Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติ อินเทอร์เน็ต อ ทิพมาศ

ประวัติ อินเทอร์เน็ต อ ทิพมาศ

Published by Guset User, 2022-08-09 08:39:51

Description: ประวัติ อินเทอร์เน็ต อ ทิพมาศ

Search

Read the Text Version

7. อย่าส่งรูปภาพของตนเอง หรือรูปภาพของ ผู้อื่น ให้คนอื่นทางอีเมลล์ ยกเว้นได้รับอนุญาตจาก ผูใ้ หญเ่ สียก่อน 8. ถ้าได้รับอีเมลล์ท่มี ีขอ้ ความไมเ่ หมาะสมหรือ ทำให้ไม่สบายใจ ไม่ควรโต้ตอบ และควรบอกให้ผู้ใหญ่ ทราบก่อนทันที 9. บนอินเทอร์เน็ต ทุกอย่างที่คุณเห็นไม่ใช่ เร่ืองจรงิ เสมอไป 10. อย่าบอกอายุจริงของคุณกับคนอื่น ถ้ามี ความจำเปน็ ควรปรกึ ษาผูใ้ หญก่ อ่ น 11. อย่าบอกชื่อจริง และนามสกุลจริงกับ บุคคลอน่ื ถา้ มีความจำเปน็ ควรปรึกษา และขออนญุ าต ผใู้ หญ่กอ่ น 12. อยา่ บอกทีอ่ ยู่ ของคณุ กับบุคคลอน่ื 13. ปรึกษาผู้ใหญ่ก่อนทุกครั้งที่จะทำการ ลงทะเบยี นใด ๆ บนอินเทอร์เนต็ 14. อย่าให้หมายเลขของบัตรเครดิตการ์ดของ คุณกับบุคคลอื่น ถ้ามีความจำเป็นควรปรึกษาผู้ใหญ่ กอ่ น

15. ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต ทุกอย่างขึ้นอยู่กับ เรา คุณสามารถทำในสิ่งที่ตัวเองต้องการ และไม่ทำใน สง่ิ ท่ไี ม่ต้องการได้ 16. อย่าเปิดเอกสารหรืออีเมลล์หรือไฟล์ จาก บุคคลอื่นที่ไม่รู้จัก เพราะอาจมีไวรัส หรือข้อมูลไม่ เหมาะสม มากบั เอกสารหรอื อเี มลลน์ ั้น 17. ควรวางเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ในสถานที่ที่ สะดวกในการดูแลเอาใจใส่ เช่น ห้องนั่งเล่น หรือ ห้อง สว่ นรวม 18. อย่าตัดสินใจที่จะไปพบบุคคลอื่นซึ่งรู้จัก กันทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ใหญ่ และถ้ามีการนัดพบกันไม่ควรไปเพียงลำพัง ควรมี ผู้ใหญ่หรือคนที่รู้จักหรือเพื่อนไปด้วย และควรนัดพบ กันในท่ีสาธารณะ 19. บนอินเทอรเ์ น็ตข้อมูลต่าง ๆ ทเ่ี ราพิมพ์ลง ไป บุคคลอื่นที่เราไม่รู้จักสามารถล่วงรู้ได้ จึงควรใช้ อยา่ งระมดั ระวงั 20. อย่าบอกเบอร์โทรศัพท์ของคุณกับบุคคล อน่ื ในอนิ เทอรเ์ น็ต การใชอ้ ินเทอร์เนต็ อยา่ งปลอดภัย แบบที่2

1 ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตวั ไม่บอกชื่อนามสกุล จรงิ ท่อี ยู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ โดยเฉพาะเบอร์โทรศัพท์บ้าน เพราะผู้ร้ายสามารถใช้หมายเลขโทรศัพท์บ้านเพื่อโทร สอบถามที่อยู่ของเจ้าของบ้านได้จากบริการ 1133 ซึ่งเป็นบริการมาตรฐาน โจรผู้ร้ายและพวกจิตวิปริต อาจมาดักทำร้ายคุณได้ เวลาแช็ตก็ให้ใช้ชื่อเล่นหรือชื่อ สมมุติแทน 2 ไม่ส่งหลักฐานส่วนตัวของตนเองและคนใน ครอบครัวให้ผู้อ่ืน เช่น สำเนาบัตรประชาชน เอกสาร ต่างๆ รวมถึงรหัสบัตรต่างๆ เช่น เอทีเอ็ม บัตรเครดิต ฯลฯ ให้กับผู้อื่น แม้แต่เพื่อน เพราะเพื่อนเองก็อาจถูก หลอกให้มาถามจากเราอีกต่อหนง่ึ 3 ไม่ควรโอนเงินให้ใครอย่างเด็ดขาด นอกจาก จะเปน็ ญาตสิ นิทที่เชอื่ ใจไดจ้ รงิ ๆ 4 ไม่ออกไปพบเพ่ือนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต เว้นเสียแต่ว่าได้รับอนุญาตจากพ่อแม่ผู้ปกครอง และ ควรมีผู้ใหญ่หรือเพื่อนไปด้วยหลายๆ คน เพื่อป้องกัน การลักพาตวั หรอื การกระทำมิดีมริ ้ายต่างๆ 5 ระมัดระวังการซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงคำโฆษณาชวนเชื่ออื่นๆ เด็กต้องปรึกษาพ่อแม่ ผู้ปกครอง โดยต้องใช้วิจารณญาณ พิจารณาความ

น่าเชื่อถือของผู้ขาย เช่นดูประวัติ ดูการให้คอมเมนท์ Comment จากผู้ซื้อรายก่อนๆ ที่เข้ามาเขียนไว้ พิจารณาวธิ ีการจา่ ยเงิน ฯลฯ และต้องไม่บอกรหัสบัตร เครดิต และเลขท้าย3หลักที่อยู่ด้านหลังบัตรให้แก่ ผู้ขาย หรือใครๆ โดยเด็ดขาด เพราะเป็นรหัสสำหรับ การซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านบัตรเครดิต คุณอาจถูก ยักยอกเงนิ จากบัตรเครดติ จนเตม็ วงเงินที่คุณมี แล้วมา รู้ตัวอีกทีก็มีหนี้บานมหาศาล นอกจากนี้คุณผู้ปกครอง ก็ไม่ควรวางกระเป๋าเงินที่ใส่บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ ให้เด็กหยิบง่ายๆ เพราะคำโฆษณาล่อหลอกทาง เน็ต อาจทำให้เด็กอยากซื้อสินค้าที่ไม่เหมาะสม บางอย่าง แล้วอาจมาเปิดดูรหัสบัตร เพื่อไปซื้อสินค้า ออนไลน์ได้ 6 สอนให้เด็กบอกพ่อแม่ผู้ปกครองหรือคุณครู ถ้าถูกกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต (Internet Bullying) เช่น ได้รับอีเมล์หยาบคาย การข่มขู่จากเพื่อน การส่ง ต่ออเี มล์ขอ้ ความใส่ร้ายปา้ ยสีรุนแรง หรือถกู นำรูปถ่าย ไปตัดต่อเข้ากับภาพโป๊แล้วส่งไปให้เพื่อนทุกคนดู ถูก แอบถา่ ยขณะทำภารกิจส่วนตัว เปน็ ตน้ ใหเ้ ดก็ บอกพ่อ แม่ ถ้าเป็นการกลั่นแกล้งในหมู่เพื่อน พ่อแม่ควรแจ้ง คุณครูหรือทางโรงเรียนและผู้ปกครองของเด็กคู่กรณี ให้รับทราบพฤตกิ รรมการกล่ันแกล้งของเพื่อนนักเรียน

เพราะการกลนั่ แกล้งด้วยความรู้เทา่ ไม่ถึง การณ์แบบนี้ อาจทำให้เด็กที่ถูกแกล้งเสียสุขภาพจิต ไม่อยากไป โรงเรียน และมีปัญหาการเรียนได้ ซึ่งพ่อแม่เองก็ควร จะสังเกตอาการลูกๆ ด้วยว่าซึมเศร้าผิดปกติหรือเปล่า และควรพูดคุยกันอย่างเปิดเผย ส่วนการกลั่นแกล้ง แบลค็ เมลใ์ นกรณีรุนแรงควรแจ้งตำรวจเพ่ือเอาโทษกับ ผูก้ ระทำผดิ 7 ไม่เผลอบันทึกยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ด ขณะใช้เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์สาธารณะ การใช้คอมพิวเตอร์ที่โรงเรียน ที่อินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ที่ บ้านคนอื่นต้องระวังเวลาใส่ชื่อยูสเซอร์เนมและพาส เวิร์ดในการ ล็อคอิน เข้าไปในเว็บไซท์ หรือเปิดใช้ โปรแกรมต่างๆ เช่น เปิดเช็คอีเมล เปิดใช้โปรแกรม สนทนาMSN เปิดดูข้อมูลทางการเงินส่วนตัวผ่านเว็บ ไซท์ธนาคารที่ให้บริการออนไลน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การล็อคอินเข้าไปยังเว็บไซท์ เพื่อชำระค่าใช้จ่ายต่างๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต จะต้องไม่เผลอไป ติ๊กถูกที่หน้า กล่องข้อความที่มีความหมายประมาณว่า “ให้บันทึก ชื่อผู้ใช้และพาสเวิร์ดของคณุ บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์น”ี้ อย่างเด็ดขาด เพราะผู้ที่มาใช้เครื่องต่อจากคุณ สามารถล็อคอินเข้าไป จากชื่อของคุณที่ถูกบันทึกไว้ แล้วสวมรอยเป็นคุณ หรือแม้แต่โอนเงินในบัญชีของ

คุณจ่ายค่าสินค้าและบริการต่างๆ ที่เขาต้องการ ผลก็ คือคณุ อาจหมดตัวและลม้ ละลายได้ 8 การใช้โปรแกรม MSN อย่างปลอดภัย ถ้า เจอเพื่อนทางเน็ตท่ีพูดจาข่มขู่ หยาบคาย ชวนคุยเรื่อง เซ็กซ์ พยายามชวนออกไปข้างนอก ให้เลกิ คุย และควร บอกพ่อแมด่ ้วย รวมท้ังสกัดกั้น Block ชื่อของเพอ่ื นคน นั้นๆ ไม่ให้เข้ามาคุยกับเรา/ลูกของเรา หรือไม่ให้ส่ง อีเมล์มาหาเราได้อีก นอกจากนี้คุณยังสามารถตั้งค่า การใช้งานโปรแกรมสนทนาให้เป็นแบบ Private ได้ เช่น ในโปรแกรมสนทนายอดนิยมอย่าง MSN Messenger สามารถตั้งค่าให้เพื่อนใหม่ที่อยากจะเข้า มาคุยกับคุณ ต้องขออนุญาติก่อน เมื่อคุณตอบตกลง เขาจึงส่งข้อความมาคุยโต้ตอบกับคุณได้ ซึ่งถ้าไม่ได้ต้ัง ค่าเอาไว้ ใครๆ กส็ ามารถส่งขอ้ ความมาถึงคณุ ได้ ซึง่ ถ้า ผู้ใช้เป็นเด็ก อาจได้รับข้อความถามขนาดอวัยวะ ข้อความชวนไปมีเซ็กซ์พร้อมบรรยายสรรพคุณต่างๆ ขอ้ ความเสนอขายเซ็กซ์ทอย ฯลฯโผลข่ ้นึ มาได้ ซึง่ คงไม่ ดีแน่ ดังนั้นการตั้งค่า Privacy จึงเป็นการ สกรีนผู้ใช้ และป้องกันไม่ให้คุณหรือเด็ก ได้รับข้อความลามก ข้อความเชิญชวนแปลกๆ จากผู้ใช้ที่เราไม่รู้จักและไม่ อยากจะคุยด้วย นอกจากนี้ ไม่ควรใส่ข้อมูลส่วนตัว เช่น ชื่อนามสกุลจริง ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ในข้อมูล

ส่วนตวั ผู้ใช้ ถ้าเคยใสไ่ ว้ ใหล้ บออกให้หมด ถงึ แมว้ ่าคุณ จะใช้โปรแกรมสนทนาอื่นๆ เช่น ICQ หรือแช็ตรูมตาม เว็บไซท์วัยรุ่นอื่นๆ ก็ขอให้ยึดหลักปฏิบัติเดียวกันน้ี เพื่อความปลอดภัย 9 ระวังการใช้กล้องเว็บแคม ขณะที่เราใช้ โปรแกรมสนทนา เช่น MSN เราสามารถใช้กล้องเว็บ แคมเพอ่ื ใหค้ ู่สนทนาเหน็ ภาพวดี โี อสดของเราได้ ถา้ เขา เองก็มีกล้องเว็บแคมเช่นกัน เราก็จะเห็นหน้าของเขา ด้วย ยิ่งถ้ามีไมโครโฟนเสียบต่อกับคอม ก็จะสามารถ พูดคุยออนไลน์แบบเห็นภาพและเสียงได้เลย ประหยัด และใช้ดีกว่าโทรศัพท์โดยเฉพาะเวลาคุยกับคนที่อยู่ ต่างประเทศ แต่ผู้ใช้จะต้องใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เท่านน้ั จงึ จะสง่ ผ่านภาพ และเสียงได้ทัน ทน่ี า่ เป็นห่วง ก็คือ การใช้แช็ตกับเพื่อนใหม่ ที่เพิ่งรู้จักกันทาง อินเทอร์เน็ต เขาสามารถบันทึกภาพของเราขณะ พูดคุยกับเขา เพื่อเอาไปใช้ในทางไม่ดีๆ ได้ เช่น เอาไป ตัดต่อ แล้วขาย นอกจากนี้ ถ้าผู้ใช้เป็นเด็ก อาจถูก มิจฉาชีพออนไลน์ พยายามขอให้เด็กเปิดเว็บแคม เพ่ือ จะได้เห็นภาพ/เสียง ของเด็กชัดๆ หลอกให้เด็กเอา กล้องเว็บแคม หันไปยังทิศต่างๆ ของบ้าน เพื่อเก็บ ข้อมูลรายละเอียดบ้าน เตรียมการลักพาตัว หรือ โจรกรรมได้ ดงั นั้น การติดตง้ั อุปกรณ์เสริม อย่างกล้อง

และไมค์ นี้ผู้ปกครองควรพิจารณาให้ดี ว่าสมควร หรือไม่ เด็กโตพอที่จะระมัดระวังป้องกันตัว และไม่ หลงเชอ่ื พวกล่อลวงออนไลนแ์ ล้วหรือยังนอกจากน้ีการ ติดกล้องเว็บแคมที่ต่อติดอยู่กับเครื่องคอมตลอดเวลา เพราะระหว่างที่คุณไม่ได้อยู่หน้าเครื่องคอมฯ แต่ต่อ อินเทอร์เน็ตทิ้งไว้ นักแคร็กมืออาชีพ พวกมิจฉาชีพ ไฮเทค สามารถล็อคเข้ามาในเครื่องของคุณ และส่ัง เปิดกล้องเว็บแคมของคุณ เพื่อแอบบันทึกภาพบ้าน ของคุณ ประตู หน้าต่าง ทางเข้าออก เพื่อเตรียมการ โจรกรรม หรือแอบถ่ายอิริยาบถของคุณตอนที่ไม่รู้ตัว แลว้ เอาไปขายเป็นวีซดี ีประเภทแอบถา่ ยทงั้ หลาย เร่ือง แบบนี้ เกิดขึ้นจริงในต่างประเทศ อาจเกิดขึ้นแล้วใน ประเทศไทย แต่คงยังไม่รู้ตัวกนั ดงั นันให้ถอดกล้องเวบ็ แคมออกทุกครั้งที่ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ และถ้าไม่มีความ จำเป็น ก็ไม่ต้องต่ออินเทอร์เน็ตท้ิงเอาไว้ถึงจะใช้บรอด แบรนด์(ไฮสปีด)อนิ เทอรเ์ น็ตก็ตาม 10 ไม่ควรบันทึกภาพวิดีโอ หรือเสียงที่ไม เหมาะสมบนคอมพิวเตอร์ หรือบนมือถือเพราะภาพ เสียง หรือวีดีโอนั้นๆ รั่วไหลได้ เช่นจากการแคร็ก ข้อมลู หรอื ถูกดาวนโ์ หลดผา่ นโปรแกรม เพยี ร์ ทู เพียร์ (P2P) และถงึ แมว้ า่ คณุ จะลบไฟล์นนั้ ออกไปจากเครื่อง

แลว้ สว่ นใดสว่ นหนึ่งของไฟล์ยังตกค้างอยู่ แล้วอาจถูก ก้กู ลบั ขึน้ มาได้ โดยช่างคอม ช่างมือถือ 11 จดั การกับ Junk Mail จงั ค์ เมล์ หรือ อีเมล์ ขยะปกติ การใช้อีเมล์จะมีกล่องจดหมายส่วนตัว หรือ Inbox กับ กล่องจดหมายขยะ Junk mail box หรือ Bulk Mail เพื่อแยกแยะประเภทของอีเมล์ เราจึงต้อง ทำความเข้าใจ และเรียนรู้ที่จะคัดกรองจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ด้วยตัวเอง เพื่อกันไม่ให้มาปะปนกับ จดหมายดีๆ ซึ่งเราอาจเผลอไปเปิดอ่าน แล้วถูกสปาย แวร์ แอดแวร์เกาะติดอยู่บนเครื่อง หรือแม้แต่ถูกไวรัส คอมพิวเตอร์เล่นงาน เวลาที่คุณใช้อีเมล์ ถ้าใครที่เป็น เพื่อนหรือคนรู้จัก ให้คุณ เซฟ (Save) หรือ บันทึก อีเมล์ของเพื่อนคุณเอาไว้ในสมุดจดที่อยู่( Address Book) ซึ่งจะมีอยู่แล้วใน Inbox หรือกล่องจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ส่วนตัวของคุณ เวลาที่คุณพบอีเมล์ที่มา จากคนไม่รู้จัก อีเมล์ที่มีหัวข้อส่อไปในทางลามก หรือ พยายามขายสินค้า ให้คุณไปคลิกเลือกที่หน้าอีเมล์น้ัน แล้วเลือก Block หรือสกัดกั้น เขาก็จะส่งอีเมล์มาหา เราไม่ไดอ้ ีก แตเ่ นอื่ งจากอีเมลข์ ยะมีจำนวนมากมาจาก หลายที่หลากหลายชื่อผู้ส่งจนบางครั้งเว็บไซต์ที่ ให้บริการอีเมล ของเราเองก็สกัดกั้นไม่ไหว เราก็ต้อง ค่อยๆ เลือกทีละอันแล้ว คลิกแจ้งว่าอีเมล์นี้เป็นอีเมล์

ขยะ (Report as junk mail) ในครั้งต่อไป อีเมล์นั้นก็ จะตกไปอยู่ใน Junk Mail Box แทนบางครั้งอีเมลจ์ าก เพื่อนใหม่ที่เป็นเพื่อนของเราจริงๆ ส่งมาหาเราแต่เรา ยังไม่เคยบันทึกชื่ออีเมล์ของเขาไว้ในaddress book มาก่อน อีเมล์ของเพื่อนคนนั้นก็จะตกไปอยู่ในกล่อง จดหมายขยะปะปนกบั ขยะจรงิ ๆ เราจงึ ต้องหม่ันเข้าไป ตรวจดูกล่องจดหมายขยะ เพื่อเลือกอีกครั้งว่ามี จดหมายดีๆ หลงเข้าไปอยบู่ ้างหรือไม่ ถา้ มี กแ็ ค่บันทึก ชื่ออีเมล์ของเพื่อนคนนั้นไวใ้ นสมุดจดท่ีอยู่ เพื่อที่คราว ต่อไปเมื่อเพื่อนส่งอีเมล์มาหาก็จะตรงเข้ากล่อง จดหมายหลักแทนที่จะเข้ากล่องจดหมายขยะปกติถ้า คุณเป็นคนที่ใช้อีเมล์ ควรหมั่นเข้าไปเช็คเมล์เรื่อยๆ เ พ ร า ะ บ า ง ค ร ั ้ ง อ ี เ ม ล ์ ข ย ะ ก ็ อ า จ จ ะ ท ำ ใ ห ้ พ ื ้ น ท ี ่ รั บ จดหมายของคุณเต็ม ทำให้พลาดโอกาสรับข่าวสารดีๆ หรือข้อมูลสำคัญจากเพื่อนๆคุณควรมีอีเมล์ไว้ใช้อย่าง น้อย 3 อีเมล์แอคเค้าท์ อันแรกอาจเป็นอีเมล์งาน เอาไว้ติดต่อธุรกิจเท่านั้น ซึ่งไม่ควรให้อีเมล์นี้กับคน ทั่วไป อันที่สองคืออีเมล์ไว้ใช้ติดต่อกับเพื่อนๆ และอัน ที่ 3 ใช้เวลาไปกรอกข้อมูลสมัครสมาชิก ร่วมรายการ ชิงโชคต่างๆ เพื่อกันพวกสแปมเมล์ ไวรัสเมล์ แอดแวร์ สปายแวร์ ออกจากอีเมล์หลักที่ใช้เป็นประจำให้มาก ท่สี ดุ

ประโยชน์และโทษของอนิ เทอร์เนต็ อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องเทคโนโลยีสื่อสารที่ เอ้ืออำนวยความสะดวกให้แกผู้ใช้บริการ ในลักษณะ ของการสื่อสารที่ผ่านทางคอมพิวเตอร์ และช่องทาง การสื่อสารชนิดต่างๆ ไม่ได้เป็นการสื่อสารจากบุคคล หน่ึงไปยงั บุคคลหนงึ่ โดยตรง จึงทำให้เกดิ ทั้งประโยชน์ และโทษในการสอ่ื สารบนอินเทอร์เน็ต 1.ประโยชนข์ องอินเทอรเ์ นต็ 1.1. สามารถติดตอ่ สอื่ สารกับบคุ คลอื่นทัว่ โลก 1.2. สามารถค้นหาข้อมูลต่างๆ ได้เสมือนกับ เราไปนั่งอยู่ที่หอ้ งสมุดขนาดใหญ่ได้ขอ้ มูลมากมายจาก ทวั่ ทกุ มุมโลก 1.3. เปรียบเสมือนเวทีให้เข้าไปแสดงความ คิดเห็นได้ภายในห้องสนทนา (chat room) และ กระดานข่าว(Web room) เป็นการเปิดโลกกว้างและ วิสัยทัศนใ์ นเร่อื งท่ีนา่ สนใจ 1.4. สามารถติดตามเคลื่อนไหวจากข่าวสาร ท่ัวโลกอยา่ งรวดเร็ว

1.5. สามารถเปิดการค้าได้ด้วยตัวเอง โดยไม่ ต้องหาทจ่ี ดั ต้ังร้านหรือพนกั งานบรกิ าร แตส่ ามารถทำ การค้าได้ดว้ ยตัวเองคนเดยี ว 2.มารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต เรียกว่าบัญญัติ 10 ประการ -ตอ้ งไม่ใชค้ อมพิวเตอร์หรือละเมิดทำร้ายผูอ้ นื่ -ตอ้ งไมร่ บกวนการทำงานของผู้อ่นื -ต้องไมส่ อดแนม แก้ไข หรอื เปดิ ดแู ฟม้ ผู้อ่ืน -ต้องไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์เพอ่ื การโจรกรรม -ต้องไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์สร้างหลกั ฐานที่เปน็ เทจ็ -ต้องไม่คดั ลอกโปรแกรมของผอู้ ่นื -ต้องไม่ละเมิดในการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยที่ตนเองไมม่ ลี ิขสทิ ธ์ิ -ต้องไม่นำผลงานของผ้อู น่ื มาเปน็ ของตน -ต้องคำนึงถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับสังคมที่เกิดจาก การกระทำของทา่ น -ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฏระเบียบ กตกิ า มารยาท

3.โทษของอนิ เทอรเ์ น็ต - โทษของอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็นแหล่งข้อมูลที่เสียหาย, ข้อมูลไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้อขายของผดิ กฏหมาย, ขายบริการทาง เพศ ทร่ี วมและกระจายของไวรสั คอมพิวเตอรต์ ่างๆ - อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทำ ใหก้ ารควบคมุ กระทำได้ยาก - มีข้อมลู ท่มี ผี ลเสยี เผยแพร่อยูป่ รมิ าณมาก - ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทำให้การค้นหา กระทำได้ไม่ดีเทา่ ที่ควร - เตบิ โตเรว็ เกนิ ไป - ขอ้ มูลบางอย่างอาจไมจ่ รงิ ต้องดูให้ดีเสียก่อน อาจถูกหลอกลวง-กล่ันแกล้งจากเพ่อื น - ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการ เรยี นได้ - ขอ้ มูลบางอย่างกไ็ มเ่ หมาะกบั เดก็ ๆ - ขณะทใี่ ชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต โทรศัพทจ์ ะใช้งานไมไ่ ด้ (น่ันจะเป็นเฉพาะการต่ออนิ เทอร์เนต็ แบบ Dial up แต่

ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงจะสามารถใช้งาน โทรศพั ท์ทีต่ อ่ อินเทอร์เนต็ ไดด้ ว้ ย) - เป็นสถานที่ที่ใช้ติดต่อสื่อสาร เพื่อก่อเหตรุ ้าย เชน่ การวางระเบดิ หรอื ล่อลวงผอู้ ืน่ ไปกระทำชำเรา - ทำให้เสียสุขภาพ เวลาที่ใช้อินเตอร์เนตเป็น เวลานานๆ โดยไมไ่ ดข้ ยบั เคล่อื นไหว 4โรคติดอินเทอรเ์ นต็ โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็นอาการ ทางจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ไดศ้ ึกษาและวเิ คราะห์ไว้วา่ บุคคลใดท่มี ีอาการ ดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเปน็ อาการตดิ อนิ เทอรเ์ น็ต - รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาท่ี ไมไ่ ดต้ ่อเขา้ ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ - มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตขึ้นอยู่เรื่อยๆ ไมส่ ามารถควบคมุ การใชอ้ นิ เทอร์เน็ตได้ - รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรือ หยดุ ใช้ - คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้ว ทำให้ตนเอง รูส้ ึกดขี ึ้น

- ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ในการหลกี เล่ียงปัญหา - หลอกคนในครอบครัว หรือเพ่ือน เรื่องการใช้ อนิ เทอร์เน็ตของตนเอง - มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย ซึ่งอาการดังกล่าว ถา้ มมี ากกวา่ 4 ประการในช่วง 1 ปี จะถือว่าเป็นอาการติดอินเทอร์เน็ต ซึ่งส่งผลเสียต่อ ระบบร่างกาย ทั้งการกิน การขับถ่าย และกระทบต่อ การเรยี น สภาพสงั คมของคนๆ นนั้ ตอ่ ไป 5 อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีที่ทันสมัย แม้จะช่วยอำนวยความ สะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่งที่ต้องยอมรบั ความจรงิ ก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่นและข้อด้อยของตน ทั้งสิ้น ทั้งที่มาจากตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปัญหา อ่นื ๆ เช่น บุคคลที่มจี ดุ ประสงค์รา้ ย ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ เป็นปัญหาหลักที่นับว่ายิ่งมีความรุนแรง เพิ่มมากข้ึน ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และ แหล่งที่เป็นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์เน็ต นับว่า รุนแรงกว่าปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์เสียด้วยซ้ำ

หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นำไอทีมาใช้งาน จึงต้อง ตระหนักในปัญหานี้เป็นอย่างย่ิง จำเป็นต้องลงทุนด้าน บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษาความ ปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพ การวางแผน ติดตาม และประเมินผลที่ต้องกระทำ อย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องแต่ไม่ว่าจะมีการป้องกันดี เพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ก็มีอยู่ เรื่อยๆ ทง้ั นร้ี ะบบการโจมตที ี่พบบอ่ ยๆ ได้แก่ - Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการ ยอมรับว่ามผี ลกระทบต่อสังคมไอทเี ปน็ อยา่ งยิง่ - บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไลพ่ นักงาน ออกจากงานอาจสร้างความไม่พึงพอใจให้กับพนักงาน จนมาก่อปญั หาอาชญากรรมได้เชน่ กนั - Buffer overflow เป็นรูปแบบการโจมตีท่ี ง่ายที่สุด แต่ทำอันตรายให้กับระบบได้มากที่สุด โดย อาชญากรจะอาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ และ ขีดจำกัดของทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่ง คำสั่งให้เครื่องแม่ข่ายเป็นปริมาณมากๆ ในเวลา เดียวกัน ซึ่งส่งผลให้เครื่องไม่สามารถรันงานได้ ตามปกติ หน่วยความจำไม่เพียงพอ จนกระทั่งเกิดการ แฮงค์ของระบบ เช่นการสร้างฟอร์มรับส่งเมล์ที่ไม่ได้

ป้องกัน ผู้ไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์มนั้นในการส่ง ขอ้ มลู กระหนำ่ ระบบได้ - Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้าง ระบบ Backdoors เพ่ือชว่ ยอำนวยความสะดวกในการ ทำงาน ซึ่งหากอาชญากรรู้เท่าทัน ก็สามารถใช้ ประโยชน์จาก Backdoors นน้ั ไดเ้ ชน่ กนั - CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ที่นิยมมากใน การพัฒนาเว็บเซอร์วิส มักเป็นช่องโหว่รุนแรงอีกทาง หนงึ่ ได้เช่นกนั - Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิลด์เก็บรหัสแบบ Hidden ย่อมเป็น ช่องทางท่อี ำนวย ความสะดวกให้กับอาชญากรได้เป็นอย่างดี โดยการ เปิดดูรหัสคำสั่ง (Source Code) ก็สามารถตรวจสอบ และนำมาใช้งานไดท้ นั ที - Failing to Update การประกาศจดุ ออ่ นของ ซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผู้ใช้นำไปปรับปรุงเป็นทางหนึ่งที่ อาชญากร นำไปจู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้ เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรือระบบ จะทำ การปรับปรุง (Updated) ซอตฟ์แวร์ที่มีช่องโหว่นั้น ก็ สายเกินไปเสียแล้ว

- Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ต ย่อมหนีไม่พ้นการส่งค่าผ่านทางบราวเซอร์ แม้กระท่ัง รหัสผ่านต่างๆ ซึ่งบราวเซอรบ์ างรุ่น หรือรุ่นเก่าๆ ย่อม ไม่มีความสามารถในการเข้ารหัส หรือป้องกันการ เรียกดูข้อมูล นี่ก็เป็นอีกจุดอ่อนของธุรกรรม อเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ดเ้ ชน่ กนั - Malicious scripts จะมีการเขียนโปรแกรม ไว้ในเว็บไซต์ แล้วผู้ใช้เรียกเว็บไซต์ดูบนเครื่องของตน อย่างมั่นใจหรือว่าไม่เจอปัญหาอะไร อาชญากรอาจจะ เขียนโปรแกรมแฝงในเอกสารเว็บ เมื่อถูกเรียก โปรแกรมนน้ั จะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอน็ ต์ และ ทำงานตามที่กำหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยที่ผู้ใช้จะไม่ ทราบว่าตนเองเป็นผสู้ ั่งรนั โปรแกรมน้นั เอง - Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ทเ่ี ก็บขอ้ มลู ตา่ งๆ ตามแตจ่ ะกำหนด จะถูกเรียกทำงาน ทันทีเมื่อมีการเรียกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ ยากอีกเชน่ กันท่จี ะเขียนโปรแกรมแฝงอกี ช้ิน ให้ส่งคุกกี้ ทบี่ นั ทึกขอ้ มูลตา่ งๆ ของผู้ใช้สง่ กลับไปยงั อาชญากร - ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสำหรับหน่วยงานท่ี ใช้ไอทีตั้งแต่เริ่มแรก และดำรงอยู่อย่างอมตะตลอด กาล ในปี 2001 พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความ

เสียหายได้สูงสุด เป็นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ใน ทั่วโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ตามลำดบั ทไ่ี ม่หย่อนกว่ากัน จำนวนผู้ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ทว่ั โลก ปัจจุบัน จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก โดยประมาณ 2.095 พันล้านคน หรือ 30.2 % ของ ประชากรทั่วโลก (ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม 2554) โดยเมื่อเปรียบเทียบในทวีปต่าง ๆ พบว่าทวีปที่มีผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือ เอเชีย โดยคิดเป็น 44.0 % ของผู้ใชอ้ ินเทอร์เนต็ ทั้งหมด และประเทศท่ีมปี ระชากร ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือประเทศจีน คิดเป็น จำนวน 384 ล้านคนหากเปรียบเทียบจำนวนผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตกับจำนวนประชากรรวม พบว่าทวีป อเมริกาเหนือมีสัดส่วนผู้ใช้ต่อประชากรสูงที่สุดคือ 78.3 % รองลงมาได้แก่ ทวีปออสเตรเลีย 60.1 % และ ทวปี ยโุ รป คดิ เป็น 58.3 % ตามลำดับ











บรรณานกุ รม http://tc.mengrai.ac.th/paisan/e- learning/internet/page21.htm สืบคน้ วันที่ 18ธันวาคม 2555 http://www.thaigoodview.com/library/teacher show/poonsak/ictinternet/internet_thailand.ht ml สืบคน้ วันท่ี 18ธันวาคม 2555 http://www.nectec.or.th/users/htk/milestones -th.htmlสืบคน้ วันที่ 18ธนั วาคม 2555 http://www.krujongrak.com/internet/internet. htmlสบื คน้ วันที่ 18ธนั วาคม 2555 http://saraded.blogspot.com/2012/08/blog- post_13.htmlสบื คน้ วันที่ 18ธนั วาคม 2555 http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/te chno/WEB%20_JAN/p6.html

สืบค้นวนั ที่ 18ธนั วาคม 2555 http://portal.in.th/inter-korn/pages/2 4 0 8 / สืบค้นวนั ที่ 18ธันวาคม 2555 http://www.learners.in.th/blogs/posts/46078 7สบื ค้นวนั ที่ 18ธนั วาคม 2555 http://blog.eduzones.com/banny/3743สืบค้น วันท่ี 18ธนั วาคม 2555


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook