การดแู ลสายให้อาหารทางหน้าท้อง PERCUTANEOUS ENDOSCOPIC GASTROSTOMY (P.EG) คลนิ กิ ทางเดนิ อาหารและตบั
หวั ขอ้ หลกั 1.ความรทู้ วั่ ไป 2.ขอ้ ดี – ขอ้ เสยี 3.การดแู ลแผลหลงั ใสส่ ายใหอ้ าหารผา่ นทางหน้าทอ้ งสกู่ ระเพาะอาหาร 4.การดแู ลสายใหอ้ าหารทางหน้าทอ้ ง 5.ปัญหาเกย่ี วกบั สายใหอ้ าหารทางหน้าทอ้ งทพ่ี บบ่อย 6.ขอ้ ควรปฏบิ ตั อิ น่ื ๆ 7.แนวทางตดิ ตอ่ กลบั PERCUTANEOUS ENDOSCOPIC GASTROSTOMY (P.EG) 2
ความรทู้ วั่ ไป 3 การใส่สายอาหารทางหน้าท้องคือการ ท า ท า ง ใ ห้ ส า ร อ า ห า ร ผ่ า น ผ นั ง ห น้ า ท้ อ ง สู่ กระเพาะอาหารโดยตรง เป็ นวิธีมาตรฐาน สามารถทาได้ง่ายปลอดภยั โดยไม่ต้องผ่าตดั โดยจะพจิ ารณาทาในผปู้ ่วยทเ่ี สย่ี งต่อการสาลกั ไม่สามารถรบั ประทานอาหารทางปากได้ หรอื ทานไดน้ ้อยกวา่ 60% ของทร่ี ่างกายควรได้รบั หรอื พจิ ารณาทาในผปู้ ่วยทใ่ี สส่ ายให้อาหารทาง จมูกเป็นระยะเวลานานๆ ซ่ึงก่อให้เกิดความ ราคาญ รวมทงั้ ทาใหเ้ กดิ แผลกดทบทจ่ี มูก และ อาจทาให้เกดิ การไหลยอ้ นกลบั ของอาหาร ทา ใหส้ าลกั ไดง้ า่ ย เสย่ี งตอ่ การตดิ เชอ้ื ในปอด กลบั หวั ขอ้ หลกั
ขอ้ ดี - ขอ้ เสยี ขอ้ เสยี ขอ้ ดี ผปู้ ่วยจะมแี ผลเลก็ ๆทห่ี น้าทอ้ ง และจะรเู้ จบ็ แผลหลงั ใสค่ รงั้ แรกประมาณ 2-3 วนั ตอ้ งมกี ารดแู ลหมนุ สาย และทาแผลดว้ ยน้าเกลอื วนั ละ1 ครงั้ ลดภาวะแทรกซอ้ นจากการใสส่ ายใหอ้ าหารทางจมกู เป็นเวลานาน อาทิ แผลกดทบั คา่ ใชจ้ ่ายการทา คา่ วสั ดสุ งู กวา่ NG โดยเฉพาะในการใสค่ รงั้ แรก จากสายทข่ี อบจมกู โพรงจมกู ไซนสั อกั เสบ ลดความราคาญหรอื เจบ็ จากสายในลาคอ 4 ลดการสาลกั อาหารเขา้ ปอด ลดความถ่ีของการตอ้ งเปลี่ยนสายจากทุกเดือนเป็นมากกวา่ 6 เดือนคร้ัง เน่ืองจากสาย PEG ผลิตจากวสั ดุที่คงทนกวา่ จึงรองรับอาหารไดด้ ีกวา่ และใชไ้ ดน้ านกวา่ เพิ่มประสิทธิภาพการฝึ กกลืน เพ่ือความสวยงามเนื่องจากสามารถซ่อนสายไวภ้ ายในเส้ือผา้ ได้ กรณีไม่จาเป็นตอ้ งใส่สายต่อไป เช่น หลงั ฉายรังสีครบ หรือหายจากโรคตน้ เหตุจนทาให้ กลบั มากินทางปากไดด้ ีปกติ เพยี งพอต่อความตอ้ งการของร่างกาย กส็ ามารถนาสาย PEG ออก โดยแพทย์ และรูแผลจะปิ ดเองภายใน 2-3 วนั หรือกรณีวนั ท่ีกินเองทางปากไดด้ ี กเ็ พยี งปิ ดจุก PEG ไวไ้ มต่ อ้ งใชง้ าน กลบั หวั ขอ้ หลกั
การดแู ลแผลหลงั ใสส่ ายใหอ้ าหารผา่ นทางหน้าทอ้ งสกู่ ระเพาะอาหาร สงั เกตระดบั ของสายใหอ้ าหารทางหน้าทอ้ ง ซง่ึ มเี ลขกากบั อยแู่ ละมแี ผน่ ตรงึ สาย 5 ให้อยู่กบั ท่ีและจดจาไว้ เพ่อื ป้องกนั ไม่ให้สายเล่อื นเข้าไปในกระเพาะอาหารมาก เกนิ ไปหรอื ดงึ รงั้ ออกขา้ งนอกซง่ึ อาจหลุดได้ กอ่ นทาความสะอาดแผลทกุ ครงั้ ตอ้ งลา้ งมอื ใหส้ ะอาดและเชด็ มอื ใหแ้ หง้ ผู้ป่ วยสามารถอาบน้าได้ตามปกติ(ยกเว้นมขี อ้ ห้ามจากแพทย์) และทาความ สะอาดแผลตามปกติ (ถา้ ขอบแผลอกั เสบยงั ไมค่ วรอาบน้า) ใน 1-2 สปั ดาหแ์ รก หลงั ใสส่ ายใหอ้ าหารทางหน้าทอ้ ง ควรทาความสะอาดแผล ทกุ วนั โดยใชไ้ มพ้ นั สาลชี ุบน้าเกลอื เชด็ รอบแผลจนสะอาด ซบั ใหแ้ หง้ แลว้ วางผา้ ก๊อซ ปราศจากเช่อื ทงั้ สองขา้ งจากนัน้ แปะพลาสเตอร์ชดิ ตวั สายให้ตงั้ ฉาก เพ่ือตรงึ ไม่ให้ สายโยกขยบั ระหวา่ งวนั เมอ่ื แผลแหง้ ดแี ลว้ ใหใ้ ชน้ ้าเกลอื ลา้ งแผล หรือ น้าตม้ สกุ ทา ความสะอาดแผลและใตแ้ ป้นสายสวนใหส้ ะอาดเชด็ ใหแ้ หง้ และปิดผา้ กอ๊ ซไว้ เมอ่ื พบวา่ บรเิ วณแผลรเู ปิดมอี าการบวมแดง มอี าหารหรอื ของเหลวออกมาจาก แผลควรรบี ปรกึ ษาแพทย์ กลบั หวั ขอ้ หลกั
การดแู ลสายใหอ้ าหารทางหน้าทอ้ ง 6 ทาความสะอาดสายใหอ้ าหารดา้ นนอกและขอ้ ต่อดว้ ยสบ่แู ละน้าสะอาด สว่ น สายสวนชนดิ ระดบั ผวิ หนงั ใชไ้ มพ้ นั สาลชี ุบน้าสะอาดเชด็ ไมค่ วรหกั หรอื พบั งอสายใหอ้ าหารนานเกนิ ไป อาจทาใหส้ ายแตกหกั หรอื พบั งอทาใหเ้ กดิ การอุดตนั ได้ ควรหมนั่ ตรวจสอบว่าตาแหน่งของสายท่ีระดบั ผิวหนังอยู่ในตาแหน่งท่ี ถกู ตอ้ ง เน่อื งจากสายอาจเลอ่ื นเขา้ ไปในกระเพาะมากเกนิ ไป ควรหมุนตวั สายทุก 2 - 3 วนั เพอ่ื ป้องกนั การฝัง ของหวั เปิดในช่อง กระเพาะอาหาร ไม่ควรใชอ้ าหารทม่ี คี วามรอ้ นเพราะจะทาใหอ้ ายุการใชง้ านน้อยลง ซง่ึ ปกติ จะใชไ้ ดน้ าน 6 - 8 เดอื น กลบั หวั ขอ้ หลกั
ปัญหาเกย่ี วกบั สายใหอ้ าหารทางหน้าทอ้ งทพ่ี บบอ่ ย 1.สายใหอ้ าหารเป็นคราบสกปรก 7.ผวิ รอบแผลรเู ปิดแดงและเจบ็ 2. การอุดตนั ของสาย 8.ทอ้ งอดื คลน่ื ไส้ อาเจยี น 3.สายใหอ้ าหารหลดุ 9.สาลกั 4.การมเี น้ือเยอ่ื แดงทแ่ี ผลรเู ปิด หรอื มตี ง่ิ เน้อื 5.การรวั่ ซมึ รอบๆสายใหอ้ าหาร 6.มกี ารยดึ ตดิ ของเน้ือเยอ่ื รอบๆรเู ปิดกกบั สายใหอ้ าหาร กลบั หวั ขอ้ หลกั 7
1.สายใหอ้ าหารเป็นคราบสกปรก VDO 8 สาเหตุ ❖ ลา้ งสายไมส่ ะอาด ❖ อาหารทข่ี น้ เกนิ ไป แนวทางแก้ไข ใหน้ ้าสม้ สายชู 5 CC ต่อ น้าอุ่น 15 cc. ฉีดผ่าน สายแลว้ หกั พบสายทางหน้าทอ้ งไวใ้ หน้ ้าหล่อภายในสาย นานประมาณ 15 นาที ทาจนน้าหมดแก้ว ควรทา สปั ดาหล์ ะ 1-2 ครงั้ กลบั หวั ขอ้ ปัญหา
2.การอุดตนั ของสาย 9 สาเหตุ เกิดจากการบดยาไม่ละเอียด การใหอ้ าหารที่หนืดเกินไป หรือการใหน้ ้าตามหลงั การ ให้อาหาร หรือ ยาไม่ดีพอ ซ่ึงถา้ เกิดการอุดตน้ อาจลองใชน้ ้าอุ่นค่อยๆลา้ งและลองดูดดว้ ย กระบอกใหอ้ าหาร ถา้ ยงั อุดตนั ใหป้ รึกษาแพทยก์ ารป้องกนั การอุดตนั ของสาย แนวทางแก้ไข ❖ ใหน้ ้าหลงั ใหอ้ าหาร หรือ นมทุกคร้ังอยา่ งนอ้ ย 20 - 30 ซีซี(ในกรณีจากดั ปริมาณน้าดื่ม ควรปรึกษาแพทย)์ ❖ ใหน้ ้าก่อนและหลงั ใหย้ าทุกคร้ัง ❖ กรณีท่ีใหอ้ าหารแบบหยดชา้ ๆต่อเนื่องหลายชว่ั โมงควรใหน้ ้าอยา่ งนอ้ ยทุก 4 ชว่ั โมง และทุกคร้ังที่หยดุ เครื่องควบคมุ การไหลของอาหาร กลบั หวั ขอ้ ปัญหา
3.สายใหอ้ าหารหลดุ 4.การมเี น้ือเยอ่ื แดงทแ่ี ผลรเู ปิด หรอื มตี งิ่ เน้อื โดยปกตผิ ูป้ ่วยจะไม่สามารถดงึ สายออกมาจากกระเพาะอาหารไดโ้ ดยง่าย นอกจากถูกดงึ แรงๆ หากสายหลุดออกมาใหใ้ ช้ผ่าก๊อซปิดรูแผลไว้ และรบี ไปพบ เป็นปัญหาทพ่ี บบ่อยแต่ไม่อนั ตรายซง่ึ อาจทาใหม้ เี ลอื ดออกได้บ้าง ใหเ้ ชด็ แพทยโ์ ดยนาสายใหอ้ าหารทห่ี ลุดออกไปดว้ ยโดยทนั ที ไม่ควรทง้ิ ขา้ มคืนเพราะรูท่ี ดว้ ยผา่ ก๊อซ แลว้ กดไว้ 1 - 2 วนั เลอื ดจะหยดุ เอง ถา้ มปี ัญหาสงสยั ใหพ้ บแพทย์ ใสอ่ าจปิด ทาใหใ้ สส่ ายไมไ่ ด้ กลบั หวั ขอ้ ปัญหา 10
5.การรวั่ ซมึ รอบๆสายใหอ้ าหาร 6.มกี ารยดึ ตดิ ของเน้อื เยอ่ื รอบๆ รเู ปิดกกบั สายใหอ้ าหาร สาเหตุ การอดุ ตนั ของสาย การตดิ เชอ้ื ทแ่ี ผลรเู ปิด หรอื อาจเกดิ จากสายท่ใี ชม้ ขี นาด ป้องกนั โดยหมุนตวั สายใหอ้ าหาร 360 องศา เลก็ กว่าแผลรเู ปิดทท่ี าไวห้ รอื อาจเกดิ จากการใหอ้ าหารมากเกนิ ไป แนวทางแก้ไข ใหอ้ าหารหยดชา้ ๆระหว่างใหอ้ าหารใหน้ อนตะแคงขวาลงก่งึ นงั่ -ก่งึ นอน หรอื ยกหวั เตยี งประมาณ 30-45 องศา เชด็ ทาความสะอาดรอบๆรูเปิดแผล แล้วใชผ้ ่า ก๊อซรองไวส้ าหรบั ดดู ซบั สงิ่ รวั่ ซมึ และควรปรกึ ษาแพทย์ กลบั หวั ขอ้ ปัญหา 11
7.ผวิ รอบแผลรเู ปิดแดงและเจบ็ 12 สาเหตุ ❖ เกดิ จากน้ายอ่ ยจากกระเพาะรวั่ ❖ เกดิ จากแพว้ สั ดทุ ท่ี าสายใหอ้ าหารหรอื พลาสเตอรป์ ิดแผล แนวทางแก้ไข ❖ ควรทาความสะอาดบอ่ ยๆ และทาใหแ้ หง้ อาจใชผ้ งสาหรบั ป้องกนั ผวิ หนงั เชน่ Stomahesive โรยบรเิ วณผวิ หนงั รอบแผล ❖ อาจตอ้ งเปลย่ี นชนิดของสายใหอ้ าหารและพลาสเตอร์ ถา้ แผลแหง้ ดไี มจ่ าเป็นปิด ดว้ ยก๊อซและพลาสเตอร์ แต่หากผวิ หนงั รอบแผลรเู ปิดบวมแดงหรอื มหี นองไหลหรอื มไี ขร้ ว่ มดว้ ยแสดงว่า มกี ารตดิ เชอ้ื ควรปรกึ ษาแพทย์ กลบั หวั ขอ้ ปัญหา
8.ทอ้ งอดื คลน่ื ไส้ อาเจยี น 13 สาเหตุ เกดิ จาก การใหอ้ าหารเรว็ เกนิ ไป หรอื มากไป แนวทางแก้ไข ❖ กรณี ใหอ้ าหารมากเกนิ ไป อาจดดู อาหารออกก่อน แลว้ แบง่ อาหารใหจ้ านวนน้อย แต่บอ่ ยขน้ึ ❖ กรณใี หอ้ าหารเรว็ เกนิ ไป อาจเปลย่ี นใหช้ า้ ลงโดยใชช้ ดุ ปรบั อตั ราการไหลชนดิ หยด ❖ การจดั ทา่ ผปู้ ่วยขณะใหอ้ าหารควรนอนศรี ษะสงู 30-45 องศาหรอื ใหน้ งั่ เกา้ อห้ี รอื พงิ เตยี ง ❖ ควรใหน้ อนอยใู่ นท่าศรษี ะสงู หลงั ใหอ้ าหารเสรจ็ อยา่ งน้อย 30-60 นาที กลบั หวั ขอ้ ปัญหา
9.สาลกั 14 สาเหตุ เกดิ จากอาหารไหลยอ้ นจากกระเพาะไปหลอดลมและปอด แนวทางป้ องกนั ❖ การจดั ท่าผปู้ ่วยขณะใหอ้ าหารควรนอนศรี ษะสงู 30-45 องศาหรอื ใหน้ งั่ เก้าอ้หี รอื พงิ เตยี ง ❖ ควรใหน้ อนอยใู่ นท่าศรษี ะสงู หลงั ใหอ้ าหารเสรจ็ อยา่ งน้อย 30-60 นาที กลบั หวั ขอ้ ปัญหา
ขอ้ ควรปฏบิ ตั อิ น่ื ๆ 15 ❖ ควรเปลย่ี นสายทุก 6 เดอื น หรอื เมอ่ื มสี ายบวม หมดสภาพ ❖ ตอ้ งทาความสะอาด ปาก ลน้ิ และฟันของผปู้ ่วยทุกวนั ถงึ แมจ้ ะไมไ่ ดใ้ หอ้ าหารทาง ปาก ❖ ถา้ ผปู้ ่วยสามารถบว้ นปากไดค้ วรใหบ้ ว้ นปากบอ่ ยๆ เพอ่ื ป้องกนั มใิ หป้ ากแหง้ และ ป้องกนั การตดิ เชอ้ื กลบั หวั ขอ้ หลกั
แนวทางตดิ ต่อกลบั ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนข้างต้นให้ไปพบแพทย์ โรงพยาบาลใกล้บา้ นหรอื โรงพยาบาลท่ที ่านมสี ิทธอิ ยู่ หรือโทรมาท่สี ถาบนั มะเร็งแห่งชาติ ทางเดนิ อาหาร และตบั โทร 0 2202 6800 หรอื 0 2202 6888 ต่อ 1200 PERCUTANEOUS ENDOSCOPIC GASTROSTOMY (P.EG)
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: