หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ระบบในร่างกายของมนษุ ย์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
แผนผงั หัวข้อ หน่วยการเรยี นรู้ ▪ ระบบหายใจ ▪ ระบบขบั ถ่าย ▪ ระบบหมุนเวียนเลอื ด ▪ ระบบประสาท ▪ ระบบสืบพนั ธ์ุ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
1 ระบบหายใจ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
ระบบหายใจ ทาหน้าท่นี าออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพื่อนาไปใช้ ในเซลล์ และกาจัดแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ออกจากรา่ งกาย วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
ความสาคัญ ของระบบหายใจ นาแก๊สออกซิเจนจากภายนอกร่างกายเข้าสู่ รา่ งกาย เพ่อื ขนสง่ ไปยงั เซลล์ตา่ ง ๆ ทัว่ ร่างกาย นาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์กาจัดออก นอกร่างกาย ให้พลังงานท่ีส่ิงมีชีวิตต้องใช้เพ่ือการเคล่ือนท่ี การเจริญเติบโต และซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอของ รา่ งกาย วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
อวัยวะและหนา้ ที่ของอวยั วะในระบบหายใจ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
กระบวนการ ในการหายใจ 1. กระบวนการเก่ยี วข้องกับการสูดลมหายใจ 2. กระบวนการแลกเปลีย่ นแก๊สระหว่างพน้ื ท่ีผิวของ ปอดกบั เลอื ด 3. กระบวนการแลกเปล่ียนแก๊สระหว่างเลือดกับ เซลลใ์ นรา่ งกาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
การสูดลมหายใจเกิดข้ึนเมื่ออากาศผ่านจมูก เข้าสู่โพรงจมูก ท่อลม ขั้วปอด และเข้าสู่ปอด เมื่อมีการแลกเปลี่ยนแล้ว แก๊สคารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกจากปอดสบู่ รรยากาศ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
กลไกในการ หายใจเขา้ ขณะท่ีกระดูกซี่โครงยกสูงขึ้น กะบัง ลมเล่ือนตา่ ลง ทาให้ปริมาตรช่องอกมี มากขน้ึ ความดนั อากาศลดลง อากาศ ภายนอกจึงผ่านเขา้ สู่ปอด เป็นจังหวะ หายใจเขา้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
กลไกในการ ขณะที่กระดูกซ่ีโครงเคลื่อนต่าลง หายใจออก กะบังลมเล่ือนสูงข้ึน ทาให้ปริมาตร ของช่องอกลดลง ความดันอากาศ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2 ภายในช่องอกสูงขึ้น อากาศภายใน จึงไหลออกจากช่องอก เป็นการ หายใจออก
การแลกเปล่ยี นแกส๊ ระหว่าง พน้ื ท่ีผวิ ของปอดกับเลือด การแลกเปล่ียนแก๊สออกซิเจน กั บ แ ก๊ ส ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ จะเกิดขึ้นที่บริเวณถุงลมในปอด กับหลอดเลือดฝอยรอบ ๆ ถุงลม และระหว่างหลอดเลือดฝอยกับ เน้ือเยอ่ื วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
การแลกเปล่ียนแกส๊ ระหว่างเลือดกับเซลล์ แก๊สออกซิเจน ผ่านผนงั หลอด จบั กบั เฮโมโกลบนิ ใน หัวใจ เซลลต์ า่ ง ๆ ในถงุ ลม เลือดฝอย เซลล์เม็ดเลอื ดแดง ท่ัวรา่ งกาย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หวั ใจหอ้ ง หวั ใจห้อง ปอด แลว้ แพร่ หายใจออก ในถุงลมแพรผ่ ่านผนัง บนขวา ล่างขวา ผา่ นผนงั บาง ๆ หลอดเลอื ดฝอยเขา้ สู่เลอื ด ของถงุ ลมในปอด วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
โรคท่ีเก่ียวขอ้ ง กบั ระบบหายใจ โรคภูมิแพ้ เกิดจากการหายใจ นาฝุ่นละอองเขา้ ส่ปู อดตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลานาน ทาให้เกิดอาการ จาม ไอ คัดจมูก เจ็บคอ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
โรคท่ีเก่ียวขอ้ ง โรคมะเร็งปอด เกิดจากสารเคมี กบั ระบบหายใจ ป น เ ป้ื อ น จ า ก ก า ร สู บ บุ ห ร่ี อาการเบ้ืองต้น คือ หายใจฝืด วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2 ไอเร้ือรัง มีเสมหะและเลือดออก หายใจเหนื่อย เบือ่ อาหาร
โรคท่ีเก่ียวขอ้ ง โรคถุงลมโป่งพอง ส่วนใหญ่เกิด กบั ระบบหายใจ จากการสูบบุหรี่ เน้ือเย่ือในปอด ถกู ทาลาย ทาใหก้ ารแลกเปล่ียน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2 แก๊สออกซิเจนลดลง
การดแู ลรกั ษา อวัยวะในระบบหายใจ รบั ประทานอาหารให้เพียงพอครบ 5 หมู่ ออกกาลังกายสมา่ เสมอ อยู่ในบรเิ วณที่มอี ากาศบริสทุ ธิ์ ไม่สวมเส้อื ผ้า เครอื่ งแตง่ กาย ที่รดั แน่นเกนิ ไป ไมส่ ูบบุหร่หี รืออยู่ในบริเวณทม่ี กี ารสูบบุหรี่ ไม่หายใจทางปาก รักษารา่ งกายให้อบอุน่ อยเู่ สมอ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
2 ระบบขับถา่ ย วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
ระบบขับถ่าย ทาหน้าท่ีขับของเสียของร่างกาย ได้แก่ น้า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และยูเรียออกจากร่างกายทาง อวยั วะต่าง ๆ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
ความสาคัญ ของระบบขบั ถ่าย ควบคมุ ความเปน็ กรดตา่ ง ๆ ในร่างกายให้เหมาะสม ควบคมุ ปรมิ าณนา้ ในร่างกายใหส้ มบรู ณ์ ควบคุมปริมาณสารทเี่ ป็นพษิ ตอ่ ร่างกาย ควบคุมปริมาณสารท่มี มี ากเกนิ ความตอ้ งการ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
อวยั วะขบั ถา่ ยของเสยี วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
การกาจดั ไต ทาหน้าทกี่ าจัดของเสีย เชน่ ยูเรีย ของเสียทางไต แอมโมเนีย กรดยูริก รวมทั้งสารที่ ร่างกายไม่ต้องการออกจากเลือด วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2 และควบคุมสารที่มีมากหรือน้อย เกินไป เช่น น้า โดยขับออกมาในรูป ของปัสสาวะ
การกาจัด ของเสยี ทางผวิ หนัง ผิ ว ห นั ง ท า ห น้ า ที่ ก า จั ด ข อ ง เ สี ย เรียกว่า เหงื่อ โดยถูกลาเลียงผ่าน ห ล อ ด เ ลื อ ด ใ น ชั้ น ผิ ว ห นั ง แ ท้ มารวมกันเป็นต่อมเหงื่อ และระเหย ออกจากรา่ งกายทางรเู หงอื่ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
การกาจดั ของเสียทางปอด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับน้า ซึง่ เกิด จากการเผาผลาญภายในเซลล์และ แพร่เข้าสู่เลือด จากนั้นถูกลาเลียงไป ยงั ปอด ซง่ึ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์จะ แพร่จากเลือดเข้าสู่ถุงลมในปอด และ ถูกขบั ออกโดยการหายใจออก วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
การกาจัดของเสีย ทางลาไสใ้ หญ่ อ า ห า ร ท่ี เ ห ลื อ จ า ก ก า ร ย่ อ ย แ ล ะ ดูดซมึ แล้วจะเข้าสู่ลาไส้ใหญ่ท่ีบริเวณน้ี น้า แร่ธาตุ วิตามิน และกลูโคสจะ ถูกดูดซึม ทาให้กากอาหารข้นขึ้น จนเป็นก้อน จากน้ันถูกกาจัดออกมา ผา่ นทวารหนัก ท่ีเรียกว่า อจุ จาระ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
แนวทางการปฏิบตั ติ นทช่ี ว่ ย ให้ระบบขับถา่ ยทาหน้าท่ปี กติ เลอื กรับประทานอาหารที่เหมาะสม รับประทานอาหารที่สะอาดและมีสารอาหาร ต่าง ๆ ในปรมิ าณที่พอเหมาะ รบั ประทานอาหารท่มี ีกากใย เคี้ยวอาหารใหล้ ะเอียด ดื่มน้าสะอาดให้เพียงพอต่อความต้องการ ของร่างกาย ขับถา่ ยใหเ้ ป็นเวลา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
3 ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
ระบบหมุนเวยี นเลือด ทาหนา้ ที่นาอาหารและแกส๊ ออกซิเจน ไปยังเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
ความสาคญั ของ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ลาเลียงแก๊สออกซิเจนและสารอาหารท่ี จาเปน็ ต่อการดารงชีวติ ขนส่งน้า สารอาหาร แร่ธาตุ ฮอร์โมน สารภูมิคุม้ กนั ไปสูเ่ ซลล์ รับสิ่งขับถ่ายจากเซลล์หมุนเวียนไปยัง อวัยวะขบั ถ่าย วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
อวยั วะในระบบหมนุ เวียนเลอื ด วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
หวั ใจ ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วน ต่างๆ ของร่างกาย เกิดการ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2 แลกเปล่ียนแก๊ส หลังจากนั้น เลือดไหลกลับเขา้ สู่หวั ใจตามเดมิ
หลอดเลือด หลอดเลือด แบ่งเป็น 3 ประเภท หลอดเลือดอาร์เตอรี เป็นหลอดเลือด วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2 ท่ีนาเลือดออกจากหวั ใจ หลอดเลือดเวน เป็นหลอดเลือดที่ นาเลือดเข้าสหู่ ัวใจ หลอดเลือดฝอย เปน็ หลอดเลอื ดท่ีเช่ือม ระหว่างปลายหลอดเลือดอาร์เตอรีเล็ก กับปลายหลอดเลอื ดเวนเล็ก
เลอื ด เลือด ประกอบด้วย วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2 พลาสมา หรือ น้าเลือด เปน็ ของเหลว ประกอบด้วยนา้ เปน็ ส่วนใหญ่ เซลลเ์ ม็ดเลอื ด ประกอบดว้ ย เซลล์เมด็ เลือดแดง ทาหนา้ ทล่ี าเลียง ออกซเิ จน และเซลล์เมด็ เลือดขาว ทาหน้าที่กาจัดเช้ือโรค เพลตเลต หรอื เกลด็ เลอื ด ทาหนา้ ท่ี เก่ียวข้องกบั การแขง็ ตัวของเลอื ด
การหมุนเวยี นเลอื ดผ่านหวั ใจ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
ความดันเลือด เกิดจากการบีบตัวของหัวใจ ค่าความดัน เลือดจะสูงมากในหลอดเลือดอาร์เตอรีท่ี วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2 ใกล้หวั ใจ จะลดลงเมื่อออกห่างจากหัวใจ การวัดค่าความดันเลือดจะวัดความดัน ของเส้นเลือดอาร์เตอรีที่ต้นแขน โดยค่า ความดันที่วัดไดใ้ นหน่วย มิลลิเมตรปรอท จะมี 2 คา่ เช่น 120/80 มิลลเิ มตรปรอท
ชพี จร ชีพจร คือ จังหวะการหดตัวและคลายตัว ของหลอดเลือด ซึ่งสอดคล้องกับการเต้น วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2 ข อ ง หั ว ใ จ โ ด ย ส า ม า ร ถ วั ด ไ ด้ จ า ก หลอดเลือดอารเ์ ตอรที ่ีอยู่ต้นื ๆ อตั ราเต้นของชีพจรของเพศชายประมาณ 70 คร้ังต่อนาที และเพศหญิง ประมาณ 75 ครั้งต่อนาที อัตราการเต้นของชีพจร จะแตกต่างกนั ในแต่ละบคุ คล
การดแู ลรักษาอวัยวะใน ระบบหมนุ เวียนเลอื ดให้ ทางานไดอ้ ย่างปกติ เลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย ไมค่ วรรบั ประทานอาหารท่ีมีไขมันสูง ดื่มน้าในปรมิ าณที่เหมาะสมต่อรา่ งกาย ออกกาลงั กายสมา่ เสมอใหเ้ หมาะสมกบั วัย หลีกเล่ียงการสบู บหุ รี่ พักผ่อนให้เพยี งพอ ทาจติ ใจใหร้ า่ เรงิ แจม่ ใส หมัน่ ตรวจสขุ ภาพเป็นประจา โดยการพบแพทย์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
4 ระบบประสาท วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
ระบบประสาท ทาหน้าที่ควบคุมระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้ แสดงพฤตกิ รรมตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
ความสาคัญ ของระบบประสาท ควบคุมให้ระบบต่าง ๆ ทางานประสานกัน เพ่ือให้ รา่ งกายอยูไ่ ด้อย่างปกติ ออกคาสั่งให้กล้ามเน้ือไปควบคุมการทางานของอวัยวะ ต่าง ๆ ประมวลข้อมูลที่ได้จากประสาทสัมผัสท้ัง 5 ของ ร่างกาย และออกคาสั่งให้อวัยวะต่าง ๆ ทากิจกรรมอย่าง เต็มที่และเป็นปกติ ควบคมุ สุขภาพการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
อวยั วะในระบบประสาท วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
สมอง สมอง แบ่งเป็น 2 ซีก ซกี ซ้ายควบคุมการทางาน ของอวัยวะซีกขวา และซีกขวาควบคุมการ ทางานของอวัยวะซีกซา้ ย วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2 สมองแบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ สมองส่วนหน้า ควบคุมความจา เชาวน์ ปัญญา และการรับ ความรู้สึก สมองส่วนกลางควบคุมการมองเห็น และได้ยิน และสมองส่วนท้ายควบคุมและ ประสานงานเก่ียวกับการทางานของกล้ามเน้ือให้ ทางานอย่างละเอียดออ่ น
ไขสนั หลงั ไขสันหลัง ทาหน้าท่ีเป็นศูนย์กลาง การเคล่ือนไหวต่าง ๆ ท่ตี อบสนอง การสมั ผสั ทางผิวหนงั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
การสง่ กระแสประสาท การส่งกระแสประสาทระหวา่ งเซลล์ต้องอาศัย เซลล์ประสาทท่ปี ระกอบด้วย ตวั เซลล์ แอกซอน เดนไดรต์ สง่ กระแสประสาทผ่านจดุ ประสานที่อยู่ปลาย เดนไดรต์ ที่เรยี กวา่ ไซแนปส์ กระแสประสาทเคลื่อนมาถึงปลายแอกซอน ถุงบรรจุสารสื่อประสาทจะเชื่อมกับเย่ือห้มุ เซลล์ ก่อนไซแนปส์ แล้วหล่งั สารสือ่ ประสาทออกมา กระตนุ้ ใหเ้ กดิ กระแสประสาททีป่ ลายเดนไดรต์ อีกเซลล์หน่ึง เกดิ การถ่ายทอดกระแสประสาทไปเร่อื ย ๆ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
การทางานของระบบประสาท ไขสนั หลัง และสมอง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
การดูแลรกั ษาระบบประสาท ใหท้ างานไดอ้ ยา่ งปกติ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ หรือการกระทบกระเทือนที่มี ผลกระทบบรเิ วณศีรษะ บารุงร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ โดยรับประทานอาหาร ทม่ี ีคุณคา่ ทางโภชนาการครบ 5 หมู่ งดอาหารท่ีหวานจดั เค็มจดั และอาหารมัน ดูแลสุขภาพสม่าเสมอ และตรวจสอบอวัยวะท่ีเก่ียวข้อง กับอวัยวะรับความรสู้ กึ ของระบบประสาท หลีกเลี่ยงการรับประทานยากล่อมประสาทท่ีมีผลต่อการ ทางานของเซลลป์ ระสาทหรอื ระบบประสาท วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
5 ระบบสืบพนั ธ์ุ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
ระบบสืบพันธุ์ คือ ระบบของอวัยวะในร่างกายของส่ิงมีชีวิตท่ี ทางานร่วมกัน ทาหน้าที่สืบพันธ์ุ เพ่ือเพิ่มจานวนส่ิงท่ีมีชีวิต ใหม้ ากขน้ึ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
การสืบพันธ์ุของมนุษย์ต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์เพศชายและ เพศหญงิ ปฏสิ นธิกนั ไดไ้ ซโกต และเจรญิ เตบิ โตเป็นเอ็มบริโอ เซลลอ์ สจุ ิ + เซลลไ์ ข่ ไซโกต เอ็มบริโอ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
เซลลส์ บื พนั ธุ์ เซลลอ์ สจุ ิ เปน็ เซลลส์ บื พนั ธุ์เพศชาย เซลล์ไข่ เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง ที่เคลื่อนท่ีได้ สร้างจากอวัยวะ ท่ีสร้างจากอวัยวะภายในร่างกาย ภายในร่างกายของเพศชาย ของเพศหญิง เคลอ่ื นทีไ่ ม่ได้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.2
ความสาคญั ของระบบสืบพันธุ์ ส่ิงมชี วี ติ ทุกชนิดต้องสรา้ งส่ิงมีชีวิตตัวใหม่ที่เหมือนตัวเองเพ่ือ ไม่ให้สูญพันธ์ุ ระบบน้ีเป็นสมบัติที่ขาดไม่ได้ เพ่ือการดารง เผา่ พันธไ์ุ มใ่ หส้ ูญหายไปจากโลก วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.2
Search