หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สมอง
คำนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง สมอง ผูจ้ ดั ทำมีเป้ำหมำย เพ่ือเผยแพร่ควำมรูเ้ ก่ียวกบั สมอง สว่ นประกอบ หนำ้ ท่ีของ สมอง และวิธีดูแลสมอง เพ่ือใหบ้ ุคคลท่ีสนใจเก่ียวกบั สมองได้ เขำ้ มำศึกษำหำควำมรูแ้ ละทำควำมเขำ้ ใจ ผูจ้ ดั หวงั เป็นอยำ่ งย่ิงวำ่ หนังสืออิเล็กทรอนิกสน์ ้ีจะเป็น ประโยชน์ตอ่ ผูท้ ่ีตอ้ งกำรจะศึกษำและสนใจ เร่ือง สมอง สำมำรถนำขอ้ มูลในหนังสืออิเล็กทรอนิกสไ์ ปใชใ้ นกำรศึกษำได้ สิดำพร ธรรมลุน ผูจ้ ดั ทำ
เน้ื อหำสำระกำรเรี ยนรู ้ สมองคืออะไร สว่ นประกอบของสมอง หนำ้ ท่ีของสมอง วิธีดูแลสมอง และอำหำรท่ ีควรทำน
สมองคืออะไร? สมอง คืออวยั วะสำคญั ในสตั วห์ ลำยชนิดตำมลกั ษณะทำงกำย วิภำค หรือท่ีเรียกวำ่ encephalon จดั วำ่ เป็นสว่ นกลำงของระบบประสำท คำวำ่ สมอง น้ันสว่ นใหญจ่ ะเรียกระบบประสำทบริเวณหวั ของสตั วม์ ี กระดูกสนั หลงั คำน้ีบำงทีก็ใชเ้ รียกอวยั วะในระบบประสำทบริเวณหวั ของ สตั วไ์ มม่ ีกระดูก สนั หลงั อีกดว้ ย สมองมีหนำ้ ท่ีควบคุมและส่งั กำรกำรเคล่ือนไหว, พฤติกรรม และ รกั ษำสมดุลภำยในร่ำงกำย (homeostasis) เชน่ กำรเตน้ ของหวั ใจ, ควำมดนั โลหิต, สมดลุ ของเหลวในร่ำงกำย และอณุ หภูมิ เป็นตน้ หนำ้ ท่ี ของสมองยงั มีเก่ียวขอ้ งกบั กำรรบั รู้ (cognition) อำรมณ์ ควำมจำ กำร เรียนรูก้ ำรเคล่ือนไหว (motor learning) และควำมสำมำรถอ่ืน ๆ ท่ี เก่ียวกบั กำรเรียนรู้
สมองประกอบดว้ ยเซลลส์ องชนิด คือ เซลลป์ ระสำท และ เซลลเ์ กลีย มีหนำ้ ท่ีในกำรดูแลและปกป้องนิวรอนหรือ เซลลป์ ระสำท เป็นเซลลห์ ลกั ท่ีทำหนำ้ ท่ีสง่ ขอ้ มูลในรูปแบบของสญั ญำณไฟฟำ้ ท่ีเรียกวำ่ ศกั ยะทำงำน (action potential) กำรติดตอ่ ระหวำ่ ง นิวตรอนน้ันเกิดข้ึนไดโ้ ดยกำรหลง่ั ของสำรเคมีชนิดตำ่ ง ๆ ท่ีรวม เรียกวำ่ สำรสื่อประสำท (neurotransmitter) ขำ้ มบริเวณระหวำ่ ง นิวรอนสองตวั ท่ีเรียกวำ่ ไซแนปส์ สตั วไ์ มม่ ีกระดูกสนั หลงั เชน่ แมลงตำ่ ง ๆ ก็มีนิวรอนอยูน่ ับลำ้ นในสมอง สตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั ขนำดใหญม่ กั จะมีนิวรอนมำกกวำ่ หน่ึงรอ้ ยลำ้ นตวั ในสมอง ของ มนุษยน์ ้ันมีควำมพิเศษกวำ่ สตั วต์ รงท่ีวำ่ มีควำมซบั ซอ้ นและใหญก่ วำ่ เม่ือเทียบกบั ขนำดตวั ของมนุษย์ สมองสว่ นกลำง พอนส์ และเมดลั ลำออบลองกำตำ สมองทง้ั 3 สว่ นน้ีรวมเรียกวำ่ กำ้ นสมอง
สว่ นประกอบของสมอง สมองส่วนหนำ้ ( forebrain ) ประกอบดว้ ยสว่ นสำคญั ดงั น้ี ➢ เซรีบรมั ( cerebrum ) เป็นสว่ นของสมองท่ีอยูห่ นำ้ สุด และมี ขนำดโตท่ีสุด จะมีผิวดำ้ นนอกเป็นเน้ือสีเทำ สว่ นดำ้ นในเป็นเน้ือสี ขำว ท่ีบริเวณผิวดำ้ นนอกมีรอยหยกั เป็นร่องมำกมำย ทำใหส้ มองสว่ น น้ีมีพ้ืนท่ีมำกข้ึน จำกกำรศึกษำของนกั วิทยำศำสตร์พบวำ่ คนมีรอย หยกั บนสมองสว่ นน้ีมำกท่ีสุด ➢ ออลแฟกทอรีบลั บ์ ( olfactory bulb ) สมองสว่ นน้ีอยทู่ ำงดำ้ น หนำ้ สุด ทำหนำ้ ท่ีเก่ียวกบั กำรดมกล่ิน สมองสว่ นน้ีในคนพฒั นำนอ้ ย กวำ่ สตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยน้ำนมอ่ืนๆ เชน่ สุนัข หมู ทำใหค้ วำมสำมำรถ ในกำรดมกล่ินของคนนอ้ ยกวำ่ สตั วเ์ หลำ่ น้ัน แตใ่ นสตั วท์ ีมีกระดูกสนั หลงั ชนั้ ต่ำ เชน่ กบ ปลำ จะมีขนำดใหญ่ ทำหนำ้ ท่ีคลำ้ ยกนั เก่ียวกบั กำรดมกล่ินไดด้ ี ➢ ไฮโพทำลำมสั ( hypothalamus ) เป็นสว่ นท่ีอยดู่ ำ้ นลำ่ งของ สมองสว่ นหนำ้ ท่ีย่ืนมำติดตอ่ กบั ตอ่ มใตส้ มอง ( pituitarygland ) เซลลป์ ระสำทของสมองบริเวณน้ีสว่ นมำกทำหนำ้ ท่ีสรำ้ งฮอรโ์ มน ประสำทหลำยชนิด ซ่ึงควบคุมกำรสรำ้ งฮอรโ์ มนจำกตอ่ มใตส้ มอง ➢ ทำลำมสั ( thalamus ) เป็นสว่ นท่ีอยูเ่ หนือไฮโพทำลำมสั ทำ หนำ้ ท่ีเป็นศูนยร์ วมกระแสประสำทท่ีผำ่ นเขำ้ มำ แลว้ แยกกระแส ประสำทสง่ ไปยงั สมองท่ีเก่ียวขอ้ งกบั กระแสประสำทน้ันๆ
สมองส่วนกลำง ( midbrain ) ท่ีสมองสว่ นกลำงจะมีออปติกโลบ ( optic lobe ) อยูใ่ นคน สมองสว่ นน้ีถูกเซรีบรัมบงั เอำไว้ สมองส่วนหลงั ( hindbrain ) ประกอบดว้ ย ➢ เซรีเบลลมั ( cerebellum ) เป็นสมองสว่ นทำ้ ยประกอบดว้ ย สองซีกอยูท่ ำงซำ้ ยและทำงขวำ และมีผิวดำ้ นนอกท่ีเป็นเน้ือสีเทำ และดำ้ นในเป็นเน้ือสีขำว เชน่ เดียวกบั เซรีบรมั แตม่ ีขนำดเล็กกวำ่ ➢ พอนส์ ( pons ) อยูท่ ำงดำ้ นหนำ้ ของเซรีเบลลมั ติดตอ่ กบั สมองสว่ นกลำง ➢ เมดลั ลำออบลองกำตำ ( medulla oblongata ) เป็นสมอง สว่ นท่ีอยทู่ ำ้ ยสุด โดยติดตอ่ กบั พอนสท์ ำงดำ้ นบน และไขสนั หลงั ทำงดำ้ นลำ่ ง
หนำ้ ท่ีของสมอง สมองส่วนหนำ้ ( forebrain ) ➢ สมองสว่ นเซรีบรมั ทำหนำ้ ท่ีเก่ียวกบั 1.กำรเก็บขอ้ มูลเก่ียวกบั ส่ิงตำ่ งๆ ( ควำมรู้ ) ควำมจำ ควำมรูส้ ึกนึกคิด เชำวป์ ัญญำ 2.เป็นศูนยค์ วบคุมกำรทำงำนตำ่ งๆ และรับรูค้ วำมรูส้ ึกตำ่ งๆของ ร่ำงกำย เชน่ ศูนยค์ วบคุมกำรทำงำน ของกลำ้ มเน้ือ ศูนยค์ วบคุมกำร รบั สมั ผสั ตำ่ งๆ ศูนยค์ วบคุมกำรพูด กำรรบั รูภ้ ำษำ ศูนยก์ ลำงกำร มองเห็น กำรรบั รส กำรไดย้ ิน และกำรดมกล่ิน ➢ไฮโพทำลำมสั ทำหนำ้ ท่ีสำคญั คือ เป็นศูนยค์ วบคุมอุณหภูมิของร่ำงกำย กำรนอนหลบั กำรเตน้ ของหวั ใจ ควำมดนั เลือดควำมหิว ควำมอ่ิม นอกจำกน้ียงั มีหนำ้ ท่ีเป็น ศูนยค์ วบคุมอำรมณ์ และควำมรูส้ ึกตำ่ งๆ เชน่ โศกเศรำ้ ดี ใจ ควำมรูส้ ึกทำงเพศ สมองส่วนกลำง ( midbrain ) มีหนำ้ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั กำรควบคุมกำรเคล่ือนไหวของนัยนต์ ำ ทำ ใหล้ ูกนัยน์ตำกลอกไปมำได้ และควบคุมกำรปิดเปิดของมำ่ นตำ ในเวลำท่ีมีแสงสวำ่ งเขำ้ มำมำกหรือนอ้ ย
สมองส่วนหลงั ( hindbrain ) ➢ เซรีเบลลมั ( cerebellum ) มีหนำ้ ท่ีสำคญั คือ – ควบคุมและประสำนงำนของกำรเคล่ือนไหวของร่ำงกำยให้ เป็นไปอยำ่ ง รำบร่ืน สละสลวย และ เท่ียงตรง สำมำรถทำงำนท่ี ตอ้ งกำรควำมละเอยี ดออ่ นได้ – ควบคุมกำรทรงตวั ของร่ำงกำย ➢ พอนส์ ( pons ) มีหนำ้ ท่ีสำคญั คือ – ควบคุมกำรเค้ียว กำรหลง่ั น้ำลำย กำรเคล่ือนไหวบริเวณ ใบหนำ้ – ควบคุมกำรหำยใจ – เป็นทำงผำ่ นของกระแสประสำทระหวำ่ งเซรีบรัมกบั เซรี เบลลมั และ ระหวำ่ งเซรีเบลลมั กบั ไขสนั หลงั ➢ เมดลั ลำออบลองกำตำ ( medulla oblongata ) มีหนำ้ ท่ี สำคญั คือ – เป็นศูนยค์ วบคุมกำรทำงำนของระบบประสำทอตั โนวตั ิ ตำ่ งๆ เชน่ กำรเตน้ ของหวั ใจ กำรหำยใจ กำรหมุนเวียนเลือดควำม ดนั เลือด กำรเคล่ือนไหวของกลำ้ มเน้ือลำไส้ เป็นตน้ – เป็นศูนยป์ ฏิกิริยำสะทอ้ นกลบั บำงอยำ่ ง เชน่ กำรไอ กำร จำม กำรอำเจียน กำรกลืน กำรสะอึก
จงปฏิบตั ิต่อตนเองดว้ ย “สมอง” และปฏิบตั ิกบั คนอ่ืนดว้ ย “หวั ใจ”
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: