การค้นคว้าเกี่ยวกบั กระบวนการ สงั เคราะห์แสง
Jean Baptise Van Helmont (ค.ศ. 1648) ปลกู ต้นหลิวหนกั 5 ปอนด์ในถงั ใบใหญ่ที่บรรจดุ ินทท่ี าให้แห้งสนิทหนกั 200 ปอนด์ ↓ รดนา้ ทกุ ๆวนั ด้วยนา้ ฝนหรือนา้ กลนั่ เป็นระยะเวลา 5 ปี ↓ ต้นหลวิ หนกั 169 ปอนด์ 3 ออนซ์ (ไมร่ วมนา้ หนกั ของใบ) ↓ นาดินในถงั มาทาให้แห้งแล้วนาไปชงั่ พบวา่ นา้ หนกั น้อยกวา่ ดินที่ใช้กอ่ นทาการทดลองเพียง 2 ออนซ์ ↓ นำ้ หนักของต้นหลิวท่เี พ่มิ ขนึ้ ได้มำจำกนำ้ เพยี งอย่ำงเดยี ว
Joseph Priestley (ค.ศ.1772) “กำรหำยใจ กำรเน่ำเป่ื อยและกำรตำยของสัตว์ ทำให้อำกำศเสีย แต่พชื จะทำให้ อำกำศบริสุทธ์ิขึน้ และมปี ระโยชน์ต่อกำรดำรงชีวติ ” จดุ เทียนไขไว้ในครอบแก้ว ทงิ ้ ไว้สกั ครู่เทยี นดบั ใสห่ นเู ข้าไป ตอ่ มาหนตู าย ↓ ใสพ่ ืชสเี ขียวเข้าไปในครอบแก้วท่ีเคยจดุ เทยี นไข อีก 10 วนั ตอ่ มาเมอ่ื จดุ เทียนใหม่ ↓ เทียนไขลกุ ไหม้อย่ไู ด้ระยะหนง่ึ โดยไมด่ บั ทนั ที ↓ กำรลุกไหม้ของเทยี นไขและกำรหำยใจของหนูทำให้อำกำศเสีย → เทยี นไขดับและหนูตำย
จดุ เทยี นไขไว้ในครอบแก้วและนาพืชไว้ด้วย ↓ เทียนไขยงั คงติดไฟได้ดี ↓ ใสห่ นไู ว้ในครอบแก้วและใสพ่ ืชไว้ด้วย → หนมู ีชีวิตอย่ไู ด้นาน ↓ พชื สำมำรถเปล่ียนอำกำศเสียให้เป็ นอำกำศดีได้
Jan Ingen-Housz (ค.ศ.1779) พิสจู น์ให้เหน็ วา่ การทดลอง Joseph Prisley ↓ พชื ต้องได้รับแสงและเฉพำะส่วนสีเขียวของพชื เท่ำนัน้ ท่จี ะมปี ระสิทธิภำพในกำรเปล่ียนอำกำศ เสียเป็ นอำกำศดี
Jean Senebier (ค.ศ. 1782) แกส๊ ทเ่ี กดิ จากการลกุ ไหมแ้ ละแกส๊ ทเ่ี กดิ จากการหายใจของสตั ว์ → CO2 อากาศเสยี ↓ แกส๊ ทช่ี ่วยในการลกุ ไหมแ้ ละแกส๊ ทใ่ี ชใ้ นการหายใจของสตั ว์ → O2 อากาศดี Jan Ingen-Housz (ค.ศ. 1796) .พืชไว้ในครอบแก้ว แยกเป็นสว่ นๆ ทงิ ้ ไว้ท่มี ืดระยะหนง่ึ จดุ เทยี นไขในครอบแก้วทกุ อนั เทียนไขในครอบแก้ว ไมต่ ิดไฟ ↓ นาครอบแก้วทกุ อนั ไปในท่ที มี่ แี สงสวา่ งระยะหนงึ่ จดุ เทยี นไข ครอบแก้วท่ีมีสว่ นของพืชสเี ขียวสามารถจดุ Dark เทยี นไขให้ติดไฟได้ Light พชื สำมำรถเกบ็ ธำตุคำร์บอนในรูปของสำรอินทรีย์ได้
Nicolas Theodore de Saussure (ค.ศ.1804) พืชใช้ CO2 ในจานวนทเี่ ป็นสดั สว่ นกบั O2 ท่ปี ลอ่ ยออกมา ↓ CO2 ถกู ตรึงไว้ในรูปของสารอินทรีย์ในพืช ทาให้นา้ หนกั ของพืชเพ่ิมขนึ ้ > นา้ หนกั ของก๊าซที่พืชได้รับ ↓ นา้ มสี ว่ นเกี่ยวข้องและจาเป็นตอ่ การ นา้ หนกั ทเ่ี พ่ิมขนึ ้ บางสว่ นเป็นนา้ หนกั ของนา้ ท่พี ืชได้รับ → สงั เคราะห์แสง
Julius Sachs (ค.ศ. 1862) พืชทีไ่ ด้รับแสงสวา่ งจะมี นา้ ตาล สงั เคราะห์ขนึ ้ ทีใ่ บ ↓ พืชที่อยใู่ นท่ีมดื จะไมม่ ี นา้ ตาล นำ้ ตำล เป็ น carbohydrate (สำรอินทรีย์) เป็ นผลผลติ ของ photosynthesis
T.W.Engelmann (ค.ศ. 1895) ใช้ปริซมึ เพ่ือแยกแสงออกเป็น spectrum ให้แกส่ าหร่าย spirogyra. เจริญอย่ใู นนา้ ที่มี bacteria ↓ Bacteria ท่ตี ้องการ O2 มารวมกลมุ่ กนั ท่ีบริเวณสาหร่ายทไ่ี ด้รับแสงสแี ดงและสีนา้ เงิน ↓ สำหร่ำยสองบริเวณนีใ้ ห้ O2 มำกกว่ำบริเวณอ่ืน
Van Niel (ค.ศ. 1930) ทดลองเลยี ้ ง bacteria ทสี่ งั เคราะห์ด้วยแสงได้แตใ่ ช้ H2S แทนนา้ ↓ เกิด S2 แทนทจ่ี ะเกิด O2 (Bacteria ไมใ่ ช้ H2O ในการสงั เคราะห์ด้วยแสง จงึ ไมเ่ กิด O2) ↓ สนับสนุนว่ำ O2 ท่ไี ด้จำก photosynthesis จำกพชื มำจำก H2O
Sam Ruban and Matin Kamen (ค.ศ. 1938) สาหร่ายสีเขียวปริมาณท่เี ทา่ ๆกนั ใสล่ งไปในขวดแก้ว 2 ใบ แล้วใส่ H2O และ CO2 ลงไปในขวด ↓ ขวด 1 ใส่ H2O ประกอบด้วย O2 เป็นสารกมั มนั ตภาพรังสี คือ 18O แต่ CO2 ซง่ึ มี O2 ธรรมดา ขวด 2 ใส่ CO2 ประกอบด้วย 18O แตใ่ ส่ H2O ที่มี O2 ธรรมดา ↓ ตงั้ ขวดทงั้ 2 ให้ได้รับแสง สาหร่ายจะเกิด photosynthesis เกิด O2 ขนึ ้ ↓ นา O2 ที่ได้มาทดสอบ ↓ ขวด 1 O2 ท่ีได้จาก photosynthesis เป็น 18O ขวด 2 O2 ท่ไี ด้จาก photosynthesis เป็น O2 ธรรมดา ↓ O2 ท่ไี ด้จำก photosynthesis มำจำกโมเลกกุลของ H2O
Robin Hill (ค.ศ. 1932) นา chloroplast ทส่ี กดั มาผสมกบั ผกั โขม แล้วแบง่ เป็น 2 ชดุ ↓ กำรเกดิ O2 ต้องอำศัย เกลือเฟอริก (ทำหน้ำท่เี ป็ นตวั รับ electron)
Daniel Arnon (ค.ศ. 1951) ถ้าให้สาร เชน่ ADP หมฟู่ อสเฟต (Pi) NADP+ และ CO2 ลงใน chloroplast ท่สี กดั แล้วให้แสง ↓ เกิด photosynthesis จนได้ นา้ ตาล พชื ใชแ้ สงในการสรา้ ง ATP และ NADPH พชื ใช้ ATP และ NADPH ในการสรา้ งอาหาร คือ นา้ ตาล
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: