Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ by ครูเต้ (หน่วยที่1)

Ebook คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ by ครูเต้ (หน่วยที่1)

Published by ครูเต้ กีตาร์ Youtube, 2021-11-23 03:15:00

Description: รวมหน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

หนังสือคลาสสิคกีตาร์ เล่ม 1 คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ วิทยาลัยสารพั ดช่างธนบุรี รู้เพิ่ มเติมที่เว็ .TEGUITAR. หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ by ครูเต้ เปิดเรียน จันทร์ ถึง ศุกร์ 2 รอบ บ่าย-ค่ำ บ่าย 13.00 - 16.00 น. | ค่ำ 17.00 - 20.00 น. บไซค์ WWW เ รี ย น COM

Classical Guitar Performance for beginners Vol.1 คำนำ เบอร์โทร : 089-222-4909 อีเมล : [email protected] เอกสารประกอบการเรียนวิชากีตาร์คลาสสิคมุ่งเน้น สมรรถนะนี้ใช้เป็นสื่อประกอบการสอนวิชาคลาสสิค เว็บไซต์ : www.teguitar.com กีตาร์ 1 ตามหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น การจัดทำครั้ง นี้เป็นไปตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลาสสิคกีตาร์ จัดทำ การอาชีวศึกษา ให้ผู้เรียนที่เข้ามาศึกษาในสถาน โดยค้นคว้าเอกสารวิชาการ ตำราต่างประเทศ มีราย ศึกษาสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการการ ชื่อตามบรรณานุกรม แบบฝึกและบทเพลงผ่านการ อาชีวศึกษา มีสมรรถนะอาชีพที่ชัดเจนตามสาระการ ทดลองใช้อย่างเป็นระบบให้เหมาะสมกับหลักสูตร เรียนรู้ในแต่ละสาขาวิชา ทั้งนี้ต้องขอขอบพระคุณครูสุชาติ สิมมี หัวหน้า แผนกวิชาดนตรี วิทยาลัยสารพัดช่างธนบุรี ผู้ให้ เนื้อหาภายในประกอบด้วยประวัติความเป็นมา,ส่วน แนวคิด แนวทางการจัดทำหนังสือเล่มนี้ รวมถึง ประกอบกีตาร์,การบำรุงรักษา,การปฏิบัติกีตาร์ เจ้าของผลงานที่นำมากล่าวอ้างอิง ประโยชน์ใดที่เกิด คลาสสิคขั้นพื้นฐาน มีแบบฝึกปฏิบัติเป็นบทเพลง จากหนังสือเล่มนี้ขอมอบให้บิดา มารดา ผู้มีพระคุณ สั้นๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจหลักการเบื้องต้น ทุกท่านที่มิได้กล่าวถึง ณ ที่นี้ด้วย นอกจากนี้ยังได้รวบรวมเพลงเพื่อใช้ฝึก,คลิปวีดีโอ จาก youtube และ backing track ประกอบแบบฝึก ด้วยความนับถือจากใจจริง เพิ่มเติมท้ายเล่ม สมคิด วิโรจน์ดุลย์ (ฉบับปรับปรุง ปีพ.ศ. 2565) คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ถ้าคุณต้องการเริ่มต้นการเรียนรู้ \"เหมาะสำหรับคุณ\" บไซค์รู้เพิ่ มเติมที่เว็ WWW.TEGUITAR. เ รี ย น COM

แนวทางการปฏิบัติ คำชี้แจง เครื่องมือและอุปกรณ์ ปฏิบัติแบบฝึก หนังสือคลาสสิคกีตาร์ 1 และบทเพลง กีตาร์คลาสสิค ตามขั้นตอนที่กำหนด เครื่องกำหนดจังหวะ ที่วางเท้า - ที่วางโน้ต - เก้าอี้ ลำดับขั้นการปฏิบัติ ข้อควรระวัง ทบทวนทำความเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ที่ ฝึกปฏิบัติโน้ตแต่ละตัวให้เต็มค่าตัว ศึกษามาแล้วในข้างต้น โน้ตและค่าตัวหยุด ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาจากใบงาน ฝึกช้า ๆ อย่างมีสมาธิ โดยฝึก ให้เข้าใจ และฝึกปฏิบัติ พร้อมกับเครื่องกำหนดจังหวะ ปฏิบัติใบงานตามลำดับโดยใช้นิ้วมือตาม ฝึกโดยเร่งรีบไปปฏิบัติใบงานถัดไป ที่กำหนด ไม่เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ปฏิบัติเพลงตามความเร็วที่สามารถ ให้มีความแน่ใจว่าปฏิบัติได้ดีที่สุด ปฏิบัติได้ก่อน แล้วค่อยปรับเพิ่มทีละน้อย ก่อน จึงทดสอบเพื่อประเมินผล ใช้นิ้วกด ข้อเสนอแนะ สายตามองตัวโน้ต และดีดสาย และฝึกออกเสียง ตามที่กำหนดไว้ ฝึกทีละห้องเพลง ร้องขื่อตัวโน้ตด้วย ทำให้ปฏิบัติง่ายขึ้น เพื่ อให้มีสมาธิ ทำให้จำโน้ตเร็วขึ้น เมื่อปฏิบัติได้แล้ว การเคาะเท้า จึงนำแต่ละ ฝึกครั้งแรกอาจ ในเบื้องต้น ห้องเพลงมา ไม่ใช้เครื่องกำหนด สามารถทำได้ เชื่อมต่อกัน จังหวะเพื่ อให้มี เมื่อมีความเข้าใจ สมาธิ เมื่อทำถูก แล้วควรงดเว้นการ ต้องอย่างเป็น ธรรมชาติ จึงเริ่ม เคาะเท้า ไม่ควรก้มหน้า ฝึกพร้อมกับเครื่อง ดูนิ้วมือซ้าย-ขวา กำหดนจังหวะ ระหว่างปฏิบัติ www.teguitar.com

แนวทาง การประเมิน รายละเอียดการประเมินผลการปฏิบัติ รายวิชาคลาสสิคกีตาร์ 1 หัวข้อการประเมิน ระดับคะแนน |5|4|3|2|1| จัดตำแหน่งท่าทางวางนิ้วมือซ้ายกดสาย 01 และมือขวาดีดสายถูกต้อง 02 03 สามารถปฏิบัติครบค่าของตัวโน้ต 04 และค่าตัวหยุดที่กำหนด 05 06 การแสดงออกทางอารมณ์สอดคล้อง ปฏิบัติถูกต้องตามเครื่องหมาย และอัตราความเร็วที่กำหนด ปฏิบัติภายในเวลาที่กำหนด ภาพรวมในการปฏิบัติ www.teguitar.com

รายละเอียดของวิชา รหัสวิชา 024-1306-2505 ชื่อวิชา คลาสสิคกีตาร์ 1 จุดประสงค์รายวิชา 1. จรรยาบรรณวิชาชีพ 2. อธิบายหลักการปฏิบัติเครื่องดนตรีและโน้ตสากลสำหรับกีตาร์คลาสสิกขั้นต้น 3.ปฏิบัติแบบฝึกโน้ตสากล คอร์ดและบันไดเสียง C major A minor 1 Octave 4. ปฏิบัติกีตาร์คลาสสิกในเพลงตามโน้ตสากลที่กำหนดให้ 5. ประเมินผลการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนทำการแสดงและบันทึกวีดีทัศน์เพื่ อเผยแพร่ในระบบ YouTube 6.บูรณาการในเรื่องเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน การตระหนักถึงคุณภาพของงาน ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ การรักษาสภาพแวดล้อมและการมีความสุขในการเรียนเข้า ร่วมกันในทุกครั้งของการเรียนการสอน 7. มีสุนทรียภาพในการเล่นและฟังกีตาร์คลาสสิก คำอธิบายรายวิชา ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการปฏิบัติกีตาร์คลาสสิก แบบฝึกโน้ตสากล คอร์ดและการกระจาย คอร์ด บันไดเสียง C Major บันไดเสียง A minor บันไดเสียง Chromatic 1 Octave ปฏิบัติตามโน้ต สากลที่กำหนด สมรรถนะรายวิชา 1. จรรยาบรรณวิชาชีพ 2. แสดงความรู้ในหลักการปฏิบัติเครื่องดนตรีและโน้ตสากลสำหรับกีตาร์คลาสสิก 3.มีทักษะในการปฏิบัติแบบฝึกโน้ตสากล คอร์ดและบันไดเสียง 4. มีทักษะในการปฏิบัติกีตาร์คลาสสิกในเพลงตามโน้ตสากลที่กำหนดให้ 5.มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติ ตระหนักถึงคุณภาพของงาน มีความซื่อสัตย์รับผิดชอบ 6. มีสุนทรีภาพในการปฏิบัติและฟังกีตาร์คลาสสิกในบทเพลงฝึกปฏิบัติ www.teguitar.com

รายละเอียด การประเมิน รายละเอียดการประเมินผลการปฏิบัติ รายวิชาคลาสสิคกีตาร์ 1 หัวข้อที่ใช้ ระดับคะแนน น้ำหนัก ประเมิน 5 4 3 2 1 (41-50 = ดีมาก) (31-40 = ดี) (21-30 = พอใช้) (11-20 = ปรับปรุง) (0-10 = ไม่ผ่าน) จัดตำแหน่งท่าทาง วางตำแหน่งนิ้วเหมาะสม วางนิ้วถูกต้องเกือบ วางนิ้วผิพลาดบ้าง วางนิ้วผิดเป็นส่วนใหญ่ วางนิ้วผิดเสมอ การวางนิ้วมือขวา แสดงให้เห็นชัดเจนว่า ทั้งเพลง นิ้วมือซ้ายดีดและ คุ้นเคย ท่าทางวางนิ้ว 2 กดสายถูกต้อง ที่ถูกต้อง เหมาะสม คุณภาพเสียงของ เล่นได้ครบค่าความยาว เล่นได้ครบค่าความยาว เล่นได้ครบค่าความยาวตัว เล่นไม่ครบค่าความยาว เล่นโน้ตไม่ครบค่า 2 ทำนอง,คอร์ด ของตัวโน้ตและตัวหยุด ของตัวโน้ต และตัวหยุด โน้ตและตัวหยุด ตัวโน้ตและตัวหยุด ความยาวของตัวโน้ต ตามค่าตัวโน้ต ทั้งหมด มีผิดบ้าง 1 – 2 จุด มีผิด 3 – 5 จุด เป็นส่วนใหญ่ และตัวหยุดทั้งหมด ตัวหยุด ถูกต้อง ชัดเจน มีการแสดงออก แสดงให้เห็นว่าปฏิบัติ แสดงให้เห็นว่าได้ปฏิบัติ แสดงให้เห็นว่าได้ปฏิบัติ แสดงให้เห็นว่าได้ปฏิบัติ แสดงให้เห็นว่าได้ปฏิบัติ 2 ทางอารมณ์ ด้วยความผ่อนคลาย ด้วยความผ่อนคลาย ด้วยความผ่อนคลาย ด้วยความกังวล ด้วยความกังวล สอดคล้อง ไม่เกร็งทั้งเพลง มีเกร็งบ้าง 1 – 2 ครั้ง มีเกร็งบ้าง 3 – 5 ครั้ง เกร็งเป็นส่วนใหญ่ เกร็งไปตลอดทั้งเพลง กับเพลง ปฏิบัติตาม ปฏิบัติตามเครื่องหมาย มีผิดบ้าง 1 จุด, มีผิดบ้าง 2 จุด, มีผิดบ้าง 3 จุด, ไม่ปฏิบัติ 2 เครื่องหมาย, ที่กำหนดทั้งเพลง ช้ากว่าอัตราจังหวะ ช้ากว่าอัตราจังหวะ ช้ากว่าอัตราจังหวะ ตามเครื่องหมายที่กำหนด, สัญลักษณ์และ และตรงตามอัตราจังหวะ ที่กำหนด (-5) ที่กำหนด (-10) ที่กำหนด (-15) ช้ากว่าอัตราจังหวะ อัตราความเร็ว ที่กำหนด ช้ากว่าเวลาที่กำหนด ที่กำหนด (-20) (7 – 9 ชั่วโมง) ที่กำหนด ปฏิบัติเพลงได้ อยู่ภายในเวลาที่กำหนด ช้ากว่าเวลาที่กำหนด ช้ากว่าเวลาที่กำหนด ช้ากว่าเวลาที่กำหนด ภายในเวลา (3 – 6 ชั่วโมง) (10 – 12 ชั่วโมง) (12 ชั่วโมงขึ้นไป) ที่กำหนด 1 ภาพรวม สามารถเล่นโดยไม่ติดขัด ติดขัดบ้าง ติดขัดบ้าง ติดขัดบ้าง เล่นติดขัด 1 ในการปฏิบัติ ตลอดทั้งเพลง 1 หัวข้อประเมิน 2- 3 หัวข้อประเมิน 4 – 5 หัวข้อประเมิน ตลอดทั้งเพลง หมายเหตุ : 1. ระดับคะแนน x น้ำหนัก = คะแนนแต่ละข้อประเมิน 2. คะแนนแต่ละข้อประเมินบวกรวมกัน = เกณฑ์ประเมิน www.teguitar.com

ค ล า ส สิ ค กี ต า ร์ อ อ น ไ ล น์ B Y ค รู เ ต้ คำนำ A แนวทางการปฏิบัติ B แนวทางการประเมิน C รายละเอียดของวิชา D รายละเอียดการประเมิน E สารบัญ F สารบัญตาราง K สารบัญภาพ L หน่วยการเรียนรู้ O หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค ประวัติความเป็นมากีตาร์คลาสสิค.............................................. 2 ส่วนประกอบกีตาร์คลาสสิค......................................................... 4 อุปกรณ์ใช้งานร่วมกับกีตาร์คลาสสิค........................................ 8 การบำรุงรักษากีตาร์...................................................................... 11 การใส่สายกีตาร์คลาสสิค.............................................................. 14 การปรับระดับเสียงสายกีตาร์....................................................... 16 สรุป.................................................................................................... 19 บันทึกการฝึกซ้อมประจำวัน........................................................... 20 ส า ร บั ญ หน่วยที่ 2 ลักษณะและท่าทางการปฏิบัติ 22 28 เครื่องหมายและสัญลักษณ์...................................................... 29 ตำแหน่งของร่างกาย.................................................................. 29 ท่านั่งปฏิบัติกีตาร์คลาสสิค........................................................ 32 การวางกีตาร์................................................................................ 35 การฝึกมือขวา............................................................................... 36 การดีดพั กสาย............................................................................. 37 ใบความรู้ที่ 2.1 โน้ตตัวดำ.......................................................... 38 ใบงานที่ 2.1 แบบฝึกที่ 1 โน้ตตัวดำ........................................ 39 ใบความรู้ที่ 2.2 โน้ตตัวขาว...................................................... 40 ใบงานที่ 2.2 แบบฝึกที่ 2 โน้ตตัวขาว.................................... 41 ใบความรู้ที่ 2.3 โน้ตตัวกลม..................................................... ใบงานที่ 2.3 แบบฝึกที่ 3 โน้ตตัวกลม................................... www.teguitar.com

ส า ร บั ญ ค ล า ส สิ ค กี ต า ร์ อ อ น ไ ล น์ B Y ค รู เ ต้ ส า ร บั ญ ( ต่ อ ) การฝึกมือซ้าย................................................................................... 42 ใบความรู้ที่ 2.4 การเคลื่อนไหวนิ้วมือซ้าย................................. 45 ใบงานที่ 2.4 การฝึกมือซ้าย.......................................................... 46 สรุป..................................................................................................... 47 บันทึกการซ้อมประจำวัน................................................................. 48 www.teguitar.com

ส า ร บั ญ ต า ร า ง ค ล า ส สิ ค กี ต า ร์ อ อ น ไ ล น์ B Y ค รู เ ต้ ตาราง: ระบบการเรียกชื่อโน้ต.................................................................... 24 ตัวเลขและลักษณะโน้ตมีค่าเท่ากับหนึ่งจังหวะ......................... 26 แสดงชื่อและสัญลักษณ์นิ้วนิ้วมือขวา........................................ 32 แสดงชื่อและสัญลักษณ์นิ้วนิ้วมือซ้าย......................................... 42 www.teguitar.com

ค ล า ส สิ ค กี ต า ร์ อ อ น ไ ล น์ B Y ค รู เ ต้ ส า ร บั ญ ภ า พ ภาพ 4 4 ส่วนประกอบหลักกีตาร์คลาสสิค.................................................. 4 ส่วนหัว............................................................................................... 4 ลูกบิด................................................................................................. 5 สะพานรองสายกีตาร์...................................................................... 5 ส่วนคอ............................................................................................... 5 ฟิงเกอร์บอร์ด.................................................................................. 5 เฟรท................................................................................................... 6 จุดบอกตำแหน่ง.............................................................................. 6 ข้อต่อคอ............................................................................................ 6 ด้านหน้ากีตาร์................................................................................... 6 โพรงเสียง......................................................................................... 6 ลายประดับ........................................................................................ 7 สะพานสาย........................................................................................ 7 อาน หรือหย่อง................................................................................ 7 ด้านหลังกีตาร์.................................................................................. 8 ด้านข้างกีตาร์................................................................................... 8 สายกีตาร์คลาสสิค........................................................................... 8 ม้าสำหรับวางเท้า............................................................................. 8 ขาตั้งกีตาร์........................................................................................ 8 ขาตั้งสำหรับวางโน้ต...................................................................... 9 เก้าอี้.................................................................................................... 13 เครื่องกำหนดจังหวะ...................................................................... 13 ผ้า และน้ำยาทำความสะอาด.......................................................... 13 ทำความสะอาดตัวกีตาร์................................................................. 13 ทำความสะอาดสายกีตาร์............................................................... ทำความสะอาดบริเวณซอกมุม........................................... www.teguitar.com

ค ล า ส สิ ค กี ต า ร์ อ อ น ไ ล น์ B Y ค รู เ ต้ ส า ร บั ญ ภ า พ ( ต่ อ ) สอดปลายสายหลังสะพานรองสาย.......................................... 14 ปลายสายส่วนสั้นวกกลับด้านหลัง........................................... 14 ดึงปลายสายทั้งสองด้าน............................................................ 15 ใส่สายบริเวณแกนพั นสาย......................................................... 15 ดึงปลายสายขึ้นด้านบนแล้วหมุนลูกบิด................................... 15 ส้อมเทียบเสียง และหลอดเทียบเสียง..................................... 17 เครื่องเทียบเสียงแบบดิจิตอล................................................... 17 ชื่อโน้ตสายเปล่า............................................................................ 17 เทียบเสียงกับเปียโน..................................................................... 17 เทียบกับหลอดเทียบเสียง........................................................... 18 ปรับเสียงแบบทั่วไป...................................................................... 18 ส า ร บั ญ ภ า พ www.teguitar.com

ห น่ ว ย ที่ 1 ค ว า ม รู้ ทั่ ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ กี ต า ร์ ค ล า ส สิ ค ส ม ร ร ถ น ะ ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ มี ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า กี ต า ร์ ค ล า ส สิ ค รู้ จั ก ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ ข อ ง กี ต า ร์ ค ล า ส สิ ค รู้ จั ก อุ ป ก ร ณ์ ที่ ใ ช้ ง า น ร่ ว ม กั บ กี ต า ร์ ค ล า ส สิ ค รู้ จั ก ก า ร บำ รุ ง รั ก ษ า กี ต า ร์ ค ล า ส สิ ค รู้ จั ก วิ ธี ก า ร ป รั บ ร ะ ดั บ เ สี ย ง ส า ย กี ต า ร์ www.teguitar.com

คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค shorturl.asia/4iV0t ประวัติความเป็นมา เครื่องดนตรีที่มีลักษณะคล้ายกีตาร์เป็นที่นิยมมากว่า 5,000 ปีเป็น อย่างต่ำ โดยเริ่มเป็นที่นิยมในแถบเอเชียกลาง เรียกว่าซิตารา (Sitara) เครื่องดนตรีที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกีตาร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ค้นพบมีอายุ 3,300 ปี เป็นหินสลักของกวีอาณาจักรโบราณฮิตไตต์ คำว่ากีตาร์มาจากภาษาสเปนคำว่า guitarra ซึ่งมาจากภาษากรีกอีกที คือคำว่า Kithara จากหลายแหล่งที่มาทำให้คำว่ากีตาร์น่าจะมีรากศัพท์ มาจากภาษาตระกูลอินโดยูโรเปียน guit คล้ายกับภาษาสันสกฤต ที่แปลว่า ดนตรี และ tar หมายถึง คอร์ด หรือ สาย คำว่า qitara เป็นภาษาอาหรับ ใช้เรียก Lute lute ส่วนคำว่า guitarra เกิดขึ้นเมื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ ถูกนำมาที่คาบสมุทรไอบีเรียโดย ชาวมัวร์ กีตาร์ในยุคปัจจุบัน มาจากเครื่องดนตรีที่เรียกว่า cithara ของชาว โรมัน ซึ่งนำเข้าไปแพร่หลายในอาณาจักรฮิสปาเนีย หรือสเปนโบราณ ประมาณ ค.ศ. 40 จากนั้นเปลี่ยนแปลงรูปแบบจนกลายมาเป็น เครื่อง ดนตรีที่มี 4 สายเรียกว่า อูด (oud) นำเข้ามาโดยชาวมัวร์ในยุคที่เข้ามา ครอบครองคาบสมุทรไอบีเรีย ในศตวรรษที่ 8 ส่วนในยุโรปมีเครื่องดนตรี คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 002 www.teguitar.com

ที่เรียกว่า ลุต (lute) ของชาวสแกนดิเนเวียมี 6 สาย ในสมัย ค.ศ. 800 เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาว (ไวกิง) ค.ศ. 1200 กีตาร์ 4 สาย มี 2 ประเภท คือ กิตาร์ราโมริสกา หรือกีตาร์ ของชาวมัวร์ มีลักษณะกลม ตัวคอกว้าง มีหลายรู กับกิตาร์ราลาตินา ซึ่งรูป ร่างคล้ายกีตาร์ในปัจจุบัน คือมีรูเดียวและคอแคบ ในศตวรรษที่ 16 เครื่อง ดนตรีคล้ายกีตาร์ของชาวสเปน ที่เรียกว่าบิอูเอลา เป็นเครื่องดนตรีที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับกีตาร์ในปัจจุบัน มีความผสมผสานระหว่างเครื่องดนตรี อูดของชาวอาหรับและลูตของยุโรป แต่ได้รับความนิยมในช่วงสั้น ๆ พบเห็น จนถึงปี ค.ศ. 1576 เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่มีรูปลักษณ์เหมือนกีตาร์ในปัจจุบัน เกิดในช่วงยุค ปลายของสมัยกลางหรือยุคต้นสมัยฟื้นฟู ศิลปวิทยา เป็นช่วงที่มีการใช้ เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายกันทั่วโลก ในยุคนั้นกีตาร์มีทั้งแบบ 4 และ 5 สาย สำหรับกีตาร์ที่มี 6 สาย ระบุว่ามีขึ้นในปี ค.ศ. 1779 เป็นผลงานของ กาเอตาโน วีนัชชา (Gaetano Vinaccia) ในเมืองเนเปิล อิตาลี แต่ก็ถก เถียงกันว่าอาจเป็นของปลอมสำหรับตระกูลวินาซเซียมีชื่อเสียงในการผลิต แมนโดลินมาก่อน ทีมา: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 003 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค ส่วนลำตัว ส่วนหัว ส่วนคอ ส่วนประกอบ กีตาร์คลาสสิค กีตาร์คลาสสิกมีส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน คือ ส่วนหัว (Head) ส่วนคอ (Neck) และส่วนลำตัว (Body) ซึ่งแต่ละส่วนมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัว (Head) 1.1 ลูกบิด (Tuning 1.2 สะพานรองสาย เป็นส่วนของกีตาร์ที่เป็น Machines) ลูกบิดมี 6 (Nut) คือส่วนสีขาวที่ มากกว่าการรองรับ ตัว ลักษณะของกลไก แยกส่วนคอและส่วนหัว ปลายด้านหนึ่งของสาย เป็นเกลียวทำหน้าที่ปรับ เป็นที่รองสายยึดติดอยู่ เท่านั้นประโยชน์ของ หมุนให้สายพั นยึดรอบ เหนือส่วนพื้ นของ ส่วนหัวคือ เป็นตัวจับ แกนพลาสติก ฟิงเกอร์บอร์ดทำจาก ยึดของสาย ปรับแต่ง ปรับระดับเสียงให้สูงขึ้น งาช้าง พลาสติก หรือ เสียง ด้านบนส่วนหัว (ทวนเข็มนาฬิ กา) กระดูกสัตว์ ผู้ผลิตอาจใส่ชื่อผู้ผลิต ปรับระดับเสียงลดลง (The Signature Piece) (ตามเข็มนาฬิ กา) ชื่อแบนด์ หรือโลโก้ คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 004 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค 2. ส่วนคอ 2.1 ที่นิ้วกด 2.2 เฟรท (Frets) (Neck) เชื่อมต่อ (Fingerboard) เป็นชิ้นไม้ เป็นเส้นโลหะถูกจัดวาง ลงมาจากส่วนหัว วางอยู่บนพื้ นผิวของส่วนคอ และกำหนดระยะห่างไว้บน เป็นส่วนของกีตาร์ เป็นที่ยึดเกาะของก้านเหล็ก ฟิงเกอร์บอร์ด เมื่อกด ที่มีความเรียวยาว ทั้งหมดเรียกว่า เฟรท สายกีตาร์บนฟิงเกอร์ ใช้มือซ้ายจับและ (frets) หรือ เฟรทบอร์ด บอร์ดจะเกิดการ ใช้นิ้วกดสายเพื่ อ (Fretboards) ทำจากไม้ เปลี่ยนแปลงความยาว เปลี่ยนระดับเสียง ประเภทต่าง ๆ เช่น ไม้ ของสาย เมื่อสายสั้นยิ่ง ส่วนคอ มะเกลือ (Ebony) สีน้ำตาล ทำให้เสียงสูงขึ้น จำเป็น ประกอบด้วย ดำจากแอฟริกา ไม้โรสวูด อย่างยิ่งที่เฟรทจะต้องมี (Rosewood) จากอินเดีย ระยะห่างที่ได้มาตรฐาน และไม้เมเปิล (Maple) จาก ไม่เช่นนั้นเสียงที่เกิดขึ้นจะ สหรัฐอเมริกา ไม้ที่ใช้ทำฟิง ผิดเพี้ ยนได้ เกอร์บอร์ดทั้งหมดเหล่านี้เป็น ไม้เนื้อแข็ง (hardwoods) 2.3 จุดบอกตำแหน่ง ฟิงเกอร์บอร์ดจะยาวไปถึง (Position Point) คือ ส่วนลำตัวติดกับโพรงเสียง จุดที่ทำให้เรารู้ตำแหน่ง (Soundhole) ช่องบนฟิงเกอร์บอร์ด กีตาร์คลาสสิกจุดจะอยู่ที่ ขอบส่วนบนของ คอกีตาร์ คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 005 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค 2.4 ข้อต่อคอ (Neck Heel) เป็นชิ้นไม้ส่วน คอที่ยึดติดกับส่วนลำตัว 3. ส่วนลำตัว 3.1 ด้านหน้า (Top) 3.1.1 โพรงเสียง (Sound hole) ช่องขนาดใหญ่ด้านหน้าช่วยให้ (Body) เป็นส่วนใหญ่ คือแผ่นไม้ด้านหน้าของ เสียงที่เกิดจากการดีดสายสะท้อน ออกมาทางช่องนี้ ที่สุดของกีตาร์เป็นส่วน กีตาร์เป็นส่วนหนึ่งของ สำคัญทำให้เกิดเสียง ลำตัวที่หันหน้าออกไป ก้องกังวานขึ้นเพราะ ข้างหน้า เป็นส่วนสำคัญ การสั่นสะเทือนจากการ ที่สุดของกีตาร์เพราะ ดีดสาย เมื่อมองดู เป็นส่วนที่ขยายเสียง ส่วนบนของลำตัว ออกมาทางโพรงเสียง 3.1.3 สะพานสาย (Upper Bout) จะ (Bridge) ชิ้นไม้ที่ติดอยู่ กว้างแต่จะโค้งแคบลง 3.1.2 ลายประดับ ด้านล่างส่วนลำตัว เป็นที่ให้ มาตรงส่วนกลางของ (Rosette) วัสดุลายรูป หย่องยึดติดอยู่ด้านบน ลำตัว (Waist) และ และให้สายผูกยึดไว้ด้านหลัง ขยายออกไปอีกที่ด้าน มักทำจากไม้ชนิดเดียวกัน ล่างของลำตัว กับไม้ที่ทำฟิงเกอร์บอร์ด (Lower Bout) ส่วนลำตัวประกอบด้วย วงกลมประดับไว้ รอบโพรงเสียง คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 006 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค 3.1.4 อานหรือหย่อง (Saddle) ทำหน้าที่รองสายให้สูงจากเฟรทบ อร์ด วางในร่องของสะพานสาย 3.2 ด้านหลัง (Back) ตำแหน่งอยู่ตรงข้ามกับด้านหน้า เป็นด้านที่อยู่ติดกับตัวของผู้เล่น ทำหน้าที่สะท้อนเสียงออกไปสู่ด้านหน้า 3.3 ด้านข้าง (Sides) เป็นส่วนโค้งของไม้แยกออกจากด้านหน้า และด้านหลัง เป็นไม้คนละชิ้นกันยึดติด ด้วยกาว คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 007 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค อุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกับกีตาร์คลาสสิค นอกจากส่วนประกอบต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้ว ยังมีอุปกรณ์ที่มีความจำเป็น ในการใช้งานร่วมกับกีตาร์คลาสสิก คือ สายกีตาร์คลาสสิก (Classic Nylon) ปัจจุบันใช้สายไนล่อนมีความนุ่มนวลไม่เจ็บนิ้วมือ เวลาเล่น สาย 1-2-3 เป็นสายเปลือย สาย 4-5-6 เป็นใยไหม หรือไนล่อนพันด้วยเส้นโลหะจำพวก เงินหรือบรอนซ์ ม้าสำหรับวางเท้า (Footstool) ทำหน้าที่ปรับระดับความสูง - ต่ำตำแหน่งกีตาร์ ที่วางบนขา เพื่อให้มือขวาและมือซ้ายทำงานได้ อย่างสะดวก ขาตั้งกีตาร์ (Guitar stand) ใช้สำหรับวางกีตาร์ ขาตั้งวางโน้ต (Music stand) อุปกรณ์สำหรับวางโน้ตเพลงที่ใช้ในการบรรเลง เก้าอี้ (Guitar stool) ใช้สำหรับนั่งบรรเลงกีตาร์ มักใช้เก้าอี้ที่ไม่มี พนักพิงและที่ท้าวแขนมี 3 ขา หรือ 4 ขา ต้องมีความแข็งแรงและไม่หมุนไปมา คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 008 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค เครื่องกำหนดจังหวะ เครื่องกำหนดจังหวะ (Metronome) มีคนให้คำนิยามไว้หลาย ๆ ด้าน ถึงการที่จะประสบผลสำเร็จในการสื่อสารทางอารมณ์กับผู้ชม บางคนให้เหตุผล ว่า “การใช้เครื่องกำหนดจังหวะทำให้ผู้ปฏิบัติ เล่นออกมาไม่เป็นธรรมชาติ ไม่มี ชีวิตชีวาเหมือนเครื่องจักร การเคร่งครัดเกินไป เป็นการรบกวนจำกัดความเป็น ตัวตนของการถ่ายทอดอารมณ์จากตัวโน้ตในบทเพลงนั้น อย่างไรก็ตามเครื่อง กำหนดจังหวะยังมีความสำคัญที่จะใช้ประโยชน์และให้ความช่วยเหลือให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามความต้องการ จังหวะที่แน่นอน (Tempo Standard) ประโยชน์สูงสุดที่ส่งผลโดยตรง ในทันทีจากการใช้เครื่องกำหนดจังหวะคือ ทราบจุดประสงค์ในการกำหนด ความเร็วของผู้ประพั นธ์บทเพลง การกำหนดเวลา (Timing) เครื่องกำหนดจังหวะช่วยให้สามารถกำหนด ความรู้สึกภายในของจังหวะและช่วงเวลา ขณะเดียวกันทำให้มีความรู้สึกตอบ สนองต่อการเปลี่ยนแปลงจังหวะ ได้เรียนรู้ไม่ใช่แค่จังหวะช้ากับเร็วเท่านั้น ยังมี ช่วงจังหวะที่อยู่ตรงกลางระหว่างช้ากับเร็วให้ได้เรียนรู้อีกด้วย การควบคุมทางเทคนิค (Technical Control) เครื่องกำหนดจังหวะ ช่วยให้สามารถกำหนดจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนในการเรียนรู้สิ่งที่ยาก เมื่อมีความ ชำนาญสามารถปฏิบัติในจังหวะที่ช้าได้แล้ว ก็เพิ่มจังหวะขึ้นทีละน้อยจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติในจังหวะที่ยากขึ้น ความคงเส้นคงวา (Consistency) หลายๆ คนรีบเร่งที่จะข้ามพ้นสิ่งที่ ง่าย (หมายถึงเล่นโน้ตส่วนที่ง่ายอย่างรวดเร็วโดยไม่ควบคุมจังหวะ) ไปอย่าง รวดเร็วและเริ่มเล่นช้าลงหรือไม่ตรงจังหวะเมื่อเจอโน้ตที่ยากขึ้น จังหวะที่ยากขึ้น เครื่องกำหนดจังหวะช่วยให้รักษาจังหวะอย่างสม่ำเสมอตลอดบทเพลง คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 009 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค ประโยชน์ของการใช้เครื่องกำหนดจังหวะ (Benefits of Using Metronome) ช่วยให้รู้จักสัดส่วนการแบ่งค่าของจังหวะ การรักษาจังหวะ เป็นหนึ่งใน องค์ประกอบที่ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการเรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ ของเครื่องกำหนดจังหวะที่เป็นอุปกรณ์ช่วยในการฝึก เครื่องกำหนดจังหวะ มีหลายแบบ เช่น เครื่องกำหนดจังหวะแบบเก่าที่เป็นลูกตุ้มแกว่งไปมา (Pendulum Metronome) และแบบใหม่ที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ (Electric Metronome) ค่าความเร็วที่กำหนดในเครื่องกำหนดจังหวะเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากที่ ต้องศึกษาและเรียนรู้การควบคุมจังหวะต่าง ๆ ต้องรู้ค่าตำแหน่งบอก ความเร็วบนเครื่องกำหนดจังหวะซึ่งเป็นค่าที่เที่ยงตรง เวลาที่จะเล่นเพลง ไม่ว่าจะเป็นเพลงสามสี่หรือ สี่สี่ ต้องตั้งค่าจังหวะต่อหนึ่งห้องให้ตรง เครื่อง กำหนดจังหวะแบบเก่าที่เป็นลูกตุ้มจะแสดงเครื่องหมายบอกจังหวะที่เป็นภาษา อิตาลี เช่น Adagio, Moderato, Allegro ส่วนเครื่องกำหนดจังหวะที่เป็น แบบอิเล็กทรอนิกส์แบบใหม่มีการกำหนดไว้เป็นตัวเลข สามารถกำหนดค่าได้ เพียงแค่กดปุ่มบนเครื่องและการกดปุ่มลูกศรขึ้นหรือลง แสดงถึงการเพิ่ม หรือลดจังหวะตามที่ต้องการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับฟังก์ชั่นและคุณสมบัติของเครื่อง ที่แตกต่างกัน เครื่องกำหนดจังหวะเป็นเครื่องมือที่สามารถตั้งให้ตีบอกจังหวะต่าง ๆ ใช้ในการกำหนดความเร็วของบทประพันธ์ ช่วยรักษาจังหวะการฝึกปฏิบัติ ตัวอย่างเช่น M.M.= 60 กำหนดไว้ตอนต้นของบทเพลง หรือตอนหนึ่งของ เพลง มีความหมายว่าให้ปฏิบัติโน้ตตัวดำหนึ่งตัวเท่ากับหนึ่งจังหวะ เมื่อตั้ง เครื่องกำหนดจังหวะที่ตัวเลข 60 จะได้เสียงตีบอก 60 ครั้ง (โน้ตตัวดำ 60 ตัว) ต่อหนึ่งนาที คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 010 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค การบำรุงรักษากีตาร์ การบำรุงรักษากีตาร์ช่วยให้กีตาร์มีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น ควรให้ความ สำคัญในการดูแลรักษาทำให้เป็นกิจวัตรอย่างสม่ำเสมอ โดยการทำความสะอาด ตามขั้นตอนต่อไปนี้ การบำรุงรักษาตัวกีตาร์ ควรศึกษาอุปกรณ์ของกีตาร์ว่าการใช้งานส่วนใดที่ ต้องบำรุงรักษาอย่างไร เมื่อเสียแล้วทำการซ่อมแซมได้หรือไม่ หรือต้องใช้วิธี เปลี่ยนอะไหล่ ควรคำนึงถึง หลักกว้าง ๆ 2 ประการดังนี้ 1. เลือกกีตาร์ให้ถูกต้องกับการใช้งาน กีตาร์คลาสสิกเหมาะใช้งานฝึกนิ้ว เป็นมาตรฐานที่ต้องใช้สายไนล่อนเท่านั้นไม่ควรใช้สายโลหะ เนื่องจากโครงสร้าง ไม่แข็งแรงพอ ข้อสำคัญไม่ควรถูกอากาศที่ร้อนมาก ๆ จะทำให้ไม้โค้งงอได้ 2. ทำความเข้าใจกีตาร์และรู้จักใช้อุปกรณ์ส่วนที่ควรดูแลรักษาในตัวกีตาร์ ได้แก่ 2.1 ลูกบิด การเลือกซื้อกีตาร์ควรเลือกกีตาร์ที่มีลูกบิดคุณภาพดี ระบบกลไกของเกลียวสามารถปรับหรือหมุนได้อย่างสะดวก ไม่คลายตัวทำให้ เกิดเสียงเพี้ ยนได้ง่าย 2.2 ฟิงเกอร์บอร์ดและเฟรท เนื่องจากเหงื่อจากมือทำให้เกิดคราบไคล อาจทำให้สายมีคราบสกปรกเกิดอาการฝืดเป็นสาเหตุให้เฟรทและฟิงเกอร์บอร์ด สึกเป็นหลุม ควรใช้น้ำยาเช็ดสายกีตาร์โดยเฉพาะชุบผ้าเช็ดให้โดนทั้งสายฟิง เกอร์เบอร์และเฟรทเป็นประจำ 2.3 สีเคลือบตัว (Body) สีเคลือบเงามันค่อนข้างหนาจะทำให้เสียงทึบ ต้องรอเวลาให้เนื้อไม้ชั้นในสีเคลือบแห้งสนิทเป็นเวลานานปี ข้อดีคือทนแรง กระทบกระแทกได้ดีไม่เกิดรอย สีเคลือบประเภทนี้ควรใช้ยาขัดประเภทแว็กที่มี เมือกลื่น เช็ดเพื่อไม่ให้ฝุ่นและคราบไคลจับอันเป็นสาเหตุที่ทำให้เสียงทึบมากเพิ่ม ขึ้น สีเคลือบด้านสีประเภทนี้ไม่หนาเคลือบเนื้อไม้กันความชื้นไว้เท่านั้น ข้อดีคือ ไม่ต้องรอเวลาให้สีเคลือบและเนื้อไม้แห้งนานเสียงจะเป็นธรรมชาติมากกว่า ข้อควรระวังคือการกระทบกระแทกจะเกิดริ้วรอยได้ง่าย ยาขัดที่ใช้จะเป็น คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 011 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค ประเภทโพลิสบางใสไม่มีเมือกลื่นเช็ดออกง่าย หรือน้ำมันเลมอนออยที่ใช้ เคลือบฟิงเกอร์บอร์ดในกรณีที่มีอายุการใช้งานมานานจนเกิดคาบไคลหนา 2.4 ขนาดของสายกีตาร์ ไม่ควรเปลี่ยนสายไปเรื่อย ๆ หลายขนาด หลายยี่ห้อเนื่องจากสายกีตาร์มีความสำคัญกับแรงดึงของตัวกีตาร์และคอ รวมถึงน้ำหนักสำเนียงของเสียง จึงไม่ควรเปลี่ยนขนาดและยี่ห้อของสายบ่อย ๆ วิธีที่ดีคือเลือกสายในขนาดที่เหมาะสมได้แล้วควรจะใช้ขนาดนั้นต่อไป 2.5 การเก็บรักษาตัวกีตาร์ เมื่อเลิกเล่นควรปล่อยสายประมาณ 30 – 40 % ไม่ควรเก็บกีตาร์เอาไว้ในกล่องตลอดเวลาเนื่องจากขาดอากาศ ถ่ายเทและเกิดความชื้นสะสม วิธีที่ดีคือการวางกีตาร์บนขาตั้งชนิดที่ไม่มีแรง กดตรงคอหรือแขวนลอย การบำรุงรักษาสายกีตาร์ การเอาใจใส่ดูแลสายจะช่วยให้ได้เสียงที่ดีและ รักษาสภาพสายให้ทนนานขึ้น สายขาดเนื่องจากอายุการใช้งาน หมุนลูกบิด สายดึงเกินไป เกี่ยวสายแรงไป สายที่ถูกสร้างอย่างด้อยคุณภาพหรือโดยใส่ สายที่ไม่ถูกต้อง ถ้าสายกีตาร์ขาดบ่อยอาจมีสาเหตุมาจากปัจจัยอื่น นอกเหนือ จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น เป็นต้นว่าอาจเป็นเพราะกีตาร์อาจมีขอบแหลมคมที่ นัท สะพานรองสาย หรือเฟรทบางอันคมผิดปกติลองหาสาเหตุและแก้ไขดู ข้อ ควรระวังบางทีสายอาจขาดที่แกนลูกบิด ถ้าหากมันถูกหักพับในการม้วนรอบ สุดท้ายเพราะสายจะถูกลูกบิดจนขาดเวลาขึงให้ตึง ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ทำให้ ต้องดูแลรักษาสายกีตาร์ด้วย โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ต้องตรวจเช็ดสายกีตาร์บ่อย ๆ หลังการเล่นทุกครั้งด้วยผ้าไม่มีใยสำลี หรือการใช้น้ำยาเคมีชนิดที่ทำขายเพื่อการนี้โดยเฉพาะ ควรล้างมือให้สะอาด ก่อนเล่นเพื่อไม่ให้เหงื่อไคลเข้าไปอุดสายกีตาร์ จะเป็นผลทำให้สายกีตาร์เกิด สนิมเร็วและเสียงที่ได้ก็จะอับทึบ 2. ใช้สายให้ตรงกับลักษณะของกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วสายกีตาร์มี 3 ชนิด คือสายไนล่อน สายโลหะ และสายที่เป็นแบบผสมของไนล่อนกับโลหะ ในบรรดา 3 ชนิดเหล่านี้ก็มีรูปลักษณะละเอียดต่างกันออกไปอีกมากมาย เป็นต้นว่าสาย ไนล่อนแบบปลายมีลูกตุ้ม สายไนล่อนแบบเปล่า สายโลหะ มีสายที่ 3 เป็นสาย เปลือยและแบบที่มีสายที่ 3 เป็นสายมีเปลือกหุ้ม สายทำด้วยทองบรอนซ์ สาย ทำด้วยเงิน สายสีดำ สายแบบเป็นเงา ฯลฯ คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 012 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค การทำความสะอาดกีตาร์ เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทำความ ฉีดพ่ นน้ำยาทำความสะอาดบน สะอาด เช่น ผ้าสะอาดและน้ำยา ตัวกีตาร์ ใช้ผ้าสะอาดเช็ดทำความ ทำความสะอาด มีทั้งน้ำยาที่ใช้ สะอาดให้ทั่วตัวกีตาร์ที่มีคราบ ทำความสะอาดเนื้อไม้, ทำความ สกปรกจากเหงื่อหรือรอยสกปรก สะอาดโลหะ, และน้ำยาเคลือบขัดเงา ทำความสะอาดเฟรทบอร์ดโดยใช้ สำลีชุบน้ำยาเช็ดทำความสะอาด บริเวณเฟรท เมื่อคราบสกปรกหลุด ออกใช้สำลีแห้งเช็ดอีกครั้ง ถ้าคราบ สกปรกไม่หลุดออกให้ใช้เส้นใยช่วย ขัดคราบออกอีกครั้ง ทำความสะอาดสาย โดยใช้น้ำยาหัวสักหลาดเช็ดไปตามสายตลอดแนวความ ยาวของสายหรือแบบขวดหยดที่ผ้าแล้วสอดใต้สายเช็ดทีละเส้นจนครบ 6 เส้น ทำความสะอาดส่วนที่เข้าถึงยาก บริเวณลูกบิดหรือแกนพันสายด้วย แปรงสีฟัน แปรงขนอ่อน หรือ Cutton bud เช็ดทำความสะอาด คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 013 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค การใส่สายกีตาร์ การศึกษาเรื่องการปรับระดับเสียงกีตาร์ควรรู้จักวิธีการใส่สายกีตาร์ด้วย กรณีที่มีการเปลี่ยนสายกีตาร์อาจเกิดจากสาเหตุสายเก่าหรือหมดอายุ ขั้นตอน การใส่สายกีตาร์คลาสสิก (Procedure for Nylon Strings) โดยทั่วไปจะมี 2 ขั้นตอนคือใส่สายด้านสะพานรองสาย และแกนพันสาย 1. ใส่สายด้านสะพานรองสาย 1.1 ถอดสายชุดเก่าม้วนเก็บให้เรียบร้อยก่อนนำไป ทิ้ง ใช้ผ้าเช็ดทำความสะอาด เช่น บริเวณลำตัว, ฟิงเกอร์บอร์ด, เฟรท, นัท, ที่มีรอยคลาบเหงื่อ สิ่งสกปรกเกาะ บริเวณส่วนหัวตรงแกนพันสายกับ ลูกบิดมักมีฝุ่นเข้าไปจับให้สะอาด นำสายกีตาร์ที่ เตรียมไว้ออกจากซองอย่างระมัดระวังโดยเฉพาะ สาย 4-5-6 เป็นสายพันทับด้วยโลหะรอบสายที่เป็น แกนหลักอีกชั้นหนึ่งอาจเคลื่อนออกทำให้เวลาดีด สายอาจเกิดเสียงผิดเพี้ยนจากเดิม นั่งเก้าอี้ที่ไม่มี พนักพิ งหลังและที่วางมือในท่าที่พร้อมใส่สายกีตาร์ ควรเป็นเก้าอี้ชนิดหัวกลมเพื่ อป้องกันการกระแทก กับส่วนใดส่วนหนึ่งของตัวกีตาร์ คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 014 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค 1.2 สอดสายทางรูใส่สายหลังสะพานรองสาย เมื่อปลายสายรอดออกมา ด้านหน้าดึงสายให้สุดเหลือเฉพาะส่วนของปลายสายไว้พอประมาณเพื่ อใช้พั น สายยึดกับส่วนของสะพานรองสาย 1.3 จับปลายสายส่วนที่สั้นไปทางด้านหน้าแล้วรอดใต้สายส่วนที่ยาว วกกลับมาด้านหลัง 1.4 จับปลายสายด้านสั้นรอดใต้สายที่มีลักษณะคล้ายห่วง (สองครั้ง) เรียงปลายสายด้านสั้นให้เหลือส่วนปลายให้พอดีแล้วกดลง ดึงปลายสาย ด้านยาวให้ส่วนที่เป็นห่วงด้านหลังรัดปลายสายด้านสั้นให้แน่น 2. ใส่สายบริเวณแกนพันสาย 2.1 จับปลายสายใส่รูแกนพัน นำส่วนปลายสายย้อนกลับมาทาง ด้านบนดึงปลายสายเข้าหาตัวเผื่อ ความยาวของสายที่จะพั นรอบ แกนพั นสาย 2.2 จับปลายสายรอดสายด้าน ล่าง ดึงปลายสายขึ้นด้านบนให้สาย ถูกทับไว้ หมุนลูกบิดลักษณะหงาย มือด้วยมือซ้ายปรับระดับเสียงสูง ขึ้น ใช้มือขวาดึงสายไว้ให้ตึงเพื่อ การพั นสายที่เป็นระเบียบ คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 015 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค การปรับระดับเสียงกีตาร์ ผู้เริ่มหัดกีตาร์ส่วนใหญ่จะพบว่าการปรับระดับเสียงเป็นสิ่งที่ยาก เทคนิค การปรับขึ้นอยู่กับความสามารถของหูที่จะรับรู้ความแตกต่างที่น้อยมากใน ระดับเสียง (Pitch) ระหว่างโน้ต 2 ตัว และเปรียบเทียบเสียงสูงต่ำ ถึงแม้ว่า การอ้างอิงด้วยสายตาอย่างใกล้ชิดทำได้โดยเครื่องปรับเสียงอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะช่วยได้อย่างมากแต่ก็ไม่สามารถทดแทนทักษะดั้งเดิมของการปรับเสียง กีตาร์โดยใช้หูได้ บางคนพบว่าความสามารถที่จะปรับระดับเสียงนั้นง่ายกว่า อย่างอื่น ถ้าเราคือผู้ที่พบว่าการปรับเสียงกีตาร์เป็นเรื่องยากจงรับรู้ความ จริงที่ว่าประสาทสัมผัสเราในเรื่องระดับเสียงจะพั ฒนาและปรับปรุงด้วย เทคนิคของเราเองเมื่อได้ลองปฏิบัติมากขึ้น หูที่ใช้ในการฟังเพลงมากขึ้นก็จะ สามารถเรียนรู้และเป็นทักษะที่จะพั ฒนาได้ด้วยประสบการณ์ สิ่งที่สำคัญประการหนึ่งของการปรับเสียงที่ดี คือทำอย่างช้า ๆ ด้วยใจ สงบ ถ้ารู้สึกเครียดหรือรีบร้อนร้อนก็จะไม่สามารถตั้งเสียงได้ดี รวบรวม สมาธิและฟังอย่างมีเป้าหมายแล้วจะพบว่าไม่ยากที่จะเปรียบเทียบว่าสายกีตาร์ เป็นเสียงสูงหรือเสียงต่ำ การเลื่อนไหลของสายกีตาร์เป็นปัญหาหลักของ นักกีตาร์ทุกคน อย่างไรก็ตามสามารถที่จะป้องกันได้โดยการปรับสายให้เหมาะ สมในครั้งแรก แล้วดึงสายกีตาร์ หรือดีดกีตาร์อย่างแรงพอสมควร ส่วนมาก จะเป็นกับสายที่ใส่ใหม่เพราะสายยังยืดตัวไม่เต็มที่ซึ่งจะต้องช่วยให้สายยืดตัว เร็วขึ้นด้วยการดึงสายออกจากตัวกีตาร์ให้โค้งด้วยความแรงพอควร เพื่อที่ จะตั้งกีตาร์ใหม่ก่อนที่เราจะเริ่มเล่น นักกีตาร์ส่วนใหญ่จะมีเครื่องตั้งสายเป็นของตัวเอง แต่สำหรับผู้เริ่มเล่น ใหม่ ๆ บางคนอาจจะไม่มีหรือบานคนไม่รู้จักเครื่องตั้งสายด้วยซ้ำไป ซึ่ง เครื่องตั้งสายกีตาร์ก็มีอยู่หลายแบบหลายยี่ห้อ ถ้าไม่มีเครื่องตั้งสายเราก็ สามารถที่จะตั้งสายกีตาร์ได้แต่เสียงที่ได้อาจจะไม่ใช่เสียงที่เป็นมาตรฐานซึ่งก็ สามารถใช้เล่นได้เหมือนกัน ในขณะเดียวกันเราสามารถที่จะตั้งสายให้มีระดับ เสียงต่ำกว่ามาตรฐานได้ในการที่จะแก้ปัญหาสำหรับผู้ฝึกเล่นใหม่ ๆ ที่มักจะ เจ็บนิ้วมือที่เกิดจากการกดสายกีตาร์ คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 016 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค ส้อมเสียง การปรับเสียงที่ดี (Fine tuning) หลอดเทียบเสียง คือการปรับเสียงให้ได้เสียงมาตรฐานโดยการ ตั้งเสียงกับเครื่องเทียบเสียงหรือเทียบกับ คีย์บอร์ดที่มีเสียงเป็นมาตรฐาน ก่อนอื่นจะ ต้องรู้จักตัวโน้ตสายเปล่าของกีตาร์แต่ละเส้น ว่าจะตรงกับโน้ตชื่ออะไร เครื่องตั้งเสียงแบบดิจิตอล เทียบเสียงกับเปียโน (Tuning guitar with a Piano) เป็นวิธีที่สะดวก เพราะนิ้วมือซ้ายไม่ต้องคอยพะวงกับการกดสาย เป็นการเทียบเสียงสายเปิด แต่ละเส้นกับเสียงเปียโน โดยกดลิ่มเปียโนที่ต้องการทีละเสียง จากนั้นฟัง และพยายามจำเสียงให้ได้เพื่ อนำมาเทียบกับเสียงกีตาร์ที่มีโน้ตตรงกับเสียง เปียโนที่ต้องการแล้วทำการปรับแต่งเสียงโดยการหมุนลูกบิดขึ้นหรือลงด้วย นิ้วมือซ้าย คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 017 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค เทียบด้วยหลอดเทียบเสียง (Pitch Pipe) คล้ายการเทียบเสียงด้วยเปียโน ต่างกันที่ใช้ปากเป่าลมที่หลอดเทียบ ให้เกิดเสียงตามโน้ตที่ต้องการปรับ เสียง จากนั้นฟังและจำเสียงให้ได้ เพื่ อนำมาเทียบกับเสียงกีตาร์ สายเปล่าที่มีโน้ตตรงกับเสียงที่เป่า แล้วทำการปรับแต่งเสียงโดยหมุน ลูกบิดขึ้นลงด้วยนิ้วมือซ้าย การปรับเสียงทั่วไป (General Tuning) มีรายละเอียดดังนี้ ปรับโน้ต E สายเปิดสาย 1 ให้มีระดับเสียงที่ถูกต้องตรงตามมาตรฐาน ดีดโน้ต E ช่อง 5 สาย 2 เทียบกับ E สายเปิดสาย 1 ให้มีเสียงเดียวกัน ดีดโน้ต B ช่อง 4 สาย 3 เทียบกับ B สายเปิดสาย 2 ให้มีเสียงเดียวกัน ดีดโน้ต G ช่อง 5 สาย 4 เทียบกับ G สายเปิดสาย 3 ให้มีเสียงเดียวกัน ดีดโน้ต D ช่อง 5 สาย 5 เทียบกับ D สายเปิดสาย 4 ให้มีเสียงเดียวกัน ดีดโน้ต A ช่อง 5 สาย 6 เทียบกับ A สายเปิดสาย 5 ให้มีเสียงเดียวกัน คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 018 www.teguitar.com

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค สรุป ประวัติความเป็นมาของกีตาร์นั้นมีมาตั้งแต่เป็นร้อย ๆ ปีมาแล้ว ประเทศที่ เล่นกีตาร์กันมากจนขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองกีตาร์คือประเทศสเปน ซึ่งมีชื่อเสียง มากที่สุดในศตวรรษที่ 19 ปัจจุบันกีตาร์มีการพัฒนาไปมากทั้งด้านรูปร่าง รูปแบบการเล่น และยังมีการพัฒนาต่อไปซึ่งผู้เรียนจะต้องพัฒนาให้ทัน อย่างไรก็ดียังคงมีรูปแบบดั้งเดิมหรือที่เรียกกันว่าต้นฉบับการเล่นที่จัดได้ว่า ไม่ล้าสมัยไปกว่าของใหม่เท่าไหร่นักให้กับผู้ที่เริ่มเรียนใหม่ ๆ ได้เริ่มเรียน การบำรุงรักษากีตาร์ เป็นการยืดอายุการใช้งานของกีตาร์ให้นานขึ้น การ บำรุงรักษาเป็นเรื่องที่ดีต้องเอาใจใส่ดูแลเสมอ ไม่ว่าของสิ่งนั้นจะเป็นของ ส่วนตัวหรือส่วนรวม การจะดูแลรักษากีตาร์นั้นต้องทำความรู้จักรายละเอียด ต่าง ๆ รวมทั้งขั้นตอนการดูแลและรักษา ควรฝึกปฏิบัติให้เป็นนิสัยที่รักและ หวงแหนเครื่องมือที่ใช้ฝึกฝน ทุกครั้งก่อนปฏิบัติควรทำความสะอาดกีตาร์ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับแต่งเสียงให้ได้มาตรฐานก่อนทำการฝึกทุกครั้ง หลังการฝึกซ้อมเสร็จสิ้นไม่ควรลืมทำความสะอาดอุปกรณ์อีกครั้ง ก่อนเก็บ เข้าที่ให้เรียบร้อยทุกครั้ง รู้เพิ่ มเติมที่เว็บไซค์ .TEGUITAR.WWW เ รี ย น คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ by ครูเต้COM คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ 019 www.teguitar.com

บันทึกการซ้อมประจำวัน สร้างตารางฝึกซ้อมประจำวัน โดยกำหนดหัวข้อฝึกซ้อมตามหน่วยการเรียน เพื่ อบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ หน่วยการเรียนที่: วันที่: หัวข้อฝึกซ้อม/จำนวนเวลา หัวข้อฝึกซ้อม/จำนวนเวลา คลาสสิคกีตาร์ออนไลน์ BY ครูเต้ www.teguitar.com

หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ | หัวข้อ | รายละเอียด 01 02 ความรู้ทั่วไป ลักษณะและท่าทางการปฏิบัติ เกี่ยวกับกีตาร์คลาสสิค ความหมายและสัญลักษณ์ดนตรี ประวัติความเป็นมา ตำแหน่งร่างกาย ส่วนประกอบกีตาร์ - การบำรุงรักษา ท่านั่งปฏิบัติ - การวางกีตาร์ การใส่สายกีตาร์ - การปรับระดับเสียง การฝึกมือขวา และมือซ้าย 03 04 การปฏิบัติโน้ตกีตาร์สาย 1-2-3 การปฏิบัติ เครื่องหมายทางดนตรี โน้ตสายเปล่า 1-2-3 โน้ตสายที่ 1 - โน้ตสายที่ 2 ทาย Anacrusis โน้ตประจุด โน้ตสายที่ 3 เครื่องหมายย้อน เขบ็ตหนึ่งชั้น และตัวหยุด เครื่องหมายแปลงเสียง 05 06 การปฏิบัติโน้ตกีตาร์สาย 4-5-6 การปฏิบัติบันไดเสียง การดีดผ่านสาย บันไดเสียงเมเจอร์ โน้ตสายเปล่า 4-5-6 บันไดเสียงไมเนอร์ โน้ตสายที่ 4 บันไดเสียงโครมาติค ขั้นคู่เสียง - โน้ตแนวคอร์ดและทำนอง การกระจายคอร์ด โน้ตสายที่ 5 โน้ตสายที่ 6 07 การปฏิบัติ บทเพลงกีตาร์คลาสสิค บทเพลงกีตาร์คลาสสิค www.teguitar.com