รป สหรัฐอเมริกา และลุกลามไปทั่วโลกรวมทั้งจีน ซึ่งเป็น ผู้ใชย้ างพารารายใหญข่ องโลก ทาใหก้ ารรับซือ้ และการลงทนุ ชะลอตัว ในปี 2017 ความต้องการใช้ยางพาราของโลก 13.04 ล้านตัน เพ่ิมขึ้นจากปี 2016 ร้อยละ 3.57 ตามความต้องการใช้ยางพาราในอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมต่อเน่ืองของจีนและ อินเดีย สาหรับการส่งออกยางพาราของโลกในปี 2017 คาดว่าจะมีปริมาณ 11.64 ล้านตัน โดยประมาณ ประเทศผู้ส่งออกยางพาราที่สาคัญได้แก่ ไทย 3.56 ล้านตัน อินโดนีเซีย 3.31 ล้านตัน เวียดนาม 1.36 ลา้ นตนั และมาเลเซีย 1.21 ล้านตนั ทงั้ 4 ประเทศมีส่วนแบ่งตลาดโลกร้อยละ 81.10 ของปริมาณการส่งออกโลก ด้านราคาในปี 2560 ราคายางแผ่นรมควันช้ัน 3 ตลาดล่วงหน้าสิงคโปร์ เฉลยี่ กโิ ลกรมั ละ 67.20 บาท เพ่มิ ขึน้ จากกิโลกรมั ละ 57.66 บาท ในปี 2559 ร้อยละ 16.55 ราคายาง แผ่นรมควันช้ัน 3 ตลาดล่วงหน้าโตเกียวเฉล่ียกิโลกรัมละ 70.12 บาท เพ่ิมข้ึนจากกิโลกรัมละ 56.28 ในปี 2559 ร้อยละ 24.59
พชื ไร่เศรษฐกิจ| 61 ภาพท่ี 3-12 ปริมาณการสง่ ออกยางพาราของประเทศ 5 อนั ดบั แรกของโลกในปีการผลิต 2012- 2016 ที่มา: FAO (2017) 3. สถานการณ์การผลิตยางพาราของไทย ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555-59) ประเทศไทยมีเนื้อที่กรีดเพ่ิมขึ้นร้อยละ 6.00 ต่อปี โดย เพิ่มขึ้นจาก 15.60 ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 19.55 ล้านไร่ ในปี 2559 (ภาพที่ 3-13) พื้นที่ปลูก ยางพาราทส่ี าคัญในประเทศไทย อยู่ในจังหวดั สุราษฎรธ์ านี สงขลา นครศรีธรรมราช ตรัง และยะลา ในขณะที่ผลผลิตเพิม่ ข้ึนจาก 3.89 ล้านตนั ในปี 2555 เป็น 4.16 ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มข้ึนร้อย ละ 1.14 ต่อปี ในขณะท่ผี ลผลิตตอ่ ไร่ลดลงจาก 263 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ในปี 2555 เหลือ 224 กิโลกรัมต่อ ไร่ ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 4.32 ต่อปี (ภาพท่ี 3-13) เนื้อที่กรีดได้และผลผลิตเพ่ิมขึ้น เนื่องจาก นโยบายสนับสนุนการขยายเน้ือที่ปลูกยางพาราของรัฐบาล ประกอบกับในช่วงปี 2553-2554 ราคา ยางพาราอยู่ในระดับสูงจูงใจให้เกษตรกรขยายเน้ือที่ปลูกโดยเฉพาะในภาคเหนือและภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื โดยปัจจบุ นั ประเทศไทยมเี นอื้ ที่ปลูกยางพารามากเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก อินโดนีเซีย แต่ไทยเป็นประเทศที่มีผลผลิตยางมากท่ีสุดของโลก ส่วนผลผลิตต่อไร่ท่ีมีแนวโน้มลดลง เน่อื งจากมพี ้นื ทีเ่ ปดิ กรีดใหม่เพ่ิมมากข้นึ ทาใหไ้ ด้ผลผลิตต่อไร่ตา่ (ภาพที่ 3-13) ในชว่ ง 5 ปที ่ีผา่ นมาต้นทนุ การผลติ ยางแผน่ ดิบของเกษตรกรลดลงจาก 17,720.29 บาทต่อไร่ ในปี 2555 เหลือ 14,237.09 บาทต่อไร่ ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 5.78 ต่อปี ส่งผลให้ต้นทุนการ ผลิตตอ่ หนว่ ยลดลงจาก 64.20 บาทตอ่ กโิ ลกรัม ในปี 2555 เหลือ 62.72 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2559 หรือลดลงรอ้ ยละ 0.62 ต่อปี (สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560a)
62 | ดรุณี พวงบตุ ร ภาพที่ 3-13 พน้ื ทป่ี ลูก ผลผลิต ผลผลิตตอ่ ไร่ ของไทย ในปี 2551-2560 ทมี่ า: สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร (2560a) 4. สถานการณก์ ารตลาดยางพาราของไทย ในช่วง 5 ปีท่ีผ่านมา ความต้องการใช้ยางพาราของไทย เพิ่มข้ึนจาก 520,628 ตัน ในปี 2556 เป็น 620,000 ตัน ในปี 2560 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 4.81 ต่อปี (ภาพที่ 3-14) โดยเพิ่มข้ึนเน่ืองจากการ ขยายฐานการผลิตของอุตสาหกรรมจากต่างประเทศทั้งอุตสาหกรรมยางล้อและอุตสาหกรรมแบบจุ่ม เช่น ถุงมือยาง นอกจากนี้ภาครัฐยังส่งเสริม/สนับสนุนให้นายางพารามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพอื่ ใช้ภายในประเทศรวมถึงส่งเสริมใหม้ ีการใชย้ างพาราในหน่วยงานภาครัฐเพิม่ มากขึน้ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาการส่งออกยางพาราของไทยลดลงจาก 3.82 ล้านตัน ในปี 2556 เป็น 3.36 ล้านตัน ในปี 2560 หรือลดลงร้อยละ 3.77 ต่อปี เนื่องจากความต้องการใช้ยางพาราใน อุตสาหกรรมยานยนต์และอตุ สาหกรรมตอ่ เนื่องของจีน ญีป่ ่นุ และมาเลเซียลดลง ทางด้านสัดส่วนการ ส่งออกยางของไทย จาแนกตามชนิดผลิตภัณฑ์ พบว่าน้ายางข้นและการส่งออกยางแท่งมีแนวโน้ม เพ่ิมขึ้นร้อยละ 4.71 และร้อยละ 4.48 ต่อปี ตามลาดับ เน่ืองจากอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางประเภท จมุ่ ทม่ี คี วามจาเป็นตอ้ งใชน้ ้ายางขน้ เป็นวัตถุดิบมีการขยายตัวมากขึ้น และตลาดมีความต้องการใช้ยาง แท่งเพิ่มขึ้น เพราะมีราคาต่ากว่ายางแผ่นรมควัน สาหรับยางคอมปาวด์และยางแผ่นรมควันใน ภาพรวมมแี นวโน้มลดลงร้อยละ 36.75 และรอ้ ยละ 5.95 ต่อปี ในช่วง 5 ปีทผี่ ่านมาราคายางพาราในประเทศปรบั ตัวลดลงในปี 2557 และตา่ สดุ ในปี 2558 เน่ืองจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาที่ซบเซา นอกจากน้ีจีนซึ่งเป็น ประเทศผู้ใช้ยางพารารายใหญ่ก็ประสบภาวะเศรษฐกิจซบเซาเช่นเดียวกัน รวมท้ังราคาน้ามันใน
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 63 ตลาดโลกปรับตัวลดลง และราคายางพาราเริ่มปรับตัวดีข้ึนในปี 2559 และ 2560 แต่เน่ืองจากความ ต้องการใช้ยางพาราของประเทศผู้ใช้เพิ่มขึ้นในอัตราท่ีต่ากว่าการเพ่ิมขึ้นของผลผลิต และความกังวล ของนักลงทุนต่อความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจและการเมือง จึงทาให้ราคายางยังคงผันผวนและ ปรบั ตวั ในกรอบจากัด ในปี 2561 คาดว่าการส่งออกยางพาราของไทยจะเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยจากปีท่ีผ่านมา จากการ เพิม่ ขึ้นของผลผลิตในพน้ื ทเี่ ริ่มเปิดกรีดตน้ ยางท่ีปลูกใหม่เมื่อ 6-7 ปีท่ีก่อน และการเพิ่มขึ้นของปริมาณ สง่ ออกยางของประเทศ กัมพชู า ลาว เมยี นมาร์ และเวียดนาม และคาดว่าราคายางพาราในประเทศมี แนวโน้มปรับตัวดขี ้ึนจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากการคาดการณ์อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และ ราคานา้ มันดบิ ในตลาดโลกทีม่ โี อกาสปรับตัวสงู ข้นึ (สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560b) 5.0 350,000 4.5 300,000 4.0 3.5 250,000 3.0 200,000 2.5 150,000 2.0 1.5 100,000 1.0 50,000 0.5 0.0 0 2556 2557 2558 2559 2560 ภาพที่ 3-14 สถานการณ์การตลาดยางพาราของไทย ในปี 2556-2560 ทม่ี า: สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร (2560c)
64 | ดรณุ ี พวงบุตร ยางพาราและผลิตภณั ฑ์การแปรรูป ผลติ ภณั ฑ์ยางก่งึ สาเร็จรปู หรือผลิตภัณฑ์ยางแปรรูปข้ันต้น เป็นผลผลิตจากการแปรรูปขั้นต้น จากน้ายางทีก่ รีดได้ให้อย่ใู นรูปแบบตา่ ง ๆ ที่จะนาไปใช้เปน็ วัตถุดิบในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางต่อไป ผลิตภัณฑย์ างข้ันต้นทีแ่ ปรรูปมาจากน้ายางดบิ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 5 ประเภทที่สาคัญ ดังนี้ 1. ยางแผน่ รมควัน (ribbed smoked sheet: RSS) ผลิตจากน้ายางสดโดยเติมสารเคมีให้น้ายางจับตัวเป็นก้อน แล้วรีดก้อนยางให้เป็นแผ่นด้วย เครื่องรดี และผึ่งลมใหห้ มาด จะไดย้ างแผน่ ดบิ จากนัน้ จงึ นาส่งโรงงานรมควัน ซ่ึงจะอบยางแผ่นดิบให้ แห้งโดยใช้ควันไฟรมยางให้แห้ง ยางแผ่นรมควันจะถูกคัดเลือกจัดช้ันด้วยสายตา (Visual Grading) ออกเป็น 5 ระดับ ตามคุณสมบัติด้านความใส ความแห้ง ความสม่าเสมอของสีและเน้ือยาง ฯลฯ ยาง แผ่นรมควนั ชน้ั 1 ถอื เปน็ ชนั้ ทมี่ คี ุณภาพดที ส่ี ดุ ยางแผ่นรมควนั ทีไ่ ทยผลิตไดส้ ่วนใหญ่เป็นคุณภาพปาน กลาง คือ ยางแผน่ รมควันช้นั 3 และชั้น 4 ซึ่งมีสัดส่วนรวมกันถึงประมาณร้อยละ 95 ของผลผลิตยาง แผน่ รมควนั ท้งั หมดของไทย ยางแผ่นรมควนั ส่วนใหญ่มักนาไปใช้เป็นวัตถุดิบ ในอุตสาหกรรมผลิตยาง ยานพาหนะ 2. ยางแทง่ (technically specified rubber: TSR) ผลิตจากน้ายางสดหรืออาจใช้ยางท่ีจับตัวแล้วหรือยางแห้ง เช่น ยางแผ่นดิบ ยางก้นถ้วย ข้ียาง เศษยาง เป็นวัตถุดิบก็ได้ วิธีการผลิตคือ ตัดย่อยก้อนยางให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ล้างส่ิงสกปรกออก แล้วนายางไปอบแห้ง และอัดเป็นแท่งตามขนาดที่ต้องการ มาเลเซียเป็นประเทศแรกที่คิดค้น พัฒนาการผลิตยางแท่งเพื่อแข่งขันกับยางสังเคราะห์ และใช้วิธีตรวจสอบคุณสมบัติของยางตาม มาตรฐานสากลเป็นเกณฑ์กาหนดช้ันของยาง แทนการจัดช้ันด้วยสายตาแบบท่ีใช้กับยางแผ่นรมควัน ต่อมาประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติอ่ืน ๆ ก็ได้ผลิตยางแท่ง และกาหนดมาตรฐานการจัดช้ันยางแท่ง แบบเดียวกับมาเลเซยี แตใ่ ช้ชอื่ เรียกต่างออกไปเป็นของตนเอง ประเทศไทยก็ได้กาหนดมาตรฐานยาง แท่งของตนเองเปน็ Standard Thai Rubber (STR) ซ่ึงสอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากล จาแนกออกเป็น 5 ประเภท ยางแท่งที่ไทยส่งออกเป็นส่วนใหญ่เป็นประเภทใกล้เคียงกับของมาเลเซียและอินโดนีเซีย ยางแท่งส่วนใหญ่นาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตยางยานพาหนะ และปัจจุบันประเทศผู้ซื้อมีแนวโน้ม เปลี่ยนมาใช้ยางแท่งทดแทนยางแผ่นรมควันมากข้ึน เพราะยางแท่งมีการกาหนดคุณภาพเป็น มาตรฐานดกี ว่ายางแผ่น-รมควนั ทาใหไ้ ด้ผลผลิตที่ดีข้ึน นาไปแปรรูปได้ง่ายกว่า และขนส่งเคล่ือนย้าย โดยเครือ่ งจักรได้สะดวกกว่ายางแผน่ ท่ตี อ้ งระมดั ระวังมิให้ฉีกขาด 3. น้ายางขน้ (concentrate latex) ผลิตจากน้ายางสดโดยทาให้น้ายางมีความเข้มข้นสูงขึ้น คือมีปริมาณเนื้อยางแห้งประมาณ ร้อยละ 60 เพ่ือนาไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่นต่อไป น้ายางข้นเป็นวัตถุดิบสาคัญสาหรับอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยางท่ีใช้วิธีจุ่มข้ึนรูปเช่น ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย อุปกรณ์ทางการแพท ย์ ชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ ลกู โปง่ ฯลฯ
พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ| 65 4. ยางเครป (Crepe) ยางเครปที่ไทยผลิตได้ มี 2 ชนิด คือ เครปสีจาง (pale crepe) เป็นยางเครปคุณภาพดี ผลิต จากนา้ ยางสด อีกชนิดคอื เครปสีน้าตาล (brown crepe) เปน็ ยางเครปคณุ ภาพตา่ ผลิตจากเศษยางที่ จับตัวแล้ว กรรมวิธีการผลิตยางเครปสีน้าตาลจะยุ่งยากน้อยกว่าการผลิตยางเครปสีจาง ผลผลิตยาง เครปมีลกั ษณะเป็นแผ่น ส่วนใหญ่มักใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตยางพ้ืนรองเท้า ยางขอบประตูหน้าต่าง เปน็ ตน้ 5. ยางอ่ืน ๆ เช่น 5.1 ยางแผ่นผึ่งแห้ง เป็นยางแผ่นที่มีสีจาง มีกรรมวิธีการผลิตคล้ายกับยางแผ่นรมควัน แต่ เป็นการทาให้แผ่นยางแห้งโดยใช้ความร้อนท่ีไม่ใช่วิธีการรมควัน และไม่เติมสารเคมีอ่ืนใด นอกเหนือจากทีไ่ ด้รับอนญุ าต ยางแผ่นผึ่งแห้งจะนาไปใช้ในการผลิตยางรดั ของและลูกยางชนดิ ต่าง ๆ 5.2 ยางสกิม ในการผลิตน้ายางข้น จะมีผลพลอยได้ คือหางน้ายางที่ยังมีปริมาณเน้ือยาหลง เหลอื อยู่ประมาณร้อยละ 8 หางน้ายางเหล่านี้จะถูกนาไปแปรรูป โดยเติมสารเคมีให้น้ายางจับตัวเป็น กอ้ นแลว้ นาไปรดี ตดั ย่อย อบ อัดแท่งเพื่อให้ได้เป็นยางชนิดสกิมบล็อก หรือนาก้อนยางที่จับตัวไปเข้า เครื่องรีดเป็นยางชนิดสกิมเครป เป็นยางที่มีคุณภาพต่า และมีราคาถูก จึงมักนาไปใช้เป็นวัตถุดิบรวม กบั ยางคณุ ภาพดีเช่นยาง-แผน่ รมควนั หรือยางแท่ง เพ่อื ลดต้นทุนในการผลติ ประเทศไทยถือว่ามีความได้เปรียบด้านอุตสาหกรรมยาง เนื่องจากเป็นประเทศผู้ผลิตยาง อนั ดับหนึง่ ของโลก จึงมโี อกาสและความเปน็ ไปได้ในการพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและ สง่ ออกผลิตภัณฑ์แปรรปู เบ้อื งต้นใหม้ คี ุณภาพตรงตามความต้องการของผู้ใช้ได้ รวมท้ังพัฒนาการผลิต เป็นผลิตภัณฑ์ยางในชั้นปลาย ทั้งน้ีหน่วยงานภาครัฐได้สนับสนุนให้มีการใช้ยางธรรมชาติในประเทศ เพ่ิมมากขึ้น โดยให้มีการเพ่ิมการผลิตยางท่ีมีศักยภาพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง สร้างมูลค่าเพ่ิมเพ่ือเพ่ิม ปริมาณการใช้ยางให้มากขึ้นโดยมีเป้าหมายเพ่ิมการใช้ยางภายในประเทศให้มากข้ึน (สานักงาน พฒั นาการวจิ ัยการเกษตร, 2560) การใชย้ างพาราในอตุ สาหกรรมภายในประเทศประกอบด้วย 1. ยางยานพาหนะ เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าการส่งออกสูงสุดของประเทศ ได้แก่ ล้อรถยนต์ ล้อเครื่องบิน ล้อรถจักรยายนต์ ล้อรถจักรยาน และล้อรถอื่นๆ ทั้งยางนอกและยางใน รวมถึงยาง อะไหล่รถยนต์ ซ่ึงผลิตภัณฑ์ยางในกลุ่มนี้มีปริมาณการใช้ยางธรรมชาติเป็นวัตถุดิบเกือบร้อยละ 50 โดยใช้ประมาณ ปีละ 158,883 ตนั 2. ยางยืดและยางรัดของ เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ยางธรรมชาติจานวนมากในส่วนผสมยางยืดใช้ใน อตุ สาหกรรมตัดเยบ็ เสือ้ ผา้ ตา่ งๆ สว่ นยางรดั ของกใ็ ช้ท่วั ไปในชีวติ ประจาวันใช้ยางธรรมชาติในการผลิต ถึงปีละ 90,561 ตัน หรอื ร้อยละ 28.22 3. ถงุ มอื ยางทางการแพทย์ เป็นผลติ ภณั ฑ์ท่มี ีมูลค่าส่งออกรองจากยางยานพาหนะ ถุงมือยางที่ ผลิตในประเทศไทย ประกอบด้วย ถุงมือตรวจโรค และถุงมือผ่าตัด สาหรับวัตถุดิบยางธรรมชาติท่ีใช้
66 | ดรณุ ี พวงบตุ ร ในการผลิตถุงมือยาง เป็นน้ายางข้น มีปริมาณการใช้ยางธรรมชาติปีละ 57,120 ตัน ต่อเดือน คิดเป็น รอ้ ยละ17.80 ของปริมาณการใช้ยางทง้ั หมด 4. รองเท้าและอุปกรณ์กีฬา รองเท้ายางและพื้นรองเท้าที่ทาจากยางธรรมชาติรวมทั้งอุปกรณ์ กีฬาบางชนิด มีส่วนผสมที่เป็นยางธรรมชาติและผลิตในประเทศไทยปีหนึ่งจานวนไม่น้อย โดยใช้ยาง ธรรมชาติในการผลติ ประมาณ 8,492 ตัน 5. สายพานลาเลียง ใช้งานในการลาเลียงของหนักชนิดต่างๆ มีขนาดตั้งแต่ 2-3 นิ้ว ไปจนถึง 1.5 เมตร ผลิตภัณฑ์ยางกลุ่มน้ีมีการนาเข้ามากกว่าการส่งออก ในการผลิตสายพานใช้ยางปีละ ประมาณ 1,318 ตนั เปน็ ยางแผ่นรมควันช้นั 1, 3, 5 และยางแท่ง STR XL, 20 6. ผลติ ภัณฑ์ฟองน้า เป็นผลิตภัณฑท์ ีผ่ ลติ จากน้ายางข้น สว่ นใหญ่ผลิตเพื่อใชภ้ ายในประเทศ มี โรงงานผลิต 12 โรงงาน 7. สือ่ การเรยี นการสอน อปุ กรณ์และสื่อการเรียนการสอน โดยเฉพาะทางด้านการแพทย์ จะใช้ วัสดุจาพวกยางและนาเข้าจากต่างประเทศ ให้ความรู้สึกในการปฏิบัติงานเหมือนของจริง ยางพารา สามารถนาไปใชผ้ ลติ สอ่ื การสอน การฝึกปฏิบัติงานได้เป็นอย่างเช่นกันโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตจาก ยางฟองน้า เชน่ โมเดล รา่ งกายมนุษย์, สัตว์ แขนเทยี มสาหรบั ฝกึ ทางการแพทย์ เปน็ ตน้ 8. ผลติ ภณั ฑ์ที่ใช้ในงานกอ่ สร้างและวิศวกรรม 8.1 ยางรองคอสะพาน (elastomeric bearings for bridges) หรือแผ่นยางรองคอ สะพาน (rubber bridge bearigs) แบ่งตามชนิดของยางท่ีใช้ผลิตเป็น 2 ประเภท คือ ยางรองคอ สะพาน ทาจากยางสังเคราะห์ polychloroprene หรือ neoprene และทาจากยางธรรมชาติ (natural rubber, NR) ซึ่งท้ัง 2 ประเภท มีท้ังแบบแผ่นยางล้วน (plain) และแบบท่ีมีวัสดุเสริมแรง (laminated) สาหรบั การเลอื กใช้ยางตามประเภท ชนิด และแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับการกาหนดมาตรฐาน ของผู้ออกแบบและ/หรอื ของผู้ก่อสรา้ ง 8.2 แผ่นยางกันน้าซึม (water stop) ทาหน้าที่เหมือนปะเก็นของงานคอนกรีต ใช้ป้องกัน การขยายตัว หรือ หดตัวของคอนกรีต เพ่ือไม่ให้น้าร่ัวซึมหรือผ่านได้ ในงานก่อสร้างทั่วไป เช่น คอนกรีต คานสะพาน อาคารชั้นใต้ดิน ดาดฟ้า เป็นต้น รวมทั้งงานก่อสร้างที่โครงสร้างต้องสัมผัสกับ น้าตลอดเวลา เช่น แท้งคน์ า้ บ่อบาบัดน้าเสีย สระว่ายน้า คลองส่งนา้ เขอื่ นและฝาย เปน็ ตน้ 8.3 ยางกันชนหรือกันกระแทก (rubber of rubber bumper) ใช้เป็นเคร่ืองป้องกันการ เฉยี่ วหรอื การกระแทกของเรอื หรือรถเมื่อเข้าจอดเทียบท่า ใช้วัตถุดิบผลิตได้ท้ังยางธรรมชาติและยาง สงั เคราะห์ 8.4 ยางค่ันรอยต่อคอนกรีต (rubber hose for joint of rubber sealant) มีลักษณะ เป็นท่อยางขนาดเล็กมีรูกลางตลอดความยาว ใช้อุดรอยต่อด้านล่างของคอนกรีตของสะพาน หรือ รอยต่อระหว่างคานสะพานกันตอม่อของสะพานก่อนการหยอดยางมะตอย วัตถุดิบที่ใช้ผลิตท้ังจาก ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ แตม่ กั มีการกาหนดให้ใชย้ างสังเคราะห์
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 67 8.5 บล็อกยางปูพื้น (rubber lock) ใช้ปูพ้ืนแทนอิฐบล็อกคอนกรีต บล็อกยางมีข้อ ได้เปรียบบล็อกคอนกรตี คอื เบากว่า ผิวมสี ปรงิ ยดื หยุน่ ไดเ้ วลาล่นื ล้มจึงไม่บาดเจ็บมากและไม่เป็นแผล สว่ นใหญ่มักผลิตจากยางธรรมชาติผสมกับยางรีเคลมธรรมชาติหรือสังเคราะห์ ปัจจุบันยังไม่ค่อยนิยม ใชย้ างบลอ็ กปพู นื้ เพราะราคาคอ่ นข้างสูงกวา่ บลอ็ กคอนกรตี 8.6 แผ่นยางปูอ่างเก็บน้า (rubber water confine) เป็นผลิตภัณฑ์ยางท่ีสามารถใช้ยาง ธรรมชาติปูรองสระ เพ่ือเก็บกักน้าบนผิวดินที่เก็บน้าไม่ได้ เช่น ดินปนทราย ดินลูกรัง โดยมี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ได้พัฒนาขึ้นมาตั้งแต่ปี 2529 และสามารถ พัฒนาได้กว้างขวาง ได้แก่ ใช้เก็บกักน้าสาหรับเกษตรกร ใช้งานในสนามกอล์ฟและรีสอร์ท ใช้ในงาน ชลประทาน บ่อบาบัดน้าเสียของโรงงานอุตสาหกรรมที่ไม่สามารถกักเก็บน้าได้ โดยทั่วไปวัตถุดิบที่ใช้ ในการปูสระกักเก็บน้าสามารถใช้เป็นยางธรรมชาติ หรือยางสังเคราะห์ หรือ พลาสติก หรือผ้าใบ เคลือบยาง 8.7 ฝายยาง (rubber dam) หรือเข่ือนยางส่วนใหญ่ผลิตจากยางสังเคราะห์แต่ผู้ผลิตให้ ความเห็นว่ามีความเป็นไปได้ที่จะใช้วิธีการเคลือบช้ันนอกของตัวฝายยางด้วยยางสังเคราะห์ และ ภายในใชย้ างธรรมชาตแิ ตค่ วามเป็นไปได้นีต้ ้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ใช้อย่างไรก็ตามปัจจุบันยังไม่ ค่อยเป็นท่ีสนใจของผู้ผลิตภายในประเทศ เพราะมีผู้ใช้จากัดเพียงกรมชลประทานและมีราคาสูง แต่ ข้อดขี องฝายยางธรรมชาติ คือสามารถปรับระดับความสูงของฝายได้ตามความเหมาะสมของระดับน้า ซ่ึงสามารถลดแรงกระแทกจากนา้ หลากและช่วยระบายน้าปอ้ งกันน้าท่วมล้มตล่ิง อีกทั้งยังไม่ก่อให้เกิด น้าล้นหน้าฝาย ป้องกันตะกอนทราย ตกตะกอนหน้าฝายได้ นอกจากน้ีในฝายท่ีอยู่บริเวณปากแม่น้า จะสามารถป้องกนั นา้ เค็มรกุ ลา้ เข้ามาในพ้ืนท่ีเพาะปลูกและพื้นท่ีอยู่อาศัยอีก ทั้งฝายยางยังทนทานต่อ การกดั กร่อนของน้าเคม็ ไดด้ ีกว่าบานประตรู ะบายนา้ ที่ทาดว้ ยเหลก็ 8.8 แผ่นยางปูพื้น (rubber floor mat) ส่วนใหญ่ผลิตจากยางธรรมชาติ ใช้ปูพ้ืนหรือ ทางเดนิ บนอาคารโรงงาน สานกั งาน สนามบินใช้ไดท้ ้ังพื้นทร่ี าบและพื้นท่ีลาดเอียง เพ่ือป้องกันการลื่น และลดเสยี งทีเ่ กดิ จากการเดนิ หรือการกระแทก 9. การใช้ยางพาราผสมยางมะตอยสาหรับทาผิวถนน ปจั จุบนั การคมนาคมขนสง่ มีความสาคญั และมกี ารขยายตวั มาก โดยเฉพาะถนนถือเป็นปจั จัยหลกั ของการคมนาคมแลถนน แต่มักจะประสบ ปญั หาในเรื่องเกดิ การชารดุ เสียหายเรว็ กว่าปกติ การปรับปรงุ สมบตั ิของยางมะตอยให้ใช้ในงานทางให้ ดขี ้นึ จะชว่ ยใหถ้ นนมีอายุการใช้งานยาวนานข้ึน โดยใช้ยางพาราผสมยางมะตอยในอตั ราร้อยละ 5 ทา ให้ยางมะตอยมคี วามแขง็ มากขึ้นมีความอ่อนตวั และยืดหย่นุ มากข้ึน
68 | ดรณุ ี พวงบุตร ยางรถยนต์ ยางยดื และยางรดั ของ ถงุ มือยางทางการแพทย์ รองเท้าและอปุ กรณ์กีฬา สายพานลาเลียง ผลิตภัณฑฟ์ องนา้ ยางกันชนหรอื กนั กระแทก บลอ็ กยางปพู ้นื ยางพาราผสมยางมะตอย ภาพท่ี 3-15 ตัวอย่างผลติ ภัณฑแ์ ปรรูปจากยางพารา
พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 69 สรปุ ยางพาราเป็นพชื ทมี่ ีความสาคัญทางเศรษฐกิจเป็นอันดับ 2 รองจากข้าว โดยประเทศไทยเป็น ผผู้ ลิตและผู้ส่งออกยางพาราเป็นอันดับหนึ่งของโลก สามารถทารายได้เข้าประเทศได้กว่า 3 แสนล้าน บาทต่อปี ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีเก็บเก่ียวยางสูงถึง 19 ล้านไร่ โดยพ้ืนท่ีปลูกยางส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้ และมกี ารขยายพน้ื ท่ปี ลูกมากขน้ึ ในภาตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยน้ายางสดท่ีกรีดได้จากต้นยางพารามา แปรรปู ใหอ้ ยู่ในสภาพที่เหมาะสมและสะดวกในการนาไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง เช่น ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และยางน้าข้น โดยยางพาราเหล่านี้จะนาไปใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ สาเรจ็ รูปอ่ืนๆ เช่น ยางยานพาหนะ ถงุ มือยาง ถงุ ยางอนามัย ยางรัดของ และท่อยางต่าง ๆ เป็นต้น ที่ มีมูลค่าสูง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานพาหนะและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ที่มีการขยายตัวอย่าง รวดเร็ว ส่งผลทาให้มีความต้องการทางการตลาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลทาให้ประเทศผู้ส่งออก ยางพาราที่สาคญั มกี ารขยายพื้นทีป่ ลกู เพิม่ มากขึ้นในชว่ ง 10 ปที ีผ่ า่ นมา สง่ ผลใหผ้ ลผลิตยางพาราออก สู่ตลาดมากข้ึน ในปัจจุบันพบว่า ประเทศผู้นาเข้ายางหลักมีการชะลอการซ้ือยาง ทาให้ความต้องการในการ ใช้ยางพาราลดลงต่ากว่าปริมาณผลผลิต ส่งผลกระทบให้ราคายางพารามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่ปี 2557 จนถงึ ปี 2560 แต่อย่างไรก็ตาม ในปี 2561 คาดวา่ ราคายางพาราในประเทศมีแนวโน้ม ปรับตัวดีข้ึนจากปีท่ีผ่านมา เน่ืองจากการคาดการณ์อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และราคา น้ามนั ดบิ ในตลาดโลกที่มโี อกาสปรับตัวสูงข้นึ
70 | ดรุณี พวงบุตร แบบฝกึ หัดท้ายบท 1. แหล่งปลูกยางพาราทีใ่ หญ่ทส่ี ุดของโลกอยปู่ ระเทศไหน 2. ประเทศไทย เป็นผผู้ ลติ ยางพาราอนั ดบั ท่ีเท่าไหร่ของโลก และมีพน้ื ปลูกเทา่ ไหร่ 3. ดนิ ที่เหมาะสมตอ่ การปลูกยางพารา ต้องเปน็ ดนิ ชนิดใด และมคี า่ pH ประมาณเท่าไหร่ 4. จงั หวัดใดบา้ งในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือท่ีเปน็ แหล่งปลูกยางพาราที่สาคัญ 5. จงบอกผลิตภัณฑ์ข้ันปลายจากยางพาราท่ีสาคัญมาอยา่ งน้อย 5 ชนดิ
พชื ไร่เศรษฐกิจ| 71 หนงั สอื อา้ งองิ ปลายแป้นพิมพ์. (2010). ยางพารา. ยางพารา. [Online]. Available: http://www.bloggang.com/ [2010, September 13]. สถาบันวิจัยยาง. (2549). โรคและศัตรูยางพาราท่ีสาคัญในประเทศไทย. กรมวิชาการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร. (2560). ยางพารา. [ Online]. Available: http://www.arda.or.th/ [2017, January 16]. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560a). สถติ ิการเพาะปลูกของประเทศไทย ปี 2560. กระทรวง เกษตรและสหกรณ.์ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560b). สถานการณ์สินค้าเกษตรท่ีสาคัญและแนวโน้มปี 2561. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2560c). สารสนเทศเศรษฐกิจเกษตรรายสินค้า ปี 2560. กระทรวง เกษตรและสหกรณ.์ ศยามล แก้วบรรจง. (2558). ศึกษาวิธีเก็บรักษาละอองเกสรตัวผู้ยางพาราในไนโตรเจนเหลว. วารสารยางพารา. 36: 13-19. Feldmann, F., N.T. Junqueira and U. Meier. (2005). Phenological growth stages of the rubber tree Hevea brasiliensis (Willd. ex Adr. de Juss.) Muell.-Arg.: codification and description according to the BBCH scale. Annual report 2005. Working group‚ phytomedicine in the tropics and subtropics‘ meeting at the Tropentag, Hohenheim, October 12, 2005. Food and Agriculture Organization [FAO]. (2017). Food and Agriculture Organization. Corporate Statistical Database. Rubber. Rome. Masson, A. and O. Monteuuis. (2017). Rubber tree clonal plantations: grafted vs self- rooted plant material. Bois et Forets des Tropiques. 332: 57-68. Verheye, W. (2010). Growth and production of rubber. In: Verheye, W. (ed.), land use, land cover and soil sciences. Encyclopedia of Life Support Systems (EOLSS), UNESCO-EOLSS Publishers, Oxford, UK. Uconn (2017). Center of origin of Para rubber. [Online]. Available: http://florawww.eeb.uconn.edu/ [2017, January 16].
แผนการสอนประจาบทที่ 4 มันสาปะหลัง หัวข้อเนื้อหา ความสาคัญ สถานการณ์การผลติ และการตลาด การแปรรูปและผลติ ภัณฑ์ 1.1 มันสาปะหลังและความสาคญั 1.2 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 1.3 การปลกู และการเกบ็ เก่ียว 1.4 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 1.5 ผลติ ภณั ฑจ์ ากการแปรรปู 1.6 สรุปประจาบท แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 4 เอกสารอ้างองิ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทน้ีแลว้ ผู้เรยี นสามารถ 1. อธบิ ายความสาคัญและลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ของมันสาปะหลงั 2. วเิ คราะห์สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการผลิตและการตลาดมนั สาปะหลงั ในปัจจุบันได้ 3. อธิบายเกยี่ วกบั วิธีการปลกู การดแู ลรักษา และเก็บเก่ยี วมนั สาปะหลงั 4. สรปุ สาระเกยี่ วกับการใช้เทคโนโลยกี ารผลิต การแปรรูปและผลติ ภัณฑ์มนั สาปะหลัง 5. ตระหนกั ถึงมูลค่าทางเศรษฐกจิ ของมันสาปะหลัง ทส่ี ร้างรายไดใ้ หก้ ับประเทศ วิธีการสอนและกิจกรรมประจาบทท่ี 4 1. ช้ีแจงคาอธบิ ายรายวิชา วัตถุประสงค์ เนื้อหา และเกณฑ์การใหค้ ะแนนรายวิชา 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ผู้สอนอธิบายเนอ้ื หาเรอื่ ง ความสาคญั ของมนั สาปะหลัง สถานการณ์การผลิตและการตลาด รวมถึงการแปรรปู และผลติ ภัณฑ์จากมนั สาปะหลงั ตามเอกสารประกอบการสอน 4. บรรยายประกอบการฉายภาพสไลด์ (โปรแกรม Power Point) 5. ซักถาม และแลกเปลี่ยนแนวคิด และเสนอแนะแนวความคิด 6. สรปุ เนือ้ หาประจาบท 7. ให้ผู้เรียนทาแบบฝกึ หัดท้ายบทประจาบทที่ 4 เร่อื งสถานการณ์การผลติ และการตลาด การแปร รูปและผลติ ภณั ฑจ์ ากมนั สาปะหลงั และกาหนดส่ง 8. ชี้แจงหัวขอ้ ทจี่ ะเรียนในครง้ั ต่อไป เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รียนไปศึกษากอ่ นลว่ งหนา้ 9. เสริมสร้างคณุ ธรรมและจริยธรรมใหก้ บั นักศึกษาก่อนเลิกเรียน
74 | ดรณุ ี พวงบุตร สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ 3. ภาพสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) 4. เครอ่ื งฉายภาพสไลด์ 5. วีทอี ารท์ ีเ่ กีย่ วข้อง 6. แบบทดสอบก่อนเรยี นผ่านระบบออนไลน์ (google form) 7. แบบฝึกหัดหลงั เรียนผา่ นระบบออนไลน์ (kahoot) การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. จากการทาแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นผา่ นระบบออนไลน์ 2. จากการทาแบบฝกึ หดั ท้ายบท 3. จากการการสอบระหวา่ งภาคการศึกษา
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 75 บทที่ 4 มนั สาปะหลัง สาหรับประเทศไทย มันสาปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญในการขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจ การค้าของประเทศ โดยผลผลิตร้อยละ 25 ใช้ในอุตสาหกรรมภายในประเทศ ผลผลิตส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ 75 ถูกนาไปแปรรูปเพื่อการส่งออกไปท่ัวโลก นารายได้สู่ประเทศเป็นมูลค่ากว่าแสนล้านบาท ต่อปี ทาให้ประเทศไทยเปน็ ผู้สง่ ออกผลติ ภัณฑม์ ันสาปะหลังอันดับหน่งึ ของโลกมาโดยตลอด โดยมีการ ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังท่ีสาคัญ ได้แก่ มันอัดเม็ด มันเส้น แปูงดิบ แปูงแปรรูป และผลิตภัณฑ์ อ่ืนๆ ซง่ึ ตลาดสง่ ออกหลักที่สาคญั ได้แก่ ญปี่ ุน จนี และอนิ โดนเี ซีย มันสาปะหลังและความสาคัญ มันสาปะหลัง (cassava) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า (Manihot esculenta Crantz) เป็นพืช เศรษฐกิจท่ีมีความสาคัญของโลก ที่มีการปลูกมากในเขตร้อนและก่ึงร้อนของทวีปอัฟริกา เอเชีย และ ลาตินอเมริกา (Okogbenin et al., 2013) ใช้ประโยชน์ท้ังเป็นอาหารของมนุษย์ อาหารสัตว์ และใช้ เปน็ พลงั งานทดแทน สาหรับประเทศไทย มันสาปะหลังเป็นพืชไร่ท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจ มีการเพาะปลูกกัน อย่างแพร่หลาย และมีการเพ่ิมพื้นที่ปลูกอย่างต่อเน่ืองในทุกปี มันสาปะหลังมีบทบาทท้ังเป็นพืชเพ่ือ การดารงชีพสาหรับเกษตรกรรายย่อย และพืชอุตสาหกรรม โดยรากสะสมอาหารของมันสาปะหลังที่ อุดมไปดว้ ยแปูง ไดก้ ลายเป็นวตั ถดุ บิ สาหรบั ผลิตภณั ฑ์มูลคา่ เพ่มิ มากมาย เช่น แปูง สารให้ความหวาน และแปูงดัดแปรรูปแบบต่างๆ ในอุตสาหกรรมอาหารและอ่ืนๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอาหารสัตว์มี ปรมิ าณการส่งออกมันสาปะหลงั เปน็ อันดับต้นของโลก นอกจากนี้ผลผลิตมันสาปะหลังอีกส่วนหน่ึงจะ นาไปใช้ประโยชน์ในดา้ นอนื่ ๆ เช่น เอทานอล น้าส้มสายชู และผงชรู ส เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ มนั สาปะหลัง เป็นไม้พุ่ม สงู 1.3-5.0 เมตร รากแบบสะสมอาหาร (tuberous root) สายพันธุ์ ท่ีนิยมปลูกสูงประมาณ 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 10-1.5 เซนติเมตร ใบมีร่องลึก 3-7 ร่อง มีหูใบ ก้านใบยาว ดอกเป็นช่อดอก ผลแบบแคปซูลทรงกลม ประมาณ 1.2 เซนติเมตร มี 3 เมล็ดใน 1 ผล (ภาพท่ี 4-1)
76 | ดรุณี พวงบุตร ภาพท่ี 4-1 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์มันสาปะหลงั ทม่ี า: Wikipedia (2016) 1. ราก (root) มันสาปะหลัง มีราก 2 ชนิด คือ รากจริงเป็นแบบรากฝอย และรากสะสมอาหาร เรียกกัน ท่ัวไปว่าหัว รากของมันสาปะหลังเป็นระบบรากแบบ adventitious root system รากท่ีงอกจาก ทอ่ นพันธุ์ (cutting) สามารถงอกได้จาก 3 ส่วนคือ รากจากส่วนเน้ือเยื่อ cambium รากจากส่วนตา และรากจากสว่ นรอยหลดุ ร่วงของใบ (leaf scar) หัว (tuber) ของมันสาปะหลัง คือส่วนรากที่ขยายใหญ่เพ่ือสะสมอาหารแปูงในส่วน parenchyma cell จานวนหัวจะมี 5-15 หัว ขนาดความยาว 15-100 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-15 ซม. ขนาดของรากขน้ึ อยู่กับอายุ พนั ธ์ุ ดนิ และสภาพภมู ิอากาศ (ภาพท่ี 2) ภาพที่ 4-2 ลักษณะรากและหัวมันสาปะหลงั ท่ีมา: Mackean (2002)
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 77 2. ลาต้น (stem) มนั สาปะหลงั เปน็ ไมเ้ นือ้ แขง็ ลาต้นต้ังตรง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-6 เซนติเมตร สีของลาต้น แตกต่างกันไปตามพันธ์ุ ส่วนที่อยู่ใกล้ยอดมีสีเขียว ส่วนแก่ท่ีต่าลงมาอาจมีสีน้าเงิน สีเหลือง หรือสี น้าตาล ความสูงของต้น 1-5 เมตร ข้ึนกับพันธุ์ โดยพันธุ์ท่ีไม่แตกกิ่ง (unbranched) ต้นจะสูง ส่วน พันธ์ุที่แตกก่ิงต้นจะสูงน้อยกว่า การแตกกิ่งของมันสาปะหลังจะแตกออกเป็น 2 ก่ิง (dichotomous branching) หรือ 3 ก่ิง (trichotomous branching) กิ่งท่ีแตกออกจากลาต้นหลักเรียกว่า กิ่งชุดแรก (primary branch) ส่วนก่ิงที่แตกออกจาก กิ่งชุดแรก เรียกว่า ก่ิงชัดที่สอง (secondary branch) (ภาพที่ 4-3) บนลาต้นหรือก่ิงของมันสาปะหลังจะเห็นรอยหลุดร่วงของก้านใบ เรียกว่า รอยแผลใบ (leaf scar) ซ่ึงเป็นรอยต่อระหว่างก้านใบกับลาต้นหรือก่ิง ระยะระหว่างรอยแผลใบ 2 รอยต่อกัน เรียกว่าความยาวของช้ัน (storey length) ด้านบนเหนือรอยแผลใบจะมีตา (bud) ซ่ึงจะงอกเป็นต้น ใหม่เมือ่ นาทอ่ นพนั ธไ์ุ ปปลกู ภาพท่ี 4-3 ลักษณะลาตน้ มันสาปะหลงั ที่มา: ศนู ยว์ ิจัยพืชไร่ขอนแกน่ 3. ใบ (leaf) ใบเป็นแบบใบเด่ียว (simple leaf) การเกิดของใบจะหมุนเวียนรอบลาต้น (spiral) มีการ จดั เรยี งตวั (phyllotaxy) คอ่ นข้างคงท่ีแนน่ อนคือ 2-5 กา้ นใบ (petiole) ตอ่ ระหว่างลาต้นหรือก่ิงกับ ตัวแผ่นใบ กา้ นใบอาจมีสเี ขียวหรอื สแี ดง (ภาพท่ี 4-4) ตวั ใบหรือแผ่นใบ (lamina) จะเว้าเปน็ หยักลึกเปน็ แฉก (palmately lobe) จานวนหยกั มตี ้ังแต่ 3-9 หยกั ทโี่ คนก้านใบติดกับลาตน้ มหี ูใบ (stipule)
78 | ดรณุ ี พวงบตุ ร ภาพที่ 4-4 ลกั ษณะใบมนั สาปะหลัง ทม่ี า: ผ้เู ขียน 4. ช่อดอก มันสาปะหลังเป็นพืชท่ีมีช่อดอกเป็นแบบ panicle คือมีดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่บนต้น เดียวกัน (monoecious plant) แตแ่ ยกกันอยคู่ นละดอกในช่อเดียวกัน ช่อดอกจะเกิดตรงปลายยอด ของลาตน้ หรอื กง่ิ หรืออาจเกดิ ตรงรอยตอ่ ทเี่ กิดการแตกกิ่ง (ภาพที่ 4-5) 4.1 ดอกตัวผู้ (staminate flower) มักเกิดบริเวณส่วนปลายหรือยอดของช่อดอก ไม่มีกลีบ ดอก (petal) มีกลีบรองดอก (sepal) 5 กลีบ มีเกสรตัวผู้ (stamen) 10 อัน แบ่งเป็น 2 วง ๆ ละ 5 อนั เกสรตวั ผวู้ งในมกี า้ นชูเกสรตวั ผู้ (filament) สน้ั กวา่ วงนอก 4.2 ดอกตัวเมยี (pistillate flower) มขี นาดใหญก่ ว่าดอกตัวผู้ มักเกิดอยู่บริเวณส่วนโคนของ ช่อดอก ไม่มีกลีบดอก แต่มีกลีบรองดอก 5 กลีบ เช่นเดียวกับดอกตัวผู้ ตรงกลางจะเป็นเกสรตัวเมีย (pistil) รังไข่ (ovary) มี 3 carpel ภายในแต่ละ carpel มีไข่ (ovule) อยู่ 1 ใบ ในช่อดอกเดียวกัน ดอกตัวเมยี จะบานก่อนดอกตวั ผู้ 7-10 วัน ดอกตัวผู้ ดอกตัวเมีย ภาพที่ 4-5 ลกั ษณะดอกมันสาปะหลัง ที่มา: สถาบนั วิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (2015)
พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ| 79 5. ผล (fruit) หลังการผสมเกสรแล้ว รังไข่ก็จะเจริญเติบโตขยายใหญ่กลายเป็นผลแบบ capsule ขนาดโต เต็มท่ีมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ยาว 1-1.5 ซม. ภายในมี 3 ช่อง แต่ละช่องมีเมล็ด 1 เมล็ด หลงั การผสมเกสรประมาณ 3 เดือน ผลจะสกุ แกเ่ ต็มที่ แล้วแตกดดี เมล็ดกระเดน็ ออกไป (dehiscent) 6. เมลด็ (seed) เมล็ดมีสีนา้ ตาล และมีลายดา รูปร่างยาวรี ขนาดกวา้ ง ¾ เซนติเมตร หนา ½ เซนติเมตร ยาว 1 ซนตเิ มตร ตอนปลายของเมล็ดทีต่ ิดกับผนงั รงั ไข่ จะมสี ่วน caruncle หรอื มีตาอย่างน้อย 3 ตา ชนิดของมันสาปะหลัง มันสาปะหลงั สามารถแบง่ ตามปริมาณกรดไซยานคิ (HCN) ในหวั ได้ 2 ชนิด คือ 1. ชนิดหวาน เป็นมันสาปะหลังที่ใช้เพ่ือการบริโภค มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคต่า ไม่มีรส ขม สามารถใช้หัวสดทาอาหารได้โดยตรง เช่น นาไปนึ่ง เช่ือม หรือทอด ซ่ึงได้แก่ พันธุ์ห้านาที พันธ์ุ ระยอง 2 เปน็ ต้น 2. ชนิดขม เป็นมันสาปะหลังที่มีรสขม ไม่เหมาะสาหรับการบริโภคของมนุษย์หรือใช้หัวสด เลี้ยงสัตว์โดยตรง เนื่องจากมีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคสูง มีความเป็นพิษต่อร่างกาย ต้องนาไปแปร รูปเป็นมันอัดเม็ดหรือมันเส้นแล้วจึงนาไปเล้ียงสัตว์ได้ ซ่ึงได้แก่ พันธุ์ระยอง 1 พันธ์ุระยอง 3 พันธ์ุ ระยอง 5 พันธุ์ระยอง 60 พันธ์รุ ะยอง 90 และเกษตรศาสตร์ 50 ถิน่ กาเนิดและสภาพแวดล้อม มันสาปะหลัง มีแหลงกาเนิดอยู่แถบที่ลุมแม่น้าอเมซอน มีหลักฐานแสดงว่ามีการปลูกใน ประเทศบราซิล จากหลกั ฐานมกี ารสรปุ ว่ามันสาปะหลังมถี นิ่ กาเนิดมาจาก 4 แหล่ง ดงั น้ี 1. แถบประเทศกัวเตมาลา และเมก็ ซโิ ก 2. ทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนอื ของทวปี อเมริกาใต้ 3. ทางทิศตะวันออกของประเทศโบลิเวียและทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ อาร์เจนตินา 4. ทางทิศตะวนั ออกของประเทศบราซลิ มันสาปะหลังได้แพร่กระจายจากแหล่งกาเนิดไปสู่ทวีปอัฟริกาในราวศตวรรษที่ 15 เร่ือยมา จนถึงศตวรรษท่ี 18 สาหรับในทวีปเอเซียนั้นพบว่ามีการแพร่กระจายของมันสาปะหลังเข้ามาสู่ ประเทศอินเดีย ในราวต้นศตวรรษ 18 จากนั้นราวปลายศตวรรษที่ 18 ก็ได้มีการแพร่กระจายเข้าสู่ ประเทศฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย แล้วแพร่มายังประเทศมาเลยเซียและไทยในที่สุด ทั้งน้ีเป็นไปตาม การขยายอาณานิคมของชนชาติยโุ รป (ภาพท่ี 4-6)
80 | ดรณุ ี พวงบตุ ร ภาพท่ี 4-6 แหลง่ กาเนดิ ของมนั สาปะหลัง ทมี่ า: Kenneth and Barbara (1999) มันสาปะหลงั สามารถเจริญเติบโตได้ในช่วงละติจูด 30˚N ถึง 30 ˚S แต่แหล่งปลูกส่วนใหญ่อยู่ ระหว่างช่วงละติจูด 20 ˚N-S ต้องการอุณหภูมิเฉลี่ย 25 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า หากอุณหภูมิต่า การเจริญเติบโตของมันสาปะหลังจะช้า ให้ผลผลิตต่า ทั้งนี้เพราะมันสาปะหลังไม่ทนต่อสภาพหนาว เย็น หรอื มีนา้ คา้ งแข็ง (frost) อยา่ งไรก็ตามพบว่าในแถบเส้นศูนย์สูตรมีมันสาปะหลังขึ้นได้ในที่สูงจาก ระดับน้าทะเลถึง 5000 ฟุต แต่การเจริญเติบโตจะน้อยกว่าเม่ือเทียบกับมันสาปะหลังในที่สูงระหว่าง 0-1000 ฟตุ ระยะการเจรญิ เตบิ โตและการพฒั นาของมันสาปะหลัง ระยะการเจริญเติบโตมันสาปะหลัง แบ่งออกเป็น 5 ระยะ ตามการแบ่งของ Alves (2002) ประกอบดว้ ย - ระยะทอ่ นพนั ธุง์ อกและตัง้ ตวั อยู่ในช่วงระยะเวลา 2-3 สัปดาห์หลังปลูก - ระยะพัฒนาทรงพุม่ เป็นระยะท่เี ร่ิมแตกก่งิ ก้านและสร้างใบ เรม่ิ ต้นตั้งแตเ่ ดือนที่ 2 - ระยะพฒั นารากและสะสมอาหาร ระยะนีม้ นั สาปะหลังจะลาเลยี งแปูงไปสะสมไว้ทีห่ ัว ตั้งแต่ เดอื นที่ 3 เปน็ ต้นไป - ระยะพักตัว เป็นช่วงที่มันสาปะหลังชะงักการเจริญเติมโต และมีการทิ้งใบ หลังจากเดือนท่ี 14 เป็นระยะท่ีเหมาะสมตอ่ การเกบ็ เกยี่ วมันสาปะหลัง คือ อายุ 10-14 เดอื น - ระยะฟ้นื ตวั มนั สาปะหลังจะนาเอาอาหารจากหัวข้นึ มาสร้างใบใหม่
พืชไรเ่ ศรษฐกิจ| 81 การปลกู และการเกบ็ เก่ียว มนั สาปะหลงั เป็นพชื ทสี่ ามารถปลกู ไดต้ ลอดทง้ั ปี แตท่ ่นี ิยมปลกู มี 3 ชว่ ง คือ ในชว่ งตน้ ฝน จะปลกู ในช่วงเดือนมนี าคมถึงเดือนพฤษภาคม โดยในช่วงนี้เป็นท่ีนิยมปลูกมาก ที่สดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 65 ของพืน้ ท่ปี ลูกท้ังหมด ในช่วงแล้ง จะปลูกในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ คิดเป็นร้อยละ 20 ของพื้นที่ ปลกู ทง้ั หมด ในช่วงกลางฝน จะปลูกในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม คิดเป็นร้อยละ 15 ของพื้นที่ ปลูกทั้งหมด สาหรับการปลูกในช่วงต้นฤดูฝนน้ี ผลผลิตหัวสดท่ีได้จะสูงกว่าการปลูกในช่วงอื่นๆ ในดินที่มี ลักษณะเน้ือดินค่อนข้างหยาบ การปลูกในช่วงแล้งจะให้ผลผลิตสูงท่ีสุด ดังน้ันการตัดสินใจปลูก มนั สาปะหลังที่เหมาะสม จงึ ตอ้ งพิจารณาทั้งปรมิ าณน้าฝนและลกั ษณะดนิ มันสาปะหลงั ไมช่ อบสภาพร่มเงา ถ้าอยู่ในสภาพร่มเงาผลผลติ จะต่า ใบหลดุ ร่วงงา่ ย อายุใบ สน้ั ลง มันสาปะหลงั ชอบสภาพแดดจดั มชี ว่ งแสงยาว 10 - 12 ชั่วโมง จัดเปน็ พชื ในกลุ่ม C3 มอี ตั รา การเจริญเตบิ โต ระหวา่ ง 8-25 กรมั ต่อตารางเมตรตอ่ วนั โดยมีดชั นพี ้นื ทใ่ี บสงู ถงึ 7-12 มันสาปะหลังทนความแล้งได้ดี สามารถข้ึนได้ในท่ีมีฝนเฉลี่ยปีละ 500-1500 มิลลิเมตร หรือ มากกวา่ แต่ไม่สามารถทนตอ่ สภาพนา้ ทว่ มขังได้ ดนิ ท่ีเหมาะสาหรับการเจริญเติบโตของมันสาปะหลัง ควรเป็นดินทราย หรือดินร่วนปนทราย มีการระบายน้าดี และมีความอุดมสมบูรณ์พอสมควร มัน สาปะหลงั ทนตอ่ สภาพดนิ กรด pH ต่าถึง 4.5 ได้ดี แตใ่ นดนิ ที่มี pH มากกวา่ 8 ก็ไม่เหมาะสาหรับปลูก มนั สาปะหลัง วธิ ีการปลูกมันสาปะหลงั การปลูกใช้ท่อนพันธุ์ขนาดยาว 20-30 เซนติเมตรหรือมีจานวนตาไม่น้อยกว่า 5 ตา จาก ส่วนกลางและโคนต้นจะดีท่ีสุด และมีอายุอย่างน้อย 8 เดือน แต่ไม่ควรเกิน 18 เดือน การปลูกใช้ ระยะปลูก 1 x 1 เมตร หรอื 1,600 ตน้ ตอ่ ไร่ นอกจากน้ีการปลูกถ่ีเช่น 1 x 0.6 หรือ 1 x 0.8 เมตร ก็ สามารถให้ผลผลติ สูงเพ่ิมข้นึ แต่จะต้องใส่ปุ๋ย เพ่ิมอีกหน่ึงเท่าตัว สาหรับวิธีการปลูกมันสาปะหลังอาจ ใช้วิธีการนาท่อนพันธ์ุท่ีเตรียมไว้ปักลงในดินให้ลึกประมาณ 2/3 ของท่อนพันธุ์ ควรระวังอย่าปักส่วน ยอดลงดิน เพราะตาจะไม่งอก การปักตรง 90 องศา หรือปักเฉียง 45 องศากับพื้นดินให้ผลผลิตไม่ แตกต่างกัน แต่สะดวกต่อการกาจัดวัชพืช ง่ายต่อการเก็บเก่ียว และให้ผลผลิตสูงกว่าการปลูกฝัง 10- 15 เปอร์เซ็นต์ กรณียกร่องปลูกใหป้ ลกู บนสันร่อง หลังปลกู ได้ 15 วัน ให้ปลูกพืชปุ๋ยสด เช่น ถั่วพุ่ม หรือถ่ัวพร้า โรยเป็นแถวแทรกระหว่างแถว มันสาปะหลัง เพ่ือปูองกันวัชพืช เม่ือพืชปุ๋ยสดมีอายุ 50 วัน ให้ทาการตัดแล้วนามาคลุมดินเพ่ือรักษา ความช้นื ในดนิ และเพ่มิ อินทรียวตั ถุใหก้ ับดิน
82 | ดรณุ ี พวงบตุ ร การให้น้า การปลูกโดยอาศัยน้าฝน หรืออาจให้น้าเม่ือคราวจาเป็น ซึ่งอาจจะให้โดยระบบ สปริงเกอร์หรือระบบน้าหยดขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และควรมีการกาจัดวัชพืชไม่น้อยกว่า 2 คร้ัง ตลอดฤดูปลูก คือ ครั้งแรก พ่นสารกาจัดวัชพืชทันทีหลังปลูกก่อนวัชพืชงอก หรือใช้จอบถาก หรือใช้ เครื่องมือกลไถพรวน กาจัดวัชพืชระหว่างแถวปลูกเมื่อมันสาปะหลังอายุ 1-2 เดือน ครั้งสอง ใช้จอบ ถาก หรือพ่นสารกาจัดวัชพืชอีกคร้ังถ้ามีวัชพืชฤดูเดียวประเภทใบ แคบมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของ พน้ื ที่ วิธีการใส่ปุ๋ยมันสาปะหลัง ถ้าจะให้ได้ผลดีควรใส่แบบ split application โดยแบ่งปุ๋ย ไนโตรเจนคร่ึงแรกใส่พร้อมปุ๋ย P2O5 และ K2O เม่ือปลูก แล้วใส่ปุ๋ยไนโตรเจนส่วนที่เหลือ เม่ือมัน สาปะหลังอายุประมาณ 1 เดอื น โดยการใส่รอบ ๆ ลาต้น ให้ห่างจากต้นประมาณ 20 เซนติเมตร แล้ว พรวนดินกลบ การเกบ็ เกี่ยว มนั สาปะหลงั เป็นพืชที่ไม่กาจัดอายุการเก็บเก่ียว แต่ควรเก็บเกี่ยวเม่ืออายุครบ 8 เดือนข้ึนไป โดยอายุท่เี หมาะสมคือ 12 เดือน ไม่ควรเก็บเก่ียวในช่วงท่ีมีฝนตกชุก เพราะจะทาให้มีเปอร์เซ็นต์แปูง ตา่ วิธกี ารเก็บเกี่ยวมันสาปะหลงั ของเกษตรกรมี 2 วิธี คอื 1. ใช้แรงงานคน โดยทาการตัดต้นมันให้เหลือส่วนล่างของลาต้นไว้ประมาณ 30-70 เซนตเิ มตร จากนั้นขุดหวั มันขึ้นมาดว้ ยจอบหรือใช้วธิ ถี อนในกรณีที่ดินมีความช้ืนสูง นามาสับเหง้าออก แล้วขนส่งไปยังโรงงานเพ่ือแปรสภาพไม่ควรกองท้ิงไว้ในไร่เพราะมันสาปะหลังจะเน่าเสียได้ ส่วนต้น มันทีเ่ หลอื นัน้ ใหต้ ดั ยอดและมัดกองไว้ เพอ่ื รอปลกู หรอื จาหนา่ ยตอ่ ไป 2. ใช้เคร่ืองทุน่ แรง ในจังหวดั ที่มีปัญหาการขาดแคลนแรงงานสูง จะมีการใช้เครื่องทุ่นแรงติด ท้ายรถแทรกเตอร์ทาการพลิกหนา้ ดินเพอื่ ให้หัวมันสาปะหลังหลุดจากดิน จากนั้นจึงใช้แรงงานคนเดิน ตามตดั หวั มนั จากเหงา้ และขนสง่ ไปยงั โรงงานเพือ่ แปรสภาพต่อไป การเก็บรักษา หัวมันสาปะหลังหลังจากเก็บเกี่ยวมาแล้วจะมีการเส่ือมคุณภาพเร็วมาก ดังนั้นเม่ือขุดหัวมัน ข้ึนมาแล้วควรรีบนาส่งโรงงานเพื่อแปรสภาพทันที ในบางกรณีที่ไม่สามารถขายได้ทันทีก็ไม่ควรเก็บ หัวมนั สาปะหลงั ไวเ้ กิน 4 วนั เน่ืองจากจะทาใหม้ ีการเน่าเสียและเปอร์เซ็นตแ์ ปงู ในหัวมันลดลงมาก
พชื ไร่เศรษฐกิจ| 83 โรคและแมลงทส่ี าคัญของมันสาปะหลัง 1. โรคใบไหม้ (cassava bacterial blight) แสดงอาการใบจุดเหล่ียมฉ่าน้ากระจายอยู่ท่ัว พืน้ ทีใ่ บ อาจมีวงสเี หลืองลอ้ มรอบจุดเหล่ียมเหลา่ นี้ อาการจะพัฒนาขึ้นทาให้จุดเหล่ียมขยายตัวติดกัน เปน็ อาการใบไหม้สีน้าตาล ในทีส่ ดุ ใบจะเหลอื ง แหง้ แลว้ หลุดร่วงไป นอกจากนี้ยังทาให้ระบบท่อน้าท่อ อาหารของลาต้นและรากเนา่ 2. โรคใบจุดสีน้าตาล (brown leaf spot) แสดงอาการใบจุดค่อนข้างเหล่ียมตามเส้นใยมี ความสม่าเสมอสีน้าตาล ขนาด 3-15 มิลลิเมตร มีขอบชัดเจนจุดแผลด้านหลังใบมีสีเทาและแผล ลอ้ มรอบด้วยวงสเี หลอื ง ตรงกลางแผลอาจจะแหง้ และหลดุ เปน็ รู 3. โรคใบจุดไหม้ (blight leaf spot) ใบ เป็นจุดกว้างไม่มีขอบเขตที่แน่นอนเหมือนกับโรคใบ จุดสีน้าตาลจุดแผลจะกว้างมาก แต่ละจุดอาจกว้างถึง 1 ใน 5 ของแฉกใบ หรือมากกว่าด้านบนใบมัก เห็นจดุ แผลสีนา้ ตาลค่อนข้างสมา่ เสมอ ขอบแผลมีสีเหลืองอ่อน ด้านใต้ใบมักเห็นเป็นวงสีเทา ลักษณะ แผลในบางคร้งั จะคล้ายกบั โรคใบจุดวงแหวน 4. โรคแอนแทรคโนส (anthracnose) ใบจะมีขอบใบไหม้สีน้าตาลขยายตัวเข้าสู่กลางใบ มัก ปรากฏกับใบท่ีอยู่ล่าง ในตัวแผลบนใบจะมีเม็ดเล็ก ๆ สีดาขยายตัวไปตามขอบของแผลอาการไหม้ ส่วนก้านใบ อาการจะปรากฏในส่วนโคนกา้ นใบ จะเปน็ แผลสนี ้าตาลขยายตัวไปตามก้านใบ ทาให้ก้าน ใบมลี ักษณะลู่ลงมาจากยอด หรือตัวใบจะหักงอจากก้านใบ เกิดอาการใบเหี่ยวและแห้งได้ ส่วนลาต้น และยอด แผลทล่ี าตน้ จะเป็นแผลทดี่ าตรงบริเวณข้อต่อกับก้านใบและมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม แผล จะขยายตัวไปสู่สว่ นยอดทาใหย้ อดเห่ยี วแห้ง 5. โรคหัวเน่าเละ (tuber rot) ต้นเหี่ยวเฉา ใบล่าง ๆ มีสีเหลือง และเหี่ยวแห้งหลุดร่วงลงมา ส่วนใบยอดมีขนาดเล็ก ต้นแคระแกรน ไม่เจริญเติบโต เม่ือขุดรากดูพบรากเน่าเละสีน้าตาล มีกลิ่น เหมน็ ถา้ เป็นรุนแรงจะทาให้ต้นตาย 6. โรคลาต้นเน่า (stem rot) ระยะแรกท่อนพันธุ์จะเร่ิมเน่าตรงส่วนปลาย และลุกลามเข้าไป ทาให้เปลือกบวนเน่า ต่อมาจะเหี่ยวแห้ง ใต้เปลือกเป็นสีดา บนผิวเปลือกเป็นเม็ดนูน ๆ แล้วจะแตก เปน็ ผง 7. โรคไม้กวาด (witches’broom) หรือโรคยอดพุ่มทาให้ต้นมันสาปะหลังยอดแห้งตาย มี ผลผลิต และเปอร์เซ็นต์แปูงลดลง 10-40 เปอร์เซ็นต์ ถ้าใช้ท่อนพันธ์ุจากต้นท่ีแสดงอาการยอดพุ่มไป ปลูก ทอ่ นพนั ธ์ุจะไม่งอกและแห้งตาย แตถ่ า้ งอกต้นกล้าจะแสดงอาการยอดพุ่ม และแหง้ ตายในที่สุด 8. เพลย้ี แปูง (mealy bugs) เพล้ยี แปงู ทงั้ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดกินน้าเล้ียงตามส่วนต่างๆ ของมันสาปะหลัง เช่น ใบ ยอด และส่วนตา โดยใช้ส่วนของปากท่ีมีลักษณะเป็นท่อยาว เพลี้ยแปูงจะ ขับถ่ายมูลของเหลวมีลักษณะเป็นน้าเหนียวๆ เรียกว่ามูลหวาน ทาให้เกิดราดา พืชสังเคราะห์แสงได้ น้อย การเจริญเตบิ โตไมเ่ ตม็ ที่ลาตนั มชี ว่ งขอ้ ถี และบิดงอ ยอดแห้งตาย หรือยอดหงกิ เปน็ พมุ่
84 | ดรุณี พวงบตุ ร 9. แมลงหวี่ขาว (white flies) ตวั ออ่ นและตัวเต็มวัยดูดกินน้าเลี้ยงจากส่วนใต้ใบพืช และถ่าย มูลหวานลงมาบนใบที่อยู่ด้านล่าง ทาใหเ้ กิดเป็นราดาข้นึ ตามใบท่ีอย่ดู ้านลา่ ง พืชสังเคราะห์แสงได้น้อย ใบม้วนซีดและร่วง ช่วงเวลาระบาด ระบาดรุนแรงในสภาพอากาศแห้งแล้ง หรือฝนท้ิงช่วงเป็น เวลานาน 10. ไรแดง (mites) ไรแดงมันสาปะหลงั ดดู กินนา้ เลี้ยงบนหลงั ใบสว่ นยอด และขยายปริมาณลงสสู่ ว่ นลา่ งของต้น การทาลายของไรแดงทาให้ ใบเหลืองซีดเปน็ รอยขดี ใบม้วนงอและร่วง สว่ นยอดท่ีถูกทาลายงองุ้ม ตาลบี การขยายปรมิ าณข้ึนอยู่ กับสภาพแวดลอ้ ม ฝนทง้ิ ชว่ งนานมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของมันสาปะหลังโดยเฉพาะชว่ งอายุ พืชยังเลก็ จะมผี ลตอ่ การสร้างหัว 11. ปลวก (termites) ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยกัดกินท่อนพันธ์ุทาให้ต้นมันสาปะหลังไม่ สามารถงอกได้ กัดกินลาต้นแล้วนาดินเข้าไปบรรจุไว้แทนในลาต้น ทาให้ต้นหักล้มและนอกจากนี้ยัง ทาลายส่วนหวั มันสาปะหลัง 12. แมลงนูนหลวง (sugarcane white grub) ตัวหนอนท าลายกัดกินรากต้นมันสาปะหลัง ทาให้ต้นพืชตาย ทาความเสียหายในระยะพืชยังเล็ก ลักษณะคล้ายเกิดจากผลกระทบของความแห้ง แลง้ แต่ถา้ ถอนต้นจะหลุดได้โดยง่าย นอกจากนีม้ นั ที่ลงหวั แลว้ จะทาให้หวั ถูกกดั ทาลายเกิดแผล และมี เช้ือโรคเข้าทาลายซา้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266