Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สังคมวิทยาอีสาน

สังคมวิทยาอีสาน

Description: สังคมวิทยาอีสาน

Search

Read the Text Version

ศ. ๑๓๐ กบฏบวรเดช (พ.ศ. ๒๔๗๖) โดยคณะก้บู ้านก้เู มือง พล เอกพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบวรเดช เป็ นหัวหน้า กบฏวังหลวง (พ.ศ. ๒๔๙๒) โดยนายปรีดี พนมยงค์ เป็ นผ้นู า รวมไปถึงกบฏผีบุญ ในภูมิภาคอีสาน (พ.ศ. ๒๔๔๔-๒๔๔๕) โดยผู้นากบฏท่ีต้องการ เปลย่ี นแปลงสงั คม ทว่ามาในยุคหลัง นับตงั้ แต่ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญท่ี รองรับสิทธิของประชาชน (พ.ศ.๒๕๔๐) ซงึ่ เปิ ดกว้างในเรื่องสิทธิของ การชมุ นมุ และการเคลื่อนไหวทางสงั คม ท่าทีที่ผ้คู นมองกล่มุ คนท่ีเห็น ตา่ งนบั วา่ มีความแตกต่างจากยุคก่อนหน้า คือ สงั คมมีความเข้าใจวา่ กลุ่มคนท่ีลุกขึน้ มาและทาการเคล่ือนไหวต่าง “มีเหตุมีผล” มี วตั ถปุ ระสงค์และอดุ มการณ์ท่ีต้องการเปลี่ยนแปลงระดบั สงั คมที่พวก เขาเป็นอย่ไู ปสสู่ งั คมท่ีดงี าม เป็นสงั คมท่ีมแี ตค่ วามยตุ ิธรรม ฉะนัน้ ในการให้ความหมาย “ขบวนการเคล่ือนไหวทาง สงั คม” ในระยะหลงั จงึ หมายถงึ การรวมกลมุ่ กระทาการทางสงั คมของ กลุ่มคน เพ่ือทาให้เกิด “การเปลี่ยนแปลง” หรือ “ต่อต้านการ เปลี่ยนแปลง” ทางสงั คมไปในทิศทางที่ต้องการ อนั เป็ นไปเพ่ือการ ตอบสนองข้อเรียกร้องที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกนั ของกล่มุ คนท่ีเข้าร่วม ขบวนการเคลอื่ นไหวทางสงั คม ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมจึงมิใช่การรวมตวั กันของ กลุ่มคนเพ่ือกระทาการในลักษณะเฉพาะกิจหรือเป็ นการทางาน ๑๔๑

ร่วมกันในองค์กร หน่วยงาน สถาบันท่ัวๆ ไป แต่มีลักษณะของการ ผลักดนั ในประเด็นใดประเด็นหน่ึงของกล่มุ คนท่ีมีวัตถุประสงค์และ อดุ มการณ์ร่วมกนั โดยเฉพาะความต้องการท่ีอยากจะเปลี่ยนแปลง สงั คมไปสสู่ งั คมท่ีดีกวา่ เดิมหรือเปล่ยี นแปลงไปสทู่ างเลือกใหมๆ่ นิยามขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมตงั้ แต่ยคุ หลงั เป็ นต้น มา จึงอาจสอดคล้องกับ ผาสุก พงษ์ไพจิตร (๒๕๔๓) ที่ได้นิยาม ขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมว่า เป็ นเรื่องของการรวมกลุ่มเพื่อ กระทาการรวมหมู่ (collective action) ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมโดยทั่วๆ ไปจึงอาจมี วัตถุประสงค์ของกลุ่มที่แตกต่างกัน เช่น กรณีขบวนการกบฏผีบุญ อีสาน (พ.ศ.๒๔๔๔) ท่ีกลมุ่ เคลอื่ นไหวนาเอาอดุ มการณ์พระศรีอาริย์๑ ๑ (๑) อดุ มการณ์พระศรีอาริย์ในสงั คมอีสานเช่ือวา่ เมื่อใกล้สิน้ พทุ ธกาล ๕,๐๐๐ ปี โลก จากมีความเลวร้ายท่สี ะสมกนั อยา่ งยาวนาน ผ้คู นระส่าระสาย บ้านเมืองตกอย่ใู นภาวะ มิคสัญญี แต่เมื่อถึงพทุ ธกาล ๕,๐๐๐ ปี จะมีผู้มีบุญหรือผ้วู ิเศษมาปราบยคุ เข็ญเป็ น ศาสดาองค์ใหม่ อนั เป็ นยคุ แหง่ ความอดุ มสมบรู ณ์ บ้านเมืองอยเู่ ย็นเป็ นสขุ เต็มไปด้วย ผ้มู ีบญุ (๒) ความเชอ่ื เรื่องพระศรีอาริย์ได้แพร่หลายในประเทศที่นับถือพระพทุ ธศาสนา นิกายเถรวาทหรือหินยาน เชื่อกันว่าศาสนาพุทธมีพระพุทธเจ้า ๕ องค์ ตรัสรู้เป็ น พระพทุ ธเจ้าแล้ว ๔ องค์ และจะมาตรัสรู้ในอนาคตอีก ๑ องค์ ในปัจจบุ นั นีเ้ ป็ นยคุ ของ พระพทุ ธเจ้าโคดมเป็ นพระพทุ ธเจ้าองค์ที่ ๔ องค์สดุ ท้ายคือ พระศรีอาริยเมตไตยซง่ึ จะ มาตรัสรู้เป็ นพระพุทธเจ้าในอนาคตหลังจากอายุของพระพทุ ธศาสนาปัจจบุ นั ดาเนิน ครบ ๕,๐๐๐ ปี (ชาร์ลส์ เอฟ. คายส์, ๒๕๒๗) ๑๔๒

มาใช้เป็ นประเด็นนาการเคลื่อนไหว โดยมีเป้ าหมายเพ่ือปลดปล่อย ความเดือดร้ อนให้แก่ชาวอีสาน อันเป็ นผลจากการกดขี่ขูดรีดจาก เศรษฐกิจการเมือง เพื่อไปส่สู งั คมยูโทเปี ย (Utopia) กรณีขบวนการ สมชั ชาชาวนาชาวไร่ภาคอีสาน (พ.ศ.๒๕๓๐) ที่มีเป้ าหมายเพื่อต่อสู้ ยบั ยงั้ และยตุ ิโครงการของรัฐ โดยเฉพาะปัญหาที่มาจากนโยบายของ รัฐที่เก่ียวกบั ป่ าไม้และท่ีดิน (ประวิทย์ นพรัตน์วรากร, ๒๕๔๑) กรณี ของขบวนการสมชั ชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน (สกย.อ.) (พ.ศ. ๒๕๓๕) ที่มีจุดมุ่งหมายในการคัดค้านต่อสู้กับนโยบายของรัฐที่มุ่ง ทาลายเกษตรกรรายย่อย เพื่อนาเกษตรกรชาวอีสานไปส่กู ารดารงอยู่ ของเกษตรกรรายย่อยในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรีและทัดเทียมกับกลุ่ม อาชีพอื่นๆ (สมพันธ์ เตชะอธิก และคณะ, ๒๕๔๐) รวมถึงกรณีของ ขบวนการสมัชชาคนจน (สคจ.) (พ.ศ.๒๕๓๘) ที่มีเป้ าหมายในการ แก้ไขปัญหาของชาวบ้านแตล่ ะกรณีปัญหาท่ีเข้าร่วมตอ่ ส้เู รียกร้องใน นามสมัชชาคนจน รวมถึงผลักดันให้เกิดการแก้ไขปัญหาในระดับ กฎหมายและนโยบายที่เป็ นโครงสร้ างท่ีไม่เป็ นธรรมต่อคนยากจน (คณะกรรมการประสานงานองค์กรพฒั นาเอกชนภาคอีสาน, ๒๕๕๕) ตลอดจนกรณีของขบวนการเคลื่อนไหวต่อต้านเหมืองแร่อีสาน (พ.ศ. ๒๕๔๘-ปัจจุบนั ) ที่มีเป้ าหมายเพ่ือให้รัฐบาลยุติโครงการเหมืองแร่ท่ี สง่ ผลกระทบตอ่ ชมุ ชน รวมถงึ ผลกั ดนั ให้เกิดการแก้ไขกฎหมายแร่เสีย ใหม่ ตลอดจนการเยียวยาผลกระทบจากการดาเนินโครงการเหมืองแร่ (สภุ ีร์ สมอนา, ๒๕๕๖) ๑๔๓

เง่อื นไขและบริบทของการเกิดขบวนการเคล่ือนไหวทาง สังคมอีสาน ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอีสานแต่ละขบวนการเกิด และเติบโตขึน้ ในเง่ือนไขและบริบทที่แตกต่างกัน อันเนื่องมาจาก สภาพปัญหาและความเดอื ดร้อนของกลมุ่ ชาวอีสานที่แตกตา่ งกนั เห็นได้จากกรณีของขบวนการกบฏผีบุญอีสาน การเกิดขนึ ้ ของขบวนการมีสาเหตุมาจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและทาง เศรษฐกิจท่ีราชสานกั กรุงเทพฯ ต้องการควบคุมอานาจอย่างเบ็ดเสร็จ เหนือหวั เมอื งอีสานและการกดขี่ขดู รีดการเก็บภาษีสว่ ยท้องถ่ิน ในขณะท่ีการเกิดขึน้ ของขบวนการสมัชชาชาวนาชาวไร่ ภาคอสี าน มสี าเหตมุ าจากรัฐบาลออกนโยบายการจดั สรรทรัพยากรที่ ไมเ่ ป็นธรรม ซงึ่ รัฐบาลในขณะนนั้ ได้ดาเนินโครงการจดั สรรที่ดินทากิน ให้กบั ราษฎรผ้ยู ากไร้ในพืน้ ท่ีป่ าสงวนเสือ่ มโทรมภาคอีสาน (คจก.)๒ ๒ โครงการจดั สรรที่ดินทากินให้ราษฎรผู้ยากไร้ ในเขตป่ าสงวนเสื่อมโทรม เกิดจาก แนวคดิ ของกองอานวยการรักษาความมนั่ คงภายใน (กอ.รมน.) ประสานกบั หน่วยงาน อ่ืนๆ อีก ๖๔ หน่วย ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๓๔ มี ระยะเวลาดาเนินการ ๕ ปี (๒๕๓๔ - ๒๕๓๘) โดยโครงการดังกลา่ วจะดาเนินการจดั ท่ีดนิ ทากินให้กบั ประชาชนผ้ยู ากไร้ในพนื ้ ท่ปี ่ าสงวนเส่อื มโทรมครอบคลมุ ทวั่ ทกุ ภาคของ ประเทศ และกาหนดให้เป็ นนโยบายของชาติ โดยให้เริ่มดาเนินการในพืน้ ท่ีภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือกอ่ น ๑๔๔

ภายใต้แนวคิด “รัฐได้ป่ าประชาได้ท่ี” โดยให้ชาวบ้านท่ีทากินแต่เดิม และอยอู่ าศยั ในพืน้ ที่ป่ าอนรุ ักษ์ออกมาตงั้ ถิ่นฐานและทามาหากินใหม่ ในป่ าสงวนเส่ือมโทรมกบั ชาวบ้านอีกกล่มุ ที่อาศยั อยู่แล้ว โดยรัฐบาล จะเข้าไปจดั สรรท่ีดินให้ใหมใ่ ห้มีลกั ษณะกระจายไปถึงคนที่อพยพเข้ า มาใหม่ กล่าวคือคือ การจดั สรรพืน้ ท่ีทากินให้เหลือน้อยลงและจากดั การใช้ประโยชน์ (ไมเ่ กินครัวเรือน ๑๕ ไร่/ครอบครัว) โดยรัฐบาลหวงั นาพืน้ ท่ีที่เหลือจากการจดั สรรมาให้เอกชนเช่าปลกู พืชเศรษฐกิจและ ไม้โตเร็ว๓ สว่ นขบวนการสมชั ชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน ซง่ึ เป็ น ขบวนการเคล่ือนไหวท่ีมีขนาดกว้างขวางทงั้ ในแง่พืน้ ที่ สมาชิก กรณี ปัญหา และเป็ นกล่มุ เคล่ือนไหวท่ีเดินขบวนเคล่ือนไหวเรียกร้ องมาก ท่ีสุดกลุ่มหนึ่ง ก็มีเงื่อนไขและบริบทของการเกิดท่ีแตกต่างจาก ขบวนการที่เกิดขึน้ ก่อนหน้า โดยการเกิดขึน้ ของขบวนการสมัชชา เกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน มีสาเหตุมาจากรัฐบาลออกกฎหมาย (พระราชบญั ญัติสภาเกษตรแห่งชาติ) ที่มีเนือ้ หาสาระกระทบต่อการ ดารงอยู่ของเกษตรกรรายย่อย โดยเฉพาะกลุ่มชาวอีสานที่เป็ น เกษตรกรที่จะไมส่ ามารถคงอาชีพนีอ้ ีกตอ่ ไป เนื่องจากนโยบายของ ๓ พนื ้ ที่ประมาณ ๙.๒ ล้านไร่ จะถกู กาหนดให้เป็ นพนื ้ ที่ป่ าเศรษฐกิจ มกี รมป่ าเข้าถือ กรรมสิทธิ์โดยมนี โยบายปลกู ป่ าเอง ๖๒๕,๐๐๐ ไร่ สว่ นท่เี หลอื กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์เป็ นผ้พู ิจารณาให้เอกชนเชา่ ปลกู ไม้โตเร็วและพชื เศรษฐกิจ ๑๔๕

รัฐบาลเปิ ดกว้างให้กล่มุ ทุนเกษตรกรรมเข้ามาจดั การควบคุมระบบ การเกษตร และกวาดต้อนให้เกษตรกรรายย่อยชาวอีสานเข้าส่กู ารทา การเกษตรระบบฟาร์ม ในทานองเดียวกบั ขบวนการสมชั ชาคนจน ซง่ึ เป็นเครือขา่ ย ของคนจนที่ได้รับผลกระทบจากการพฒั นาประเทศ และแม้ว่ากลุ่ม ผ้เู ข้าร่วมขบวนการจะเป็ นไปอย่างหลากหลาย ครอบคลมุ กล่มุ คนใน วงกว้างทุกภูมิภาค และมีประเด็นปัญหาเรียกร้ องที่หลากหลาย แต่ ฐานของปัญหาและศนู ย์กลางการเคลื่อนไหวก็อย่ทู ่ีภาคอีสาน ฉะนนั้ การเกิดขึน้ ของขบวนการจึงเก่ียวข้องกบั ปัญหาของคนจนอีสานเสีย เป็ นส่วนใหญ่ โดยเง่ือนไขของการเกิดขบวนการเป็ นผลสืบ เน่ืองมาจากพฒั นาประเทศที่ไมเ่ อือ้ ต่อคนจน ขบวนการจงึ มีการสร้าง เครือข่ายผู้ได้ รับผลกระทบจากการพัฒนาขึน้ ซ่ึงเป็ นไปอย่าง กว้างขวาง หลากหลายอาชีพ ครอบคลุมคนทกุ ล่มุ ตงั้ แต่เกษตรกรผู้ ประสบกบั ปัญหา ปัญญาชน นกั พฒั นา ครู อาจารย์ในมหาวิทยาลยั นิสติ นกั ศกึ ษา ในขณะท่ี ขบวนการเคลื่อนไหวต่อต้ านเหมืองแร่ อีสา น เกิดขนึ ้ ภายใต้เง่ือนไขของปัญหาท่ีรัฐบาลใช้นโยบายเปิ ดสมั ปทานให้ บริษัทเอกชนเข้ามาดาเนินกิจการเหมอื งแร่ เพ่ือรัฐบาลจะมีรายได้จาก การจัดเก็บภาษี (ค่าภาคหลวงแร่) แต่นโยบายดงั กล่าวก็ได้ส่งผล กระทบที่รุนแรงต่อชีวิตและความเป็ นอยู่ของชาวอีสานจานวนมาก เน่ืองจากต้องเผชิญกบั ปัญหาผลกระทบทางสขุ ภาพ การเจ็บป่ วย การ ๑๔๖

ทาการเกษตร โดยเฉพาะกรณีการทาเหมืองหลายๆ ประเภทในจงั หวดั เลย และเหมอื งโพแทชท่ีจงั หวดั อดุ รธานี อย่างไรกต็ าม ผ้เู ขียนพิจารณาวา่ ขบวนการเคลื่อนไหวทาง สงั คมอีสานท่ีปรากฏตวั ขนึ ้ ในแตล่ ะครัง้ หากพิจารณาตามข้อเรียกร้อง ของขบวนการ สว่ นใหญ่มกั จะมสี าเหตจุ าก ๒ ประการสาคญั ๆ คือ ๑) การเคล่ือนไหวเกิดจากความต้องการท่ีจะออกจากความเดือดร้ อน (grievances) ท่ีสง่ ผลกระทบกระทาตอ่ วถิ ีชีวิตและวฒั นธรรม เช่น ใน กรณีการเคล่ือนไหวของขบวนการสมชั ชาชาวนาชาวไร่ภาคอีสาน ขบวนการสมชั ชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน ขบวนการเคลื่อนไหว ตอ่ ต้านเหมืองแร่อีสาน เป็ นต้น และ ๒) เป็ นการเคลื่อนไหวที่ต้องการ ตอบสนองผลประโยชน์เฉพาะกลมุ่ คอื เป็ นการกระทาการรวมหมู่ อนั เป็นผลจากการเคล่อื นย้ายผลผลติ สว่ นเกินของชาวนาอีสานเข้าสกู่ ลมุ่ ผ้ปู กครองและคนกล่มุ อ่ืนๆ ในสงั คม การเอารัดเอาเปรียบของชนชนั้ ปกครอง รัฐ และนโยบายรัฐ รวมถึงสภาพปั ญหาท่ีเกิดขึน้ อัน เน่ืองมาจากการเอารัดเอาเปรียบต่างๆ เช่น กรณีการเคล่ือนไหวของ ขบวนการกบฏผีบญุ นอกจากนี ้ การเคล่ือนไหวทางสังคมของขบวนการ เคลือ่ นไหวทางสงั คมอีสานที่ผ่านมา การเคลื่อนไหวก็มิได้มีเฉพาะมิติ ท่ีต้องการให้เกิดการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเท่านนั้ แต่ยังม่งุ ให้เกิด การปรับเปล่ียนเชิงโครงสร้ างอีกด้วย เช่น ในกรณีของขบวนการ เคล่ือนไหวตอ่ ต้านเหมอื งแร่อีสาน (สภุ ีร์ สมอนา, ๒๕๕๖) นอกจากจะ ๑๔๗

เรียกร้ องให้รัฐบาลรับผิดชอบและเยียวยาผลกระทบท่ีเกิดขึน้ จาก โครงการสัมปทานเหมืองแร่ ยังมีการเรียกร้ องให้มีการแก้ไขและ ปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็ นธรรม (justic) หรือในกรณีของ ขบวนการสมชั ชาคนจน การเคลือ่ นไหวก็มมี ิติของข้อเรียกร้องให้มีการ ปรับเปลี่ยนนโยบายการพัฒนาประเทศให้ สอดคล้ องกับท้ องถ่ินและ วถิ ีชีวติ ของคนจนมากขนึ ้ รูปแบบการเคล่ือนไหวต่อสู้ จากประวตั ศิ าสตร์การเคล่อื นไหวของขบวนการเคล่ือนไหว ทางสงั คมอีสาน ตงั้ แต่ขบวนการกบฏผีบุญอีสาน ขบวนการสมชั ชา ชาวนาชาวไร่ภาคอีสาน ขบวนการสมัชชาเกษตรกรรายย่อยภาค อีสาน ขบวนการสมชั ชาคนจน มาจนถึงขบวนการเคลื่อนไหวต่อต้าน เหมอื งแร่อสี านในปัจจบุ นั การเคล่ือนไหวของแตล่ ะขบวนการนบั วา่ ได้ เผชิญกบั สถานการณ์และผ่านห้วงเวลาท่ีแตกตา่ งกนั ความแตกตา่ งของบริบทปัญหาและห้วงเวลาที่แตกตา่ งกนั ตรงนี ้ทาให้รูปแบบการเคลื่อนไหวต่อส้ขู องแต่ละขบวนการแตกต่าง กันไปด้วย และนอกจากบริบทปัญหาและเวลาดังที่กล่าวมาแล้ว รูปแบบการเคล่ือนไหวของแต่ละขบวนการยังขึน้ อยู่กับ “โครงสร้ าง โอกาสทางสงั คม-การเมือง” อีกด้วย นนั่ คือหากโครงสร้างโอกาสทาง สงั คม-การเมืองเปิ ดกว้าง มีบรรยากาศประชาธิปไตยก็มีแนวโน้มสงู ที่ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอสี านจะใช้ยทุ ธวธิ ี “ตามช่องทางระบบ ๑๔๘

การเมืองปกติ”๔ ในทางตรงกันข้ามหากโครงสร้ างโอกาสทางการ สงั คม-การเมืองปิ ด ขบวนการก็มกั จะใช้รูปแบบการเคลื่อนไหวอย่าง อ่ืน เพ่ือให้เกิดการกดดนั และให้บรรลถุ งึ ข้อเรียกร้อง โครงสร้ างโอกาสทางสังคม-การเมืองจึงมีนัยสาคัญต่อ รูปแบบการเคล่ือนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอสี าน ในยคุ ที่สังคมมีบรรยากาศแบบประชาธิปไตยและเปิ ดกว้ างทางด้ าน ความคิด สิทธิและเสรีภาพ เรามกั จะพบว่าขบวนการเคลื่อนไหวทาง สังคมอีสานต่างๆ เลือกท่ีจะใช้รูปแบบการเคลื่อนไหวตามช่องทาง ระบบการเมืองปกติมากกว่าวิธีการ “ขัดขวางท้าทายระบบปกติ”๕ (disruptive tactics) เว้นแตข่ บวนการกบฏผีบญุ อีสานท่ีใช้รูปแบบการ เคลื่อนไหวแบบ “ต่อต้านในชีวิตประจาวนั ” (everyday forms of peasant resistance) คือ การไม่ปฏิบัติตาม ไม่ร่วมมือกับรัฐ การ หลบหนีเข้าป่ า การหนีไปบวช กรณีการเคล่ือนไหวดงั กลา่ ว Koch (๑๙๘๑ ใน กนกศกั ดิ์ แก้วเทพ, ๒๕๓๐) ได้ให้ความคิดเห็นตอ่ รูปแบบการเคล่ือนไหวนีว้ ่า “ถงึ แม้รูปแบบการตอ่ ส้ขู องพวกไพร่จะเป็ นการหนีออกจากปัญหา ๔ การยืน่ หนงั สือผา่ นกลไกของระบบราชการ การผลกั ดนั ให้เกิดการมีสว่ นร่วมใน รูปแบบคณะกรรมการแก้ไขปัญหา การตอ่ ส้ผู า่ นการใช้สิทธิตามกฎหมายและผ่าน กระบวนการยตุ ิธรรม ๑๔๙

(การกดข่ีขูดรีด) และมิใช่เป็ นการต่อส้เู พื่อทาลายระบบก็ตาม แต่ รูปแบบการต่อสู้นีก้ ็มีความหมายในแง่การแสดงจิตใจการต่อสู้ของ พวกไพร่ โดยเฉพาะการหนีเข้าป่ าถือว่ามีความสาคญั ต่อการทางาน ของระบบแรงงาน นนั่ คือทาให้การผลิต (reproduction) ไมอ่ าจเป็นไป อย่างราบร่ืน และอย่างน้อยท่ีสุดการท่ีไพร่หลบหนีนนั้ ก็แสดงถึงการ ปฏิเสธท่ีจะทาการผลติ ซา้ ตามระบบเกณ์์แรงงาน” แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม โดยทว่ั ๆ ไปการเคล่ือนไหวของขบวนการ เคลื่อนไหวทางสงั คมอีสาน นบั ตงั้ แต่กรณีขบวนการกบฏผีบุญอีสาน ถกู ปราบปรามจากรัฐอยา่ งรุนแรง ก็มิได้ปรากฏวา่ ขบวนการใช้รูปแบบ การเคลื่อนไหวดงั กล่าวมาเป็ นยุทธวิธีในการกดดนั และสร้ างอานาจ ต่อรองแต่ประการใด ประเด็นนีอ้ าจเป็ นผลมาจากโครงสร้ างโอกาส ทางสงั คม- การเมืองในระยะหลงั ที่ได้เปิ ดกว้างให้กับกล่มุ คนอีสานท่ี เดือดร้อนจากกรณีต่างๆ ได้ใช้การเคลื่อนไหวตามตามช่องทางระบบ การเมอื งปกติเป็นพืน้ ที่ในการแสดงออกและนาเสนอข้อเรียกร้อง ถึงกระนนั้ ก็ตาม แม้โครงสร้ างโอกาสทางสงั คม-การเมือง ได้กลายเป็ นช่องทางให้ขบวนการต่างๆ มีพืน้ ท่ีในการสะท้อนปัญหา และนาเสนอความต้องการของขบวนการ แตห่ ลายๆ กรณีท่ีผ่านมาเรา กลับพบว่าขบวนการ ก็มิได้ ใช้ รู ปแบบการเคล่ือนไหวตามช่องทาง ระบบการเมืองปกติเท่านนั้ หากแตม่ ีการเลือกใช้วิธีการเคลื่อนไหวที่ พวกเขาเห็นว่ามีประสิทธิภาพในการกดดนั สูง ท่ีสามารถนารัฐบาล ๑๕๐

หรือผ้ทู ี่เป็นต้นตอปัญหาลงมาสวู่ งเจรจา เช่น การปิ ดถนน การชุมนมุ ล้อมทาเนียบรัฐบาล การปิ ดล้อมสถานที่ราชการ ฯลฯ โดยเฉพาะกับกรณีปัญหาที่รัฐบาลเพิกเฉยไม่ใส่ใจ หรือ เป็ นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่ออาชีพและปากท้องอย่างรุนแรง กรณี ดงั กล่าวขบวนการเคล่ือนไหวทางสงั คมอีสานเคยสาแดงพลงั แล้วใน กรณีของขบวนการสมชั ชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน โดยการนัด รวมตัวกนั เดินท้าวเข้าส่กู รุงเทพฯ เพื่อเรียกร้ องให้รัฐบาลยอมเจรจา และนาข้อเรียกร้องไปสกู่ ารแก้ไขปัญหา หรือในกรณีขบวนการสมชั ชา คนจนท่ีเดินขบวนประท้วงรัฐบาลเพื่อให้มีการเปิ ดเวทีเจรจาและ ดาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเป็ นรูปธรรม และรวมไปถึงกรณีของ ขบวนการเคล่ือนไหวต่อต้านเหมืองแร่อีสานท่ีมีการชุมนุมปิ ดถนน มิตรภาพเม่ือปี พ.ศ.๒๕๕๔ เพื่อเรียกร้องให้ผู้ว่าราชการจงั หวดั ลงมา เจรจาอยา่ งเสมอหน้า น่ันแปลว่ารูปแบบของการเคล่ือนไหวต่อส้ขู องขบวนการ เคลื่อนไหวทางสังคมอีสานมีรู ปแบบที่หลากหลาย ลื่นไหล เปลี่ย นแป ลงต ามเ งื่ อน ไขแ ละส ถาน การ ณ์ โด ยมิไ ด้ ยึด รู ปแ บบใ ด รูปแบบหน่ึงเป็ นหลักตายตวั ทัง้ นีเ้ นื่องจากบริบทและสถานการณ์ท่ี เปลี่ยนแปลงไปด้วย ส่วนอีกเหตผุ ลหน่ึงเนื่องจากขบวนการได้เรียนรู้ บทเรียนจากการเคลื่อนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอีสาน อ่ืนๆ ในอดีต ทาให้ขบวนการนารูปแบบการเคลื่อนไหวมาปรับใช้กบั สถานการณ์ท่ีขบวนการของตนเองกาลงั เผชิญ ๑๕๑

ผลกระทบของการเคล่ือนไหว ทกุ ๆ ครัง้ ที่เราให้ความสนใจเก่ียวกบั ขบวนการเคลื่อนไหว ทางสงั คม สิ่งหนึ่งท่ีเรามกั จะมีคาถามเกิดขนึ ้ เสมอเมื่อมีการกล่าวถึง ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คม คือ การเคลื่อนไหวของขบวนการได้ กอ่ ให้เกิดผลท่ีเป็นความสาเร็จมากน้อยเพียงใด การเคล่ือนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอีสานก็ เช่นเดียวกัน ในความเป็ นจริงเราอาจพบว่าการเคล่ือนไหวของ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอีสาน เม่ือเกิดและเติบโตขึน้ ก็มิได้ หมายความว่าทุกๆ ขบวนการได้นาความสาเร็จมาสู่คนอีสานที่ เดือดร้ อน หากแต่ยังเจือปนไปทัง้ สิ่งท่ีเรียกว่าเป็ นความ “สาเร็จ” (success) และเป็นความ “ล้มเหลว” (failure) ไปในตวั ความสาเร็จของขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอีสานใน ท่ีนีก้ ค็ อื การเคลือ่ นไหวท่ีสามารถทาให้รัฐบาล เอกชน หรือผ้ทู ี่เป็ นต้น ตอปัญหาต่างๆ ยอมที่จะเจรจาและตอบสนองต่อข้อเรียกร้ องของ ขบวนการ หรือไม่ก็กระจายผลประโยชน์ลงมาสู่ขบวนการตามข้อ เรียกร้ อง ส่วนที่เห็นว่าเป็ นความล้มเหลวก็คือ การเคล่ือนไหวของ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอสี าน ไมส่ ามารถนากลมุ่ เคล่ือนไหวไป ถึงเป้ าหมายหรืออดุ มการณ์ของกล่มุ โดยไม่สามารถที่จะกดดนั หรือ กระทาการให้รัฐบาล เอกชน หรือผู้ท่ีเป็ นต้นตอปัญหายอมรับและ ๑๕๒

ตอบสนองต่อข้อเรียกร้องอย่างเป็ นผลสาเร็จ ในกรณีนีน้ อกจากจะไม่ บรรลุตามข้อเรียกร้ องแล้ว กลุ่มเคลื่อนไหวยังต้องเผชิญกับการถูก ปราบปรามอย่างรุนแรง เช่น ถกู เจ้าหน้าที่รัฐหรือฝ่ ายตรงข้ามกระทา รุนแรง ทบุ ตี ลอบทาร้าย หรือในบางกรณีรัฐ เอกชน หรือผ้ทู ี่เป็ นต้นตอ ปัญหาใช้ช่องทางศาลยุติธรรมฟ้ องร้ องดาเนินคดีกับแกนนาหรือ สมาชิกขบวนการ จนทาให้คนเหลา่ นีต้ ้องยตุ ิบทบาทไปในที่สดุ อนั ที่จริงการเคลื่อนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คม อีสานแต่ละขบวนการ “สาเร็จ” และ “ล้มเหลว” แตกต่างกัน บาง ขบวนการประสบความสาเร็จทางการเคล่ือนไหวในระดบั สญั ลกั ษณ์ เท่านนั้ คือสามารถดงึ คนกลมุ่ ตา่ งๆ ให้มาสนใจ เหน็ อกเหน็ ใจและรับรู้ ถึงวิกฤตการณ์ปัญหาที่ขบวนการกาลังเผชิญ และบางขบวนการ สามารถสร้างแรงกดดนั ตอ่ รัฐบาล เอกชน หรือผ้ทู ่ีเป็ นต้นตอปัญหาให้ หนั มาเปิ ดการเจรจาและตอบสนองต่อข้อเรียกร้ อง แต่ในขณะที่บาง ขบวนการกลบั ต้องเผชิญกบั ความล้มเหลว ตัวอย่างที่เป็ นความล้มเหลวตรงนีเ้ คยเกิดขึน้ มาแล้วกับ กรณีของขบวนการเคล่ือนไหวต่อต้ านเหมืองแร่อีสาน คือการ เคลอ่ื นไหวของขบวนการที่ดาเนินมากวา่ ทศวรรษเศษ ยงั ไม่สามารถท่ี จะทาให้ รัฐบาลดาเนินการตามข้ อเรียกร้ องได้อย่างเป็ นจริง ซ่ึง นอกจากการเคล่ือนไหวของขบวนการจะไม่ประสบความสาเร็จตาม ประเด็นเรียกร้ องแล้ว สมาชิกขบวนการยังต้องถูกเจ้าหน้าที่รัฐและ ๑๕๓

ฝ่ ายต่อต้านอื่นๆ ทาการต่อต้าน บางครัง้ ถูกลอบทาร้ ายต่อชีวิตและ ร่างกาย หรือมกี ารฟ้ องร้องดาเนินคดีกบั แกนนา ประเด็นนีเ้ ป็ นผลกระทบทางลบต่อขบวนการและเป็ น สาเหตุสาคัญที่กระทบต่อ “กระบวนการภายใน” ของขบวนการ โดยเฉพาะการเคลื่อนไหวที่ขบวนการไม่สามารถฝ่ าฟันอปุ สรรคไปสู่ เป้ าหมายท่ีกาหนดไว้ได้ ประกอบกับการสูญเสียแกนนาที่กล้าแกร่ง ในขณะท่ีบางคนมีคดตี ดิ ตวั บางคนถกู ทาร้าย สาเหตดุ งั กล่าวจึงทาให้ ขบวนการขาดพลงั ในการเคล่อื นไหว บทเรียนข้างต้นนีค้ ล้ายกบั กรณีของขบวนการกบฏผีบุญ อีสานซึ่งเคยเกิดขึน้ และผ่านมาแล้วกว่า ๑ ศตวรรษ ซึ่งท้ายที่สุด ขบวนการก็ต้องยุติตวั เองลงไป เพราะถูกปราบปรามอย่างหนักจาก รัฐบาลและชนชัน้ ปกครอง โดยที่ขบวนการก็มิได้รับการตอบสนอง ตามข้อเรียกร้องจากรัฐบาลแตป่ ระการใด แต่อย่างไรก็ตามก็มิใช่ว่าทุกๆ ขบวนการจะประสบกับ ความล้มเหลวอย่าง ๒ กรณีข้างต้นเสมอไป กรณีขบวนการสมชั ชา เกษตรกรรายย่อยภาคอีสานซง่ึ ก่อตวั ขนึ ้ มาตงั แต่ปี พ.ศ.๒๕๓๕ เพื่อ ตอ่ ต้านพระราชบญั ญตั ิสภาการเกษตรแหง่ ชาติ ต่างสามารถกดดนั ให้ รัฐบาลยินยอมยตุ โิ ครงการจดั สรรท่ีดินทากินเพ่ือคนยากไร้ (คจก.) ได้ หรือแม้ แต่ขบวนการสมัชชาคนเองก็ดี ก็สามารถพูดได้ ว่าเป็ น ขบวนการที่เคลื่อนไหวและประสบความสาเร็จ ซ่ึงการเคลื่อนไหวที่ ๑๕๔

ยืดเยือ้ ของพวกเขาสามารถทาให้รัฐบาลยอมรับผิดชอบต่อปัญหาที่ เกิดจากโครงการและนโยบายการพฒั นาในด้านตา่ งๆ อนั เป็ นไปตาม ข้ อเรียกร้ องของขบวนการ นอกจากนีย้ ังมีตวั อย่างอ่ืนๆ อีก เช่น การเคล่ือนไหวของ ขบวนการคดั ค้านโครงการเข่ือนปากมนู (จงั หวดั อบุ ลราชธานี) เขื่อน ราษีไศล (จงั หวดั ศรีสะเกษ) กรณีทงั้ ๒ นีแ้ ม้ว่าการตอบสนองจาก ฝ่ ายรัฐบาลจะไม่สามารถเปิ ดประตูเข่ือนตามข้อเรียกร้ อง แต่ส่ิงท่ี เกิดขนึ ้ ตามมาจากการชมุ นมุ เคลอื่ นไหวกค็ อื การบรรลขุ ้อเรียกร้องบาง ระดบั ที่กล่มุ ชาวบ้านท่ีเดือดร้อนยอมรับได้ โดยท่ีรัฐบาลยินยอมให้มี คณะกรรมการการศกึ ษาผลกระทบและนาผลการศกึ ษามาพิจารณา ตดั สนิ ใจเชิงนโยบายในการบริหารจดั การเข่ือน ก า ร พิ จ า ร ณ า ถึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง ก า ร เ ค ล่ื อ น ไ ห ว ข อ ง ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอีสานว่า “สาเร็จ” หรือ “ล้มเหลว” นนั้ อาจพิจารณาได้ในระดบั หนง่ึ เท่านนั้ เพราะในบางกรณีการเคลื่อนไหว ก็มิได้รับการตอบสนองตามข้อเรียกร้ องทันที บางครัง้ อาจมีผลใน รัฐบาลตอ่ ไปจากโครงสร้างโอกาสทางสงั คม-การเมือง ตวั อย่างเช่นใน กรณีของขบวนการสมชั ชาคนจน ข้อเรียกร้องของขบวนการถกู กาหนด ขึน้ ในสมยั รัฐบาล นายบรรหาร ศิลปะอาชา แต่ได้รับการตอบสนอง จากรัฐบาลสมยั พลเอกชวลิต ยงใจยทุ ธ หรือในบางข้อเรียกร้องได้รับ การตอบสนองในสมยั รัฐบาล นายชวน หลีกภัย หรือบางข้อในสมยั นายทกั ษิณ ชินวตั ร ๑๕๕

ดงั นนั้ การมองถึงว่าขบวนการเคล่ือนไหวทางสงั คมอีสาน เคลื่อนไหวเป็ นผลสาเร็จหรือล้มเหลวนัน้ อาจจะต้องพิจารณาจาก แง่มมุ ต่างๆ อย่างถ่ีถ้วน ทงั้ นี ้ประภาส ป่ิ นตบแตง่ (๒๕๕๒) เสนอให้ พิจารณาอยู่ ๒ ประการสาคญั ๆ คือ ๑. การพิจารณาถงึ ความ “สาเร็จ” “ความล้มเหลว” ควร จะต้องให้ความสาคัญกับการพิจารณาการนิยามและการชีว้ ัดถึง ความสาเร็จและความล้มเหลว เนื่องจากยงั มีข้อถกเถียงท่ีไมล่ งรอยอยู่ มากวา่ การนิยามความสาเร็จและความล้มเหลว จาเป็ นจะต้องให้ใคร เป็ นผ้กู าหนดนิยาม ระหว่าง “ผ้ศู กึ ษา” ท่ีเป็ นคนภายนอกองค์กร กบั “ผ้ทู ี่อยภู่ ายในขบวนการ” ซง่ึ เป็นความต้องการอยแู่ ล้ว ๒. ผลสาเร็จของขบวนการยงั สามารถเกิดขนึ ้ ได้ในลกั ษณะ ของผลข้างเคียงท่ีขบวนการมิได้ตงั้ ใจหรือไม่ใช่จุดม่งุ หมายที่กาหนด ไว้ตงั้ แตต่ ้น รวมถงึ ผลที่เกิดขนึ ้ ระหวา่ งการเคลื่อนไหวบางประการอาจ ไมไ่ ด้มาจากการเคลอ่ื นไหวโดยตรงของขบวนการ แต่ในกรณีการระบุถึงความ “สาเร็จ” หรือ “ล้มเหลว” สาหรับผ้เู ขียนแล้วอาจสามารถพิจารณาผา่ นมิติของการตอบสนองต่อ ข้อเรียกร้ องของขบวนการ รวมถึงอาจจะพิจารณาจากการกระจาย ผลประโยชน์ (ประเด็น/ข้อเรียกร้ อง) ลงสู่กลุ่มผู้เคลื่อนไหวและการ ยอมรับในผลประโยชน์นนั ้ ๑๕๖

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการพูดถึงความ “สาเร็จ” หรือ “ล้มเหลว” จะเป็ นสิ่งท่ีพูดได้ยากและถกเถียงกันไม่จบ แต่การ เคล่ือนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมอีสานในแตล่ ะครัง้ ก็ได้ ทาให้ เกิดมิติใหม่ ส่ิงใหม่ๆ ขึน้ ภายในขบวนการ โดยเฉพาะการ เคลื่อนไหวของขบวนการได้กลายเป็ น“ห้องเรียนประชาธิปไตย” ที่ดี การเคล่ือนไหวของแตล่ ะขบวนการท่ีเคล่อื นไหวเป็ นเวลาหลายๆ ปี ได้ ทาให้ชาวบ้านอสี านที่ร่วมขบวนการได้เรียนรู้ถงึ การใช้สิทธิของตนเอง ได้เรียนรู้ถงึ กลไกประชาธิปไตย และทาให้เกิดการตนื่ ตวั ทางการเมือง- สงั คมอย่างกว้างขวาง ปัญหาและอุปสรรคท่มี ีต่อการเคล่ือนไหว ทุกๆ ครัง้ ที่เกิดขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคม โดยทัว่ ไป เรามักจะคาดว่าขบวนการจะต้ องประสบความสาเร็ จในการรักษา ผลประโยชน์และนาความสาเร็จมาสกู่ ลมุ่ เคล่ือนไหว หรือไมอ่ ย่างน้อย ที่สุดก็สร้ างอานาจต่อรองเพื่อท่ีจะปกป้ องจากการถูกคุกคามจาก อานาจภายนอกอย่างเป็ นรูปธรรม ในความเป็ นจริงแล้วไม่เป็ นเช่นนัน้ เสมอไป บางครัง้ เรา กลับพบว่าขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมท่ีมีบทบาทหน้ าท่ีนาการ เคลื่อนไหวต้องเผชิญกบั เงื่อนไข ปัญหาและอปุ สรรคต่างๆ มากมาย จนบางครัง้ ก็ไม่สามารถนาความสาเร็จมาส่ขู บวนการ และสาหรับใน กรณีขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมอีสานก็เช่นเดียวกัน การ ๑๕๗

เคล่อื นไหวยงั ต้องเผชิญกบั ปัญหาและอปุ สรรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเมื่อขบวนการเคล่ือนไหวทางสงั คมอีสานเคลื่อนไหวไปสู่ระดับที่ เป็นการปฏิเสธและตงั้ คาถามกบั โครงสร้าง ปั ญหาและอุปสรรคภายในขบวนการ โดยท่ัวไปทุกๆ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมอีสาน มกั จะประสบกบั ปัญหาและอุปสรรคในการเคลื่อนไหวไม่เหมือนกัน ในประวตั ิศาสตร์การเคล่ือนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คม อีสาน ปัญหาภายในขบวนการท่ีเผชิญมีให้เห็นตงั้ แต่ ๑) ปัญหาของ ตวั ผู้นาขบวนการ ๒) ปัญหาการขาดกระบวนการเรียนรู้ภายใน และ ขาดจิตสานกึ ในการเคลอื่ นไหวตอ่ สู้ ปัญหาเหลา่ นีน้ ามาซง่ึ ความถดถอยของการเคลื่อนไหว ทางสงั คมอีสาน จากประวตั ิศาสตร์ของการเคล่ือนไหวเรามกั พบว่า เม่ือขบวนการเคลื่อนไหวไปได้ระยะหนึ่ง ขบวนการมกั จะเผชิญกับ สภาพปัญหาและอปุ สรรคภายในขบวนการ โดยเฉพาะ ประการแรก คือ ปัญหาของตัวผู้นาขบวนการ เรา มกั จะพบอยเู่ ป็นประจาวา่ การเคลอ่ื นไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทาง สงั คมอีสานท่ีไมส่ าเร็จหลายๆ ขบวนการ สาเหตหุ นงึ่ เป็นเพราะผ้นู าใน การเคล่ือนไหวมีลกั ษณะนาการเคล่ือนไหวแบบ “ผ้นู าเด่ียว” (single leadership) มากกว่าการนาการเคล่ือนไหวแบบ “ผู้นารวมหมู่” (collective leadership) ๑๕๘

การนาการเคลื่อนไหวแบบผ้นู าเดี่ยวมีผลต่อขบวนการ เป็นอย่างมาก เนื่องจากผ้นู าตกเป็นเป้ าหมายของการปราบปรามจาก ฝ่ ายตรงข้าม กรณีนีเ้ห็นได้ชดั เจนจากขบวนการกบฏผีบญุ อีสานท่ีการ เคล่ือนไหวโดยใช้ วิธีแบบผู้นาเดี่ยว และรวมศูนย์อานาจในการ ตดั สนิ ใจไว้ที่ผ้นู าเพียงไมก่ ่ีคน จนผ้นู าในขณะนนั้ ถกู ปราบปรามอย่าง โหดเหีย้ มรุนแรง นอกจากนีก้ ารเคลื่อนไหวแบบผ้นู าเด่ียวยงั มีปัญหาใน การตดั สินใจ โดยเฉพาะการตดั สินใจของผ้นู าเดี่ยวอาจมีปัญหาใน การนาพาขบวนการ เพราะผ้นู าขบวนการเคล่ือนไหวทางสงั คมอีสาน บางคนชอบวธิ ีการเคลอ่ื นไหวแบบถอนรากถอนโคน ไมป่ ระนีประนอม ผู้นาขบวนการลักษณะนีน้ ับว่ามีผลต่อการถดถอยของขบวนการ โดยตรง เพราะมคี วามส่มุ เสี่ยงตอ่ การละเมิดกฎหมาย และอาจตกอยู่ ในสถานการณ์ท่ีรัฐสามารถท่ีจะตอบโต้ด้วยวธิ ีรุนแรงได้ทกุ เมอ่ื ประการท่สี อง คือ ปัญหาการขาดกระบวนการเรียนรู้ ภายในและการขาดจิตสานกึ ในการเคล่ือนไหวต่อสู้ การเคลื่อนไหว ของหลายขบวนการที่ผ่านมา ผู้ร่วมขบวนการส่วนใหญ่มักเป็ น ชาวบ้ านในชนบทอีสาน เป็ นผู้ท่ีไม่ค่อยมีประสบการณ์ในการ เคลื่อนไหวตอ่ ส้เู ท่าใดนกั การเข้าร่วมขบวนการจึงมาจากแหลง่ ที่ผ้คู น มีหลากหลาย และความหลากหลายที่วา่ นีก้ ข็ าดประสบการณ์และการ เรียนรู้การเคลื่อนไหว โดยเฉพาะปฏิบัติการเคล่ือนไหวท่ีบางครัง้ ขบวนการได้ยกระดบั ขึน้ โดยเป็ นการท้าทายและละเมิดกฎหมาย ใน ๑๕๙

กรณีนีร้ ัฐเองก็มักจะยกระดับของการตอบโต้ตามขึน้ ไปด้วย การ ยกระดบั กดดนั เชน่ นีไ้ ด้กลายเป็นจดุ เปราะบางของการเคล่ือนไหวของ หลายๆ ขบวนการ เนื่องจากสมาชิกขบวนการท่ีเป็ นชาวนาชาวไร่ท่ีไม่ เคยมที กั ษะ ไมเ่ คยผ่านการจดั ประสบการณ์ในการสร้างจิตสานึกการ ต่อส้รู ่วม (insurgent consciousness) เม่ือสถานการณ์พฒั นาไปสู่ ความรุนแรงสมาชิกขบวนการก็มกั จะถูกจบั กมุ ถกู กวาดต้อน หรือถูก ทาร้ าย ปั ญหาและอุปสรรคภายนอกขบวนการ ปั ญห าแล ะอุป สร ร คภายนอกขบ วน การ ที่ขบ วน การ เคลื่อนไหวทางสงั คมอสี านเผชิญมากที่สดุ สาหรับทกุ ๆ ขบวนการก็คือ การทาลายความชอบธรรมขบวนการ (discredit) หรือ “ป้ ายสี กลา่ วหา” เป็น “ม๊อบเอ็นจีโอ” หรือบ้างกลา่ วหาวา่ ได้รับการสนบั สนนุ จากนกั การเมือง เป็ นม๊อบที่มีนกั การเมืองหนุนหลงั บ้าง ยทุ ธวิธีเช่นนี ้ ล้วนแล้วแต่เป็ นวิธีที่รัฐบาลใช้มาโดยตลอดเมื่อต้องเผชิญหน้ากับ ขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมอีสาน เพราะเป็ นวิธีการตอบโต้ ขบวนการท่ีง่ายและค่อนข้างได้ผลดีในระดบั สัญลกั ษณ์ ซึ่งสามารถ ปกป้ องความชอบธรรมให้กบั รัฐบาลได้ หลายๆ กรณีเราพบวา่ รัฐบาลมกั จะใช้ส่ือสารมวลชน ซ่งึ เป็ นกระบอกเสียงทงั้ ของตนเองและส่ือสารมวลชนอ่ืนๆ ประโคม ขา่ วทาลายความชอบธรรมของขบวนการ ในยคุ ท่ีสอ่ื สารมวลชนเข้าถงึ ๑๖๐

ประชาชนได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว รัฐบาลสามารถสร้างวาทกรรม “ม๊อบรับจ้าง” เพื่อลดจานวนผู้ที่จะเข้าร่วมการเคล่ือนไหวกับกลุ่ม สมาชิกขบวนการได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากนีข้ บวนการเคล่ือนไหวทางสงั คมอีสานต่างๆ ยงั ต้องเผชิญหน้ากบั “ฝ่ ายตอ่ ต้าน”๕ (counter movement) ท่ีรัฐบาล จงใจสร้างขนึ ้ เพื่อตอ่ ต้านกบั ขบวนการเคล่อื นไหวทางสงั คมอสี าน และ ในบางสถานการณ์ฝ่ ายต่อต้านท่ีรัฐบาลสร้ างขึน้ มาอาจเป็ นกลุ่ม ผ้สู นบั สนนุ รัฐบาล หรือไม่ก็เป็ นกลมุ่ ที่เห็นพ้องต้องกันกบั รัฐบาล แต่ ในขณะเดียวกันฝ่ ายต่อต้านเหล่านีก้ ็มีวตั ถุประสงค์เพ่ือตอบโต้และ ทาลายเป้ าหมายของขบวนการ ฝ่ ายต่อต้านท่ีรัฐบาล เอกชน หรือผู้ที่เป็ นต้นตอของ ปัญหาสร้างขนึ ้ ยงั มลี กั ษณะของการกอ่ กวนยว่ั ยุกลมุ่ ผ้ชู มุ นมุ ร่วมด้วย ทัง้ นีเ้ พ่ือหวังให้ขบวนการตอบโต้ด้วยอารมณ์ และเคล่ือนไหวไปสู่ ความรุนแรงเพ่ือรัฐบาลจะให้เหตกุ ารณ์นนั้ ทาลายความชอบธรรม การสลายความเป็นเอกภาพของขบวนการเคลอ่ื นไหว ๕ เป็ นขบวนการโต้กลบั (reactive movement) ซง่ึ มจี ดุ หมายตรงกนั ข้ามกบั ขบวนการ เคลอ่ื นไหวทางสงั คมบกุ เบิก (initiative movement) ทงั้ นีอ้ าจมลี กั ษณะตอ่ ต้านการ เปลี่ยนแปลงในเชงิ โครงสร้างของสงั คม (social chang) หรือเพ่อื รักษาสถานะทาง สงั คมเดิม (status quo) ก็ได้ (ประภาส ปิ่ นตบแตง่ , ๒๕๕๒) ๑๖๑

ทางสงั คมอสี านโดยรัฐบาล มกั จะใช้ ๒ วิธีนีส้ ลบั กนั ไปมา บทเรียนใน เรื่องนีเ้ ห็นได้อย่างชัดเจนในสมัยของการเคลื่อนไหวของสมัชชา เกษตรกรรายย่อยภาคอีสาน เมื่อครัง้ การเดินเท้าประท้วงเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๗ เม่ือขบวนการสมชั ชาเกษตรกรรายย่อยภาคอีสานเดินทางถึง จุดนัดพบที่ลาตะคอง จังหวัดนครราชสีมา เพื่อมุ่งหน้าเดินเท้าเข้าสู่ กรุงเทพฯ รัฐบาลในขณะนนั้ ได้ปล่อยข่าวลือว่ากลมุ่ ผ้ชู มุ นุมได้รับการ สนับสนุนจากพรรคการเมืองฝ่ ายค้านเพ่ือโค่นล้มรัฐบาล และใน ขณะนัน้ ก็มีการก่อกวนกลุ่มผู้ชุมนุมโดยฝ่ ายต่อต้านท่ีรัฐบาลสร้ าง ขนึ ้ มา เชน่ เดยี วกบั กรณีขบวนการเคลอื่ นไหวต่อต้านเหมืองแร่ ภาคอีสาน ปี พ.ศ.๒๕๕๗ บริษัทประกอบกิจการเหมืองแร่ซ่ึงได้รับ สัมปทานการทาเหมืองแร่จากรัฐบาล เม่ือครัง้ เผชิญหน้ ากับกลุ่มผู้ ชมุ นมุ บริษัทฯ ได้ปลอ่ ยข่าวกลา่ วหาผ้ชู มุ นมุ ว่าเป็ นม๊อบท่ีมีเอ็นจีโออยู่ เบือ้ งหลงั ก่อนที่จะระดมฝ่ ายต่อต้านออกมากระทารุนแรงต่อกล่มุ ผู้ ชมุ นมุ ท่ีเป็นสมาชิกขบวนการ การศึกษาของ สุภีร์ สมอนา (๒๕๕๗) ท่ีทาการศึกษา “อปุ สรรคต่อความสาเร็จของขบวนการเคล่ือนไหวต่อต้านเหมืองแร่ อีสาน” ได้พิสูจน์ให้เห็นว่าสาเหตุที่การเคล่ือนไหวของขบวนการ เคลื่อนไหวต่อต้ านเหมืองแร่อีสานไม่ประสบความสาเร็จตาม เป้ าหมายนัน้ พบเงื่อนไขท่ีเป็ นอุปสรรคต่อการบรรลุเป้ าหมาย ๒ ปัจจยั หลกั ๆ คือ ๑๖๒

๑) ปัจจัยภายในขบวนการ มีสาเหตุมาจากข้ อเรี ยกร้ องขบวนการที่ยากแก่การ ตอบสนอง ซง่ึ รัฐบาลไม่สามารถยอมรับ ปรับเปล่ียน และยกเลิกได้ เน่ืองจากเป็ นนโยบายในการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจประเทศ ประกอบกับยุทธวิธีในการเคล่ือนไหวที่ใช้ ยุทธวิธี ตามช่องทางระบบ การเมืองปกติ ซ่ึงไม่ใช้ยุทธวิธีแบบจรยุทธ์ท้าทายซ่ึงหน้า (direct action) ทาให้ไม่สามารถกดดันรัฐบาลและฝ่ ายที่เป็ นต้นตอปัญหา อ่ืนๆ ให้หนั มาสนใจและตอบสนองตอ่ ข้อเรียกร้องได้ ๒) ปัจจัยภายนอกขบวนการ มีสาเหตมุ าจาก ๒.๑) รัฐบาลและผู้ที่เป็ นต้นตอปัญหามีการปรับตวั รับมือ ต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการ โดยเรียนรู้ที่จะรับมือกบั ขบวนการ และสามารถนาบทเรียนมากาหนดเป็ นยุทธวิธีในการตอบโต้หรือยุติ การเคลือ่ นไหวอยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากขนึ ้ เช่น การอาศยั กลไกรัฐลด ความน่าเช่ือถือของขบวนการด้ วยการสร้ างทัศนคติเชิงลบต่อ ขบวนการ โดยการกล่าวหาเป็ นม๊อบรับจ้าง หรือม๊อบเอ็นจีโออยู่ เบือ้ งหลัง หรือไม่ก็เป็ นการสร้ างกลุ่มต่อต้านขบวนการ (counter movement) ขนึ ้ มาตอบโต้การเคล่ือนไหวของขบวนการ เพื่อเป็ นการ รักษาเป้ าหมายและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของรัฐบาลและทุน สมั ปทาน รวมไปถึงการเข้ามาสนับสนุนทางสงั คมกับชุมชนของ ๑๖๓

รัฐบาลและบริษัทผู้รับสมั ปทานโดยการบริจาคเงิน สิ่งของ หรือไม่ก็ เป็นการจดั ซอื ้ สาธารณปู โภคตา่ งๆ ให้กบั ชมุ ชนเพื่อหวงั ลดการต่อต้าน ของขบวนการลงไป ๒.๒) การขาดพลังสนับสนุนจากภายนอกขบวนการ โดยเฉพาะคนที่เป็ นพลังของการเปล่ียนแปลงที่สาคัญอย่างผู้มี การศึกษาสูง มีความรู้ มีหน้าท่ีการงานดี หรือเรียกว่า “กลุ่มคนชัน้ กลางในเมือง” คนเหล่านีไ้ ม่ตอบสนองต่อปัญหาของชาวบ้านใน ท้องถ่ินเท่าท่ีควร หรือแม้กระท่ังกลุ่มคนรุ่นใหม่อย่างนักศึกษาและ ปัญญาชนเองก็ห่างไกลจากปัญหาความเดือดร้อนของชาวบ้าน ทงั้ นี ้ อาจเนื่องมาจากประเด็นปัญหาเป็ นประเด็นเฉพาะของชาวบ้านใน ท้องถ่ินซึ่งไกลจากความเดือดร้ อนของตนเอง หรืออาจเป็ นเพราะ ปัญหาความจาเป็นพืน้ ฐานในการยงั ชีพและมีคา่ นิยมแบบวตั ถนุ ิยม ๒.๓) โครงสร้ างโอกาสทางสังคม - การเมือง (social - political opportunity structure) หลงั ทศวรรษ ๒๕๔๐ ท่ีเอือ้ ต่อรัฐบาล และทุนสมั ปทานให้สามารถดาเนินนโยบายและเร่งเร้ าให้เกิดการ ลงทุนในภูมิภาค เช่น มาตรการในการส่งเสริมการลงทนุ ที่รัฐบาลให้ สิทธิพิเศษต่างๆ การให้สมั ปทานพิเศษแก่ทุนสมั ปทาน โครงสร้ าง โอกาสท่ีเปิ ดกว้างกลบั กลายเป็ นว่าทาให้รัฐบาลและทุนสัมปทาน ผนกึ กาลงั กนั อยา่ งแขง็ แกร่งมากขนึ ้ ๑๖๔

ตัวอย่างขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมอีสาน: กรณี ขบวนการเคล่ ือนไหวต่ อต้ านเหมืองแร่ อีสาน ขบวนการเคล่ือนไหวต่อต้านเหมืองแร่อสี านคือใคร ขบวนการเคลื่อนไหวตอ่ ต้านเหมืองแร่อีสานหรือในนาม “กล่มุ คนรักษ์บ้านเกิด” เป็ นกล่มุ ที่ก่อตวั จากผลพวงของนโยบายการ พัฒนาประเทศ ท่ีรัฐบาลได้ หันเหยุทธศาสตร์ การพัฒนาจาก เกษตรกรรมไปสอู่ ตุ สาหกรรม โดยม่งุ หวงั ใช้ทรัพยากรแร่เป็ นรากฐาน สร้างความเจริญมง่ั คงั่ และความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ เม่ือรัฐบาลได้ออกนโยบายการพัฒนาเหมืองแร่ และ เร่งเร้าให้เกิดการลงทุนโครงเหมืองแร่ขนาดใหญ่ ทาให้ภูมิภาคต่างๆ กลายเป็นพืน้ ท่ีทางยทุ ธศาสตร์ของการทาเหมืองแร่ “บ้านนาหนองบง” เป็นหนงึ่ ในหมบู่ ้านท่ีถกู กาหนดเข้าเป็ นส่วนหน่ึงในยทุ ธศาสตร์การทา เหมืองแร่ของประเทศ โดยรัฐบาลได้ให้ สัมปทานแก่กลุ่มทุนเข้ า ประกอบกิจการเหมืองแร่ทองคา แต่หลังจากการเปิ ดดาเนินการ เหมืองได้ไม่นานในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ก็เกิดการเปล่ียนแปลงภายใน ชุมชน ตัง้ แต่ต้นไม้เห่ียวเฉาตาย ฝ่ ุนตามบ้านเรือนมีมากเกินปกติ ปลาตาย ชาวบ้านเป็นตมุ่ คนั ตามผิวหนงั ส่ิงแวดล้อมชมุ ชนเส่ือมโทรม อย่างรวดเร็ว จนในที่สุดชาวบ้ านไม่สามารถทนต่อสภาพความ เดือดร้ อนได้จึงรวมตัวกันในนาม “กลุ่มคนรักษ์บ้านเกิด” และ เคลื่อนไหวคดั ค้านโครงการเหมืองแร่ทองคา เร่ิมตงั้ แต่ปี ๒๕๔๘ มา จนถงึ ปี ปัจจบุ นั ๑๖๕

ทัง้ นีก้ ลุ่มได้ใช้การเคลื่อนไหวในเวทีส่ิงแวดล้อมเป็ น พืน้ ที่แสดงความเป็ นตัวตน เพ่ือสะท้ อนถึงระบบคุณค่าในการ ดารงชีวิตที่ยังคงพึ่งทรัพยากรท้องถิ่นเป็ นปัจจัยสาคญั และคงไว้ซ่ึง อานาจในการกาหนดวิถีชีวิตของตนเอง โดยมีการเรียกร้ องที่สาคญั คือ ๑) คัดค้านกฎหมายแร่ท่ีไม่เป็ นธรรม ๒) คัดค้านการขยาย ประทานบัตรที่มีส่วนตดั ตอนทาให้วิถีชีวิตของพวกเขากบั ทรัพยากร ท้องถิ่นแยกขาดออกจากกนั และ ๓) เรียกร้ องให้รัฐบาลแสดงความ รับผิดชอบในการเยียวยาผลกระทบจากผลกระทบจากการดาเนิน โครงการเหมืองแร่ รากเหง้ าปั ญหา จากการศกึ ษาข้อมลู ของกลมุ่ คนรักษ์บ้านเกิดมาตงั้ แต่ ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๗ และการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีกระทาขึน้ ในระหว่างปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ขบวนการได้ทาการวินิจฉัยกรณีปัญหาของโครงการ เหมืองแร่ทองคาของรัฐบาลวา่ ความเดอื ดร้อนท่ีเกิดขนึ ้ เกิดจากสาเหตุ ประการสาคญั ๆ คือ ๑) ความไม่เป็ นธรรมในการจัดการทรัพยากรแร่ โดยรัฐ ความไมเ่ ป็ นธรรมในการจดั การทรัพยากรแร่โดยรัฐ นนั้ ขบวนการได้ส่ือความหมายของความไม่เป็ นธรรมผ่านปัญหา กฎหมายแร่ (พ.ร.บ.แร่ ฉบับท่ี ๕ พ.ศ.๒๕๔๕) ที่มีลกั ษณะลิดรอน ๑๖๖

สทิ ธิทรัพยากรของพวกเขา และสญั ญาสมั ปทานเหมืองแร่ที่มีลกั ษณะ เป็นการผกู ขาดทรัพยากรแร่ระหวา่ งรัฐกบั ทนุ ในการศกึ ษาพบวา่ ขบวนการได้วินิจฉัยว่ากฎหมาย แร่ พ.ศ.๒๕๑๐ ท่ีออกโดยรัฐบาลเป็ นต้นตอสาคญั ของปัญหาความ เดือดร้ อน ทงั้ นีข้ บวนการมองเห็นถึงความไม่เป็ นธรรมในการจดั การ ทรัพยากรแร่จากการท่ีรัฐใช้กฎหมายเข้าไปควบคมุ ทรัพยากรท้องถ่ิน โดยท่ีรัฐมอี านาจบริหารจดั การแตเ่ พียงผ้เู ดียว ปัญหาของกฎหมายแร่ ที่ขบวนการได้วนิ ิจฉยั คือ เหน็ วา่ “กฎหมายแร่ได้แยกแร่ท่ีเป็ นส่วนหนงึ่ ในเนือ้ ดินหรือเนือ้ เดียวกับที่ดินออกจากกัน ด้วยการออกกฎบังคับ ไม่ให้ผู้ใดสารวจหรือทาเหมืองแร่ในที่ใดๆ ไมว่ ่าท่ีแห่งนนั้ จะเป็ นสิทธิ ของบุคคลใดหรือไม่ก็ตาม เว้นแต่จะได้รับสมั ปทานจากรัฐ” การ บญั ญตั ิเช่นนีท้ าให้ทรัพยากร “แร่เป็ นของรัฐ” ในขณะที่ชาวบ้านต่าง เช่ือวา่ เป็นการกีดกนั พวกตนออกจากการเป็นเจ้าของทรัพยากร กฎหมายแร่สาหรับขบวนการจึงกลายเป็ นเครื่องมือ ในการเข้าควบคมุ ทรัพยากรท้องถิ่น และนามาซง่ึ ความไม่เป็ นธรรมแก่ ชาวบ้าน กฎหมายแร่ทาให้รัฐเข้าไปหรืออนุญาตให้กลมุ่ ทุนเข้าไปทา การสารวจและทาเหมืองแร่ได้โดยชอบธรรม การใช้เคร่ืองมือทาง กฎหมายในการเข้าไปควบคมุ ทรัพยากรของรัฐสง่ ผลให้ท่ีดินกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครองของชาวบ้านรวมทงั้ ที่สาธารณะต่างๆ ที่ชมุ ชนใช้ พงึ่ พาในการดารงชีพหมดไป ๑๖๗

นอกจากนีข้ บวนการยังวินิจฉัยปัญหากรณีของ โครงการเหมืองแร่ว่า เป็ นปัญหาของสญั ญาสมั ปทานเหมืองแร่ด้วย ซึ่งเป็ นผลจากการที่รัฐบาลแก้ไข พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.๒๕๑๐ ด้วยการ เพิ่มเตมิ มาตรา ๖ ทวิ สนบั สนนุ การทาเหมืองแร่ของกลมุ่ ทนุ สมั ปทาน โดยขบวนการมองว่าเป็ นกรณีที่รัฐต้องการสนบั สนนุ กลมุ่ ทุนให้เข้าถึง ทรัพยากรแร่ได้ง่ายดายขนึ ้ อนั เป็ นผลสืบเน่ืองจากปัญหาการพฒั นา ทรัพยากรแร่ที่ไม่สามารถขยายตัวได้เพิ่มขึน้ ตามเป้ าหมายทาง อุตสาหกรรม ทาให้รัฐบาลเร่งผลักดนั แก้ไข พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.๒๕๑๐ ด้วยการเพ่ิมเติมมาตรา ๖ ทวิ เนื่องจากกฎหมายแร่ที่ใช้บงั คบั อยู่ใน ขณะนัน้ ไม่อาจเร่งรัดการผลิตแร่ให้ได้ผล และอานวยประโยชน์แก่ ประเทศตามที่วางแผนไว้ จงึ ได้เพิ่มมาตรา ๖ ทวิ เพื่อเปิ ดโอกาสให้นกั ลงทุนทา “สญั ญาสมั ปทานพิเศษ” กบั รัฐได้ เนื่องจากสมั ปทานปกติ ตามกฎหมายแร่ท่ีใช้บังคับอยู่มีข้อจากัดในเร่ืองขนาดพืน้ ที่ อายุ สมั ปทาน คณุ สมบตั ิของผ้ขู อสมั ปทาน หลกั เกณ์์ เง่ือนไขและวิธีการ ที่เป็นอปุ สรรคตอ่ การลงทนุ ในพืน้ ที่ขนาดใหญ่ ขบวนการเห็นว่า สญั ญาสมั ปทานพิเศษที่รัฐบาล กาหนดขนึ ้ ให้แก่กล่มุ ทนุ นนั้ เป็ นการผูกขาดการใช้ทรัพยากรแร่อย่าง สมบรู ณ์ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในพืน้ ที่ที่นอกเหนือจากที่สมั ปทานปกติได้ อนุญาตไว้ กลุ่มทุนสามารถเข้าดาเนินการสารวจและทาเหมือง ต่อเนื่องโดยไม่จาเป็ นต้องย่ืนขออาชญาบัตรและประทานบัตรอีก กรณีนีถ้ ือเป็นการจบั จองพืน้ ที่แหลง่ แร่ลว่ งหน้า ปัญหานีข้ บวนการเหน็ ๑๖๘

ว่ารัฐบาลเอือ้ ประโยชน์แก่กลุ่มทุน โดยสัญญาสัมปทานพิเศษที่ รัฐบาลกาหนดขนึ ้ นนั้ นอกจากจะเป็นการจงู ใจการลงทุนในทรัพยากร แร่ ยังเป็ นหลักประกันแก่บริษัทเจ้าของโครงการที่ทาสัญญาว่าจะ ได้รับอาชญาบัตรและประทานบัตรอย่างแน่นอน ท่ีสาคัญสัญญา สมั ปทานพิเศษไม่มีกาหนดวนั สิน้ สุด ฉะนัน้ ไม่ว่าจะมีเหตุการณ์ใด เกิดขึน้ ในพืน้ ท่ีก็ตาม เช่น การเคล่ือนไหวคดั ค้านของขบวนการ การ เรียกร้องให้ยตุ ิโครงการ ฯลฯ สญั ญาสมั ปทานพิเศษท่ีออกโดยรัฐก็จะ ยงั ค้มุ ครองแหลง่ แร่นนั้ ไว้ให้กบั กลมุ่ ทุนที่ทาสญั ญา และสามารถจับ จองและใช้ประโยชน์พืน้ ท่ีโดยชอบธรรมจากสญั ญาสมั ปทานพิเศษ กรณีเช่นนีจ้ งึ ไมเ่ ป็นธรรมตอ่ ขบวนการ เพราะทรัพยากรท้องถ่ินท่ีใช้ใน การดารงชีพตกไปอย่ใู นการควบคมุ ของกลมุ่ ทนุ สมั ปทาน ๒) นโยบายการพฒั นาท่ไี ม่สอดคล้องกบั วิถีชวี ติ และชุมชน นอกเหนือจากปั ญหาความไม่เป็ นธรรมในการ จัดการทรัพยากรแร่โดยรัฐ ขบวนการยังได้วินิจฉัยปัญหาความ เดือดร้อนท่ีเกิดขนึ ้ จากโครงการเหมืองแร่วา่ มีสาเหตจุ ากนโยบายการ พฒั นาที่ไมส่ อดคล้องกบั สภาพชีวติ จริงของชาวบ้านในพืน้ ท่ี จากการศึกษาสารวจพบว่า ขบวนการได้วินิจฉยั ว่า การที่รัฐบาลได้ให้ความสาคญั กับการพฒั นาประเทศ โดยการนาเอา ทรัพยากรแร่ไปกาหนดเป็ นทรัพยากรเป้ าหมายในการสร้ างความ เจริญทางเศรษฐกิจนนั้ ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อวิถีชีวิตและชุมชน ๑๖๙

เป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะการนาทรัพยากรแร่ไปผนวกกบั แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ กรณีเช่นนีไ้ ด้ทาให้เกิดการคกุ คามขูดรีด ทรัพยากรท่ีมีอย่ใู นท้องถิ่น ทรัพยากรแร่จานวนไม่น้อยถกู ผ่องถ่ายไป เป็นทนุ เศรษฐกิจ เหน็ ได้จากแผนพฒั นาฯ ทกุ ๆ ฉบบั ท่ียงั คงมงุ่ สง่ เสริม และสนบั สนนุ การใช้ทรัพยากรแร่เพื่อเพิ่มมลู ค่าการสง่ ออกผลิตภณั ์์ ท่ีใช้แร่เป็นวตั ถดุ บิ การกระจายตลาดส่งออกสินค้าจากแร่ รวมถึงการ เร่งรัดสารวจหาแหล่งแร่ใหม่ๆ ในขณะที่ท้องถิ่นเองยังคงพ่ึงพา ทรัพยากรธรรมชาตใิ นการดารงชีวิต นโยบายการพฒั นาที่เน้นด้านอตุ สาหกรรมมากกว่า เกษตรกรรมที่ลงมาสชู่ าวบ้านจงึ กลายเป็ นปมปัญหามากกวา่ ที่จะเอือ้ ต่อวิถีชีวิต ในขณะเดียวกันนโยบายท่ีรัฐบาลม่งุ ส่งเสริมอนั นีก้ ลบั ไป สนบั สนนุ อ้มุ ชใู ห้กลมุ่ ทุนสมั ปทานเติบโต รายงานของ กรมทรัพยากร ธรณี (๒๕๔๓) พบวา่ ในการทาเหมืองแร่ทองคาของบริษัทท่งุ คาฯ บน ภูทับฟ้ าและภูซาป่ าบอนเม่ือผ่านกระบวนการแต่งแร่คาดว่าจะได้ ทองคาประมาณ ๕ ตนั คิดเป็นมลู คา่ ประมาณ ๑,๕๐๐ ล้านบาท โดย ในปี ๒๕๕๐ บริษัทฯ ผลิตทองคาได้ ๐.๙๓ ตนั และปี ๒๕๕๑ สามารถผลิตได้สงู ถงึ ๑ ตนั ซงึ่ นบั เป็ นปริมาณมาก แต่แม้จะมีมลู คา่ จากการทาเหมืองแร่ทองคาเป็ นจานวนมาก สาหรับขบวนการกลบั เห็นวา่ เป็ นสิ่งท่ีไมส่ อดคล้องกบั วิถีการดารงชีพ เพราะทรัพยากรของ ชุมชนที่สญู เสียไปนัน้ ไม่ค้มุ คา่ ทางเศรษฐกิจ และสงั คม และวิถีชีวิต ของคนในพืน้ ที่ ๑๗๐

นอกจากนีย้ ังพบว่า นโยบายดังกล่าวได้ ส่งผล กระทบตอ่ วิถีชีวิตและชุมชนอย่างมาก โครงการเหมืองแร่ทองคาของ บริษัทท่งุ คาฯ ท่ีดาเนินการอย่นู นั้ ชาวบ้านต้องประสบกบั การปนเปื อ้ น ของแหล่งนา้ ผิวดิน รวมถึงผลกระทบต่อไร่นา ผลกระทบต่อจานวน ปลาท่ีลดลง ขบวนการวินิจฉัยว่า นา้ ที่ปนเปื ้อนสารเคมีแต่งแร่เป็ น ส่วนหน่ึงของสาเหตทุ ่ีทาให้เกิดการลดลงของผลผลิตในวงกว้าง จาก รายงานของ ศูนย์ข้ อมูลสิทธิมนุษยชนและสันติภาพภาคอีสาน (๒๕๕๑) หลงั จากนา้ ปนเปื ้อนจากการเหมืองแร่ไหลลงส่ลู าห้วยและ พืน้ ท่ีเกษตรกรรม ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ ผลผลิตข้าวลดลงกวา่ ๑ เท่าตวั ในทานองเดียวกันกับปลาในท้องถ่ินซ่งึ เป็ นอาหารหลกั ท่ีสาคญั ของ ชาวบ้านได้ตายลงในอตั ราท่ีผิดปกติ สว่ นป่ าชมุ ชนประมาณ ๙๐๐ ไร่ ซ่ึงเคยเป็ นแหล่งผัก สมุนไพร เป็ นไม้ใช้สอย และเป็ นแหล่งอาหาร ธรรมชาติของชมุ ชนก็ลดลงไปด้วย ผลกระทบท่ีเกิดขนึ ้ กบั วิถีชีวิตและ ชมุ ชนจงึ ถือวา่ รัฐบาลล้มเหลวในการใช้นโยบายการพฒั นา ๓) การสมคบคดิ ร่วมมือกันระหว่างรัฐกับทนุ การประสานผลประโยชน์กนั ระหวา่ งรัฐบาลกับทุน สมั ปทาน เป็ นสิ่งที่ขบวนการมองว่าเป็ นปัญหาท่ีส่งผลกระทบอย่าง รุนแรงตอ่ พวกเขาในพืน้ ที่ นบั ตงั้ แตถ่ ูกกาหนดให้เป็ นพืน้ ที่ยุทธศาสตร์ การทาเหมืองแร่ ชาวบ้านและขบวนการกไ็ ด้เร่ิมรับรู้ถึงความเดือดร้อน ที่ตามมา ๑๗๑

ขบวนการได้ทาการวินิจฉัยว่า การรวมตัวกันและ ผนึกกาลังอย่างแข็งแกร่งของรัฐบาลและทุนสัมปทาน เป็ นต้นตอ ปัญหาที่นาความเดือดร้ อนมาส่พู วกเขา โดยเช่ือว่ารัฐได้พยายามทา ทกุ วิถีทางเพ่ือให้เกิดการลงทนุ และพยายามสนบั สนนุ ให้เอกชนทงั้ ใน และนอกประเทศลงทนุ ด้านอตุ สาหกรรมเหมอื งแร่ให้ขยายเติบโต ทงั้ นี ้ กเ็ พื่อให้เป็นไปตามยทุ ธศาสตร์ท่ีรัฐบาลได้กาหนดเอาไว้ การผนกึ กาลงั อย่างแขง็ แกร่งระหวา่ งฝ่ ายรัฐบาลกบั ฝ่ ายทุนท่ีขบวนการวินิจฉัยว่าเป็ นปัญหาก็คือ กรณีของกฎหมาย ประกอบการทาเหมืองแร่ เช่น พ.ร.บ.สภาการเหมืองแร่ พ.ศ.๒๕๒๖ ขบวนการเห็นว่าเป็ นกฎหมายท่ีถูกออกแบบมาเพื่อให้ กลุ่มทุน สมั ปทานเหมอื งแร่ผนกึ รวมเข้ากบั อานาจรัฐอยา่ งเข้มแข็ง เนื่องจากได้ ให้สิทธิแก่กลุ่มทุนสัมปทานเหมืองแร่เข้าไปเป็ น “คณะกรรมการ ร่วมกบั ภาครัฐ” โดยให้มีอานาจหน้าที่ในการเสนอแนะ ให้ความเห็น และให้คาปรึกษาในด้านการประกอบอตุ สาหกรรมเหมอื งแร่ รวมไปถงึ การออกนโยบายอุตสาหกรรมเหมืองแร่ร่วมกับรัฐ ความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐบาลกบั ทุนสมั ปทานในรูปแบบองค์กร “สภาการเหมืองแร่” จึงเป็ นสิ่งที่ขบวนการมองว่าเป็ นการสมคบคิดเอือ้ ประโยชน์ต่อกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการให้ รัฐออกมาตรการหรื อนโยบายส่งเสริ มและ พฒั นาอตุ สาหกรรมเหมืองแร่ที่เป็นประโยชน์กบั กลมุ่ ทนุ สมั ปทาน เช่น การได้สิทธิในการสารวจและทาเหมืองแร่ระยะยาว (สมั ปทานพิเศษ) การออกมาตรการสง่ เสริมการลงทนุ ด้วยการงดเว้นหรือลดหย่อนภาษี ๑๗๒

ต่างๆ (BOI) การส่งเสริม สนบั สนุน การศึกษา การค้นคว้า การวิจัย และการทดลองเกี่ยวกับอตุ สาหกรรมแร่ เพื่อเป็ นประโยชน์ให้กบั นัก กลมุ่ ทนุ ในการตอ่ ยอดขอสมั ปทานสารวจและทาเหมืองแร่ ปัญหาการสมคบคิดระหวา่ งรัฐบาลกบั ทุนสมั ปทาน จึงกลายเป็ นความเดือดร้ อนของชาวบ้าน นอกจากนีข้ บวนการยัง สะท้อนปัญหาผา่ นบทลงโทษทางกฎหมายที่มลี กั ษณะออ่ นแอ และไม่ สามารถลงโทษผ้ปู ระกอบการเหมืองแร่ที่กระทาผิดได้ในบางกรณี เห็น ได้จากกรณีท่ีเกิดขนึ ้ กบั พืน้ ท่ีเม่ือปี พ.ศ.๒๕๕๐ ที่ชาวบ้านได้จดั การ เรียกร้ องสิทธิทางนา้ ไปยังรัฐบาลในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีการจัด ชมุ นุมท่ีหน้าศาลากลางจงั หวดั เลย เพื่อเรียกร้องให้ทางจงั หวดั แก้ไข ปัญหาจากนา้ ปนเปื อ้ น และในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ชาวบ้านได้ยื่นหนงั สือ ตอ่ คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ เพื่อร้องเรียนกรณีที่ชาวบ้าน ถกู ละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนและสิทธิชมุ ชน การเรียกร้องเกี่ยวกบั ปัญหาที่ เกิดขึน้ แม้เป็ นกรณีที่ชาวบ้านได้รับผลกระทบทัง้ ทางสุขภาพ การ ละเมิดสิทธิชุมชน และการละเมิดสิทธิทากิน แต่รัฐบาลก็ล้มเหลวใน การเอาผิดหรือลงโทษกับบริษัทฯ ที่เป็ นผู้ก่อปัญหา บทลงโทษท่ีมี สภาพอ่อนแอ ขาดความชดั เจน สาหรับขบวนการนอกจากจะมองว่า เป็ นความล้มเหลวของรัฐบาลท่ีไม่สามารถบังคับให้กลุ่มทุนแสดง ความรับผิดชอบต่อปัญหาผลกระทบ ยังถือเป็ นการสมคบคิดร่วมมือ กนั ระหวา่ งรัฐบาลกบั ทนุ สมั ปทานอีกด้วย ๑๗๓

สรุป ขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมอีสานเป็ นการรวมกลุ่ม กระทาการทางสงั คมของชาวอีสานเพื่อตอบโต้ คดั ค้าน หรือปฏิเสธต่อ การเปลี่ยนแปลงจากการกระทาของรัฐบาล เอกชน/ทุน หรือผู้ที่เป็ น ต้นตอปัญหา ในอดีตผ้ทู ี่เป็ นค่กู รณีปัญหาของขบวนการเคลื่อนไหวทาง สงั คมอีสานมกั จะเป็ นชนชนั้ ปกครอง แต่ในยคุ ประชาธิปไตยเบ่งบาน คกู่ รณีปัญหาคอื รัฐบาลทหาร และในยคุ ปัจจุบนั มกั เป็ นรัฐบาลซงึ่ เป็ น รัฐบาลที่มาจากการเลือกตัง้ และกลุ่มทุนสัมปทาน โดยแต่ละ ขบวนการมีวัตถุประสงค์ในการเคล่ือนไหวท่ีแตกต่างกัน อีกทัง้ ก็มี รูปแบบของการเคลื่อนไหวที่เป็ นไปอย่างหลากหลาย คือมีทงั้ วิธีการ เคล่ือนไหวตามช่องทางระบบการเมืองปกติ และวิธีการขัดขวาง ท้าทายระบบปกติ ทงั้ นีข้ นึ ้ อย่กู บั บริบทของปัญหาและสถานการณ์ ขบวนการเคล่ือนไหวทางสังคมอีสานท่ีผ่านมา การ เคล่ือนไหวมีทงั้ ประสบความสาเร็จและล้มเหลว โดยความสาเร็จและ ความล้มเหลวเกิดขนึ ้ จากทงั้ ปัจจยั ภายในและภายนอกขบวนการ ซงึ่ ความสาเร็จท่ีวา่ นีค้ อื การเคลื่อนไหวที่ทาให้รัฐบาล ทนุ สมั ปทาน หรือผู้ ท่ีเป็ นต้นตอปัญหาตอบสนองต่อข้ อเรียกร้ อง แต่ท่ีไม่สาเร็จก็คือ ข้อเสนอของขบวนการถกู ปฏิเสธ อีกทงั้ ยงั ต้องถกู ปราบปรามจากฝ่ าย ตอ่ ต้านอยา่ งรุนแรง ๑๗๔

บทท่ี ๘ โครงสร้ าง และผ้กู ระทาการอีสาน ๑๗๕

แท้ที่จริงแล้วโครงสร้างกบั ผ้กู ระทาการ คือสว่ นทม่ี ีความสมั พนั ธ์กนั และไมส่ ามารถแยกขาดจากกนั ได้ ๑๗๖

เมอื่ กอ่ นเราเคยเข้าใจวา่ โครงสร้างกอ็ ย่เู ฉพาะแต่โครงสร้าง มีหน้าท่ีบีบบงั คบั ให้คนปฏิบตั ติ าม หากผ้ใู ดฝ่ าฝื นและไมป่ ฏิบตั ิตามก็ มกั จะถูกลงโทษจากโครงสร้ าง “โครงสร้ าง” จึงมีสถานภาพเป็ นทงั้ “อานาจ” และการ “บีบบงั คบั ” อย่ใู นตวั อย่างอตั โนมตั ิ ส่วนผ้กู ระทา การกม็ ีสถานะเป็ นแต่เพียงส่วนท่ีอย่นู อกเหนือจากโครงสร้าง มีหน้าท่ี ปฏิบตั ิตามโครงสร้ าง ตามบรรทดั ฐานและกฎระเบียบที่โครงสร้ างได้ วางเอาไว้ การมองความสัมพันธ์ของโครงสร้ าง-ผู้กระทาการใน ลกั ษณะนีเ้ ราจึงเห็นโครงสร้ างแยกขาดกันกับผู้กระทาการ แต่ความ เป็นจริงหาเป็นเชน่ นนั้ ไม่ เพราะโดยแท้ท่ีจริงแล้วโครงสร้างกบั ผ้กู ระทา การคือสว่ นท่ีมีความสมั พนั ธ์กนั และไมส่ ามารถแยกขาดจากกนั ได้ เพื่อให้เข้าใจเนือ้ หาที่ผ้เู ขียนพยายามสร้างความเข้าใจ ใน บทนีจ้ งึ เป็นการกลา่ วถงึ โครงสร้างและผ้กู ระทาการอีสานวา่ คนอีสาน ได้เข้าไปปฏิสัมพันธ์กับโครงสร้ างอย่างไร พวกเขาปฏิบัติการกับ โครงสร้างที่กาลงั กาหนดพวกเขาอย่อู ยา่ งไร และโครงสร้างเหล่านนั้ รับ ๑๗๗

ใช้คนอีสานอย่างไร ทงั้ นีเ้ พ่ือเป็ นการตอกยา้ ให้เห็นถงึ “อานาจ” และ “ตวั ตน” คนอีสานในมิติตา่ งๆ แต่ก่อนท่ีจะได้ทาความเข้าใจดงั กล่าว ในส่วนแรกผ้ ูเขียนจะได้ นาเสนอเก่ียวกับข้ อเสนอหรื อมโนทัศน์ทาง ทฤษฎีสงั คมวทิ ยาท่ีเก่ียวข้องเพ่ือเป็ นการปูพืน้ ไปส่กู ารทาความเข้ าใจ “โครงสร้างและผ้กู ระทาการอีสาน” ถ้าไม่ใช่เร่ืองโครงสร้างก็เป็ นเร่ืองผู้กระทาการ ตามจารีตของวิธีคิดทางสงั คมวิทยาท่ีมีมาแต่เดิมนัน้ เรา มกั จะแบ่งโลกทางทฤษฎีสงั คมวทิ ยาออกเป็น ๒ ฝ่ าย คือ ถ้าไม่ใช่กล่มุ ที่อธิบายพฤตกิ รรมของมนษุ ย์โดยแนวคดิ “โครงสร้าง-การหน้าที่นิยม” (structure functional theory) ก็มกั จะเป็ นกล่มุ แนวคิด “ผ้กู ระทาการ นิยม” หรือกลมุ่ แนวคิด “ปรากฏการณ์นิยม” (phenomenology) ทงั้ นี ้ กลมุ่ แนวคดิ โครงสร้างนิยม มกั จะให้ความสาคญั กบั บทบาทโครงสร้าง สงั คมในการกาหนดบทบาท หน้าท่ี และเจตจานงของปัจเจก ดงั เช่น แนวคดิ โครงสร้าง-การหน้าท่ีนิยมที่เน้นบทบาทของโครงสร้างสงั คมใน การกาหนดหน้าที่ของสมาชิกในสงั คมเพื่อรักษาเสถียรภาพของสงั คม๑ ๑ Durkhem ให้เหตผุ ลวา่ ๑) สงั คมมคี วามสาคญั เหนือกวา่ ปัจเจกบคุ คล สงั คมเป็ น มากกวา่ ผลรวมของการกระทาของปัจเจกบคุ คล โดยทส่ี งั คมมีความมนั่ คงถาวร มี เอกภาพ ในลกั ษณะเดยี วกนั กบั โครงสร้างตา่ งๆ ในสภาพแวดล้อมทางวตั ถุ และ ๒) โครงสร้างสงั คม เป็ นตวั กาหนดการกระทากิจกรรมของคนเราในฐานะปัจเจกบคุ คล (Durkheim, ๑๙๘๒) ๑๗๘

ในขณะท่ีแนวคิดมาร์ กซ์ซิสม์ (marxism) เน้ นการกาหนดของ โครงสร้ างเศรษฐกิจท่ีมีบทบาทหลกั ในการควบคุมโครงสร้ างสงั คม สว่ นอื่นๆ อีกทงั้ ยังมองว่าความขดั แย้งทางชนชนั้ เป็ นปัจจยั สาคญั ใน การขบั เคล่อื นสงั คม ส่วนอีกกล่มุ แนวคิดที่เน้นปัจเจกผู้กระทาการ กล่มุ นีใ้ ห้ ความสาคัญกับบทบาทผู้กระทาการในฐานะปั จเจกบุคคลที่มี เจ ต จ า น ง เ สรี ใ น ก า ร ก ร ะท า ท า ง สัง ค มที่ อ ยู่ เ ห นื อ ก าร ก า ห น ด โ ด ย โครงสร้ างสังคม ได้แก่ แนวคิดปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์ (symbolic interaction) ซ่ึงเช่ือว่ามนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างมีแบบแผน มี ความรู้และมีเหตผุ ลในการกระทาต่อโลกและสงั คมท่ีเขาเป็ นอย่อู ย่าง สร้ างสรรค์ การมองสงั คมตามจารีตทางทฤษฎีในลกั ษณะ “ถ้าไม่เป็ น เรื่องโครงสร้างก็เป็ นเรื่องของผ้กู ระทาการ” หรือเป็ นสีดา-ขาว ทาให้ ประสบปัญหาอย่างมากในการอธิบายสงั คม โดยเฉพาะในโลกท่ีเรา กาลังเป็ นอยู่ในปัจจุบันซ่ึงไม่มีส่ิงท่ีเรียกว่า “สุดขัว้ ” “โครงสร้ าง กาหนด” “ปัจเจกผ้กู ระทาการกาหนด” หรือแบบ “individual-society” กล่าวง่ายๆ ก็คือไม่มีลักษณะที่เป็ นแบบคู่ตรงข้ามหรือ “ทวิลกั ษณ์ นิยม” (dualism) ปั ญหาทางทฤษฎีข้ างต้ นจึงไม่แปลกแต่ประการใดท่ีนัก สงั คมวิทยารุ่นหลงั (กล่มุ นกั คิดหลงั สมยั ใหม่ กล่มุ นกั คิดนีโอมาร์กซ์ ๑๗๙

ซิสม์) พยายามสลายขวั้ ทฤษฎีและหาทางออกทางเพ่ือไม่ให้ติดกบั ดกั ในการมองสงั คมว่าเป็ นเร่ืองของโครงสร้ างหรือผู้กระทาการแต่เพียง อันหน่ึงอันใด แต่พยายามแก้ปัญหาออกมาเป็ นแนวคิด มโนทัศน์ ใหมๆ่ แบบสีเทาๆ เทาทบึ ๆ หรือเทาจางๆ ซงึ่ ไมใ่ ช่สีดา-ขาว อย่างที่เรา เคยมองกันมา ที่เห็นได้ชัดเจนท่ีสุดก็คือกลุ่มแนวคิดที่ปฏิเสธวิธีคิด แบบทวิลักษณ์นิยม เช่น แนวคิดหลังสมัยใหม่ (postmodernism) แนวคิด “structuration” ของ Giddens (๑๙๙๑) หรือท่ี เอก ตงั้ ทรัพย์ วฒั นา (๒๕๕๐ อ้างใน ศิริพรรณ นกสวน และเอก ตงั้ ทรัพย์วฒั นา, ๒๕๕๑) แปลเป็ นภาษาไทยว่า “ทฤษฎีการก่อตวั ของโครงสร้ างความสมั พันธ์ ทางสงั คม” โครงสร้างและผู้กระทาการในทัศนะของกดิ เดนส์ กิดเดนส์ (Giddens) ได้อธิบายให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ระหว่าง “โครงสร้ าง” (structure) กับ “ผู้กระทาการ” (agency) หรือ การกระทา (action) โดยมองความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่าง โครงสร้ างสงั คมกับปัจเจกผู้กระทาการ (บุคคล/ปัจเจกบุคคล กลุ่ม บคุ คล) ในแง่มมุ ท่ีแตกตา่ งจากความเชื่อดงั้ เดิมของนกั สงั คมวิทยายุค ก่อนที่เชื่อว่าโครงสร้างมิได้ครอบงาและกาหนดการกระทาของมนษุ ย์ หรือมนุษย์/ปัจเจกผ้กู ระทาการมิได้เป็ นแตเ่ พียงฝ่ ายเดียวท่ีถูกกระทา จากองค์ประกอบของโครงสร้ าง ๑๘๐

ทัง้ นี ้ กิดเดนส์ ได้เริ่มงานศึกษานีอ้ ย่างจริงจังในปี ค.ศ. ๑๙๗๖ เร่ือง “กฎเกณฑ์ใหมข่ องวิธีการทางสงั คมวิทยา” (New Rules of Sociological Method) (Giddens, ๑๙๗๖) ก่อนท่ีจะพบข้อสรุป และเสนอให้ นักสังคมวิทยาเปลี่ยนความสนใจจากข้ อเท็จจริ งทาง สงั คม (social facts) แบบที่ เดอร์ไคม์ (Durkhem) เคยเสนอเอาไว้ และมาสนใจตวั มนษุ ย์ที่มีกิจกรรมในการผลิตรูปแบบตา่ งๆ ในสงั คม แทน กิดเดนส์ ได้ข้อสรุปท่ีชดั เจนว่าการทาความเข้าใจเก่ียวกบั โลกและวตั ถุนนั้ มิอาจที่จะใช้มมุ มองแบบทวิลกั ษณ์ แต่ควรที่จะออก จากกบั ดกั ความคิดตรงนีแ้ ละมงุ่ ความสนใจไปท่ีการกระทาระหวา่ งกนั ในลักษณะของ “structuration” ท่ีความสัมพันธ์ระหว่างปั จเจก ผู้กระทาการกับโครงสร้ างสังคมซึ่งมีลกั ษณะเป็ นการ “กาหนด-ถูก กระทาตอ่ กนั และกนั ” ฉะนัน้ โครงสร้ างและผู้กระทาการท่ี กิดเดนส์ นาเสนอ เอาไว้ จึงแตกต่างจากมุมมองทางสังคมวิทยาเดิมซ่ึงไม่มีลักษณะท่ี โครงสร้ างเป็ น “ผู้กระทา” (subjectivity) และมนุษย์มีลกั ษณะเป็ น “ผ้ถู ูกกระทา” (objectivity) แบบเส้นตรงหรือแต่เพียงฝ่ ายเดียว แต่ ความสมั พันธ์และการกระทาทางสงั คมมีลักษณะย้อนแย้งกนั ไปมา ระหวา่ งโครงสร้างสงั คมกบั ปัจเจกผ้กู ระทาการ ๑๘๑

สาหรับ กิดเดนส์ แล้วเขามองโครงสร้ างความสมั พนั ธ์ทาง สังคมซับซ้อนและลุ่มลึกกว่านักสังคมวิทยายุคก่อน เขาเห็นว่าทัง้ โครงสร้ างและมนุษย์ต่างก็มีลกั ษณะเป็ นผู้ “กระทา” และมีลักษณะ เป็นผู้ “ถกู กระทา” ไปพร้อมๆ กนั กลา่ วคอื ตา่ งฝ่ ายตา่ งกระทาย้อนไป ย้อนมาในลกั ษณะท่ีเป็ นวิภาษวิธี (dialectic) คือ ปัจเจกบุคคลสร้ าง กฎเกณฑ์กติกาขึน้ มา กฎเกณฑ์เหล่านัน้ ก็กลับมาบังคับควบคุม พฤติกรรมของมนุษย์ และมนษุ ย์เองก็พยายามท่ีจะหาวิธีปรับเปลี่ยน โครงสร้างอนั นนั้ ไปเรื่อยๆ ซงึ่ โครงสร้ างที่เกิดขึน้ ใหม่ก็มีทงั้ ลกั ษณะที่ กลับมาบังคับควบคุมและรับใช้มนุษย์เช่นเดิม ซ่ึงในกรณีดังกล่าว ปัจเจกบคุ คลก็เป็ นทงั้ ผ้ทู ี่สร้างโครงสร้างและถูกกระทาจากโครงสร้าง และในเวลาเดียวกันโครงสร้ างท่ีมนุษย์สร้ างขึน้ มาก็ทาหน้าท่ีบงั คบั ควบคุมและรับใช้มนุษย์ในเวลาเดียวกัน ปรากฏการณ์ที่เกิดขึน้ ใน ทานองนี ้กิดเดนส์ เรียกวา่ “duality” (Giddens, ๑๙๘๔) “duality” ตามทัศนะของ กิดเดนส์ ก็คือภาวะที่มีการ กระทาและถกู กระทาไปในเวลาเดยี วกนั กลา่ วคือ โครงสร้างจะกระทา ตอ่ มนุษย์ให้เป็ นตวั แทนในการผลิตซา้ โครงสร้ าง แต่ในขณะเดียวกัน มนษุ ย์ก็ใช้โครงสร้างนนั้ เป็นเครื่องมอื ในกระบวนการส่อื สารในสงั คม โครงสร้างและตวั แทนจงึ มใิ ชส่ ง่ิ ท่ีแยกขาดออกจากกนั แบบ คู่ตรงข้ าม (dualism) หากแต่เป็ นส่ิงที่ดารงอยู่ด้ วยกันและมี ความสัมพัน ธ์ อย่างแน บ แน่น กับ ผ้ ูกร ะ ท าการ ห รื อการ กร ะ ท าของ มนษุ ย์ ซง่ึ ในลกั ษณะดงั กลา่ วจะขาดส่ิงใดสิ่งหน่ึงไปไม่ได้ และสาหรับ ๑๘๒

มนุษย์ท่ีเป็ นปัจเจกบุคคลเองก็มีอานาจและเสรีภาพที่จะแสดงตวั ตน ออกมาภายใต้โครงสร้างของสงั คม และในขณะเดียวกันปัจเจกบคุ คล ยังสามารถเปล่ียนแปลงโครงสร้ างของสังคมให้ดีขึน้ ได้ด้วย ไม่มี โครงสร้ างหรือปัจเจกเพียงฝ่ ายเดียวที่ทรงอานาจ แต่ทงั้ สองสว่ นต้อง ดารงอยู่ด้วยกัน (เชษฐา พวงหัตถ์, ๒๕๔๘) ฉะนัน้ แล้วโครงสร้ าง สงั คมกบั มนุษย์ผู้กระทาการจึงถูกผูกเข้าด้วยกันอย่างแนบแน่นผ่าน กระบวนการที่เรียกวา่ “structuration” (Giddens, ๑๙๗๙) คือมนุษย์ เป็นผ้สู ร้างโครงสร้าง (สงั คม) แล้วโครงสร้างกก็ ลบั มาควบคมุ มนษุ ย์ คาว่า “โครงสร้ างสังคม” ตามท่ี กิดเดนส์ ได้พูดเอาไว้ เป็ นได้ทงั้ กลไกโครงสร้าง ระเบียบ กฎเกณฑ์ กระบวนการหล่อหลอม ทางสงั คม การแบ่งช่วงชัน้ ทางเศรษฐกิจและสงั คม สถาบนั ทางสงั คม และเครื อข่ายทางสังคม (ชนิดา ชิ ตบัณฑิตย์ และพรทิพย์ เนติภารัตนกุล, ๒๕๕๔) ซ่ึงมีลกั ษณะเป็ นกฎเกณฑ์ทางสงั คมที่ถูก กาหนดขนึ ้ มาจากคนในสงั คมเพื่อนามาใช้กาหนดการกระทาของคน ในสงั คม ส่วน “ผ้กู ระทาการ” ตามทศั นะของ กิดเดนส์ แล้ว หมายถึง ปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีกระทาการโดยใช้ โครงสร้ างเป็ น เคร่ืองมือในกระบวนการสื่อสารและเป็ นตัวแทนในการผลิตซา้ โครงสร้าง หรือกลา่ วในทานองที่เข้าใจง่ายก็คือ “ศกั ยภาพของปัจเจก ในการปฏิบัติตนอย่างเป็ นอิสระภายใต้เจตจานงเสรีของตนเอง” (ชนิดา ชิตบณั ฑิตย์ และพรทิพย์ เนตภิ ารัตนกลุ , ๒๕๕๔) ๑๘๓

ปฏิสัมพันธ์เชิงอานาจของผู้กระทาการอีสาน: มิติของ กิดเดนส์ “อานาจ” (power) เป็ นประเดน็ ที่อย่ใู นความสนใจของนกั สังคมวิทยามาอย่างยาวนาน เพราะเป็ นแนวคิดท่ีสาคัญท่ีช่วยให้ คนเราเข้าใจการทางานของระบบสงั คม รวมไปถงึ โครงสร้างความคิด ของปัจเจก ขณะเดียวกันก็เป็ นแนวคิดที่นักวิชาการมีความคิดเห็น แตกต่างกันมากที่สุดความคิดหน่ึง ฉะนัน้ จึงทาให้มีการศึกษาและ ตีความอานาจกันอยู่ตลอดเวลา เพื่อนาไปใช้ในการทาความเข้าใจ และวเิ คราะห์ปรากฏการณ์ทางสงั คม กิดเดนส์ เป็ นนกั ทฤษฎีท่านหนงึ่ ท่ีกลา่ วถึงอานาจไว้ โดย มองอานาจแตกต่างจากนกั ทฤษฎีคนอื่นๆ อย่าง มาร์กซ์,๒ เวเบอร์๓ และ ฟูโกต์๔ โดยมองอานาจในมิติของการปฏิสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง สงั คม (structure) กับปัจเจกบุคคลหรือกลมุ่ บุคคลท่ีมีความสามารถ ในการคดิ วเิ คราะห์ และตดั สินใจกระทาการ (agency) ๒ มองอานาจจากพนื ้ ฐาน “ความสมั พนั ธ์ทางการผลิต” (relations of production) รายละเอียดเพ่ิมเตมิ ใน Marx and Engels (๑๙๖๘) ๓ มองอานาจวา่ เป็ น “สถานภาพในความสมั พนั ธ์ทางสงั คม” รายละเอยี ดเพิ่มเติมใน Weber (๑๙๗๘) ๔ มองอานาจทีเ่ ชื่อมโยงกบั “ความรู้” และ “ความจริง” รายละเอยี ดเพม่ิ เติมใน Foucaule (๑๙๘๐) ๑๘๔

Giddens (๑๙๘๔) เสนอว่า อานาจมีลักษณะเป็ น คุณสมบัติเชิงโครงสร้ าง ๒ ด้าน คือ ด้านหนึ่งเป็ น “ความสามารถ” ของตวั แทนอานาจที่จะก่อให้เกิดผลที่มีความแตกต่างไปจากสภาพ เดิม ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็ น “สมบตั ิ” (ทรัพยากร) ของโครงสร้ างสงั คม ทงั้ นี ้กิดเดนส์ เห็นวา่ โครงสร้างสงั คมไมไ่ ด้เป็ นข้อจากดั และอุปสรรค ที่มากาหนดการกระทาของปัจเจก แต่กลับส่งเสริมด้วยการจัดหา ทรัพยากรที่ปั จเจกสามารถหยิบฉกฉวยมาใช้ ประโยชน์ในการ ปฏิสมั พนั ธ์กบั คนอน่ื ๆ ในสงั คม ขณะเดียวกนั การกระทากไ็ มไ่ ด้เป็นสิง่ สะท้อนออกถึงเฉพาะความต้องการของปัจเจกเท่านัน้ แต่ยงั ช่วยให้ เกิดการผลิตซา้ ของโครงสร้างสงั คมที่เป็ นบริบทให้เกิดการกระทาของ ปัจเจก ตามทศั นะข้างต้นของ กิดเดนส์ ปัจเจกและโครงสร้างล้วน แล้วแต่ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในสงั คม และในทศั นะนี ้ “อานาจ” ถือว่าเป็ นทรัพยากรประเภทหนึ่งที่ผูกติดอยู่กบั โครงสร้ างและปัจเจก ซง่ึ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการสร้างอานาจ “อานาจ” จึงมีอย่ทู งั้ ในโครงสร้ างสงั คมซึง่ ดารงอยู่แนบแน่นกบั โครงสร้ าง และเกาะเก่ียว อยกู่ บั ปัจเจกบคุ คล กลมุ่ บคุ คล ท่ีอย่ภู ายใต้โครงสร้างสงั คม ฉะนนั้ เม่ือเรามองอานาจผ่านข้อเสนอของ กิดเดนส์ เราจะ เข้าใจในอานาจว่ามีอยู่ “อย่างไร” เกาะเก่ียวอยู่กบั “อะไร” ในทาง สงั คม อย่างไรก็ตามอานาจในทัศนะของ กิดเดนส์ ก็มิได้มีลกั ษณะ ของการแยกขวั้ แตอ่ ย่างใด กล่าวคือไม่มีอานาจใดของโครงสร้างหรือ ๑๘๕

ปัจเจกบุคคลที่อานาจอยู่เด่ียวๆ เบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือคนอื่นท่ีไร้ อานาจ แม้แต่คนท่ีเรามองว่า “ไร้ อานาจ” เม่ือเขาตกอยู่ในสภาวะ จนตรอก ปัจเจกบุคคล กลมุ่ บุคคลยงั สามารถท่ีจะพลิกผนั ดุลอานาจ และเปล่ยี นแปลงสภาวการณ์จากผ้ทู ่ีไร้อานาจมาเป็ นผ้ทู ี่มีอานาจด้วย ทรัพยากรที่มอี ยใู่ นมอื (แม้เพียงแคห่ ยิบมือเดียวก็ตาม) ปรากฏการณ์พลิกดลุ อานาจในลกั ษณะนีเ้ ป็ นผลจากการ เข้าไปปฏิสมั พันธ์เชิงอานาจกับเงื่อนไขต่างๆ ทางสงั คม ซ่ึงจะทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงดลุ อานาจของโครงสร้างและปัจเจกผ้กู ระทาการ กิดเดนส์ เรียกสิ่งนีว้ า่ “วภิ าษวธิ ีในการควบคมุ ” (dialectic of control) ลกั ษณะของการ “พลิกดลุ อานาจ” หรือ “วิภาษวิธีในการ ควบคมุ ” ในภาษาของ กิดเดนส์ ยงั สะท้อนให้เห็นจากหลายๆ กรณีท่ี ภาคอีสาน ตวั อย่างที่เป็ นรูปธรรมที่สุดก็คือกรณีของ “ยายไฮขนั จนั ทา” เป็ นกรณีที่ยายไฮได้รับผลกระทบจากการสร้ างเขื่อนห้วยละห้าใน จงั หวดั อบุ ลราชธานี ซง่ึ ถกู กระทาจากโครงสร้าง (โครงการสร้างเข่ือน) ของรัฐบาล จนนา้ ท่วมนาและไม่สามารถทากินในท่ีดินของตนเองได้ ซง่ึ เป็นข่าวโดง่ ดงั ไปทว่ั ประเทศ กรณีนีด้ ูเหมือนว่ายายไฮจะกลายเป็ นคนไร้ อานาจ สิน้ เนือ้ ประดาตัวและต้องยอมจานนต่อพลังอานาจของรัฐบาล เนื่องจากอานาจที่อยู่ในโครงสร้ างของรัฐในขณะนัน้ ได้กดบังคบั ให้ ยายไฮต้องหมดอานาจในท่ีดินทากินโดยปริยาย จนยายไฮต้อง ๑๘๖

กลายเป็ นคนไม่มีอานาจใดๆ แต่ยายไฮก็สามารถใช้ความสามารถ (ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถในการตอ่ ส้)ู พลิกผนั อานาจของ ตนเอง โดยเข้าไปปฏิสมั พนั ธ์เชิงอานาจกบั รัฐบาลด้วยวิธีการต่อส้ใู น ชีวติ ประจาวนั โดยนาเอาทรัพยากรท่ีเป็นเครื่องมอื ในการดารงชีพ เช่น จอบ เสยี ม คราด ไถ มาใช้เป็นเครื่องมอื ในการตอ่ ส้ตู อ่ รองทางอานาจ ยายไฮตอ่ ส้เู ชิงสญั ลกั ษณ์โดยใช้เสียมซง่ึ เป็ นทรัพยากรที่มี อยใู่ นมอื เพียงน้อยนิดทาการขดุ พงั สนั เขื่อน เพื่อให้รัฐบาลปรับเปล่ียน ดุลอานาจเสียใหม่ จนในที่สุดการเข้าไปปฏิสัมพันธ์เชิงอานาจของ ยายไฮกบั รัฐบาลซง่ึ เป็นผ้แู ทนการใช้และผลติ ซา้ อานาจของโครงสร้าง รัฐบาลของ นายทกั ษิณ ชินวตั ร ต้องยอมคืนท่ีดินทากิน ไร่นา พร้ อม กบั จ่ายคา่ ชดเชยให้กบั ยายไฮและลกู หลาน ยายไฮและลกู หลานใช้เคร่ืองมือดารงชีพ จอบ เสียม ค้อน ทบุ สนั เขื่อนเพ่ือประท้วงรัฐบาล ๑๘๗

กรณีนีแ้ ม้ว่ารัฐบาลจะไม่สามารถทุบเขื่อนห้วยละห้าทิง้ โดยทนั ที แตก่ ารต่อส้ขู องยายไฮโดยอาศยั ทรัพยากรที่มีเพียงน้อยนิด รัฐบาลก็ต้องยอมปรับเปล่ียนดลุ อานาจดาเนินตามข้อเรียกร้ องของ ยายไฮ ด้วยการเปิ ดเข่ือนเพื่อคืนสิทธิ (อานาจ) ในที่ดินทากินให้แก่ ยายไฮ กรณียายไฮท่ีผู้เขียนยกขึน้ เพื่อเป็ นตัวอย่างสนับสนุน ข้อเสนอของ กิดเดนส์ นี ้เป็นสง่ิ ที่แสดงให้เหน็ วา่ ปัจเจกผ้กู ระทาการไม่ เคยไร้เสียซงึ่ อานาจ และในสนามปฏิบตั ิการทางสงั คมหนึง่ ๆ เราอาจ เห็นว่าผ้คู นตกอยู่ในสภาวะด้อยอานาจ หมดสิน้ หนทาง และบางครัง้ ต้องยอมถูกกดบังคับจากโครงสร้ าง แต่ในความเป็ นจริงแล้วไม่เป็ น เช่นนนั้ เสมอไป ในบางสถานการณ์แม้ดวู ่าพวกเขาเหล่านนั้ จะอยู่ใน ภาวะคบั ขนั เสมือนหนึ่งว่าจนตรอกไร้ ซง่ึ หนทาง แต่เขาเหล่านนั้ กลบั ใช้ความสามารถในการพลิกผนั อานาจ สร้ างอานาจให้ตนเองในการ ปรับเปลีย่ นและจดั ดลุ อานาจ อย่างไรก็ตาม การเข้าไปปฏิสมั พนั ธ์เชิงอานาจเพื่อทาการ เปล่ียนแปลงตามเจตจานงแห่งอานาจของตน อาจมีให้เห็นตงั้ แตก่ าร ตอ่ ส้ใู นชีวติ ประจาวนั การสร้างอานาจผ่านกระบวนการวาทกรรมการ ต่อสู้ต่างๆ ไปจนถึงการรวมตัวกันเคลื่อนไหวในรูปแบบขบวนการ เคลื่อนไหวทางสงั คม (social movement) ซงึ่ การสร้างสรรค์อานาจใน ลกั ษณะของการเข้าไปปฏิสมั พันธ์แบบนี ้ แท้จริงแล้วก็คือ “อานาจ” อีกรูปแบบหน่ึงของปัจเจกผู้กระทาการท่ีสาแดงต่อโครงสร้าง ซงึ่ ใน ๑๘๘

ปัจจุบันเราอาจเห็นอยู่ในหลายๆ กรณีในภาคอีสานและเราอาจจะ เรียกอานาจเช่นนีว้ า่ “อานาจชมุ ชน” (local power) กรณีที่ชุมชนในฐานะผู้กระทาการมีอานาจ เช่น กรณี ชาวบ้านในชมุ ชนแหง่ หน่งึ ในภาคอีสานใช้บทเรียน ประสบการณ์ชีวิต (การถูกข่มขู่ การบีบบังคบั )จากการเป็ นหนีเ้ งินกู้นอกระบบ รวมกล่มุ กนั เป็นสหกรณ์ชมุ ชนซือ้ หนีจ้ ากสมาชิกซง่ึ เป็นหนีเ้งินก้นู อกระบบ โดย ให้สมาชิกผ้เู ป็นหนีม้ าเป็นหนีส้ หกรณ์แทน โดยเสียดอกเบีย้ ในราคาต่า กวา่ ของนายทนุ จนในขณะนีส้ หกรณ์สามารถขยายจานวนสมาชิกไป กวา่ ๕๐๐ คน ครอบคลมุ ทกุ หมบู่ ้านในตาบลโพนทอง อาเภอโพธิ์ตาก จงั หวดั หนองคาย (สภุ ีร์ สมอนา, ๒๕๕๗) ซง่ึ สามารถทาให้ชาวบ้าน ทงั้ หมดปลดหนีจ้ ากการเป็นลกู หนีข้ องนายทนุ เงินก้นู อกระบบ กรณีนีห้ ากมองในมิติของการเป็ นผ้กู ระทาการตามทัศนะ ของ กิดเดนส์ จะเห็นได้ว่า แม้แต่ทุนนิยมเองก็ไม่สามารถมีอานาจ ครอบงา ควบคมุ ผ้เู ป็นปัจเจกที่อย่ใู ต้โครงสร้างอานาจได้โดยเบ็ดเสร็จ เดด็ ขาด กรณีนีช้ าวบ้านเองไมไ่ ด้ถกู ครอบงา ถกู ขดู รีดจากนายทนุ ฝ่ าย เดียวได้ง่ายๆ และก็มิได้มีลกั ษณะที่ตกอยู่ภายใต้โครงสร้ างอานาจ ของนายทุนเงินกู้นอกระบบอย่างเฉ่ือยชา แต่ได้พยายามดิน้ รน ปรับเปล่ียนความสมั พนั ธ์เชิงอานาจด้วยการเข้าไปปฏิสมั พนั ธ์ ต่อรอง และพลิกดุลอานาจ จนอานาจของนายทุนต้องถูกท้าทายและถูก ปรับเปล่ยี นจากอานาจของชาวบ้านตวั เลก็ ๆ ที่ดไู ร้อานาจ ๑๘๙

โครงสร้างและผู้กระทาการ: มติ ชิ าวไร่อ้อยอีสาน ภาคอีสานเป็ นภูมิภาคท่ีมีการปลูกอ้ อยมากที่สุดใน ประเทศไทย รายงานพืน้ ท่ีการปลูกอ้อยของประเทศไทยปี การผลิต ๒๕๕๗/๒๕๕๘ พบว่า ภาคอีสานมีการปลกู อ้อยมากเป็ นอนั ดบั หน่ึง ของทว่ั ทุกภาค รวมถึงมีเกษตรกรที่อยู่ในภาคการผลิตนีส้ ูงที่สุด ใน ขณะเดยี วกนั กเ็ ป็นภมู ภิ าคที่มรี ถบรรทกุ อ้อยเกินนา้ หนกั ว่ิงอย่บู นถนน ทางหลวงมากที่สดุ และเกิดอบุ ตั ิเหตบุ ่อยท่ีสดุ คาถามก็คือ “ทาไม” ชาวไร่อ้อยอีสานถึงสามารถนา รถบรรทกุ อ้อยนา้ หนกั เกินออกมาวิ่งบนถนนทางหลวงโดยท่ีตารวจไม่ จบั กมุ ทงั้ ๆ ท่ีเป็ นความผิดตามกฎหมายและเป็ นความเส่ียงของผู้ใช้ รถใช้ถนน กรณีนีห้ ากพูดในภาษากฎหมาย การกระทาการนีถ้ ือเป็ น การละเมิดต่อกฎหมายอย่างชัดแจ้ ง แต่ในภาษาสังคมวิทยาสิ่งท่ี เกิดขนึ ้ นีย้ งั มีอะไรที่ซบั ซ้อนไปกวา่ นนั้ กรณีรถบรรทุกอ้อยนา้ หนกั เกินวิ่งบนท้องถนนแต่ไมถ่ ูกจบั นัน้ จริงๆ แล้วเราสร้ างกฎเกณฑ์กันขึน้ มาว่า “ห้ามไม่ให้รถบรรทุก นา้ หนกั เกินวิ่งบนถนน” เพ่ือเป็ นการรักษาพืน้ ผิวจราจรและประหยดั งบประมาณในการซ่อมบารุงถนน ซงึ่ กฎเกณฑ์อนั นีก้ ็ได้กลายมาเป็ น กฎหมายท่ีสาคัญของโครงสร้ างสงั คมที่ทุกๆ คนที่ใช้รถใช้ถนนต้อง ปฏิบตั ิตามโดยห้ามผ้ใู ดฝ่ าฝื นและละเมดิ ๑๙๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook