Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนา65-69

แผนพัฒนา65-69

Published by 110 Kitiphon Chinsiri, 2022-06-07 09:17:20

Description: แผนพัฒนา65-69

Search

Read the Text Version

วิทยาลัยการอาชพี พรรณานคิ ม สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 2563 - พ.ศ. 2567 งานวางแผนและงบประมาณ ฝ่ายแผนงานและความร่วมมอื วทิ ยาลยั การอาชีพพรรณานิคม

แผนพฒั นาสถานศึกษา พ.ศ. 2565-2569 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสกลนคร สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คำนำ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร ได้จัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565- 2569 ฉบับนี้ขึ้น เพื่อเป็นกรอบการดำเนินงานและกำหนดทิศทางการบริหารงานการจัดการศึกษาโดยมี สาระสำคัญประกอบด้วย ข้อมูลท่ัวไป ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยทุ ธก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา ตวั ชี้วัดความสำเรจ็ โครงการและกิจกรรมตาม กลยุทธ์ พรอ้ มงบประมาณ (ระยะ 5 ป)ี การบริหารแผนสูก่ ารปฏิบตั ิ การดำเนินตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565-2569 ฉบับน้ี จะ บรรลุผลตามเป้าหมายความสำเรจ็ ที่กำหนดไว้ ต้องได้รับความมือจากหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งทางการศึกษาและ การสนับสนุนจากทุกภาคส่วนในการกำกับ ระดับสรรพกำลัง ร่วมกันผลักดันแผนสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับศักยภาพและความต้องการของชุมชนในภาพรวมท้ังระบบ ให้สามารถ จัดอย่างสร้างสรรค์ในองค์กร ท้ังจุดมุ่งหมาย กิจกรรมและปัจจัยสิ่งแวดล้อม รวมถึงสร้างนิสัยให้องค์กรได้มี ความตระหนักถึงกลยุทธ์ตลอดเวลา อันเป็นผลให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ รวมท้ังยังเป็นกรอบ แนวทางในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลสูงสุดตอ่ การพัฒนา การศึกษา วิทยาลยั อาชีวศึกษาสกลนคร

สารบญั ข คำนำ หนา้ สารบญั ก บทที่ 1 สภาพท่ัวไปของสถานศกึ ษา ข 1.1 ข้อมูลเกย่ี วกบั สถานศกึ ษา 1 1.2 สภาพปัจจบุ นั ของสถานศึกษา 5 1.3 ปรัชญา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ 8 1.4 หลักสูตรและระบบการจัดการเรียนรู้ 11 1.5 สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis) 13 บทท่ี 2 ทิศทางการพฒั นาการศึกษา 2.1 ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ.2561-2580) 16 2.2 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 18 2.3 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 24 2.4 วิสยั ทศั น์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์หลัก 30 และจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ 2.5 แผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา (พ.ศ.2560-2579) 33 2.6 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวดั สกลนคร 39 2.7 แผนพัฒนาการศกึ ษาจงั หวัดสกลนคร 42 บทท่ี 3 พนั ธกิจ กลยทุ ธ์การพฒั นาการจดั การศกึ ษา และตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ 43 บทท่ี 4 โครงการและกจิ กรรมตามพันธกจิ กลยุทธก์ ารพัฒนาการจัดการศกึ ษา 54 บทที่ 5 การบรหิ ารแผนส่กู ารปฏบิ ัติ 63 5.1 ภาระงาน การจดั ทำแผนพัฒนาสถานศึกษาศึกษาของวิทยาลัยฯ 70 5.2 แผนกำกับ ตรวจสอบ รายงาน ภาคผนวก /2565 - คำส่งั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการวทิ ยาลัยการอาชพี พรรณานิคม ที่ - รายงานการประชุมคณะกรรมการวิทยาลยั คร้งั ท่ี 1/2565 - ความโดดเดน่ ของสถานศึกษา - ภาพประกอบ

1 บทท่ี 1 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลเกย่ี วกับสถานศกึ ษา 1.1.1 ประวัติ ความเปน็ มา ของวทิ ยาลยั ฯ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร ( ช่ือเดิม วิทยาลัยสารพัดช่างสกลนคร ) ได้ประกาศจัดต้ังเม่ือ วันท่ี 5 เมษายน 2537 ทำการก่อสรา้ งแล้วเสร็จเม่ือวันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ 2539 มีขนาดพ้ืนท่ีทงั้ สิ้น 31 ไร่ ตั้งอยู่เลขท่ี 448 ถนนสกล-นาแก ชุมชนนาอ้อย ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร รหัสไปรษณยี ์ 47000 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร ( ช่ือเดิม วิทยาลัยสารพัดช่างสกลนคร ) เริ่มเปิดทำการสอน ตั้งแต่วันท่ี 1 กรกฎาคม 2539 โดยมีหน้าที่จัดการเรยี นการสอนวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น เป็นหน้าที่ หลัก ซง่ึ ได้จัดการเรียนการสอนภายในและภายนอกวิทยาลัยฯ เพอื่ ให้สอดคล้องกับงานโครงการต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น โครงการฝึกอาชีพให้แก่เด็กและเยาวชนในท้องถ่ินทุรกันดาร ตาม พระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเปล่ียนแปลงชื่อสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามหนังสือที่ ศธ 0604/436 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2564 เห็นสมควร ให้สถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาเปลีย่ นชื่อสถานศึกษาเพื่อจัดการเรียน การสอนตามความเชี่ยวชาญและบทบาทภารกิจของสถานศึกษา ทัง้ เพ่ือให้สามารถจัดการอาชีวศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพเน้นการพัฒนาคุณภาพในด้านทักษะฝีมือเพ่ือให้ตอบสนองต่อนโยบายของ รฐั บาลและกระทรวงศึกษาธกิ าร อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 40 แหง่ พระราชบัญญัตปิ รบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตั้งชื่อสถานศึกษา พ.ศ.2547 จึงให้เปล่ียนช่ือ วิทยาลัยในสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จากเดิม วิทยาลยั สารพัดช่างสกลนคร เป็น วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสกลนคร วตั ถุประสงค์ในการจดั ตั้ง 1. เพื่อให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน ตามความเชี่ยวชาญและบทบาทภารกิจของ สถานศกึ ษา 2. เพ่ือพฒั นาฝมี ือแรงงานในทอ้ งถนิ่ ให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน 3. เพอ่ื สนองนโยบายของรฐั บาลและกระทรวงศกึ ษาธิการ ตามแผนพัฒนาการศึกษาของชาติ

2 1.1.2 ขอ้ มูลดา้ นอาคารสถานที่ ชอื่ สถานศึกษา วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสกลนคร ช่ือภาษาอังกฤษ Sakon Nakhon Vocational College ท่ตี ัง้ สถานศึกษา 448 ถนนสกลนคร-นาแก ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมืองสกลนคร จงั หวดั สกลนคร 47000 โทรศพั ท/์ โทรสาร 042-971136 เวบ็ ไซต์ www.snkvc.ac.th อีเมล [email protected] สีประจำวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสกลนคร มว่ ง-ขาว สีมว่ ง สีขาว ตราประจำวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสกลนคร ตน้ ไม้ประจำวทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสกลนคร ดอกเกษมณี หรือ เลยี่ น

3 สโลแกน SLOGAN วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสกลนคร SNKVC S – Standard มมี าตรฐานการศึกษา N- Network มีเครอื ขา่ ยพันธมิตร K – Knowledge มีความรู้ความสามารถ V – Virtue มีคณุ ธรรม C – Consent เป็นที่ยอมรับ แผนผังวิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสกลนคร เนอ้ื ทีข่ องสถานศึกษา จำนวน 31 ไร่ ..........-.........งาน ..........-...........ตารางวา มอี าคารรวมทั้งสิ้น 33 หลัง มีหอ้ งทง้ั สิ้น 148 ห้อง ไดแ้ ก่ 1. อาคารสำนักงานปฏบิ ัตกิ าร จำนวน 1 หลงั 10 ห้อง 2. อาคารเรียน จำนวน 2 หลงั 48 หอ้ ง

4 3. หอประชุมชมพพู าน จำนวน 1 หลัง 3 ห้อง 4. โรงอาหาร(ลาน8เหล่ยี ม) จำนวน 1 จุด - หอ้ ง 5. งานอาคารสถานท่ี จำนวน 1 จุด 1 ห้อง 6. ห้องพักครชู า่ งยนต์ จำนวน 1 หลงั 1 ห้อง 7. อาคารศูนย์ข้อมูล จำนวน 1 หลัง 2 ห้อง 8. อาคารโรงงานปฏบิ ตั ิการช่างยนต์ จำนวน 1 หลัง 2 หอ้ ง 9. อาคารคหู าลูกเสือ จำนวน 1 หลงั 2 หอ้ ง 10. อาคารศูนย์วทิ ยบรกิ าร จำนวน 1 หลัง 2 หอ้ ง 11. อาคารองค์การวชิ าชีพฯ หอ้ งสวัสดกิ าร จำนวน 1 หลงั 3 หอ้ ง พยาบาลและสถานีวทิ ยฯุ 12. โรงจอดรถยนต์ จำนวน 2 หลัง - ห้อง 13. อาคารรา้ นค้าสวสั ดกิ าร จำนวน 1 หลงั 1 หอ้ ง 14. อาคารศนู ย์บม่ เพาะผปู้ ระกอบการฯ จำนวน 1 หลงั 2 ห้อง 15. อาคารเรียนวิชาเขยี นแบบ และ จำนวน 1 หลัง 2 ห้อง ห้องอนิ เตอร์เน็ตเดิม 16. โรงจอดรถจกั รยานยนต์ จำนวน 1 หลัง 2 ห้อง 17. ปอ้ มยาม จำนวน 1 หลัง 2 ห้อง 18. ลานพระวิษณุกรรม ขนาด 30.6 ตร.ม 1 ลาน 19. ลานพระพทุ ธรปู ขนาด 32.85 ตร.ม 1 ลาน 20. สนามฟตุ ซอล ขนาด 820 ตร.ม 1 สนาม 21. สนามเปตอง ขนาด 75 ตร.ม 1 สนาม 22. เสาธงชาติ จำนวน 1 ตน้ 23. ศูนย์ฝกึ อาชีพนักศกึ ษา จำนวน 1 หลงั 3 หอ้ ง 24. บ้านพกั ผู้อำนวยการ จำนวน 1 หลัง 4 ห้อง 25. บ้านพกั ครู 1 จำนวน 1 หลัง 18 ห้อง 26. บ้านพักครู 2 จำนวน 1 หลงั 18 หอ้ ง 27. บา้ นพกั ครู 3 จำนวน 1 หลัง 18 ห้อง 28. บ้านพักนักการ จำนวน 2 หลัง 4 หอ้ ง 29. ศาลปตู่ า จำนวน 1 หลัง - หอ้ ง 30. สนามเรียนขับรถยนต์ จำนวน 1 สนาม - หอ้ ง 31. หอ้ งน้ำกลาง จำนวน 1 หลงั 3 ห้อง 32. บอ่ ปลา ขนาด 2,800 ตร.ม 1 บ่อ 33. อาคารเรยี นนวดแผนไทย จำนวน 1 หลัง 2 หอ้ ง

5 1.2 สภาพปัจจุบันของสถานศกึ ษา 1.2.1 จำนวนนักเรยี นนกั ศกึ ษา วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร จดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 และหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู พทุ ธศักราช 2563 ตารางที่ 1 จำนวนนกั เรียนระดบั ปวช. และ ปวส. ปีการศึกษา 2565 ประเภท/สาขาวิชา ผ้เู รียนภาคปกติ หมายเหตุ ปวช. ปวส. รวม อุตสาหกรรม - ชา่ งยนต/์ เทคนิคเครื่องกล 166 12 178 - ช่างกลโรงงาน 32 - 32 - ช่างไฟฟ้ากำลงั 64 3 67 - ชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ 36 3 39 พณชิ ยกรรม - การบญั ชี 60 49 109 - คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ/เทคโนโลยีธุรกจิ ดิจทิ ลั 45 17 62 - การตลาด/การจัดการธุรกิจคา้ ปลีก 31 14 45 ศลิ ปกรรม - คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ /ดจิ ิทลั กราฟิก 27 28 55 - เทคโนโลยีสารสนเทศ -1 1 คหกรรม - คหกรรมศาสตร์ 34 - 34 - อาหารและโภชนาการ 45 9 499 132 631 รวมท้งั สิน้ หมายเหตุ : นกั เรยี นปกตทิ งั้ หมดในระบบ ศธ.02 จำนวน 631 คน - นักเรยี นปกติไมร่ วมทวิศึกษา จำนวน 499 คน - นักเรยี นทวิศกึ ษา จำนวน 132 คน ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 26 พฤษภาคม 2565 จากงานทะเบยี น

6 1.2.2 ข้อมลู ดา้ นบคุ ลากร ข้อมูล (Common data set) เชิงปรมิ าณ รายการขอ้ มูล จำนวน ปกี ารศึกษา หน่วยนับ 2565 1. จำนวนครทู ัง้ หมดของสถานศกึ ษา 1.1 ผ้บู ริหาร (ผอ,รอง) คน 5 1.2 ครปู ระจำ (ข้าราชการ) คน 12 1.3 พนักงานราชการ คน 19 1.4 ครอู ตั ราจ้าง (> 9 เดอื น) คน 15 รวม คน 51 2. คุณวฒุ ิทางการศกึ ษาของครูทงั้ หมดของสถานศึกษา 2.1 ระดับต่ำกว่าอนปุ ริญญา คน 1 2.2 ระดบั อนุปรญิ ญา คน 1 2.3 ระดับปริญญาตรี คน 39 2.4 ระดับปริญญาโท คน 10 2.5 ระดับปริญญาเอก คน - รวม คน 51 3. จำนวนบคุ ลากรสายสนับสนนุ ของสถานศกึ ษา 3.1 เจา้ หนา้ ที่ คน 11 3.2 แม่บา้ น คน 3 3.3 พนักงานขบั รถยนต์ คน 2 3.4 ยามรกั ษาการณ์ คน 1 3.5 นกั การภารโรง คน 4 รวม คน 21 4. คุณวุฒิทางการศกึ ษาของบุคลากรสายสนับสนุนของสถานศึกษา 4.1 ระดับต่ำกว่าอนปุ ริญญา คน 9 6 4.2 ระดับอนุปริญญา คน 6 - 4.3 ระดบั ปรญิ ญาตรี คน 21 72 4.4 ระดบั ปริญญาโท คน รวม คน รวมบคุ ลากรท้ังหมด คน

7 1.2.3 แผนภูมิโครงสร้างการบริหาร แผนภมู โิ ครงสร้างการบริหารวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร

8 1.3 วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ ปรัชญา เอกลักษณ์ อตั ลักษณ์ ปรชั ญา มคี ณุ ธรรม ลำ้ เลศิ วิชา จิตอาสาบริการ พฒั นาวิชาชพี สชู่ มุ ชน เอกลักษณ์ สามคั คี มีคุณธรรม ล้ำเลศิ วิชา ใสใ่ จบรกิ าร สู่มาตรฐานสากล อัตลักษณ์ คุณธรรม นำความรู้ มีจติ บริการ วสิ ยั ทศั น์ (VISION) มุ่งสรา้ งโอกาสด้านวิชาชพี อาชวี ธรุ กิจและการบรกิ ารเพอื่ ยกระดบั ผู้สำเร็จการศึกษาใหม้ ีคุณภาพผลิต และพัฒนากำลังคนสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พนั ธกจิ (MISION) พนั ธกิจท่ี 1 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นและสำเรจ็ การศึกษา พนั ธกจิ ที่ 2 พฒั นาคุณภาพหลกั สูตรและการจดั การเรียนการสอน พนั ธกิจท่ี 3 พัฒนาคุณภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พันธกจิ ท่ี 4 สร้างความเข้มแข็งในการมีสว่ นร่วมกับเครอื ข่ายความรว่ มมอื พนั ธกิจท่ี 5 พัฒนาคณุ ภาพปัจจัยพืน้ ฐานในการจัดการศึกษา พันธกิจที่ 6 ส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นและสำเร็จการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการมสี ว่ นร่วมกบั เครือข่ายความรว่ มมือ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการพฒั นาคณุ ภาพปจั จยั พืน้ ฐานในการจัดการศึกษา ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ดา้ นสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 1.3.1 จดุ เน้นในการพฒั นาสถานศกึ ษา

9 ด้านที่ 1 ดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนและสำเร็จการศึกษา 1.1 สง่ เสรมิ สนับสนนุ ตดิ ตามดแู ล แนะแนวผู้เรยี นใหส้ ำเร็จการศึกษาตามหลกั สูตร และลดปญั หาการออกกลางคัน 1.2 สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ผู้เรียนมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มทพ่ี ่ึงประสงค์ 1.3 สง่ เสริมสนบั สนุนให้ผูเ้ รียนมสี มรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระ 1.4 ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้ผู้เรยี นจัดทำนวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์หรือ งานวจิ ยั พร้อมทง้ั สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริงและเข้ารว่ มการประกวดแขง่ ขนั ในระดบั สถานศึกษา ระดับ จงั หวัดระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ 1.5 ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ผเู้ รยี นทกุ สาขาวิชามีการแข่งขนั ทักษะวชิ าชพี ในระดับ สถานศึกษา ระดับ จังหวดั ระดับชาติ และระดับนานาชาติ 1.6 ส่งเสริมสนับสนนุ ให้ผเู้ รียนมผี ลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน 1.7 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ้เู รียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ ้าน (V-NET)เพ่ิมมากข้นึ 1.8 สง่ เสริมสนับสนนุ ให้ผู้สำเรจ็ การศกึ ษามงี านทำ ประกอบอาชพี อสิ ระหรือศกึ ษา ตรงกับสาขาวิชา ด้านท่ี 2 ดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพหลักสตู รและการจดั การเรียนการสอน 2.1 ด้านการพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 2.1.1 ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้ทุกสาขาวชิ ามีการพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ หรอื ปรบั ปรงุ รายวชิ าอย่างเป็นระบบ โดยรว่ มกับสถานประกอบการ และหน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.2 การจดั การเรยี นรู้สูก่ ารปฏบิ ตั ทิ เี่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ 2.2.1 ส่งเสริมสนับสนุนให้ครมู ีการจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้สกู่ าร ปฏบิ ตั ิท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั และการนำไปใช้ในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมีคุณภาพ ด้านที่ 3 ดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 3.1 ครูผูสอน 3.1.1 สง่ เสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนมีการจดั ทำแผนการจัดการเรียนรูท้ เี่ นน้ สมรรถนะ มีวิธเี ทคนิควิธกี ารสอนทีห่ ลากหลายมีการวัดประเมนิ ผลตามสภาพจริงมีการใช้สอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาแหลง่ เรยี นร้ตู ลอดจนมีการจัดทำงานวจิ ยั ในการแก้ไขปัญหาผู้เรียน 3.1.2 สง่ เสริมสนบั สนุนให้ครูผู้สอนมีการจัดขอ้ มูลผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล มี ขอ้ มูลสารสนเทศหรือเอกสารประจำชนั้ เรยี นและรายวิชา ใช้เทคนคิ วธิ ีการบรหิ ารจัดการชั้นเรียนให้มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรูเ้ ปน็ ผูเ้ สริมแรงให้ผู้เรียนมคี วามมงุ่ ม่ันต้ังใจ ในการเรยี น ดูแลช่วยเหลือผ้เู รียน รายบุคคลด้านการเรียน

10 3.1.3 สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหค้ รูผูส้ อนมกี ารพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี มาสรา้ ง นวัตกรรมใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน 3.2 ผู้บรหิ ารสถานศึกษา 3.2.1 ผบู้ ริหารสถานศึกษาให้ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา สถานศึกษาภายใต้หลกั ธรรมาภิบาล และใช้นวัตกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community :PLC) ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา 3.2.2 ผูบ้ ริหารสถานศึกษาใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจดั การ สถานศึกษาให้มีคณุ ภาพ ดา้ นที่ 4 ด้านการสรา้ งความเข้มแขง็ ในการมสี ่วนรว่ มกับเครือข่ายความร่วมมือ 4.1 ส่งเสริมสนบั สนุนให้สถานประกอบการ บุคคล ชุมชน องค์กรตา่ ง ๆ มสี วนร่วมกับ สถานศกึ ษาในการจดั การเรยี นการสอนอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี 4.2 สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพื่อจัดการเรยี นการสอนให้มี ประสทิ ธภิ าพอย่างต่อเน่ือง 4.3 ส่งเสริมสนับสนนุ ให้ผูบ้ ริหารครู บคุ ลากรทางการศึกษาผเู้ รียนบริการชุมชน การบริการ วชิ าการ การบริการวชิ าชพี และจติ อาสา โดยใชว้ ิชาชีพสรางประโยชน์ให้กับชมุ ชนและสังคม ด้านที่ 5 ด้านการพฒั นาคณุ ภาพปจั จยั พืน้ ฐานในการจัดการศึกษา 5.1 พัฒนาและดูแลสภาพแวดลอ้ ม ภมู ทิ ัศน์ อาคารสถานที่ หอ้ งเรียน ห้องปฏบิ ตั ิการแหล่ง การเรยี นรู้ โรงฝกงาน และส่งิ อํานวยความสะดวกใหมีความพรอ้ มและเพยี งพอต่อการใช้งานของ ผู้เรียนหรอื ผู้รบั บรกิ าร เอื้อตอการจดั การเรยี นรู้ ให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศึกษา 5.2 พัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ระบบไฟฟา้ ระบบประปา ระบบคมนาคม ระบบการ สอ่ื สาร รวมทงั้ การจดั ระบบรักษาความปลอดภัยภายในสถานศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ 5.3 พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้และศูนย์วิทยบรกิ ารให้ทม่ี ีความพร้อมและเพียงพอสาํ หรบั ให้ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผู้เรยี น หรือผู้สนใจ ใชบ้ ริการค้นควาหาความรู้เพ่ิมเตมิ 5.4 พฒั นาระบบอนิ เทอร์เน็ตความเร็วสงู สาํ หรบั บริหารจดั การระบบสารสนเทศให้เกิด ประสทิ ธิภาพ ในการบริหารจัดการสถานศึกษา 5.5 พฒั นาระบบอินเทอรเ์ น็ตความเร็วสูงเพอ่ื การใช้งานเพื่อการจดั การเรยี นการสอนได้อย่าง มีประสิทธิภาพและเต็มศักยภาพ ด้านที่ 6 ด้านสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ งาน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 6.1 พัฒนาการจัดการศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

11 1.4 หลักสตู รและระบบการจัดการเรียนรู้ หลกั สูตร 1. ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1. สาขาวชิ าการบัญชี สาขางานการบัญชี 2. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ 3. สาขาวิชาธรุ กิจค้าปลีก สาขางานธุรกิจค้าปลีกสมยั ใหม่ 4. สาขาวชิ าการตลาด สาขางานการตลาด 5. สาขาวิชาการจัดการสำนักงาน สาขางานการจดั การสำนกั งาน ประเภทวชิ าคหกรรม 1. สาขาวิชาแฟชั่นและสงิ่ ทอ สาขางานเสอ้ื ผา้ แฟชัน่ 2. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขางานอาหารและโภชนาการ 3. สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ สาขางานคหกรรมเพื่อการโรงแรม ประเภทวชิ าศิลปกรรม 1. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟกิ สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิก 2. ประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทวภิ าคี ประเภทวชิ าบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาการบญั ชี สาขางานการบัญชี 2. สาขางานเทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ัล สาขางานธรุ กจิ ดิจิทัล 3. สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจค้าปลกี สาขางานธรุ กิจอาหารและบริการ 4. สาขาวิชาการจัดการธรุ กิจค้าปลกี สาขางานธรุ กิจค้าปลีกสมัยใหม่ 5. สาขาวชิ าการจดั การสำนกั งาน สาขางานการจดั การสำนักงาน ประเภทวิชาคหกรรม 1. สาขาวชิ าดิจทิ ัลกราฟกิ สาขางานดจิ ิทัลกราฟิก ประเภทวิชาคหกรรม 1. สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ฟชัน่ และเคร่ืองแต่งกาย สาขางานออกแบบแฟช่นั และเคร่อื งแตง่ กาย 2. สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ สาขางานอาหารและโภชนาการ 3. สาขาวชิ าการบรหิ ารงานคหกรรมศาสตร์ สาขางานการจดั การงานคหกรรมเพื่อการโรงแรม 3. หลักสตู รระยะสน้ั 1. รายวชิ าขับรถยนต์ จำนวน 75 ชวั่ โมง 2. งานเชอ่ื มไฟฟ้าเบอ้ื งต้น จำนวน 75 ชั่วโมง 3. งานซอ่ มประกอบคอมพิวเตอร์ จำนวน 75 ชัว่ โมง

12 4. งานกระโปรงเบื้องต้น จำนวน 75 ชว่ั โมง 5. งานเสือ้ เบ้อื งตน้ จำนวน 75 ชว่ั โมง 6. งานการทอผ้าย้อมคราม ด้วยก่ีเลก็ จำนวน 75 ชั่วโมง 7. ขนมไทยชาววงั จำนวน 72 ชว่ั โมง 8. สระผม - เซทผม จำนวน 72 ชว่ั โมง 9. ตัดผมชายระดับ 1 จำนวน 75 ชั่วโมง 10. ตัดผมชายระดบั 2 จำนวน 75 ช่วั โมง 11. ตดั ผมชายสไตล์สมัยนยิ ม จำนวน 75 ชว่ั โมง 12. เทคนิคการซอยผม จำนวน 75 ชั่วโมง 13. ยืดผมรบี อร์นดิง้ จำนวน 75 ชว่ั โมง 14. เพ้นท์เลบ็ เจลและตอ่ เล็บ PVC จำนวน 75 ชั่วโมง 15. ทรงผมสไตลแ์ ฟช่ัน จำนวน 75 ชั่วโมง 16. ซอยผม ดัดผม Advance จำนวน 75 ชว่ั โมง 17. นวดเทา้ เพ่ือสขุ ภาพ จำนวน 75 ชั่วโมง 18. นวดรกั ษาโรค จำนวน 75 ชั่วโมง 19. งานซอ่ มเครอื่ งยนต์เล็กการเกษตร จำนวน 18 ชว่ั โมง 20. งานซอ่ มเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ภายในครวั เรือน จำนวน 18 ช่ัวโมง 21. การตดิ ตง้ั ไฟฟา้ ในอาคาร จำนวน 18 ช่ัวโมง 22. การตัดผมชายเบื้องต้น จำนวน 18 ชั่วโมง 23. งานซอ่ มเครอื่ งยนต์ดเี ซลเล็ก จำนวน 75 ชว่ั โมง 24. งานเครอื่ งมอื กลเบ้ืองต้น จำนวน 75 ชั่วโมง 25. งานซอ่ มเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ภายในบา้ น จำนวน 75 ชั่วโมง 26. อาหารว่างยอดนิยม จำนวน 75 ชั่วโมง 27. การประดิษฐ์ของชำรว่ ยของท่ีระลกึ จำนวน 75 ช่ัวโมง 28. นวดแผนไทยเพ่ือสุขภาพ จำนวน 75 ชว่ั โมง 1.5 สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis) วทิ ยาลัยการอาชีวศกึ ษาสกลนคร ได้วิเคราะหป์ ัจจยั แวดลอ้ มภายใน และปจั จยั ภานอกของวทิ ยาลยั ฯ โดยรว่ มกนั กำหนดจุดแข็ง (Strength) จดุ ออ่ น (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และอปุ สรรค (Threats) ดงั น้ี

13 วเิ คราะห์ SWOT ดา้ นที่ 1 พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนและสำเร็จการศกึ ษา จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค 1. ไม่สามารถติดตาม 1. ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม 1. นกั เรยี นไม่กล้า 1. วิทยาลยั มี ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาได้ 2. ขาดทนุ ทรัพย์ใน จรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ี แสดงออกขาดความ ทุนการศึกษา การศกึ ษาต่อการ เดินทางมาเรยี นไม่ พ่ึงประสงค์ มจี ติ อาสา เช่อื ม่นั ในตวั เอง 2. มีนโยบาย ส่งเสริม สะดวก 2. ผู้เรียนมที ักษะวชิ าชพี 2. ผลงานทาวิชาการมี สนับสนุนการแข่งขันใน ตรงตามมาตรฐาน จำนวนนอ้ ย ระดบั สถานศึกษา 3. ผเู้ รียนสำเรจ็ 3. ขาดทักษะดา้ น 3. นกั เรียนมรี ายได้ การศึกษาแล้วมีงานทำ ภาษาอังกฤษ ด้านการ ระหว่างเรยี น จบแล้วมี คิดวเิ คราะห์ งานทำ ด้านท่ี 2 พัฒนาคุณภาพหลักสตู รและการจดั การเรยี นการสอน จดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส อปุ สรรค 1.สถานศกึ ษามีหลักสตู ร 1. ขาดการพัฒนา 1. รฐั บาลสง่ เสริม 1. ระยะเวลาในการ ทห่ี ลากหลายตรงตาม หลกั สตู รร่วมกับชมุ ชน สนับสนุนการเรยี นสาย ปรบั ปรงุ หลักสูตรนาน ความต้องการของชุมชน และสถานประกอบการ อาชีวศึกษา 2. สถานประกอบการมี และสถานประกอบการ 2. ขาดการพัฒนาอย่าง 2. สถานประกอบการ นอ้ ยไม่เพียงพอและไม่ ภาครัฐและเอกชนให้ ตรงตามสาขาของผเู้ รยี น ตอ่ เนอ่ื ง ความรว่ มมอื การจดั การ ในระบบทวภิ าคี 3. ขาดการทำแผนการ เรียนสายอาชวี ศกึ ษา เรียนรู้ ด้านที่ 3 พฒั นาคณุ ภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค 1. ครมู ีความรู้ในการ 1. ครยู ังขาดทักษะ 1. ได้รบั การอบรม 1. ครมู ภี าระงานพเิ ศษ บรหิ ารจัดการช้นั เรยี นได้ดี ดา้ นภาษาองั กฤษ พัฒนาตนเองและพัฒนา นอกเหนือจากการสอน

14 2. สนบั สนุนการพัฒนาครู 2. ครูมภี าระพเิ ศษ วิชาชพี มากเกินไป 2. สถานศกึ ษามี และบคุ ลากรทางการศึกษา นอกเหนือจากการ บคุ ลากรครูด้าน ภาษาอังกฤษจาก อยา่ งต่อเนื่อง สอนจึงทำให้มเี วลา ต่างประเทศ จัดการเรยี นการสอน ไมเ่ ต็มที่ ดา้ นท่ี 4 สร้างความเขม้ แข็งในการมีส่วนร่วมกบั เครือขา่ ยความร่วมมอื จดุ แข็ง จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค 1. สถานศึกษามีการ 1. ขาดการนเิ ทศติด 1. ไดร้ ับการสนบั สนนุ 1. ขาคครฝู กึ ในสถาน จดั การเรียนการสอน ตามทต่ี ่อเนอ่ื ง งบประมาณจาก ประกอบการ ระบบทวภิ าคี ระดบั 2. ขาดงบประมาณใน หนว่ ยงานต้นสงั กดั 2.สถานประกอบการตรง ปวส. 100 % การสนบั สนนุ 2.สถานประกอบการให้ ตามสาขาวชิ ามีจำนวน 2.มีการบรกิ ารวิชาชพี สู่ ความร่วมมอื ในการ น้อย ชุมชน จัดการฝกึ งานระบบทวิ 3.ขาดความรว่ มมือใน 3.มีสว่ นร่วมในการทำ ภาคี การจดั ทำหลักสตู รกับ กจิ กรรมรว่ มกับชมุ ชน 3.ไดร้ บั การสนบั สนนุ สถานประกอบการ จากหนว่ ยงานภายนอก ด้านท่ี 5 พฒั นาคุณภาพปจั จัยพ้ืนฐานในการจดั การศกึ ษา จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส อปุ สรรค 1. ไดร้ บั การสนับสนนุ งบประมาณจดั สรรไม่ 1. มีอาคารเรียน 1. ระบบสาธารณปู โภค ครภุ ัณฑ์ จากหน่วยงาน เพยี งพอต่อการพฒั นา ต้นสงั กดั และสถาน สถานศกึ ษา ห้องปฏบิ ตั กิ าร และ ไมเ่ พียงพอ ประกอบการทรี่ ่วมมือ กันกบั สถานศกึ ษาท่ี แหลง่ เรยี นรู้เพยี งพอต่อ 2.ระบบอินเตอร์เนต็ ไม่ ทนั สมยั การจัดการเรียนการสอน ครอบคลุมทุกพนื้ ที่ 2. มีระบบไลนใ์ ชใ่ นการ ตดิ ตอ่ สอื่ สาร ด้านท่ี 6 สง่ เสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษา ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและงานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น จุดแขง็ จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค 1.พ้นื ที่ในวิทยาลัยฯมี 1.ขาดบคุ ลากรท่ีมี 1.สถานศกึ ษาได้รบั การ

15 ความเหมาะสมเกยี่ วกับ ความรูเ้ ชี่ยวชาญดา้ น สนบั สนนุ จากโครงการ การดำเนนิ งานตามหลัก หลกั ปรชั ญาของ ส่งเสริมอนุรกั ษ์ ปรัชญาของเศรษฐกจิ เศรษฐกิจพอเพียงและ พนั ธุกรรมพืช พอเพยี ง งานสวนพฤกษศาสตร์ 2.มีแหล่งเรยี นร้ดู า้ น 2.มีพันธ์ุพชื ท่ี โรงเรียน พันธุ์พืชในจงั หวดั ท่ี หลากหลายเหมาะ ใกล้เคยี ง สำหรบั การศกึ ษา 3.ได้รบั ความร่วมมือจาก 3.มแี หลง่ เรียนรสู้ ำหรับ หนว่ ยงานตา่ งๆภายใน การศึกษาตามหลกั จังหวัด ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

บทที่ 2 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา 2.1 ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561-2580) คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมอ่ื วันที่ 8 ตลุ าคม พ.ศ.2561 เพือ่ ใช้เป็นกรอบแนวทางการพฒั นาประเทศในระยะ 20 ปี โดยกำหนดวิสัยทศั น์ เปา้ หมาย และยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้ วสิ ัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรอื เป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “มัน่ คง ม่งั คง่ั ยง่ั ยนื ” ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561- 2580) มี 6 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี 1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุก รูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน และท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชา สังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพ่ือนบ้านและมิตรประเทศ ท่ัวโลกบนพื้นฐาน ของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอ้ืออำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านอื่นๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตาม ทศิ ทางและเป้าหมายท่ีกำหนด 2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการ ยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพ้นื ฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ 1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปท่ีรากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวติ และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมท้ังความไดเ้ ปรียบเชิงเปรียบเทียบของ ประเทศในด้านอ่ืนๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดรับกับบริบท ของ เศรษฐกิจ และสงั คมโลกสมยั ใหม่ 2) “ปรับปจั จุบัน” เพอื่ ปูทางสู่อนาคต ผา่ นการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานของประเทศในมติ ิ ต่างๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการ ปรบั สภาพแวดล้อมใหเ้ อ้อื ต่อการพฒั นาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต 3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึง ปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความตอ้ งการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตรท์ ี่รองรับอนาคต บน พื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทย สามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทนุ ในเวทีโลก ควบคู่ไปกบั การ ยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมข้ึนของคนช้ันกลางและลดความเหล่ือมล้ำของคนในประเทศได้ใน คราวเดยี วกนั

17 3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ มีเป้าหมายการพัฒนา ที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมทั้ง กาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจติ สาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคม และผู้อ่ืน มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย รักษาศีลธรรม และเปน็ พลเมอื งดีของชาติ มีหลักคิดท่ถี ูกต้อง มี ทกั ษะท่จี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะสื่อสารภาษาองั กฤษและภาษาที่ 3 และอนรุ ักษภ์ าษาท้องถน่ิ มีนิสยั รกั การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เปน็ นวัตกรรม นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละอน่ื ๆ โดยมีสัมมาชพี ตามความถนดั ของตนเอง 4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาที่ สำคัญที่ให้ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถ่ิน มาร่วม ขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทำเพ่ือส่วนรวม การกระจายอำนาจ และความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสรา้ ง ความเข้มแข็งของชุมชน ในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และ สภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้ นานทส่ี ดุ โดยรัฐใหห้ ลกั ประกนั การเข้าถึงบรกิ ารและสวสั ดิการท่มี คี ุณภาพอย่างเป็นธรรมและท่วั ถึง 5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ที่เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพ่ือนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ท้ังมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันท้ังภายในและภายนอก ประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนที่เป็นตวั ตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องได้ เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนินการบนพื้นฐานการเติบโต รว่ มกนั ไม่วา่ จะเปน็ ทางเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และคณุ ภาพชวี ิต โดยให้ความสำคัญกบั การสร้างสมดุล ทั้ง 3 ดา้ น อันจะนำไปสู่ความยงั่ ยืนเพือ่ คนรนุ่ ต่อไปอย่างแทจ้ ริง 6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มเี ป้าหมายการ พฒั นาท่ีสำคัญเพื่อปรบั เปล่ียนภาครฐั ที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐตอ้ งมีขนาดท่เี หมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรฐั ทีท่ ำหนา้ ท่ใี นการกำกับ หรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรม การทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวมมีความทันสมัยและพร้อมท่ี จะปรับตัวให้ทันต่อการ เปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่งิ การนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการ ทำงานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะ เปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามา มีส่วนร่วม เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว และโปรง่ ใส โดยทกุ ภาคส่วนในสงั คมต้องรว่ มกันปลูกฝังค่านยิ มความซอ่ื สัตย์ สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธ ไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็นมีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารท่ีมี ประสทิ ธิภาพ เปน็ ธรรม ไมเ่ ลอื กปฏิบัตแิ ละการอำนวย ความยุติธรรมตามหลกั นิติธรรม แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสกลนคร

18 2.2 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนท่ีวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัด การศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค ใน การศึกษาท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะ ในการ ทำงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาตาม แผนการศึกษาแห่งชาติ ยดึ หลักสำคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียม และทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For Education) อีกท้ังยึดตาม เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คณุ ภาพของคนช่วงวัย การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลอ่ื มล้ำ ของการกระจายรายได้ และวิกฤติด้านส่ิงแวดล้อม โดยนำยุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสำคัญในการ จดั ทำแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระสำคัญ ดังน้ี วิสยั ทัศน์ คนไทยทุกคนได้รบั การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างมีคณุ ภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้อง กบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปลีย่ นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื พัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพและมีประสิทธภิ าพ 2. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ บทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ 3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และ ร่วมมือผนกึ กำลงั มงุ่ สูก่ ารพัฒนาประเทศอยา่ งยง่ั ยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพ่ือนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้ำ ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตรแ์ ผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การจดั การศึกษาเพอ่ื ความมัน่ คงของสงั คมและประเทศชาติ เปา้ หมาย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ีพิเศษ ไดร้ บั การศกึ ษาและเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ 3. คนทุกชว่ งวยั ได้รบั การศึกษา การดูแลและปอ้ งกันจากภัยคุกคามในชวี ิตรูปแบบใหม่ แผนพฒั นาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร

19 แนวทางการพฒั นา 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างความม่นั คงของสถาบันหลักของชาติและการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูง พ้ืนท่ีตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝ่ังทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุม่ ชน-ชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว) 4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม่ ภยั จากไซเบอร์ เป็นต้น ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การผลิตและพฒั นากำลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าหมาย 1. กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ 2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชี่ยวชาญและเป็น เลศิ เฉพาะด้าน 3. การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา 1. ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. ส่งเสริมการผลติ และพัฒนากำลงั คนท่ีมคี วามเชี่ยวชาญและเปน็ เลศิ เฉพาะดา้ น 3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิตและ มลู คา่ เพ่ิมทางเศรษฐกิจ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวัย และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าหมาย 1. ผู้เรยี นมีทกั ษะและคณุ ลักษณะพืน้ ฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคณุ ลักษณะท่ี จำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชพี และพัฒนาคุณภาพชีวติ ได้ตามศกั ยภาพ 3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้ อยา่ งมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร

20 4. แหล่งเรียนรู้ ส่ือตำราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถึงไดโ้ ดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานที่ 5. ระบบและกลไกการวดั การติดตามและประเมินผลมปี ระสทิ ธิภาพ 6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาไดม้ าตรฐานระดับสากล 7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา คณุ ภาพชีวติ อยา่ งเหมาะสม เตม็ ตามศกั ยภาพในแต่ละชว่ งวัย 2. ส่งเสริมและพฒั นาแหล่งเรียนรู้ ส่ือตำราเรียน และสื่อการเรยี นรตู้ ่างๆ ให้มคี ุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ เรียนรู้ไดโ้ ดยไม่จำกดั เวลาและสถานท่ี 3. สร้างเสริมและปรบั เปล่ียนค่านยิ มของคนไทยให้มีวินยั จิตสาธารณะ และพฤตกิ รรม ที่พึงประสงค์ 4. พฒั นาระบบและกลไกการติดตาม การวดั และประเมินผลผเู้ รยี นให้มีประสทิ ธภิ าพ 5. พัฒนาคลงั ขอ้ มลู ส่อื และนวตั กรรมการเรยี นรู้ ทีม่ คี ุณภาพและมาตรฐาน 6. พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา 7. พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศกึ ษา เปา้ หมาย 1. ผเู้ รียนทกุ คนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. การเพิ่มโอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทลั เพือ่ การศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวยั 3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพือ่ การวางแผนการบริหารจดั การศึกษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล แนวทางการพัฒนา 1. เพมิ่ โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาที่มคี ุณภาพ 2. พฒั นาระบบเทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือการศกึ ษาสำหรับคนทุกชว่ งวยั 3. พฒั นาฐานขอ้ มูลดา้ นการศึกษาท่ีมีมาตรฐาน เช่อื มโยงและเขา้ ถงึ ได้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม เปา้ หมาย 1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบัติ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดลอ้ ม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 3. การวิจยั เพอ่ื พัฒนาองคค์ วามรูแ้ ละนวตั กรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็น มติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสกลนคร

21 แนวทางการพฒั นา 1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสำนึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำ แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ัตใิ นการดำเนินชวี ติ 2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการ เรียนรู้ต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ท่ีเป็น มติ รกับสง่ิ แวดล้อม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา เป้าหมาย 1. โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจนและ สามารถตรวจสอบได้ 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา 3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและพ้นื ท่ี 4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะ ที่ แตกตา่ งกนั ของผู้เรยี น สถานศึกษา และความต้องการกำลังแรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษามีความเป็นธรรม สรา้ งขวัญ กำลงั ใจ และส่งเสริมใหป้ ฏบิ ัติงานได้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ แนวทางการพฒั นา 1. ปรบั ปรงุ โครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา 2. เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การสถานศึกษา 3. ส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการจัดการศกึ ษา 4. ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพและ ประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษา 5. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา แผนพัฒนาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสกลนคร

22 นโยบายและจดุ เน้นประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 1. การจัดการศึกษาเพอื่ ความปลอดภัย 1.1 เร่งสร้างสถานศึกษาปลอดภัยเพื่อเพิ่มความเช่ือม่ันของสังคม และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต รูปแบบใหม่ และภัยอ่ืน ๆ โดยมีการวางมาตรการต้านความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ครูและบุคลากรใน สถานศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จัดโครงการโรงเรียน Sandbox : Safety zone in school (SSS) หรือการ จัดกิจกรรม Safety School Success จัดให้มีการฉีดวัคซีนเพ่ือป้องกันโรคติดต่อ การจัดการความรุนแรง เกย่ี วกบั รา่ งกาย จิตใจ และเพศ เป็นตน้ 1.2 เร่งพัฒนาบรรจุตัวช้ีวัดเรื่องความปลอดภัยให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของสถานศึกษาและ หนว่ ยงานทุกระดบั 1.3 เร่งพฒั นาให้มีหน่วยงานด้านความปลอดภัยท่ีมีโครงสร้างและกรอบอัตรากำลังอย่างชัดเจนในทุก สว่ นราชการของกระทรวงศึกษาธิการ 2. การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา 2.1 เร่งจัดทำและพัฒนากรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (หลักสูตรฐานสมรรถนะ) โดยรับฟัง ความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ศกึ ษาวิเคราะห์ วิจัยความเหมาะสมความเป็นไปได้และทดลองใช้ก่อนการ ประกาศใชห้ ลักสตู รฯ ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ 2.2 จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ แบบถักทอความรู้ ทักษะคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกันด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) มุ่งเน้นให้ ผเู้ รยี นสามารถเข้าใจและเรียนร้อู ย่างมีความสุข และพัฒนาความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ รวมทั้งการพัฒนาระบบ การวัดและประเมินผลเชงิ สมรรถนะ 2.3 พัฒนาช่องทางการเรียนรู้ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มท่ีหลากหลายและมีแพลตฟอร์มการเรียนรู้ อัจฉริยะท่ีรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอนคุณภาพสูง และการประเมินและ พฒั นาผู้เรยี น เพือ่ ส่งเสรมิ การเรียนรูเ้ ปน็ รายบคุ คล (Personalized Learning) สำหรบั ผเู้ รียนทกุ ช่วงวัย 2.4 มุ่งพัฒนาการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรมให้มีความทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถ่ินและการ เสรมิ สร้างวถิ ีชวี ิตของความเปน็ พลเมอื งท่ีเข้มแข็ง 2.5 ส่งเสริมให้ความรู้ต้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน โดยบูรณาการ การทำงานร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น กองทุนการออมแห่งชาติ (กอซ.) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคาร ออมสิน ผ่านโครงการต่าง ( เช่น โครงการสถานศึกษาส่งเสริมวินัยการออมกับ กอช. โครงกรธนาคารโรงเรียน และการเผยแพรส่ ่อื แอนิเมชนั รอบรู้เรอื่ งเงนิ 2.6 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน แบบโมดูล (Modular System)ที่มี การบูรณากรวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาอาชีพเดียวกัน เช่ือมโยงกรจัด การอาชีวศึกษาท้ังในระบบนอก ระบบ และระบบทวิภาคี รวมท้ังการจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ร่วมมอื กบั สถานประกอบการในการจัดการอาชวี ศกึ ษาอยา่ งเข้มข้นเพ่ือการมงี านทำ แผนพฒั นาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร

23 2.7 ศึกษาวิจัย ถอดบทเรียนความสำเร็จในการจัดและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาของ สถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ของพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือเป็นแนวทางให้หน่วยงาน สถานศกึ ษา และผู้เกี่ยวข้องนำไปประยกุ ต์ใชใ้ ห้เหมาะสม 3. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.1 ดำเนินการสำรวจและติดตามเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน เพื่อนำเข้าสู่ระบบการศึกษา โดยเฉพาะการศึกษาภาคบงั คบั 3.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต่ ๓ ปีข้ึนไปทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษาเพ่ือรับการ พัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเน่ืองอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการร่วมงานกับ ทุกหนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้อง 3.3 มุ่งแก้ปัญหาคนพิการในวัยเรียนท่ีไม่ได้รับการศึกษาเข้าสู่ระบบการศึกษา โดยกำหนดตำแหน่ง (ปกั หมดุ บา้ นเด็กพิการท่ัวประเทศ 3.4 ให้ความชว่ ยเหลือโรงเรยี นห่างไกลกนั ดารได้มีโอกาสเรียนรใู้ นยุคโควิด โดยการสรา้ งความพร้อม ในด้านดิจิทัลและดา้ นอืน่ ๆ 3.5 ส่งเสริม และสนับสนุนความร่วมมอื การจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องคก์ รท้ังภาครัฐ เอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสถาบนั สงั คมอืน่ 4. การศึกษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะอาชีพและเพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั 4.1 ขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และส่งเสริมการผลิต กำลงั คนที่ตอบโจทยก์ ารพัฒนาประเทศ 4.2 ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการฝึกอบรมอาชีพท่ีสอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re- skill,Up-skill,.New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น พร้อมท้ังสร้างช่องทางอาชีพใน รูปแบบท่ีหลากหลายให้ครอบคลุมผเู้ รียนทุกกลุ่มเปัาหมาย รวมทั้งผสู้ ูงอายุทีม่ ีความสนใจ โดยมีการบูรณาการ ความรว่ มมอื ระหว่างหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง 4.3 จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start up) ภายใต้ศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็น ผู้ประกอบการ และพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพัฒนาผู้ประกอบการ ด้านอาชีพท้ังผู้เรียนอาชีวศึกษาและประซาชนท่ัวไป โดยเช่ือมโยงกับ กศน. และสถานประกอบการท้ังภาครัฐ และเอกชนทส่ี อดคล้องกับการประกอบอาชพี ในวถิ ีชวี ิตรูปแบบใหม่ 4.4 พัฒนาแอปพลิเคชัน เพ่ือสนับสนุนช่างพันธ์ุ R อาชีวะซ่อมทั่วไทย โดยการนำร่องผ่านการ ให้บริการของศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it Center) จำนวน ๑๐0 ศูนย์ ให้ครอบคลุมการให้บริการแก่ ประชาชน 5. การส่งเสริมสนบั สนนุ วิชาชีพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 5.1 พัฒนาหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้ระบบ การประเมินตำแหนง่ และวทิ ยฐานะของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) แผนพฒั นาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสกลนคร

24 5.2 พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยการจัดทำกรอบระดับสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรบั ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน และระดบั อาชวี ศึกษา 5.3 ดำเนินการแก้ไขปญั หาหนี้สนิ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทงั้ ระบบ ควบค่กู ับการให้ความรดู้ ้าน การวางแผนและการสรา้ งวนิ ัยดา้ นการเงินและการออม 6. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจทิ ัล 6.1 พัฒนาระบบสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย ในการจัดระบบทะเบียนประวัติ ของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาอิเลก็ ทรอนิกส์ 6.2 ปรับปรุงแนวทางการจัดสรรเงินค่าเคร่ืองแบบนักเรียนและอุปกรณ์การเรียนผ่านแอปพลิเคชัน “เป๋าตัง” ของกรมบัญชกี ลางไปยงั ผปู้ กครองโดยตรง 7. การขบั เคลอ่ื นกฎหมายการศึกษาและแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ จัดทำกฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแห่งชาติเพื่อรองรับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ควบคู่กับการสร้างการรับรูใ้ ห้กบั ประชาชนไดร้ ับทราบอยา่ งทว่ั ถึง แนวทางการขับเคล่ือนนโยบายส่กู ารปฏิบตั ิ 1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นำนโยบายและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ข้างต้น เป็นกรอบแนวทางในการจัดการศึกษา โดย ดำเนินการจดั ทำแผนและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธกิ าร สกู่ ารปฏิบัติระดบั พ้ืนที่ ทำหน้าที่ตรวจราชการ ติดตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบายและ จัดทำรายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิกร และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทราบตามลำดบั 3. กรณีมีปัญหาในเชิงพื้นท่ีหรือข้อขดั ข้องในการปฏิบัตงิ าน ให้ศึกษา วเิ คราะห์ข้อมูลและดำเนินการ แก้ไขปัญหาในระดับพ้ืนที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมท้ังรายงานต่อคณะกรรมการ ติดตามฯ ตามข้อ 6 ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตามลำดับ 4. สำหรับภารกิจของสว่ นราชการหลักและหนว่ ยงานทป่ี ฏิบัตใิ นลกั ษณะงานในเชงิ หน้าท(่ี Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซ่ึงได้ดำเนินการอยู่ก่อนแล้วหากมีความ สอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๕ ข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าท่ีของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องต้องเร่งรัด กำกับ ติดตามตรวจสอบให้การ ดำเนนิ การเกิดผลสำเร็จ และมปี ระสทิ ธิภาพอย่างเป็นรูปธรรม 2.3 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ีสบิ สอง พ.ศ. 2560 - 2564 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564 สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซ่ึง เป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมแล ะ วางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศทพี่ ัฒนาแลว้ มีความมั่นคง มง่ั ค่ัง ยั่งยนื ด้วยการพฒั นา แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสกลนคร

25 ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) มหี ลกั การที่สำคัญ คอื 1) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพอ่ื ใหเ้ กิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติ อยา่ ง สมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงท่ีดี ซ่ึงเป็นเงื่อนไขท่ี จำเป็นสำหรับการพัฒนาที่ย่ังยืนซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ สังคมไทย เป็นสังคม คณุ ภาพ มีท่ยี ืนและเปิดโอกาสให้กบั ทุกคนในสังคมได้ดำเนินชวี ิตที่ดมี ีความสุข และอยู่รว่ มกัน อย่างสมานฉันท์ ในขณะท่ีระบบเศรษฐกิจของประเทศก็เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีคุณภาพ และมีเสถียรภาพ การกระจาย ความม่ังคั่งอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เป็นการเติบโตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม รักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ ชุมชนวถี ชี ีวิต คา่ นิยม ประเพณแี ละวฒั นธรรม 2) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต และสุขภาวะท่ีดี สำหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับส่ิงแวดล้อมอย่างเกื้อกูล อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ ประโยชน์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเหมาะสม 3) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทยใน แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564 วสิ ัยทัศน์ “ประเทศไทยมคี วามมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ ประจำชาติว่า “มน่ั คง ม่ังค่งั ยง่ั ยืน” 4) ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ทีเ่ ป็นเป้าหมายในยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี มาเป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายท่ีจะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบ เปา้ หมายท่ีย่ังยืน (SDGs) 5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหลื่อมล้าและขับเคล่ือนการเจริญเติบโต จากการเพมิ่ ผลิตภาพการผลติ บนฐานของการใช้ภูมิปญั ญาและนวตั กรรม” 6) ยดึ “หลักการนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธ์อิ ย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ ท่ี เป็นเปา้ หมายระยะยาว” วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื วางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบียบวินัยค่านิยมท่ีดี มี จิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งท่ีมีทักษะ ความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองได้ตอ่ เนื่องตลอดชีวติ 2. เพ่ือให้คนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึง ทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมท้ังชุมชนมีความเข้มแข็งพ่ึงพา ตนเองได้ แผนพฒั นาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสกลนคร

26 3. เพ่อื ให้เศรษฐกิจเขม้ แข็ง แข่งขันได้ มเี สถยี รภาพ และมีความยงั่ ยืน สร้างความเข้มแข็งของ ฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากขึ้น สร้างความเข้มแข็งของ เศรษฐกจิ ฐานราก และสรา้ งความม่ันคงทางพลังงาน อาหาร และน้ำ 4. เพื่อรักษาและฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมให้สามารถสนับสนุน การ เติบโตท่ีเปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อมและการมีคุณภาพชีวิตท่ีดขี องประชาชน 5. เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมีการทำงานเชิง บูรณาการของภาคกี ารพฒั นา 6. เพื่อให้มีการกระจายความเจรญิ ไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรบั การ พฒั นายกระดบั ฐานการผลิตและบรกิ ารเดิมและขยายฐานการผลิตและบรกิ ารใหม่ 7. เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยง (Connectivity) กับประเทศต่างๆ ท้ังในระดับ อนุภูมิภาค ภูมภิ าค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ประเทศไทยมีบทบาทนำและ สร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ ทั้งในระดับอนุภูมิภาค ภมู ภิ าค และโลก เป้าหมายรวม เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายรวมการพัฒนาของ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ประกอบดว้ ย 1. คนไทยมคี ุณลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดี ของ สังคม มีความเป็นพลเมืองต่ืนรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์มีความรับผิดชอบ และทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณมีวิถีชีวิตท่ีพอเพียง และมีความเปน็ ไทย 2. ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพอย่าง ทว่ั ถงึ และเป็นธรรม 3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐาน บริการและดจิ ทิ ัล มผี ้ปู ระกอบการรนุ่ ใหมแ่ ละเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผปู้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ทีเ่ ข้มแข็งสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทัลในการสร้างสรรคค์ ณุ ค่าสินค้าและบรกิ ารมีระบบ การผลิต และให้บริการจากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้ช้ันสูง ใหม่ๆ ท่เี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลติ และการใหบ้ ริการสู่ ภมู ิภาคเพอื่ ลดความเหลอ่ื มล้ำ โดยเศรษฐกิจไทยมเี สถยี รภาพ 4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับ ส่งิ แวดล้อม มคี วามมนั่ คงทางอาหาร พลงั งาน และนำ้ 5. มีความมน่ั คงในเอกราชและอธปิ ไตย สงั คมปลอดภยั สามัคคี สร้างภาพลกั ษณ์ดี และ เพ่ิม ความเช่ือม่ันของนานาชาตติ ่อประเทศไทย 6. มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจาย อำนาจและมีส่วนร่วมจากประชาชน แผนพฒั นาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสกลนคร

27 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับภารกิจของ สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 9 ยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความสำคัญกับการวางรากฐาน การ พัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ เพ่ือให้คนไทยมีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคม ได้รับ การศึกษาที่มีคุณภาพสงู ตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างตอ่ เน่ือง มีสุขภาวะที่ดขี ึ้น คนทุกช่วง วัยมีทักษะ ความรู้และความสามารถเพ่ิมขึ้น รวมทั้งสถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการ พฒั นาประเทศเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหล่ือมล้ำในสังคม มุ่งเน้นลดปัญหาความ เหล่ือมล้ำด้านรายได้ของกลุ่มคนท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมท่ีแตกต่างกัน แก้ไขปัญหาความยากจน เพิ่ม โอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ รวมทั้งเพ่ิมศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ให้มี ความเขม้ แขง็ เพือ่ ใหช้ ุมชนพึ่งพาตนเองและได้รบั ส่วนแบ่งผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจมากขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างย่ังยืน เน้นให้เศรษฐกิจ เติบโตได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็นกลไกสำคัญ ใน การขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพ่ิมขึ้น การลงทุนภาครัฐและเอกชนมีการขยายตัว อย่างต่อเน่ืองและมาจากความร่วมมือกันมากขึ้น ประชาชนและผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบภาษีมากข้ึน และ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสงู ขนึ้ นอกจากนี้ ยังเนน้ ให้เศรษฐกิจรายสาขามีการ เติบโตอย่างเข้มแข็ง ภาคการเกษตรเน้นเกษตรกรรมยั่งยืนและให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้นมีการพัฒนาเมือง อตุ สาหกรรมนิเวศ การท่องเที่ยวสามารถทำรายได้และแข่งขันได้มากขึ้น วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมมีบทบาทต่อ ระบบเศรษฐกจิ มากขนึ้ ภาคการเงนิ มีประสทิ ธภิ าพเพม่ิ ขน้ึ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน มุ่งเน้นการรักษา และฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ การสร้างความม่ันคงด้านน้ำ และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำให้มี ประสิทธิภาพ การสร้างคุณภาพส่งิ แวดล้อมท่ีดี ลดมลพิษและลดผลกระทบต่อสขุ ภาพของประชาชนและระบบ นิเวศ การเพิ่มประสิทธิภาพการลดก๊าซเรือนกระจกและขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดความเส่ียงจากภัยพิบัติ และลดความ สญู เสียในชีวิตและทรัพยส์ ินทเี่ กิดจากสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคั่ง และย่ังยืน เน้นในเร่ืองการปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประเทศ สังคมมี ความสมานฉันท์ ประชาชนมีส่วนรว่ มป้องกันแก้ไขปัญหาความมั่นคง ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มี ความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพย์สนิ มโี อกาสในการศกึ ษาและการประกอบอาชพี ทีส่ รา้ งรายได้เพิ่มข้ึน ประเทศ ไทยมีความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความมั่นคงกับนานาประเทศในการป้องกันภัยคุกคาม ในรูปแบบ ต่างๆ ควบคู่ไปกับการรักษาผลประโยชน์ของชาติมี ความพร้อมต่อการรับมือภัยคุกคาม ทั้งภัยคุกคามทาง ทหารและภัยคุกคามอื่นๆ และแผนงานด้านความม่ันคงมีการบูรณาการสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนา เศรษฐกจิ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสกลนคร

28 ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบรหิ ารจัดการในภาครฐั การป้องกนั การทจุ ริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ใน สังคมไทย เร่งปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดผลสัมฤทธ์ิอย่างจริงจัง โดยมุ่งเน้นในเร่ืองการลดสัดส่วน ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของภาครัฐ รวมทั้ง ประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของประเทศ การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถน่ิ การปรับคะแนนดัชนีการรบั รู้การทุจรติ ให้อยู่ในระดบั ท่ีดีข้ึน และการลดจำนวนการดำเนนิ คดกี ับผู้ มไิ ด้กระทำความผิด ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้นในเร่ืองการลด ความเข้มของการใช้พลังงานและลด ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศ การพัฒนาระบบขนส่งทางรางและทางน้ำ เพิ่มปริมาณการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมือง และขยายขีดสามารถในการรองรับปริมาณ ผู้โดยสารของทา่ อากาศยานในกรุงเทพมหานครและทา่ อากาศยานในภูมิภาค การเพิม่ ความสามารถในการแข่งขนั ด้านโลจิสติกส์ และการอำนวยความสะดวกทางการค้า การพัฒนาด้านพลังงานเพื่อเพ่ิมสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนต่อ ปรมิ าณการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย และลดการพ่ึงพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล และการพฒั นาดา้ นสาธารณปู การ (นำ้ ประปา) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวัตกรรม เนน้ การเพ่ิมความ เข้มแข็งด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของประเทศ และการเพิ่มความสามารถในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือยกระดับความสามารถการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ และคุณภาพชีวิต ของประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นท่ีเศรษฐกิจ มุ่งเน้นในเรื่องการลดช่องว่าง รายได้ระหวา่ งภาคและมีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมมากขึ้น การเพิ่มจำนวนเมืองศูนย์กลางของจังหวัด เป็น เมืองน่าอย่สู ำหรบั คนทกุ กลุ่มในสังคม พน้ื ทฐี่ านเศรษฐกิจหลกั มรี ะบบการผลิตท่ีมปี ระสทิ ธิภาพสงู และเป็นมิตร ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มและการเพ่ิมมูลค่าการลงทนุ ในพ้นื ที่เศรษฐกิจใหม่บรเิ วณชายแดน นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความม่นั คงแห่งชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) ได้ประกาศใน ราช กิจจานุเบกษา ณ วันท่ี 19 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2562 เพื่อเป็นแผนหลักของชาติท่ีเป็นกรอบทิศทางการ ดำเนนิ การปอ้ งกัน แจง้ เตือน แกไ้ ข หรอื ระงบั ยับย้งั ภัยคกุ คามเพอื่ ธำรงไว้ซึง่ ความม่ันคงแห่งชาติ กรอบแนวคิดนโยบายและแผนระดบั ชาติว่าด้วยความมัน่ คงแหง่ ชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) รวม 7 กรอบแนวคิด ชุดที่ 1) ข้อกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติสภาความ มั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2559 พระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560 ชุดที่ 2) น้อมนำศาสตร์ พระราชาเป็นหลักการทำงานด้านความมั่นคง ชุดท่ี 3) การให้ความสำคัญกับความม่ันคงแบบองค์รวม (Comprehensive Security) ชุดที่ 4) ความเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ชาติ แผนระดับชาติและยุทธศาสตร์ของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุดที่ 5) ประชารัฐ ชุดท่ี 6) ความม่ันคงภายในประเทศ ชุดท่ี 7) การรักษาดุลยภาพ สภาวะแวดล้อมระหวา่ งประเทศและความสัมพนั ธร์ ะหว่างไทยกับนานาประเทศ แผนพฒั นาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสกลนคร

29 วิสัยทัศน์ “มเี สถียรภาพภายในประเทศ มีศักยภาพในการลดภยั ข้ามเขตพรมแดนไทย มีบทบาทสรา้ งสรรค์ ในภูมิภาคและประชาคมโลก” นโยบายความมัน่ คงแหง่ ชาติ ประกอบด้วย 16 นโยบาย นโยบายที่1: เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ นโยบายท่ี 2 : สรา้ งความเป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉนั ทใ์ นชาติ นโยบายท่ี 3 : ปอ้ งกันและแกไ้ ขการกอ่ เหตรุ ุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบายท่ี 4 : จดั ระบบการบรหิ ารจัดการชายแดนเพ่ือป้องกนั และแก้ไขปัญหาข้ามพรมแดน นโยบายที่ 5 : สรา้ งเสริมศกั ยภาพการป้องกนั และแก้ไขปัญหาภัยคุกคามขา้ มชาติ นโยบายที่ 6 : ปกปอ้ ง รักษาผลประโยชนแ์ หง่ ชาติทางทะเล นโยบายท่ี 7 : จัดระบบ ป้องกัน และแก้ไขปญั หาผู้หลบหนเี ขา้ เมอื ง นโยบายท่ี 8 : เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งและภูมคิ ุ้มกันความมัน่ คงภายใน นโยบายที่ 9 : เสริมสรา้ งความมนั่ คงของชาตจิ ากภัยการทจุ ริต นโยบายท่ี 10 : เสรมิ สร้างความมั่นคงปลอดภยั ไซเบอร์ นโยบายท่ี 11 : รักษาความมั่นคงของฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม นโยบายท่ี 12 : เสริมสร้างความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร นโยบายที่ 13 : พฒั นาระบบการเตรียมพรอ้ มแห่งชาตเิ พอื่ เสรมิ สรา้ งความม่นั คงของชาติ นโยบายที่ 14 : เสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพการป้องกันประเทศ นโยบายที่ 15 : พฒั นาระบบงานขา่ วกรองใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ นโยบายท่ี 16 : เสรมิ สรา้ งดุลยภาพในการดำเนนิ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ แผนระดบั ชาตวิ า่ ดว้ ยความมั่นคงแห่งชาติ ประกอบดว้ ย 19 แผน 1. แผนการเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของมนษุ ย์ 2. แผนการขา่ วกรองและการประเมินสถานการณ์ดา้ นความมั่นคง 3. แผนการเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติภายใต้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ 4. แผนการพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ 5. แผนการพัฒนาศักยภาพการปอ้ งกันประเทศ 6. แผนการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง 7. แผนการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาการก่อเหตุรนุ แรงในพ้นื ท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใต้ 8. แผนการบริหารจัดการผู้หลบหนเี ขา้ เมอื ง 9. แผนการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการคา้ มนษุ ย์ 10. แผนการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสกลนคร

30 11. แผนการเสรมิ สร้างความม่ันคงของชาติจากภัยทจุ รติ 12. แผนการรกั ษาความมนั่ คงพืน้ ทชี่ ายแดน 13. แผนการรักษาความม่นั คงทางทะเล 14. แผนการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาภัยคุกคามขา้ มชาติ 15. แผนการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาความมั่นคงทางไซเบอร์ 16. แผนการรักษาดุลยภาพสภาวะแวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ 17. แผนการรักษาความมัน่ คงทางพลงั งาน 18. แผนการรักษาความมั่นคงด้านอาหารและน้ำ 19. แผนการรกั ษาความมน่ั คงดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 2.4 วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ ยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์หลักและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ วสิ ัยทศั น์ มงุ่ พฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้ คู่คุณธรรม มคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดมี ีความสุขในสังคม พนั ธกิจ 1. ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ/ประเภทสูส่ ากล 2. เสริมสร้างโอกาสเข้าถงึ บริการทางการศกึ ษาของประชาชนอย่างท่วั ถึง เท่าเทียม 3. พัฒนาระบบบริหารจดั การการศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าล ยทุ ธศาสตร์ 1. พฒั นาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล 2. ผลติ พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 3. ผลติ และพฒั นากำลังคน รวมทงั้ งานวิจยั ทีส่ อดคลอ้ งกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ 4. ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาและการเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต 5. ส่งเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพือ่ การศกึ ษา 6. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและส่งเสริมใหท้ ุกภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา เปา้ ประสงค์ 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีข้ึน คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มภี ูมคิ ุ้มกันต่อการเปล่ยี นแปลง และ การพัฒนาประเทศในอนาคต 2. กำลงั คนได้รบั การผลติ และพัฒนา เพือ่ เสริมสร้างศักยภาพการแขง่ ขันของประเทศ 3. มีองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนบั สนนุ การพฒั นาประเทศอยา่ งยั่งยืน 4. คนไทยไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวิต 5. ระบบบรหิ ารจดั การการศึกษามีประสทิ ธิภาพตามหลักธรรมาภบิ าล โดยการมีส่วนรว่ มจากทุกภาค สว่ น กระทรวงศึกษาธิการ ลงนามในประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง นโยบายและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสกลนคร

31 เพ่ือให้การดำเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ใน ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ เปา้ หมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ วัตถุประสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน เรอ่ื งการเตรยี มคนส่ศู ตวรรษท่ี 21 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั น้ี หลักการ 1. ให้ความสำคญั กบั ประเด็นคุณภาพและประสิทธภิ าพในทุกมิติท้งั ผเู้ รียน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ขา้ ราชการพลเรือนและผู้บริหารทกุ ระดับ ตลอดจนสถานศกึ ษาทุกระดับทกุ ประเภทและเปน็ การศกึ ษา ตลอดชีวติ 2. บูรณาการการทำงานร่วมกันระหวา่ งส่วนราชการหลกั องค์การมหาชนในกำกบั ของ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการให้มีความคลอ่ งตวั รวมท้งั หนว่ ยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ ารในพื้นที่ ภูมภิ าคใหส้ ามรถปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพอ่ื ดำเนนิ การปฏริ ูปการศกึ ษารว่ มกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน ตามนโยบายประชารัฐ ระดับกอ่ นอนุบาล เน้นประสานงานกับสว่ นราชการและชมุ ชนในการเตรียมความพร้อมผู้เรยี น ทั้งดา้ นสุขภาพและ โภชนาการ และจัดประสบการณ์การเรยี นรทู้ ีเ่ ชื่อมโยงกับระบบโรงเรยี นปกติ ระดับอนบุ าล เนน้ สรา้ งความรว่ มมือกบั ผ้ปู กครองและชมุ ชน เพื่อออกแบบกจิ กรรมการพัฒนาทักษะทสี่ ําคัญ ดา้ นต่าง ๆ เชน่ ทกั ษะทางสมอง ทักษะความคิดความจาํ ทักษะการควบคมุ อารมณ์ ทักษะการร้จู ักและ ประเมินตนเอง ระดบั ประถมศกึ ษา มุง่ คํานึงถึงพหปุ ัญญาของผู้เรยี นรายบคุ คลทแ่ี ตกตา่ งกนั ตามศกั ยภาพ ดังน้ี 1. ปลูกฝังความมีระเบียบวนิ ยั ทศั นคตทิ ่ีถกู ต้อง โดยใช้กระบวนการลกู เสือและยวุ กาชาด 2. เรยี นภาษาไทย เนน้ เพ่ือใช้เป็นเครือ่ งมอื ในการเรยี นรูว้ ชิ าอ่นื 3. เรยี นภาษาองั กฤษและภาษาพนื้ ถ่ิน (ภาษาแม่) เน้นเพ่อื การส่ือสาร 4. เรียนรู้ด้วยวธิ กี าร Active Learning เพอื่ พฒั นากระบวนการคิด การเรียนรู้ จาก ประสบการณจ์ ริงหรือสถานการณจ์ าํ ลองผ่านการลงมือปฏิบัติ และเปดิ โลกทัศนม์ ุมมองร่วมกันระหว่างผ้เู รยี น กบั ครูดว้ ยการจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นมากข้ึน 5. สร้างแพลตฟอรม์ ดิจทิ ลั เพ่ือการเรียนรู้ และใชด้ จิ ิทลั เป็นเครอื่ งมือการเรียนรู้ 6. จัดการเรยี นการสอนเพ่ือฝึกทักษะการคดิ แบบมีเหตผุ ลและเปน็ ขนั้ ตอน (Coding) 7. พัฒนาครูใหม้ ีความชาํ นาญในการสอนภาษาอังกฤษและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) แผนพฒั นาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร

32 8. จัดให้มโี ครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรียนคุณภาพ เนน้ ปรบั สภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและ ภายนอกบรเิ วณโรงเรียนใหเ้ อ้ือต่อการสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ ระดบั มัธยมศกึ ษา มุ่งต่อยอดระดบั ประถมศึกษา ด้วยจดุ เนน้ ดงั นี้ 1. จดั การเรียนร้ดู ว้ ยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรม คณิตศาสตร์ (STEM) และ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาทีส่ าม) 2. จัดการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย เพือ่ สร้างทักษะพ้นื ฐานทีเ่ ชือ่ มโยงสู่การสรา้ งอาชีพและการมี งานทำ ระดับอาชีวศึกษา มุ่งจดั การศึกษาเพ่อื การมงี านทาํ และสรา้ งนวัตกรรมตามความต้องการของพ้ืนทช่ี มุ ชน ภมู ภิ าค หรือประเทศ รวมทัง้ การเป็นผู้ประกอบการเองดว้ ยจดุ เน้น ดงั นี้ 1. จัดการศกึ ษาในระบบทวิภาคี ให้ผู้เรยี นมีทกั ษะและความเชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น 2. เรยี นภาษาอังกฤษ เพ่อื เพ่ิมทักษะสาํ หรับใชใ้ นการประกอบอาชีพ 3. เรยี นรู้การใช้ดิจทิ ัล เพ่อื ใชเ้ ป็นเครอื่ งมือสาํ หรับในการสร้างอาชีพ 4. จัดต้ังศนู ยป์ ระสานงานการผลติ และพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาในภมู ิภาค การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มุ่งสร้างโอกาสให้ประชาชนผ้เู รยี นท่ีสำเรจ็ หลกั สตู ร สามารถมีงานทำ 1. เรยี นร้กู ารใชด้ จิ ทิ ลั เพื่อใช้เป็นเคร่อื งมือสำหรบั หาช่องทางในการสร้างอาชีพ 2. จัดทำหลกั สูตรพัฒนาอาชพี ทเ่ี หมาะสมสำหรบั ผทู้ ่เี ข้าสู่สงั คมสงู วยั การขับเคลอื่ นสู่การปฏบิ ตั ิ 1. ทุกหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ตอ้ งปรบั ปรุงแผนปฏบิ ัตริ าชการให้สอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาล และวางแผนการใช้งบประมาณเป็นรายไตรมาส รวมท้ังใช้จ่ายงบประมาณใหเ้ ปน็ ไป ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั ท่เี กยี่ วข้อง 2. จดั ทำฐานข้อมูล (Big Data) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ให้ครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัย 3. ใช้เทคโนโลยีและดจิ ทิ ัลเปน็ เคร่อื งมอื ในการปฏิบัติงานทั้งระบบ เน้นการเรียนรู้และการ บริหารจัดการ 4. ปรับปรงุ โครงสร้างของกระทรวงศกึ ษาธิการให้เกดิ ความคล่องตวั หากตดิ ขดั ในเร่ืองข้อ กฎหมาย ให้ผู้บรหิ ารระดบั สงู ร่วมหาแนวทางการแก้ไขรว่ มกนั 5. ใหห้ น่วยงานระดบั กรมกำหนดแผนงานสนับสนนุ ทรัพยากร งบประมาณ อัตรากำลงั ตาม ความต้องการจำเป็นใหแ้ กห่ น่วยงานในพ้ืนทีภ่ ูมิภาค 6. ใช้กลไกกองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษา มาบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับ หนว่ ยจดั การศกึ ษา และวางแผนการใชง้ บประมาณเปน็ รายไตรมาส รวมทัง้ ใช้เป็นงบประมาณให้เปน็ ไปตาม กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับท่ีเกีย่ วขอ้ ง แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร

33 7. เรง่ ทบทวน (รา่ ง) พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ….โดยปรบั ปรงุ สาระสำคัญให้ เออื้ ต่อการขบั เคลื่อนนโยบายของรัฐบาล 8. ในระดบั พ้ืนที่หากเกดิ ปญั หาข้อตดิ ขัดการปฏิบัติงาน ต้องศึกษา ตรวจสอบข้อมูล / ข้อเทจ็ จริงที่เกดิ ข้นึ เช่น จำนวนเดก็ ในพืน้ ทีน่ อ้ ยลง ซง่ึ จำเปน็ ต้องมีการควบรวมโรงเรียน ใหพ้ จิ ารณาสื่อสาร อธบิ ายทำความเข้าใจท่ีชัดเจนกบั ชุมชน 9. วางแผนการใชอ้ ตั รากำลงั ครู โดยเฉพาะครูระดับอนุบาล และครูระดบั อาชีวศึกษา ใหม้ ี ประสิทธภิ าพ และจดั ทำแผนการประเมนิ ครูอยา่ งเป็นระบบ รวมทัง้ จัดทำหลกั สตู รการพฒั นาครใู ห้มีองค์ ความรแู้ ละทักษะในด้านพหุปัญญาของผูเ้ รยี น 10. ให้ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดจดั ทำแผนการจัดการศึกษาของแต่ละจังหวัดนำเสนอต่อ คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั และขับเคล่ือนสกู่ ารปฏิบตั ิอย่างเป็นรูปธรรม 11. ให้ผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และศึกษาธิการภาค มบี ทบาทหนา้ ท่ตี รวจ ราชการ ติดตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบาย และจดั ทำรายงานเสนอต่อรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร อนง่ึ สำหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานทป่ี ฏิบัติงานตามปกติ (Function) งานในเชงิ ยทุ ธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซ่งึ ไดด้ ำเนินการอยู่กอ่ นนนั้ หากรฐั บาลหรอื กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายสำคญั เพ่ิมเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นอกเหนือจากทกี่ ำหนด หากมีความ สอดคล้องกับหลกั การในขา้ งต้น ใหถ้ อื เป็นหน้าท่ขี องส่วนราชการหลักและหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งจะต้องเร่งรัด กำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบให้การดำเนนิ การเกิดผลสำเรจ็ และมปี ระสิทธิภาพอย่างเป็นรปู ธรรมด้วยเชน่ กนั 2.5 แผนพฒั นาการอาชีวศึกษา (พ.ศ.2560-2579) แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษา การจัดการอาชีวศึกษาเปนการจัดการศึกษาในดานวิชาชีพ เพ่ือผลิตและพัฒนากําลังคนในระดับฝมือ (ปวช.) ระดับเทคนคิ (ปวส.) ระดับเทคโนโลยี (ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัตกิ าร) และการฝกอบรม วิชาชีพ ซึ่งเปนการเพิ่มพูนความรูและทักษะอาชีพระยะสั้นและระยะยาว ที่มีความสัมพันธสอดคลองกับ ปรัชญาการอาชีวศกึ ษา กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิอาชีวศึกษาแหงชาติ และมาตรฐานการอาชีวศกึ ษาในแตระดบั คานิยมอาชีวศึกษา ในการจัดการอาชีวศึกษามีคานิยมที่เปนเปาหมายหลักในการปลูกฝงที่สําคัญ 4 ประการ ไดแก คุณธรรม (Merit) คุณภาพ (Quality) ความรวมมือ (Collaboration) ความเปนมืออาชีพ (Professional) วิสยั ทัศน แผนพฒั นาการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 ไดกาํ หนดวิสัยทศั นท่ีเปนความคาดหวงั ตามเจตนา รมณของ การจดั การอาชีวศึกษา ไวดังน้ี “ผูสําเร็จการอาชวี ศึกษาและฝกอบรมวิชาชพี มีคุณธรรม คุณภาพ สอดคลองกบั ความตองการในการ พัฒนาประเทศ” พนั ธกจิ เพื่อใหการจัดการอาชวี ศึกษาบรรลผุ ลตามวิสัยทศั นท่กี าํ หนดไว จึงมภี ารกิจท่ีตองดําเนินการดงั น้ี แผนพัฒนาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสกลนคร

34 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและพัฒนากาํ ลงั คนดานวชิ าชีพสอดคลองกับความตองการ ของ สถานประกอบการและการประกอบอาชีพอสิ ระใหมีคุณภาพไดมาตรฐานในระดับสากล 2. ขยายโอกาสการศกึ ษาวิชาชีพใหกบั ประชาชนทุกชวงวยั 3. เพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารจดั การอาชีวศกึ ษาภายใตหลักธรรมาภิบาลโดยอาศยั เครือขายความ รวมมอื จากทุกภาคสวน 4. พัฒนางานวิจัย ส่ิงประดษิ ฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และสรางองคความรูเพ่ือการจัดอาชีวศึกษาและ พัฒนาวิชาชีพ 5. พฒั นาครูและบุคลากรอาชีวศกึ ษาใหมคี ณุ ภาพดวยวธิ ีท่ีหลากหลาย วัตถปุ ระสงค แผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2560–2579 ไดกาํ หนดวัตถปุ ระสงค เพ่ือใชเปนแนวทางในการ จัดการอาชวี ศึกษา ดงั น้ี 1. เพอ่ื ผลติ และพัฒนากําลังคนดานวิชาชพี ใหมีคณุ ธรรม คุณภาพ และความเปนมืออาชีพ 2. เพอื่ เพ่ิมโอกาสการศกึ ษาวิชาชีพกบั ประชาชนทุกชวงวยั 3. เพ่ือนาํ หลกั ธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา 4. เพือ่ พฒั นางานวจิ ัย ส่ิงประดิษฐ นวตั กรรม เทคโนโลยี และองคความรูอาชวี ศกึ ษา 5. เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ เปาหมายดานคณุ ภาพของผูสาํ เรจ็ การศึกษา การพัฒนาการอาชีวศกึ ษาตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560–2579 มีเปาหมายเพ่ือผลิตและ พฒั นาผูเรียนและผูสาํ เรจ็ การศกึ ษามีคุณภาพครอบคลมุ อยางนอย 3 ดาน ไดแก 1. ดานคณุ ลักษณที่พึงประสงค ไดแก คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี พฤติกรรม ลักษณะ นสิ ยั และทกั ษะทางปญญา 2. ดานสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไป ไดแก ความรูและทกั ษะการสอื่ สาร การใชเทคโนโลยี สารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรูและการปฏิบัติงาน การทํางานรวมกับผูอื่น การใชกระบวนการทางวทิ ยา ศาสตร การประยุกตใช ตวั เลข การจัดการและการพฒั นางาน 3. ดานสมรรถนะวิชาชีพ ไดแก ความสามารถในการประยุกตใชความรู และทักษะในสาขาวิชาชพี สู การปฏบิ ัตจิ ริง รวมท้งั ประยุกตสูอาชพี ยทุ ธศาสตร เปาหมาย และตัวช้ีวัด เพ่ือใหแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560–2579 บรรลุผลตามวิสัยทัศน และเปาหมาย จึงได กาํ หนด ยทุ ธศาสตรการพัฒนาการอาชวี ศึกษาไว 6 ยุทธศาสตร ดังนี้ 7.1 ยุทธศาสตรที่ 1 การจดั การอาชีวศึกษาเพื่อความมัน่ คงของสงั คมและประเทศชาติ มเี ปาหมายดงั น้ี 7.1.1 ผูเรียนอาชีวศกึ ษามคี วามรักในสถาบนั หลักของชาติ และยดึ มน่ั การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มตี วั ช้ีวดั ทส่ี ําคัญ ไดแก การจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การเรยี นรู ท่ีแสดงออกถึงความจงรักภักดีและธํารงรักษาไวซึ่งสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นในการปกครองระบอบ แผนพฒั นาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสกลนคร

35 ประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข ผูเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกคนผาน การอบรมลูกเสือ เนตรนารี การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพ่ือสงเสริมการอยูรวมกันใน สังคมพหวุ ฒั นธรรม และ สรางภมู ิคมุ กนั หรอื ปองปรามการทุจรติ คอรรปั ชน่ั 7.1.2 ผูเรียนอาชีวศึกษามคี วามรูและไดรับการดูแลปองกนั ภยั คกุ คามในชวี ติ รปู แบบใหม มีตัวชี้วัดท่ี สําคัญ ไดแก การจัดกระบวนการเรียนรูและปลูกฝงแนวทางการจัดการความขัดแยงโดยแนวทาง สันติวิธี เพื่อเสริมสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตองในการปองกันภัยคุกคามรูปแบบใหม มีระบบ กลไก และ มาตรการ ท่เี ขมแข็งในการปองกันและแกไขภัยคุกคามรปู แบบใหม สถานศึกษาปลอดยาเสพติด อบายมุข และ เหตทุ ะเลาะววิ าท 7.1.3 ผูเรยี นอาชีวศึกษาเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต เขตพัฒนา เศรษฐกิจ พิเศษและเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ไดรับการศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ มีตวั ชี้วัดที่ สําคัญ ไดแก การ พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอาชีพท่ีสอดคลองกับสังคมและวัฒนธรรม การจัดการ อาชวี ศึกษาและฝกอบรมวชิ าชพี ท่ี ครอบคลุมคนทกุ ชวงวัยสอดคลองกับภมู ิสังคม อัตลักษณ และความตองการ ของชมุ ชน พัฒนาศักยภาพตามสมรรถนะอาชีพมงี านทาํ หรือประกอบอาชพี อสิ ระ มีความรวมมอื กบั ทุกภาค สวนในการจัดการ อาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ มีระบบเงินเดือนคาตอบแทนพิเศษ เพื่อสรางแรงจูงใจใน การปฏิบัติงาน ผูสําเร็จ การศึกษาในกลุม สาขา ปาหมาย มีงานทําหลังจบการศึกษา และความพึงพอใจของ ภาคผูใชที่มตี อสมรรถนะของ ผูสาํ เรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา 7.2 ยุทธศาสตรที่ 2 การผลติ และพฒั นากาํ ลังคนดานการอาชวี ศึกษาเพ่ือสรางขีดความสามารถใน การ แขงขันของประเทศ มเี ปาหมายดังน้ี 7.2.1 กาํ ลงั คนอาชวี ศึกษามสี มรรถนะตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและการ พัฒนาประเทศ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ ไดแก มีฐานขอมูลการผลิตและความตองการกําลังคนอาชีวศึกษา ผูเรียน อาชีวศึกษา เพ่ิมขึ้นเม่ือเทียบกับผูเรียนสามัญศึกษา ผูเรียนอาชีวศึกษาไดรับเงินกูยืมเพื่อการศึกษา ผูสําเร็จ อาชีวศึกษามีสรรถนะ ตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ ความสามารถการใช ภาษาอังกฤษของผูสําเร็จ อาชีวศึกษาตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR) ผูสําเร็จ อาชีวศึกษาในสาขากลุมอุตสาหกรรม เปาหมายตรงตามขอมูลความตองการกําลังคน อัตราการมีงานทํา การ ประกอบอาชีพอิสระของผูสําเร็จอาชีวศึกษา ภายในระยะเวลา 1 ป และผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ และมาตรฐานอาชพี 7.2.2 การผลิตและพฒั นากาํ ลงั คนดานการอาชวี ศกึ ษาทมี่ คี วามเชี่ยวชาญและเปนเลิศ เฉพาะทาง มตี วั ชี้วัดที่สําคญั ไดแก ความเชยี่ วชาญและเปนเลศิ เฉพาะทาง มีหลักสตู รฐานสมรรถนะในสาขาที่ ตรงกับความ ตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ จัดการศึกษาเนนดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวิจัย จดั การเรียนรูแบบบรู ณาการองคความรูดานวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร หรือสะเต็มศึกษา ใชชุมชนเปนแหลงเรียนรูทางวชิ าชีพ ผานการประเมนิ สมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพ มีภาคี เครือขายความรวมมือ ระหวางรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพท่ีจัดการอาชีวศึกษารวมกับ สถานศึกษา เพ่ือพฒั นากาํ ลังคนตาม ความตองการของตลาดแรงงาน แผนพัฒนาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสกลนคร

36 7.2.3 การวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวตั กรรม เทคโนโลยี และองคความรูดานอาชวี ศกึ ษา เพื่อ เพ่ิมผลผลิต และมูลคาทางเศรษฐกิจ ประเทศ มีตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ ไดแก จํานวนโครงการ งานวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูท่ีนําไปใชประโยชนในการพัฒนาชุมชนและสังคม จํานวนบุคลากร อาชีวศึกษาดานการวิจัย และพัฒนา จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ ท่ีไดรับการจดสิทธิบัตร และจํานวน ผลงานวิจัยที่ไดรบั การตีพิมพ ในระดับชาติหรือนานาชาติ 7.3. ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพกําลงั คนดานการอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับ ความ ตองการในการพฒั นาประเทศ มีเปาหมายดงั นี้ 7.3.1 กาํ ลงั คนดานการอาชวี ศึกษามีคณุ ลักษณะที่พึงประสงค สมรรถนะหลักและ สมรรถนะท่ัวไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคลองกับความตองการในการพัฒนาประเทศ สูประเทศไทย 4.0 มีตัวชี้วัดที่สําคัญ ไดแก ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค สมรรถนะหลักและ สมรรถนะทว่ั ไป และสมรรถนะ วชิ าชพี และความพงึ พอใจของภาคผูใชทม่ี ีตอผูสําเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศึกษา 7.3.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาอาชีวศกึ ษามีศกั ยภาพในการพฒั นากาํ ลงั คนดาน อาชีวศึกษา มีตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ ไดแก ครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีไดรับการพัฒนาศักยภาพ ระดบั สูง และ ความพึงพอใจของผูสําเร็จการศกึ ษาอาชีวศกึ ษาที่มตี อครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาอาชีวศึกษา 7.3.3 หลักสตู รอาชวี ศึกษามีการพฒั นาเพ่ิมขน้ึ อยางหลากหลายตามความตองการในการ พัฒนา ประเทศ ตัวชี้วัดที่สําคัญ ไดแก หลักสูตรที่ไดรับการพัฒนา จํานวนผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ได รบั การพฒั นา และความพึงพอใจของผูสาํ เร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่มตี อหลักสูตรที่ไดรบั การพัฒนา 7.3.4 การพัฒนาความรวมมือกับทกุ ภาคสวน เพ่อื เพ่ิมศกั ยภาพกาํ ลงั คนดานอาชวี ศึกษา ใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคลองกับ ความตองการ ในการพัฒนาประเทศ ตัวช้ีวัดที่สําคัญ ไดแก สถานประกอบการที่รวมมือในการพฒั นาศักยภาพ กาํ ลงั คน ดานอาชีวศกึ ษา จํานวนโครงการความรวมมือท้ังในและตางประเทศ และความพึงพอใจในการพัฒนา ความรวมมือ การพัฒนาศกั ยภาพกําลงั คนดานการอาชีวศกึ ษา 7.4 ยทุ ธศาสตรท่ี 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมในดานการอาชวี ศกึ ษา 7.4.1 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาดานอาชวี ศึกษา ใหผูเรียนทุกคน ทุกกลมุ ทุกพนื้ ท่ี และทกุ ระดับ การศึกษาไดรับบริการทางการศึกษาดานอาชีวศึกษาอยางมีคณุ ภาพ ตัวชี้วดั ท่ีสําคัญ ไดแก สัดสวนผู เขาเรียนระดับ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันปท่ี 1 (ปวช.1) เทียบกบั นกั เรยี น ที่สําเร็จการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษา ตอนตน ผูเขาเรียน หลักสูตรทวิศึกษาเทียบกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผูเขาเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปที่ 1 (ปวส.1) เทียบกับนักเรียนท่ีสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.3) และอัตราการเพ่ิมข้ึน ของผูเรียนระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ หลักสูตรการฝกอบรมอาชีพที่ไดรับการพัฒนา สอดคลองกับความตองการของผูเรียน ผูเรียนที่มีความจําเปนพิ เศษที่ไดรบั การศึกษาดานอาชีวศกึ ษาหรือฝกอบรม วิชาชพี หลกั สูตรและรปู แบบการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาท่ี ยดื หยุน หลากหลาย ทุกระดับการศกึ ษา ทั้งการศึกษา ในระบบ นอกระบบ และอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ที่มี คุณภาพและมาตรฐาน และมีระบบเครอื ขายเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อการศึกษาที่ทันสมัยตอบสนองความต องของผูเรยี นและผูใชอยางทวั่ ถงึ และมปี ระสิทธิภาพ แผนพฒั นาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสกลนคร

37 7.4.2 ระบบฐานขอมูลรายบคุ คลของผูเรียนอาชีวศกึ ษาทถี่ ูกตอง เปนปจจุบนั เพื่อการ วางแผน การบริหารจดั การอาชวี ศึกษา การติดตามและประเมินผล ตัวชี้วัดที่สําคัญ ไดแก ระบบฐานขอมูล รายบคุ คลท่ี อางองิ จากเลขประจําตวั ประชาชน 13 หลัก ที่สามารถเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนฐานขอมูล รวมท้ัง ใชประโยชนรวมกัน ระหวางสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและหนวยงานอื่น ระบบสารสนเทศท่ี ครอบคลุม ถูกตอง และเปน ปจจุบันเพ่ือใชประโยชนในการวางแผนการบริหารจัดการศึกษาอาชีวศึกษา การ ติดตามและประเมินผล ระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรู อาชีวศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สามารถใหบริการและใชประโยชนรวมกันระหวางหนวยงานอื่นได และ ความพึงพอใจของบุคคลและ หนวยงานในการเขาถึงและใชประโยชนจากฐานขอมูลและสารสนเทศทางการ ศกึ ษา 7.5 ยุทธศาสตรท่ี 5 การจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีเปาหมายดังนี้ 7.5.1 ผเู รียนอาชีวศกึ ษา มีจิตสํานึก ทศั นคติ คานยิ ม ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ เปนมติ ร กับสิ่งแวดลอม ตัวช้ีวัดที่สําคัญ ไดแก จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่สรางจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการ พัฒนา คุณภาพชีวิต เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม ผูเรียนอาชีวศึกษาท่ีไดรับการปลูกฝงจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพัฒนา คุณภาพชวี ิต เปนมติ รกับสิ่งแวดลอม ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศึกษาที่ไดรับการอบรม เก่ียวกับการพัฒนา คุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม และสถานศึกษาท่ีดําเนินการตามโครงการ สถานศึกษาคณุ ธรรม 7.5.2 ผเู รียนอาชีวศกึ ษาสามารดาํ รงชีวติ อยางมคี วามสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ตัวช้ีวดั ที่สําคัญ ไดแก จํานวนสถานศึกษาท่ีบริหารจัดการและจัดการการเรียนการสอนตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” ผูเรียนอาชีวศึกษาท่ีนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน การดํารงชีวิต ครูและบุคลากร ทางการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช ในการ ดาํ รงชีวติ 7.5.3 การวิจัยเพือ่ พัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการเสรมิ สรางคณุ ภาพชีวติ เป็น มิตรกบั สิ่งแวดลอม ตัวชว้ี ัดท่สี ําคัญ ไดแก งานวิจยั สง่ิ ประดษิ ฐ นวตั กรรม เทคโนโลยี และองคความรูท่ีเก่ยี ว ของกบั การสรางเสริมคณุ ภาพชีวติ เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมและนําไปใชประโยชน หนวยงานภายนอกที่รวมมือ หรือสนบั สนนุ สถานศกึ ษาในการวจิ ัย ส่งิ ประดษิ ฐ นวตั กรรม เทคโนโลยี และองคความรูทเ่ี กีย่ วของกบั การ สรางเสรมิ คุณภาพชีวิต เปนมิตรกับส่งิ แวดลอม 7.6 ยทุ ธศาสตรที่ 6 การเพิ่มประสิทธภิ าพระบบการบรหิ ารจัดการอาชีวศกึ ษา มีเปาหมายดงั น้ี 7.6.1 ระบบการบรหิ ารจัดการอาชวี ศึกษาท่มี ปี ระสทิ ธิภาพภายใตหลกั ธรรมาภบิ าล ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ ไดแก สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจัดระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีมี ประสทิ ธภิ าพภายใต หลักธรรมาภิบาลสถานศกึ ษาที่บริหารจดั การมีประสิทธิภาพภายใตหลักธรรมาภบิ าล และ ความพึงพอใจของ ผูมสี วนไดสวนเสยี กบั การจดั การอาชีวศึกษา 7.6.2 นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษาที่สอดคลองรองรับกับการพฒั นาประเทศ แผนพฒั นาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสกลนคร

38 ตัวช้ีวัดที่ สําคัญ ไดแก นวตั กรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีสอดคลองรองรบั กับการพัฒนาประเทศ และ นวัตกรรม ดานการพัฒนาการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษาทีส่ อดคลองรองรับกบั การพฒั นาประเทศ 7.6.3 สรางเครือขายความรวมมอื ในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ตวั ชว้ี ัดที่สําคัญ ไดแก เครอื ขาย ความรวมมือในการบริหารจดั การอาชวี ศึกษา 7.6.4 พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในการอาชีวศกึ ษาทกุ ระดับการศึกษา ตัวชี้วดั ที่ สําคัญ ไดแก สถานศึกษาที่มีผลการประเมินคุณภาพภายในอยูในระดับคุณภาพ ดีมาก และสถานศกึ ษาท่ีไดรับ การยกระดบั คณุ ภาพ ใหไดคุณภาพตามมาตรฐาน การขบั เคลื่อนแผนพฒั นาการอาชีวศกึ ษาสูการปฏบิ ัติ ความสําเร็จของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 สูการปฏิบัติข้ึนอยูกับปจจัยสําคัญ หลาย ประการ ไดแก สาระสําคัญของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษาท่ีมีความชัดเจน ครบถวน และครอบคลุม การมีสวนรวม ในกระบวนการพัฒนาตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษาของผูเกี่ยวของทุกภาคสวน ตั้งแตระดับ นโยบาย ระดับปฏิบัติ ผูมีสวนไดสวนเสีย และสาธารณชน การเผยแพร การประชาสัมพันธ เพ่ือสรางความ ตระหนัก ความรู ความเขาใจ ในความสําคัญของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา และการนําแผนพัฒนาการ อาชวี ศึกษาสูการปฏบิ ัติทีช่ ดั เจน 1. แนวทางการขับเคลือ่ นแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษาสูการปฏิบตั ิ มีดงั นี้ 1.1 การสรางความรูความเขาใจ ใหทกุ ภาคสวนตระหนกั ถงึ ความสาํ คัญและพรอมเขารวม ในการ ผลกั ดันแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา การสรางความเขาใจกบั หนวยงาน องคการ และภาคีเครือขาย ใน การจัดการอาชีวศึกษาเก่ยี วกับวิสัยทัศนและเปาหมายของแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา 1.2 การสรางความเชื่อมโยงระหวางแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 กับ แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และแผนปฏิบัติการ ประจํา ปงบประมาณของสถานศกึ ษาในสังกดั สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 1.3 การปรบั ปรุง กฎ ระเบียบ และกฎหมายตางๆ ใหเอื้อตอแผนพฒั นาการอาชีวศึกษา 1.4 การสรางชองทางใหภาคีเครือขายในการจัดการอาชวี ศกึ ษามีสวนรวมในการจัดการศกึ ษา อยางกวางขวาง ทง้ั ระดบั นโยบาย และระดบั ปฏบิ ัตกิ าร 2. การติดตามประเมินผลแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา แนวคดิ และหลักการตดิ ตามประเมนิ ผล แผนพัฒนา การอาชีวศึกษา เปนการติดตามประเมินผลที่เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียกับการจัดการ อาชีวศึกษาเขามามี สวนรวมในการประเมิน ท้งั การประเมินกระบวนการจดั การผลผลติ ผลลัพธ และผล กระทบ โดยสถานศึกษาใน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเมินการดําเนินงานของ สถานศึกษาเองควบคูไปกับการประเมิน ของหนวยงานภายในสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีการ กําหนดหลักเกณฑการติดตามและประเมนิ ผล ตวั ชวี้ ัดท่ชี ดั เจนมีมาตรฐาน และถูกตองตามหลกั วชิ า แผนพฒั นาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร

39 2.6 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาจังหวดั สกลนคร วิสยั ทศั น์ (Vision) “ เปน็ แหลง่ เกษตรปลอดภยั กา้ วไกลการคา้ พฒั นาการท่องเที่ยว ” พนั ธกจิ (Mission) พนั ธกจิ ท่ี ๑ บรหิ ารยทุ ธศาสตร์จงั หวัดสกลนครสูก่ ารพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื ตามปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง พันธกิจที่ ๒ ประสานงานส่งเสริม สนับสนุน และเสริมสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนในจังหวัด สกลนครอยา่ งบูรณาการ สกู่ ารพฒั นาอย่างยั่งยืน พันธกิจที่ ๓ กำกับตรวจสอบและควบคุมการบริหารราชการจังหวัดสกลนครตามหลักการ บริหารกิจการบ้านเมอื งทด่ี ี คา่ นิยม (Value) “ อยู่สกล รักสกล ทำเพ่อื สกลนคร ” อยู่สกล หมายถึง ข้าราชการ เจา้ หน้าท่ี และประชาชนที่มภี ูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดสกลนคร ทั้งโดย การเกดิ และที่อยอู่ าศัยอนั มีความหลากหลายเชือ้ สายเผ่าพันธุ์ มีวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อศรัทธาในศาสนา พทุ ธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม รวมทั้งขา้ ราชการและเจา้ หน้าท่ีจากภูมิลำเนาอื่นๆ ที่เข้ามาปฏิบัติงานและ หรอื มาประกอบสัมมาอาชีพอยใู่ นพน้ื ทจี่ งั หวัดสกลนคร รกั สกล หมายถึง ข้าราชการ เจ้าหนา้ ที่ และประชาชนทง้ั โดยการเกดิ และท่ีอยู่อาศยั ทีป่ ฏิบัติงาน ในพ้ืนทจี่ ังหวัดสกลนคร ต่างมีหัวใจและจิตวิญญาณของความรักความผูกพันกับจังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นเมืองท่ี นา่ อยู่ ด้วยภมู อิ ากาศ ธรรมชาติ รกั ศรัทธา คุณธรรมทางศาสนา มจี ติ สำนึกหวงแหนความเป็นสกลนคร ทำเพื่อสกลนคร หมายถึง ข้าราชการ เจ้าหน้าท่ี และประชาชนทั้งโดยการเกิดและท่ีอยู่อาศัยที่ ปฏิบัติงานในจังหวัดสกลนคร ข้าราชการที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดสกลนคร ไปปฏิบัติงานในจังหวัดอื่นๆ มีความ รักสกลนคร การปฏิบัติหน้าที่การงาน การประกอบสัมมาอาชีพ เป็นการทำงานด้วยหัวใจเพื่อจังหวัดสกลนคร จึงต้องเป็นบุคคลท่ีมีคุณธรรมจริยธรรมในการประพฤติปฏิบัติตนและปฏิบัติงาน ยึดม่ัน ถือม่ันในความถูกต้อง ดงี าม กล้าทำในสิง่ ทถ่ี ูกต้อง เปา้ ประสงค์รวม (Goal) “ เพิ่มมลู คา่ ผลิตภัณฑม์ วลรวม และรายได้ของประชาชน ” ตวั ชวี้ ดั ๑) มูลคา่ ผลิตภัณฑม์ วลรวม จงั หวัดสกลนคร (GPP) เพม่ิ ข้ึนร้อยละ 3 จากปีที่ผา่ นมา ๒) รายได้ต่อหวั ต่อปขี องประชากรเพ่ิมขึน้ ร้อยละ 5 จากปีทผ่ี ่านมา ๓) จำนวนฟารม์ ทผี่ า่ นมาตรฐาน GAP เพ่มิ ขนึ้ อย่างน้อยปลี ะ 30๐ แปลง/ฟาร์ม แผนพฒั นาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสกลนคร

40 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ (Strategic Issues) ประเด็น ช่อื ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 การพฒั นาการค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ ว 3 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพ่ือส่งเสรมิ คุณภาพชวี ิตทด่ี ี 4 การพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมแบบบูรณาการอยา่ งสมดลุ และยงั่ ยืน 5 การบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดีตามหลกั ธรรมาภบิ าลและความมัน่ คง แผนพัฒนาสถานศกึ ษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสกลนคร

แผนผังยุทธศาสตร์จงั หวดั สกลนคร วิสัยทัศน์ “ เปน็ แหล่งเกษตรปลอดภยั ก ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ หลกั การพฒั นาการเกษตรและอตุ สาหกรรมการเกษตรตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ประ สนบั สนนุ การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์เพ่ือสง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี การพฒั นาทรัพยากรธร อย ประสทิ ธผิ ล - มีการพฒั นาการ - มีการพัฒนาผลิตภัณฑช์ มุ ชน - ประชาชนมคี เกษตรและ ในจังหวัดใหม้ ีคณุ ภาพ ชีวิตทดี่ ีและ อตุ สาหกรรม มาตรฐานระดับอาเซยี น ตามปรัชญา การเกษตรสู่ความ พอเพียง มั่นคงและย่งั ยนื - จังหวดั สกลนครเป็นแหลง่ ท่องเท่ยี ว 3 ธรรม ท่ีได้รบั - มกี ารพฒั นาค การยอมรบั ในระดบั ประเทศ ชุมชนและส การเรยี นรู้ตล - จงั หวดั สกลนครเป็นจุดเชอ่ื ม การคมนาคมขนส่งสู่ อาเซยี นและจีนตอนใต้ คุณภาพ มกี ารบร การให้บริการ มกี ารรกั ษาความม่นั คงสง ประสิทธิภาพ มีการบริหารกิจการบา้ นเมอื งทดี่ ีตามหลกั ธรรม พฒั นาองค์กร

กา้ วไกลการค้า พฒั นาการทอ่ งเที่ยว ” ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 พยี ง การพัฒนาการค้า การลงทนุ และการทอ่ งเท่ียว ะเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 5 รรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมแบบบูรณาการ การบริหารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ตี ามหลกั ธรรมาภบิ าลและ ย่างสมดลุ และย่ังยนื ความม่นั คง คณุ ภาพ - มพี ื้นทีป่ า่ อนุรักษแ์ ละป่าตน้ น้ำได้รบั การ - มกี ารบรกิ ารประชาชนอยา่ ง ะดำรงชวี ติ อนุรกั ษฟ์ ื้นฟูใหม้ คี วามอดุ มสมบูรณค์ วบคู่ ประทบั ใจ าเศรษฐกิจ การส่งเสรมิ สนบั สนนุ ปลูกปาไม้เศรษฐกิจ ครอบครัว ชมุ ชน - มีการบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองทดี่ ี สงั คมใหเ้ กดิ ตามหลักธรรมาภิบาลในการ ลอดชีวติ - องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น สามารถจัดการ บริหารงานจังหวดั แบบบรู ณา ขยะในพ้ืนที่ได้อยา่ งดี การเพือ่ การพฒั นา - มพี น้ื ทชี่ มุ่ น้ำนานาชาติ(หนองหาร) พ้นื ที่ลุ่ม - มกี ารรักษาความมน่ั คงความสงบ น้ำและแหลง่ นำ้ ธรรมชาติได้รบั การอนรุ ักษ์ เรียบรอ้ ยความปลอดภยั ในชวี ติ พืน้ ฟู เพื่อการใช้ประโยชน์อยา่ งย่ังยืน และทรพั ยส์ ิน - มีการใชแ้ รงงานอยา่ งเปน็ ธรรม รกิ ารประชาชนอยา่ งประทบั ใจ งบเรยี บร้อยความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส์ ิน มาภบิ าลในการบรหิ ารราชการจงั หวัดแบบบรู ณาการเพอื่ การพัฒนา 41

42 2.7 แผนพัฒนาการศกึ ษาจังหวัดสกลนคร วิสัยทศั น์ สกลนครเป็นจงั หวัดมคี ุณภาพการศึกษา พัฒนาทรพั ยากรมนุษย์สู่ท้องถิ่น โดยการมสี ว่ นร่วม ทกุ ภาค ส่วน พันธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการจดั การศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานสู่ระดับชาตแิ ละสากล 2. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษา เพ่ือพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ให้สอดคลองกับ ความต้องการของ ชาติเพอื่ รองรบั สู่สากล 3. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดการศกึ ษา เพื่อปรับปรุงพัฒนาทองถิน่ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสรมิ สนับสนุนการทํางานแบบบรู ณาการและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัด การศึกษา เปา้ ประสงค์ 1. นกั เรียน นกั ศึกษา มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาตแิ ละมาตรฐานสากล 2. ประชาชน มศี ักยภาพในการพฒั นาทองถิ่นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. องคก์ ร และหน่วยงานทางการศึกษา มีระบบบรหิ ารจดั การที่เข้มแขง็ ในการขับเคลื่อน การศึกษา ไปสู่มาตรฐานสากล 4. องคก์ รเอกชน ประชาชน และครอบครวั มสี ว่ นร่วมในการพฒั นาการศึกษา และทรพั ยากรมนษุ ย์ ยทุ ธศาสตร์ 1. หลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้ 2. การพัฒนาศักยภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3. การทดสอบ การประเมนิ การประกันคุณภาพ และการพฒั นามาตรฐานการศึกษา 4. ผลิตและพัฒนากาํ ลงั คนและงานวิจยั ท่สี อดคลองกับความตองการของการพัฒนาจังหวดั สกลนคร สู่ระดบั ประเทศและสากล 5. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร เพื่อการศกึ ษาไปสู่ประเทศไทย 4.0 6. การบริหารจดั การ 7. สกลนครเมืองแห่งการพัฒนาการเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและ เกษตร ทฤษฎีใหม่ 8. สกลนครเมอื งแห่งการพฒั นาการเกษตร พืชสมุนไพร เกษตรปลอดภยั การค้า การลงทุน และการ ทอ่ งเท่ยี ว 9. สกลนครเมืองแหง่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มศี ักยภาพในการแขง่ ขัน แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 255-2569 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสกลนคร

บทที่ 3 ยุทธศาสตร์ พนั ธกิจ กลยทุ ธก์ ารจัดการศกึ ษา และตวั ชี้วัดความสำเรจ็ เพื่อใหส้ อดคล้องและบรรลุตามวิลัยทัศน์และพนั ธกจิ ดังน้นั วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสกลนคร จึงได้ กำหนดทศิ ทางการพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา ดังน้ี 3.1 วิสัยทัศน์ (VISSION) มุ่งสรา้ งโอกาสด้านวิชาชพี อาชีวธรุ กจิ และการบรกิ ารเพ่อื ยกระดบั ผ้สู ำเรจ็ การศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพผลติ และพฒั นากำลังคนสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3.2 พนั ธกจิ (MISSION) พันธกจิ ที่ 1 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนและสำเรจ็ การศึกษา พนั ธกจิ ที่ 2 พฒั นาคณุ ภาพหลักสตู รและการจดั การเรียนการสอน พนั ธกจิ ที่ 3 พฒั นาคุณภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พนั ธกิจท่ี 4 สรา้ งความเขม้ แข็งในการมีสว่ นรว่ มกบั เครือข่ายความร่วมมือ พนั ธกิจที่ 5 พฒั นาคุณภาพปัจจยั พืน้ ฐานในการจดั การศึกษา พันธกิจท่ี 6 สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจัดการศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ งานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรยี น 3.3 กลยุทธ์ (Strategy) วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสกลนคร ได้กำหนดกลยุทธใ์ นแตล่ ะพันธกจิ ไว้ดังนี้ พนั ธกจิ ที่ 1 พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนและสำเร็จการศึกษา กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตนักเรยี นนักศึกษาของสถานศกึ ษา กลยุทธ์ที่ 2 พฒั นากระบวนการเรียนการสอนและประสิทธิผลใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ งู สดุ พันธกจิ ท่ี 2 พฒั นาคณุ ภาพหลกั สตู รและการจัดการเรียนการสอน กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ทุกสาขาวิชาอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง กลยุทธท์ ี่ 4 จดั การเรยี นร้สู ู่การปฏิบตั ิ โดยนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนทุดสาขาวิชา โดยเน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาหลักสตู รร่วมกับสถานประกอบการชมุ ชน และตลาดแรงงาน พันธกจิ ที่ 3 พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธท์ ี่ 6 พัฒนาครใู หม้ คี วามรดู้ า้ นวชิ าชพี กลยทุ ธ์ที่ 7 พฒั นาครดู ว้ ยเทคนิคการเรียนกานสอนท่ีหลากหลาย โดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ กลยุทธ์ท่ี 8 พฒั นาสถานศึกษาโดยใชก้ ารบรหิ ารแบบมสี ว่ นร่วม แผนพัฒนาสถานศกึ ษา พ.ศ. 2563-2567 วทิ ยาลัยการอาชพี พรรณานคิ ม

44 พนั ธกจิ ที่ 4 สร้างความเขม้ แข็งในการมสี ่วนร่วมกบั เครอื ข่ายความรว่ มมือ กลยุทธท์ ่ี 9 ยกระดบั การจดั การเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคีทุกสาขาวชิ า กลยทุ ธ์ท่ี 10 สถานศกึ ษาทำความรว่ มมอื (MOU) กับสถานประกอบการ กลยุทธ์ท่ี 11 ผเู้ รียนมีจิตอาสา โดยใช้วิชาชพี ในการบรกิ ารชุมชน พันธกิจท่ี 5 พฒั นาคณุ ภาพปัจจัยพื้นฐานในการจัดการศึกษา กลยทุ ธ์ท่ี 12 พฒั นาระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานมีประสทิ ธิภาพ กลยทุ ธ์ที่ 13 พฒั นาการบริหารจดั การดา้ นสื่อ แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยสี ารสนเทศ กลยุทธท์ ี่ 14 จดั ระบบการประกันคุณภาพภายใน พันธกิจท่ี 6 สง่ เสริม สนบั สนุนการจดั การศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ งานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรยี น กลยุทธ์ท่ี 15 พฒั นาการจัดการศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ งานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น แผนพัฒนาสถานศกึ ษา พ.ศ. 2565-2569 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสกลนคร

พนั ธกิจท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นและสำเรจ็ การศึกษา กลยทุ ธ์ ตวั ช้วี ดั โครงการ/กจิ กรรม 2565 (Strategy) (KPI) (Initiative) 80 1. เพิม่ ประสทิ ธภิ าพ 1. ร้อยละของผู้สำเรจ็ การศกึ ษา 1.1 โครงการสอบมาตรฐานวิชาชพี 80 ผลผลติ นักเรยี น/นกั ศกึ ษา หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี 1.2 โครงการยกระดบั มาตรฐานวิชาชพี และ ของสถานศึกษา ทผ่ี ่านการประเมนิ มาตรฐาน มาตรฐานผีมือ 80 วิชาชีพ 1.3 โครงการทดสอบการศึกษาระดบั ชาติด้าน 80 อาชวี ศึกษา (V-net) 80 1.4 โครงการพัฒนาทกั ษะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 70 70 เฉล่ยี รวม 70 2. ร้อยละของผู้สำเรจ็ การศึกษา 1.5 โครงการติดตามผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา 70 ทไ่ี ดง้ านทำในสถาน 1.6 โครงการแนะแนวสญั จร 80 ประกอบการ/ประกอบอาชพี 1.7 โครงการสง่ เสริมการเป็นผูป้ ระกอบการ 90 อสิ ระและศกึ ษาตอ่ ภายใน 1 ปี 90 เฉลี่ยรวม 86.67 3. ร้อยละของคุณลกั ษณะท่ีพึง 1.8 โครงการอบรมคา่ ยคุณธรรม นำความรู้ 70 ประสงคด์ ้านคุณธรรมจริยธรรม 1.9 โครงการปฐมนเิ ทศนักเรยี นนกั ศกึ ษา 70 และจรรยาบรรณในวชิ าชพี ของ 1.10 โครงการปัจฉมิ นเิ ทศนักเรียนนกั ศึกษา ผสู้ ำเร็จการศกึ ษา 70 เฉลี่ยรวม 2. พัฒนากระบวนการ 4. รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมนี วตั กรรม 1.11 โครงการจัดทำส่งิ ประดษิ ฐข์ องคนรนุ่ ใหม่ เรยี นการสอนและ ประสทิ ธิผลใหไ้ ด้ ผลงานด้านวชิ าการ 1.12 โครงการแขง่ ขันทกั ษะวิชาการในระดับ ประโยชนส์ งู สดุ อศจ. ระดบั ภาค และระดบั ชาติ เฉลี่ยรวม แผนพัฒนาสถานศกึ ษา พ.ศ. 2565-


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook