สภาวะโลกร้อน (Global Warming) : สัญญาณเตอื นภยั จากธรรมชาติ ก่อนทโี่ ลกจะถงึ กาลอวสาน
ปรากฏการณส์ ภาวะโลกร้อนในธรรมชาติ ภมู อิ ากาศของโลกเกดิ จาก การไหลวนของพลังงานจาก ดวงอาทติ ย์ พลังงานนีส้ ่วน ใหญ่เข้ามาสู่โลกในรูป แสงแดด ประมาณ ร้อยละ 30 ของพลังงานทเี่ ดนิ ทางมา สู่โลกได้ สะท้อนกลับไปสู่ หว้ งอวกาศ แต่อกี ร้อยละ 70 ไดถ้ กู ดูดซับโดยผ่านชั้น บรรยากาศลงมาให้ความ อบอุ่นกับพนื้ ผิวโลก
กา๊ ชเรือนกระจก ◼ เป็ นส่ิงขวางกั้นแสงอินฟราเรดในบรรยากาศท่ีโลกสะท้อนกลับจาก พนื้ ผิวสู่บรรยากาศไดเ้ หมือนกบั แสงสวา่ ง ◼ ปรากฏการณท์ ี่ความร้อนถูกกักเก็บไว้ในชั้นบรรยากาศนี้ เป็ นท่ีรู้จัก กันวา่ \"ปรากฏการณเ์ รือนกระจก\" (Greenhouse Effect) เน่ืองจากเป็ น ปรากฏการณ์ท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกับสภาพท่ีเกิดขึ้นภายในเรือน กระจกทใ่ี ช้สาหรับปลูกพชื ในประเทศเขตหนาว
กา๊ ซเรอื นกระจกคอื อะไร ◼ ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็ นก๊าซท่ีมี คุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอิน ฟาเรตได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็ นต่อการรักษา อุณหภมู ิในบรรยากาศของโลกใหค้ งท่ี
ก๊าซเรือนกระจกทถี่ ูกควบคุมโดยพธิ ีสารเกยี วโต 1. ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) 2. กา๊ ซมีเทน (CH4) 3. กา๊ ซไนตรัสออกไซด์ (N20) 4. ก๊าซไฮโดรฟลูออโรคารบ์ อน (HFC) 5. ก๊าซเพอรฟ์ ลูออโรคารบ์ อน (CFCS) 6. ก๊าซซลั เฟอรเ์ ฮกซะฟลูออไรด์ (SF6) ทงั้ นี้ ยังมกี ๊าซเรือนกระจกทเี่ กิดจากกจิ กรรมของมนุษยท์ สี่ าคัญ อกี ชนิดหนึ่ง คอื สารซเี อฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon)
ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ◼ เป็ นกา๊ ซทส่ี ่งผลกระทบต่อบรรยากาศ โลกมากท่ีสุด ซึ่งประเทศไทยเองก็มี การปล่อยก๊าซชนิ ดนี้ออกมาใน บรรยากาศไม่น้อยหน้าประเทศอ่ืน โดยมีทมี่ าจากการเผาผลาญเชือ้ เพลิง ฟอสซิลไม่ว่าจะเป็ นถ่านหิน น้ามัน เชื้อเพลิง หรือ ก๊าซธรรมชาติ เพ่ือ ผลติ พลังงานไฟฟ้า
ลาดบั ประเทศทปี่ ล่อยควันพษิ ของโลกมปี ริมาณ สะสมมาตงั้ แตป่ ี 1950 1. สหรัฐอเมริกา 186,100 ล้านตัน 7. อินเดยี 15,500 ล้านตัน 2. สหภาพยุโรป 127,800 ล้านตัน 8. แคนาดา 14,900 ล้านตัน 3. รัสเซีย 68,400 ล้านตนั 9. โปแลนด์ 14,400 ล้านตัน 4. จนี 57,600 ล้านตนั 10. คาซคั สถาน 10,100 ล้านตนั 5. ญ่ปี ่ ุน 31,200 ล้านตนั 11. แอฟริกาใต้ 8,500 ล้านตัน 6. ยูเครน 21,700 ล้านตัน 12. เม็กซโิ ก 7,800 ล้านตนั 13. ออสเตรเลยี 7,600 ล้านตนั
ก๊าซมีเทน (CH4) ◼ สาเหตุหลักมาจาก การตัดไม้ และการเผาป่ า นอกจากนี้การ ทานาข้าว การเลี้ยงวัวควาย การถมขยะ การทาเหมืองแร่ และการผลติ ถ่านหนิ
กา๊ ซไนตรัสออกไซด์ (N20) ◼ ไนตรัสออกไซดจ์ ะดูดความร้อน ไว้ ได้นับร้อยๆ ปี เพราะโมเลกุลของ ก๊าซนี้สามารถดูดความร้อนไว้ได้ นาน กว่าโมเลกุลของคารบ์ อนได- ออกไซดถ์ ึง 100 เท่า แต่ไนตรัส ออกไซด์ ทาลายโมเลกุลของโอโซน ได้น้อยกว่าซีเอฟซีร้อยละ 25 ซ่ึง ไนตรสออกไซคพ์ บได้มากที่ป๋ ุยเคมี และถ่านหนิ
ก๊าซเพอรฟ์ ลูออโรคารบ์ อน (CFCS) ◼ ประมาณร้อยละ 33 ของปริมาณ ทงั้ หมด ท่ใี ช้ในอุตสาหกรรมเครื่อง ทาความเย็นเพ่ือใช้ในตู้เย็น ตู้แช่ เย็น และเคร่ืองปรับอากาศทั้งใน อาคารและในรถยนต์ ร้อยละ 25 ใ ช้ ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด ชิ้ น ส่ ว น อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละร้อยละ 42 ใช้ใน อุตสาหกรรมอื่นๆ
ก๊าซไฮโดรฟลูออโรคารบ์ อน (HFC) ◼ ภาคอุตสาหกรรมที่ใช้สารไฮ- โดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน สามารถทาลายบรรยากาศชั้น โอโซนได้เช่นกัน เอชซีเอฟ ทาลายโอโซนได้นาน 5 ปี ส่วน ซีเอฟซี ทาลายโอโซนได้นานถงึ 25 ปี ส่วนเอชเอฟซี ไม่ทาลาย ชั้นของโอโซนเพียงแต่ปิ ดกั้น พลังงานความร้อนเทา่ นั้น
ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา ◼ แถบขั้วโลกได้รับผลกระทบมากสุด และก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลง มากมายโดยเฉพาะอย่างย่ิงภูเขา น้าแข็ง ก้อนน้าแข็งจะละลายอย่าง รวดเร็ว ทาให้ระดับน้าทะเลทางขั้ว โลกเพิ่มขึน้ และไหลลงสู่ท่ัวโลกทา ใ ห้ เ กิ ด น้ า ท่ ว ม ไ ด้ ทุ ก ท วี ป นอกจากนี้จะพลอยทาให้สัตวท์ าง ท ะ เ ล เ สี ย ชี วิ ต เ พ ร า ะ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ เปลี่ยนแปลง
ผลกระทบด้านนิเวศวทิ ยา ◼ ทวีปยุโรป ยุโรปใต้ ภูมิประเทศ จะกลายเป็ นพืน้ ท่ีลาดเอียงเกิด ความแห้งแล้ง ในหลายพื้นที่ ปั ญ ห า อุ ท ก ภั ย จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น เน่ืองจากธารน้าแข็งบนบริเวณ ยอดเขาสูงท่ีปกคลุมด้วยหิมะ จะละลายจนหมด
ผลกระทบด้านนิเวศวทิ ยา ◼ ข ณ ะ ท่ี เ อ เ ชี ย อุ ณ ห ภู มิ จ ะ สูงขนึ้ เกดิ ฤดกู าลทแ่ี ห้งแล้ง มี น้าท่วม ผลิตผลทางอาหาร ลดลง ระดับน้าทะเลสูงขึ้น สภาวะอากาศ แปรปรวนอาจ ทาให้เกิดพายุต่าง ๆ มาก มายเข้าไปทาลายบ้านเรือนที่ อยู่อาศัยของประชาชน
ผลกระทบดา้ นนิเวศวทิ ยา ◼ แต่แถบทวีปอเมริ กาเหนื อ อุตสาหกรรมการผลิตอาหารจะ ไ ด้ รั บ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ เ น่ื อ ง จ า ก อากาศทอ่ี ุ่นขึน้ พร้อม ๆ กบั ทุง่ หญ้าใหญ่ของแคนาดาและทุ่ง ราบใหญ่สหรัฐอเมริกาจะล้ม ตายเพราะความแปรปรวนของ อากาศส่งผลตอ่ สัตว์
ผลกระทบดา้ นนิเวศวทิ ยา ◼ สาหรับประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึน้ ประมาณ 1 องศาเซลเซียส ในช่วง 40 ปี อย่างไรก็ตามหากอุณหภูมิ เพ่ิมสูงขึ้น 2- 4 องศาเซลเซียส จะทาให้พายุไต้ฝ่ ุนเปลี่ยนทิศทาง เกิดความรุ นแรง และมีจานวน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 10-20 ในอนาคต นอกจากนี้ ฤดูร้อนจะขยายเวลายาว นาขึน้ ในขณะทฤ่ี ดหู นาวจะสัน้ ลง
ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ ◼ รัฐทเี่ ป็ นเกาะเลก็ ๆ ของทวปี อเมริกาจะไดร้ ับผลจากระดับน้าทะเลทส่ี ูงขนึ้ กัดกร่อนชายฝ่ัง ◼ เอเชียยังมีโอกาสร้อยละ 66-90 ท่ีอาจเกิดฝนกระหน่าและมรสุมอย่าง รุนแรง รวมถงึ เกดิ ความแห้งแล้งในฤดรู ้อนทยี่ าวนาน ◼ ทะเลทรายที่มีอยู่ 12 แห่งท่ัวโลก กาลังเผชิญปัญหาใหญ่ ไม่ใช่เรื่องการ ขยายตัว แต่เป็ นความแห้งแล้งเนื่องจากโลกร้อน ธารน้าแข็งซึ่งส่งน้ามา หล่อเลยี้ งทะเลทรายในอเมริกาใต้กาลังละลาย นา้ ใต้ดนิ เคม็ ขนึ้
ผลกระทบดา้ นสุขภาพ ◼ โลกร้อนขึน้ จะก่อใหเ้ กดิ สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมแก่การฟักตัวของ เชือ้ โรคและศัตรูพชื ทเี่ ป็ นอาหารของมนุษยบ์ างชนิด โรคทฟ่ี ักตัวได้ดี ในสภาพร้อนชืน้ ของโลก ◼ ในแต่ละปี ประชาชนราว 160,000 คนเสียชีวิตเพราะได้รับผลกระทบ จากภาวะโลกร้อน ตั้งแต่โรคมาลาเรีย ไปจนถึงการขาดแคลน สุขอนามัยทด่ี ี ◼ ประเทศกาลังพัฒนาจัดอยู่ในกลุ่มเส่ียงมากท่ีสุด เช่นในประเทศ แถบแอฟริกา ละตนิ อเมริกา และเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้
วธิ ีการชว่ ยป้องกันสภาวะโลกร้อน ◼ ลดระยะทางทใ่ี ช้สาหรับการขนส่งอาหาร ◼ ปิ ดเครื่องปรับอากาศในโรงแรม ◼ ลดระดบั การใช้งานเคร่ืองใช้ ไฟฟ้าลงแม้เพยี งน้อยนิด ◼ นากระดาษหรือภาชนะบรรจุอื่นๆ กลับไปใช้ใหม่ ◼ รักษาป่ าไม้ใหไ้ ด้มากทสี่ ุด และลดหรืองดการจดั ซือ้ ส่งิ ของหรือ เฟอรน์ ิเจอร์ ◼ ลดการใช้นา้ มัน จากการขับขีย่ วดยานพาหนะ ◼ ทดลองเดนิ ใหม้ ากทสี่ ุด
เอกสารอ้างองิ ◼ UpDate ปี ที่ 21 ฉบบั ที่ 230 พฤศจกิ ายน 2549 ◼ http://update.se-ed.com/230/global-warming.htm ◼ http://www.siamhealthy.net/thai/ARTICLE/ECOLO GY/article/E_4.htm ◼ http://student.sut.ac.th/anurukclub/ledge_detail.ph p?id=7 ◼ http://dailynews.co.th/dailynews/pages/front_th/ popup_news/Default.aspx?Newsid=112727&New sType=1&Template=2
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: