แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 38 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร์ เคมี หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 กรด-เบส ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 เร่ือง การทดสอบสารละลายกรด-เบสในชีวิตประจำวันด้วยอนิ ดเิ คเตอร์ธรรมชาติ เวลาเรยี น 2 ชวั่ โมง ครูผสู้ อน นางสาวจิดาภา ดวงแกว้ สอนวนั ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565 1. สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ เคมี เข้าใจการเขยี นและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธใ์ นปฏิกริ ิยาเคมี อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี สมดลุ ในปฏิกริ ยิ าเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟา้ รวมทง้ั การนำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ 2. ผลการเรียนรู้ ม 5/17 คำนวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรด และเบส ม 5/23 สืบค้นขอ้ มลู และนำเสนอตวั อย่างการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับกรด-เบส 3. สาระการเรยี นรู้เพิม่ เตมิ - เมอ่ื กรดหรือเบสแตกตัวในน้ำ คา่ ความเป็นกรด-เบสของสารละลายแสดงไดด้ ว้ ยคา่ pH ซึ่งสัมพนั ธก์ ับ ความเขม้ ข้นของไฮโดรเนยี มไอออนโดยสารละลายกรดมคี วามเขม้ ข้นของไฮโดรเนยี มไอออนมากกว่า 1.0 x 10-7 โมลต่อลิตรหรอื มีคา่ pH นอ้ ยกว่า 7 สว่ นสารละลายเบสมคี วามเข้มขน้ ของไฮโดรเนียมไอออนน้อยกว่า 1.0 x 10-7 โมลตอ่ ลิตร หรอื มีค่า pH มากกว่า 7 - ความรู้เกี่ยวกับกรด-เบส สามารถนำมาใช้ประโยชน์และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และการแพทย์ 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรยี นสามารถอธบิ ายเกีย่ วกบั สมบัติ pH ของสารละลายกรด กลาง เบส ได้(K) 2. นกั เรยี นสามารถอธิบายการเปลีย่ นแปลงสขี องกระดาษลติ มัสได้(K) 3. นกั เรยี นสามารถทำกระดาษลิตมัสจากดอกอัญชันได้(P) 4. นกั เรยี นมที กั ษะการทำทดลองทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายในชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 5. นักเรียนสนใจในการเรยี น มีความรับผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา และมงุ่ มน่ั ในการเรยี น (A) 5. สาระสำคัญหรือความคดิ รวบยอด - pH เป็นคา่ ทีใ่ ชบ้ อกความเขม้ ข้นของ H3O+ ในสารละลาย โดยกำหนดให้ pH = -log [H3O+] - สารละลายทม่ี ีสมบัติเป็นกรดจะมี pH < 7 สารละลายที่มีสมบัตเิ ป็นกลางจะมี pH = 7 สว่ นสารละลายที่มี สมบตั เิ ปน็ เป็นจะมี pH > 7 -การใชก้ ระดาษลิตมสั ทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลาย กระดาษลติ มัสสนี ้ำเงนิ ทดสอบความ
เป็นกรด เมื่อสารละลายเป็นกรด กระดาษจะเปลี่ยนจากสีน้ำเงินเป็นแดง และกระดาษลิตมัสสีแด งใช้ทดสอบ ความเป็นเบส เมอื่ สารละลายเป็นเบส กระดาษจะเปน็ สจี ากสแี ดงเป็นนำ้ เงิน -พืชหลายชนิดสามารถนำมาใชเ้ ปน็ อนิ ดิเคเตอร์ท่ีสามารถทดสอบความเปน็ กรด-เบสของสารละลายกรด-เบส ในชวี ิตประจำวันได้ 6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 2 ความสามารถในการคิด 3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซอื่ สตั ยส์ ุจริต 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8. กระบวนการจดั การเรยี นรูห้ รือกจิ กรรมการเรียนรู้ (แบบสืบเสาะหาความรู้, 5E) 1. ขน้ั กระตุ้นความสนใจ (Engagement) ( 15 นาท)ี 1.ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากที่นักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง กรด-เบส แล้วครูพานักเรียนทดทวนการใช้ กระดาษลติ มัสทดสอบสารละลายทเี่ ป็นกรด-เบส จะมีสมบตั อิ ยา่ งไง คำถาม กระดาษลติ มสั สีน้ำเงนิ ทดสอบ………………… กระดาษจะเปล่ียนจากสนี ้ำเงนิ เป็น…………….. กระดาษลติ มสั สแี ดงทดสอบ........................ กระดาษจะเป็นสีจากสแี ดงเป็น....................... คำตอบ กระดาษลิตมสั สีนำ้ เงินทดสอบความเปน็ กรด กระดาษจะเปล่ียนจากสนี ำ้ เงินเป็นแดง กระดาษลติ มัสสีแดงใชท้ ดสอบความเปน็ เบส กระดาษจะเป็นสีจากสแี ดงเป็นน้ำเงนิ 2.นักเรียนตอบคำถามไดถ้ ูกตอ้ งแล้วถามคำถามตอ่ วา่ แลว้ สารละลายกรด-เบสมี pH อยูใ่ นใช่ใด คำตอบ สารละลายท่ีมีสมบัตเิ ป็นกรดจะมี pH < 7 สารละลายท่มี ีสมบตั ิเปน็ กลางจะมี pH = 7 ส่วนสารละลายทม่ี สี มบัตเิ ปน็ เป็นจะมี pH > 7
3.จากนั้นครูจึงโยงเขา้ ถึงเร่ืองการท่เี ราสามารถรวู้ า่ สารละลายใดเปน็ กรดหรือเบสสามารถรู้ได้จากการ เปลย่ี นแปลงของอินดเิ คเตอร์ ซ่ึงจากทีน่ ักเรยี น ได้เรยี นมาอินเคเตอร์มีการสังเคราะห์มา และในธรรมชาติยงั มีพชื ท่ีสามารถมาสกดั เปน็ อนิ ดิเคเตอรไ์ ด้ เชน่ อัญชนั โดยวันน้ีครูจะพานักเรยี น ได้ทำกระดาษลติ มสั ธรรมชาตจิ าก ดอกอญั ชนั 2. ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploretion) (40 นาที) 1.นักเรยี นทำการแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 4 คน และต้ังช่อื กลมุ่ ของของตนเองและตัวแทนกลุ่มออกมาเขยี น ชือ่ กลุ่มหน้ากระดาน 2.ตวั แทนกลุ่มรับใบความรูเ้ รือ่ งการทำกระดาษลติ มสั ธรรมชาติจากดอกอัญชัน และอปุ กรณ์ โดย ดอกอัญชนั นกั เรยี นเกบ็ ที่พืน้ ที่โครงการรักพืชผกั ปลอดสารพิษ รักษช์ ีวติ แบบพอเพยี งภายในโรงเรยี น 3.นักเรยี นและครูรว่ มกับการทำกระดาษลิตมสั ธรรมชาติจากดอกอัญชนั ไปพรอ้ ม ๆ กนั ทุกกลุ่ม และให้นักเรียนออกแบบกลอ่ งสำหรบั ใส่กระดาษลติ มัสดว้ ย 3. ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรุป (Explaination) (15 นาท)ี 1.นักเรยี นทำกระดาษลิตมัสธรรมชาตจิ ากดอกอัญชนั เสรจ็ เรียบร้อย ครพู านักเรียนสังเกตสีกระดาษ ลิตมสั ทไ่ี ด้เป็นสีอะไร (แนวการตอบ สนี ำ้ เงนิ ) 2.นกั เรยี นช่วยกนั สรปุ วา่ กระดาษลติ มัสธรรมชาตจิ ากดอกอญั ชัน สามารถนำมาทดสอบสารละลาย กรดได้ 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (30 นาท)ี 1.เพ่มิ ทดสอบความใช้ได้ของกระดาษลิตมัสท่ีทำขนึ้ ครจู ึงใหน้ ักเรียนทำกิจกรรมที่ 10.8 ทดสอบ สารละลายกรดและเบสในชีวิตประจำวัน 2.นักเรียนในกลมุ่ เดิมรว่ มกันทำกจิ กรรมที่ 10.8 ทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ติ ประจำวนั พรอ้ มตอบคำถามทา้ ยการทดลอง 1.เมื่อนักเรยี นทดสอบสารละลายกรด-เบสดว้ ยกระดาษลิตมัสสามารถทราบได้ อย่างไรวา่ สารละลายชนดิ ไหนเปน็ กรดหรือเบส 2.ค่า pH ของสารละลายกรดและเบสมีคา่ pH ทีช่ ว่ งใด 3.หากนักเรียนต้องการทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายที่นกั เรียนพอเจอในชวี ิตประจำวนั พชื จาก ธรรมชาตทิ ีส่ ามารถนำมาทดสอบได้อธิบายมาพอสังเขป (ยกมา 1 ตัวอยา่ งทน่ี อกเหนือจากอัญชัน) 5. ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (20 นาท)ี 1.ประเมนิ จากการทำกระดาษลติ มสั ธรรมชาติจากดอกอัญชัน 2.ประเมินจากการทำกิจกรรมที่ 10.8 ทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ิตประจำวัน 3.ประเมนิ จากการตอบคำถามในห้องเรยี น
9. สอื่ วสั ดุ อปุ กรณ์ และแหล่งการเรยี นรู้ สอื่ วัสดุ อุปกรณ์ แหล่งการเรยี นรู้ -สไลด์ประกอบการสอน หนงั สือเรียน -ใบความรู้กระดาษลิตมสั ธรรมชาตจิ ากดอกอญั ชนั -ใบกจิ กรรมที่ 10.8 ทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ติ ประจำวัน -อปุ กรณ์ที่ใช้ในการทำการทดสอบ 10. การประเมินการเรยี นรู้ วิธีการวัดผล เครอ่ื งมือทใ่ี ช้วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ -การตอบถามในชน้ั เรยี น -คำถาม ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ -การตอบคำถามทา้ ย -คำถามทา้ ยกจิ กรรม 1.ดา้ นพทุ ธิพสิ ยั กิจกรรมท่ี 10.8 ทดสอบ ท่ี 10.8 ทดสอบ เกณฑก์ ารประเมินผล สารละลายกรดและเบสใน สารละลายกรดและ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ -นกั เรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับ ชวี ติ ประจำวนั เบสในชวี ติ ประจำวัน สมบตั ิ pH ของสารละลายกรด กลาง เบส ได้ วิธีการวัดผล เคร่ืองมอื ที่ใช้วัดผล -นกั เรียนสามารถอธิบายการ -การทำกระดาษลติ มัส -กระดาษลติ มสั ทไี่ ด้ เปลย่ี นแปลงสีของกระดาษลิตมสั ธรรมชาติจากดอกอญั ชัน ได้ -การทำการทดลอง -ใบกจิ กรรมที่ 10.8 กิจกรรมที่ 10.8 ทดสอบ ทดสอบสารละลาย จุดประสงค์การเรยี นรู้ สารละลายกรดและเบสใน กรดและเบสใน ชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวนั 2.ด้านทกั ษะพิสยั -นกั เรียนสามารถทำกระดาษ ลิตมัสจากดอกอัญชันได้ -นักเรียนมีทักษะการทำทดลอง ทดสอบความเป็นกรด-เบสของ สารละลายในชีวิตประจำวันได้ 3.ดา้ นจติ พสิ ัย -สงั เกตพฤตกิ รรม -แบบประเมนิ -ระดบั คุณภาพดขี นึ้ ไป -นกั เรียนสนใจในการเรยี น มี รายบุคคล คณุ ลกั ษณะอันพงึ ผา่ นเกณฑ์ ความรับผิดชอบ ตรงตอ่ เวลา ประสงค์ และม่งุ มนั่ ในการเรยี น -แบบสังเกต พฤติกรรมรายกลุ่ม
11. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ 11.1 จำนวนนกั เรียนทสี่ อน ........................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 11.2 ผลท่ีเกดิ ขึ้นจากการเรียนรู้ (ความรู้ / ทกั ษะ / จิตวิทยาศาสตร์) .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ...................................................................................................................................................................... .............. 11.3 บรรยากาศการเรยี นรู้ .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................. .. 11.4 การปรับเปลี่ยนแผนการจัดการเรียนรู้ (ถ้าม)ี .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .............................................................................................................................................................................. ...... ............................................................................................................................ ........................................................ 11.5 ปญั หา / วธิ ีการแกไ้ ข / ผลการแกไ้ ข ........................................................................................... ......................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่อื ..................................................................ผู้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ (นางสาวจิดาภา ดวงแกว้ ) ......................./................/.................... ลงช่ือ..................................................................ผู้ตรวจ (นางสาวเจยี ระไน สขุ เกษม) ......................./................/...................
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ ลงในชอ่ งว่าง ท่ตี รงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ชอ่ื -สกุล รกั ชาติ ซื่อสัตย์ มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่าง ม่งุ มน่ั ใน รักความ มจี ติ รวม ท่ี ศาสน์ สุจรติ พอเพยี ง การ เป็นไทย สาธารณะ คะแนน กษตั รยิ ์ ทำงาน 1231231231231231231231 2 3 12 1 นายอิทธพิ ัทธ์ เพิ่มพูล 2 นายภานรนิ ทร์ สวัสด์พิ งษ์ 3 นายสหกิจ ววิ ัฒนพนู ผล 4 นางสาวกติ ตชิ์ ญาห์ พูนสทิ ธนิ นั ท์ 5 นางสาวเขมจริ า สุขกุล 6 นางสาวจีรนนั ท์ ทาดวงตา 7 นางสาวชุตมิ ณฑน์ แน่นอุดร 8 นางสาวชญาภรณ์ โสสุทธ์ิ 9 นางสาวณัฐณชิ า ปญั ญา 10 นางสาวนฤมล สมดี 11 นางสาวนวภทั ร ทรายแกว้ 12 นางสาวปริฉตั ร สวาสดิ์นา 13 นางสาวปวรรตั น์ นนั ทพันธ์ 14 นางสาวพัชรพร บุญทพิ ย์ 15 นางสาวพรนภสั เขียวชะอุม้ 16 นางสาวรงุ่ ทิวา พิสันเทียะ 17 นางสาววิรดา จนั พางาม 18 นางสาวสทุ ธลกั ษณ์ บรรลังค์ 19 นางสาวจิรวรรณ บัวศรี 20 นางสาวญาหญงิ อ่อนสลุง 21 นางสาวประภาวริ จนั หอม 22 นางสาวไอยรนิ หงษท์ อง 23 นางสาววริศรา เพ็งสลุง 24 นางสาวรงุ้ พราย พรชัย ลงชือ่ .....................................................ผู้ประเมิน ................./................../..............
เกณฑ์การใหค้ ะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน = ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน = พอใช้ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตบิ างครั้ง ให้ 1 คะแนน = ปรบั ปรุ เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ดี 10 – 12 พอใช้ 7–9 ปรบั ปรุง ต่ำกว่า 7
แบบสังเกตพฤติกรรมรายกลุ่ม คำชแ้ี จง : ให้ ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ งว่างท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน กลมุ่ ท.่ี ........... สมาชิกของกลมุ่ 1....................................................... 2........................................................... 3..................................................... 4............................................................5........................................................... ลำดบั ท่ี พฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏบิ ัติ 43 2 1 1 มกี ารแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามรบั ผดิ ชอบในงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 3 มกี ารช่วยเหลอื และเกอ้ื กูลกนั ภายในกลุ่ม 4 เคารพในความคดิ เหน็ ของเพอ่ื นภายในกล่มุ 5 มคี วามมงุ่ มนั่ ตงั้ ใจ และกระตอื รอื รน้ ในการทางาน รวม ลงชอ่ื ...................................................ผ้ปู ระเมิน ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดบั คุณภาพ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ = 4 คะแนน ดมี าก ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั = 3 คะแนน ช่วงคะแนน ดี ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน 16-20 พอใช้ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ = 1 คะแนน 11-15 ปรบั ปรงุ 6-10 4-5
ใบความรู้ การทำกระดาษลติ มัสธรรมชาติจากดอกอัญชนั วสั ดุ อุปกรณ์ 1.ดอกอัญชนั 100 กรัม 6.แทง่ แก้ว 2.น้ำ 100 มิลลลิ ติ ร 7.บีกเกอร์ 3.โกรง่ บด 8.กระบอกตวง 4.ท่กี รองกาก 9.กระดาษกรอง 5.จานเพาะเช้ือ 10.ตะแกรงสำหรับตากกระดาษ วิธกี ารทำกระดาษลติ มัสธรรมชาตจิ ากดอกอัญชนั 1.ตดั กระดาษกรองเป็นสี่เหล่ียมผนื ผ้า(เหมือนกระดาษลติ มัสทัว่ ไป) 2.นำดอกอญั ชันที่ลา้ งสะอาดแล้ว เดด็ ขวั้ สเี ขียวออกและทำการบดให้ละเอียดดว้ ยโกรง่ ทีละน้อย เมือ่ ละเอียดเทใส่ ในบีกเกอร์ ทำจนดอกอัญชนั หมด 3.ตวงนำ้ ดว้ ยกระบอกตวง 100 มลิ ลิลติ ร เทใสบ่ ีกเกอรท์ ่ีมีดอกอัญชนั ทบ่ี ดแล้วละเอียดแล้วใชแ้ ท่งแก้ว คนให้เขา้ กนั 4.ทำการกรองเอาชนิ้ ของดอกอัญชนั ออกให้ได้เป็นนำ้ ของดอกอัญชนั 5.นำนำ้ อัญชันที่ได้เทใส่จากเพาะเชื้อ ปริมาณเท่า ๆ กนั 6.นำกระดาษกรองท่ีตดั ไวใ้ ส่แชไ่ วใ้ นน้ำอัญชันทีละช้นิ จนหมด 7.จับเวลา กระดาษกรองทตี่ ัดไว้ใสแ่ ช่ไว้ในนำ้ อญั ชัน 15 นาที 8.เมอื่ ครบเวลา ทำการคีบกระดาษขึ้นมาตากไวบ้ นตะแกรงทีละแผ่นจนหมด 9.ตากไวจ้ นแห้งกจ็ ะได้กระดาษลติ มัสธรรมชาตจิ ากดอกอัญชนั ท่ีพร้อมใช้งาน
กิจกรรมท่ี 10.8 ทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ติ ประจำวนั กลุ่มท่ี...................ทำการทดลองวันท.ี่ ...................................เดอื น..........................พ.ศ.................ชน้ั ................. สมาชกิ กลมุ่ 1.......................................................................................................เลขท.่ี ....................................... 2.......................................................................................................เลขที่..................... .................. 3.......................................................................................................เลขท.่ี ...................................... 4.......................................................................................................เลขท.ี่ ...................................... 5.......................................................................................................เลขที.่ ...................................... จดุ ประสงคก์ ารทดลอง 1. ทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ิตประจำวนั ดว้ ยกระดาษลิตมสั จากดอกอัญชัน 2. จดั กลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลย่ี นสขี องกระดาษลติ มสั จากดอกอญั ชันเปน็ เกณฑ์ 3. อ่านคา่ pH สารละลายกรดและเบสในชีวิตประจำวนั ด้วย Universal Indicator วสั ดุ อุปกรณ์ และสารเคมี 10.บกี เกอร์ขนาด 50 mL 1.น้ำเกลือ 11.คีมหนีบ 2.นำ้ มะนาว 12.จานเพาะเชื้อ 3.น้ำสบู่ 13.ถ้วยพลาสติก 5.นำ้ ผงซกั ฟอก 6.น้ำส้มสายชู 7.น้ำเปลา่ 8.กระดาษลิตมสั จากดอกอญั ชัน 9.กระดาษ Universal Indicator วธิ ที ดลอง ตอนที่ 1 การทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ติ ประจำวันด้วยกระดาษลิตมสั จากดอกอญั ชนั 1.ตดิ ลำดับบนถว้ ยพลาสติกท่ีสารละลายทคี่ รูเตรียมให้ 2.ทำการทดสอบสารละลายกรดและเบสในชีวติ ประจำวนั ด้วยกระดาษลติ มสั จากดอกอัญชนั สงั เกต การเปลยี่ นแปลงของกระดาษลิตมสั และจดบนั ทึกลงในตารางผลการทดลอง 3.จดั กล่มุ สาระละลายกรดและเบสโดยใชส้ มบัตกิ ารเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสจากดอกอัญชันเปน็ เกณฑ์ ตอนท่ี 2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการทดสอบจากตอนที่ 1 1.นำสารละลายเดมิ ท่คี รูเตรียมให้ ทดสอบด้วยกระดาษ Universal Indicator ตามลำดบั เดมิ สังเกต การเปลี่ยนแปลงของกระดาษ Universal Indicator และจดบันทกึ ลงในตารางผลการทดลอง 2.อา่ นคา่ pH ของสารละลายโดยเปรียบเทยี บการเปล่ยี นแปลงของกระดาษ Universal Indicator กับ แผน่ ตัวอยา่ งการเปลี่ยนแปลงของกระดาษ Universal Indicator ที่สามารถบอกคา่ pH 0 – pH 14 3.ให้นักเรียนเปลยี่ นเทียบค่า pH ของสารละลายว่าใกลเ้ คียงกบั สารละลายกรดและเบสในชวี ติ ประจำวนั ชนิดใดทีก่ ำหนดมาให้
บนั ทกึ ผลการทดลอง ตอนที่ 1 การทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ติ ประจำวันดว้ ยกระดาษลิตมสั จากดอกอัญชัน ขอ้ มูล การเปลีย่ นแปลงกระดาษลิตมสั สารละลายเปน็ กรด หรือเบส ลำดับสารละลาย จากดอกอัญชนั 1 2 3 4 5 6 ตอนที่ 2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการทดสอบจากตอนที่ 1 ข้อมลู การเปลยี่ นแปลงของกระดาษ คา่ pH 0 – pH 14 เปน็ สารชนดิ ใด ในชีวิตประจำวัน ลำดับสารละลาย Universal Indicator 1 2 3 4 5 6
สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คำถามท้ายการทดลอง 1.เมอ่ื นกั เรียนทดสอบสารละลายกรด-เบสด้วยกระดาษลิตมัสสามารถทราบได้อย่างไรวา่ สารละลายชนิดไหน เป็นกรดหรือเบส ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ค่า pH ของสารละลายกรดและเบสมีคา่ pH ที่ช่วงใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.หากนักเรียนต้องการทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายท่ีนักเรียนพอเจอในชีวิตประจำวนั พชื จาก ธรรมชาตทิ ่สี ามารถนำมาทดสอบได้อธิบายมาพอสงั เขป (ยกมา 1 ตัวอยา่ งทีน่ อกเหนือจากอญั ชัน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ภาพกจิ กรรมการจดั การเรียนการสอน “รายวชิ าเพิ่มเตมิ เคมี” การทำกระดาษลติ มัสธรรมชาตจิ ากออกอัญชนั นกั เรียนเกบ็ ดอกอัญชันทำไว้ทำกระดาษลิตมสั ทุกวนั 1.ตดั กระดาษกรองเป็นสเี่ หล่ียมผนื ผ้า(เหมือนกระดาษลติ มสั ทั่วไป)
2.นำดอกอัญชันท่ลี า้ งสะอาดแลว้ เด็ดข้ัวสีเขยี วออกและทำการบดใหล้ ะเอียดดว้ ยโกร่งทีละน้อย เมื่อละเอยี ด เทใสใ่ นบกี เกอร์ ทำจนดอกอัญชันหมด 3.ตวงนำ้ ด้วยกระบอกตวง 100 มลิ ลิลิตร เทใสบ่ ีกเกอร์ท่มี ีดอกอัญชนั ทบ่ี ดแลว้ ละเอียด แล้วใชแ้ ท่งแก้วคนใหเ้ ขา้ กนั 4.ทำการกรองเอาชน้ิ ของดอกอญั ชันออกให้ไดเ้ ปน็ นำ้ ของดอกอัญชนั
5.นำนำ้ อญั ชันที่ได้เทใส่จากเพาะเช้ือ ปริมาณเท่า ๆ กนั 6.นำกระดาษกรองท่ตี ัดไว้ใส่แช่ไวใ้ นนำ้ อัญชนั ทีละชิ้น จนหมด 7.จับเวลา กระดาษกรองทตี่ ดั ไวใ้ ส่แช่ไวใ้ นน้ำอัญชัน 15 นาที
8.เมอ่ื ครบเวลา ทำการคบี กระดาษข้นึ มาตากไว้บนตะแกรงทลี ะแผ่นจนหมด 9.ตากไวจ้ นแห้งกจ็ ะได้กระดาษลิตมัสธรรมชาตจิ ากดอกอัญชนั ทพี่ ร้อมใชง้ าน
นกั เรียนชว่ ยกันทำกล่องสำหรับใสก่ ระดาษลติ มัสจากดอกอัญชนั
กิจกรรมที่ 10.8 ทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ติ ประจำวัน ตอนที่ 1 การทดสอบสารละลายกรดและเบสในชีวิตประจำวนั ด้วยกระดาษลติ มสั จากดอกอญั ชัน 1.ตัวแทนนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ มารบั สารละลายที่ครเู ตรยี มให้ 2.ทำการทดสอบสารละลายกรดและเบสในชวี ติ ประจำวนั ด้วยกระดาษลติ มสั จากดอกอญั ชนั สังเกตการ เปลยี่ นแปลงของกระดาษลติ มสั และจดบนั ทึกลงในตารางผลการทดลอง
ตอนที่ 2 ตรวจสอบความถูกต้องของการทดสอบจากตอนที่ 1 1.นำสารละลายเดมิ ท่ีครเู ตรยี มให้ ทดสอบด้วยกระดาษ Universal Indicator ตามลำดบั เดิม สังเกตการ เปล่ียนแปลงของกระดาษ Universal Indicator อ่านค่า pH และจดบันทกึ ลงในตารางผลการทดลอง
2. ใหน้ กั เรียนเปล่ยี นเทยี บค่า pH ของสารละลายวา่ ใกลเ้ คียงกับสารละลายกรดและเบสในชีวิตประจำวัน ชนดิ ใดทก่ี ำหนดมาให้
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: