Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นางสาวจิราภา อาทิตย์ รายงานผลการดำเนินงานการวิจัยในชั้นเรียน เทอม 2 ปี 2563

นางสาวจิราภา อาทิตย์ รายงานผลการดำเนินงานการวิจัยในชั้นเรียน เทอม 2 ปี 2563

Published by wichakarn.rpk21, 2021-05-07 02:19:03

Description: รายงานผลการดำเนินงานการวิจัยในชั้นเรียน เทอม 2 ปี 2563

Search

Read the Text Version

เรือ่ ง การพฒั นาทกั ษะท่าราเพือ่ แกไ้ ขปญั หา จาทา่ ราไมไ่ ด้เพลงปลุกใจ โดยใช้สมดุ บันทึกท่ารา สาหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 นางสาวจิราภา อาทิตย์ ครผู ู้สอน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 สงั กดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานการแก้ปญั หาการจดั การเรียนรู้ ชอื่ การพัฒนาทักษะท่าราเพื่อแก้ไขปัญหาจาท่าราไม่ได้เพลงปลกุ ใจ โดยใชส้ มดุ บนั ทึกท่ารา สาหรบั นักเรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา กกกกกกกศิลปะการร้องราทาเพลงเป็นพื้นฐานท่ีมนุษย์ได้เลียนแบบมาจากธรรมชาติ เช่น การขับร้องฟ้อนรา ดนตรี และมีวิวัฒนาการสืบต่อกันมาตามลาดับ ตามกาลและสมัยนิยม มนุษย์ทุกชาติ ทุกภาษา มีศิลปะการ ร้องราทาเพลงประจาเช้ือชาติของตนมาแต่เดิม จะสังเกตการณ์เต้น การร้องของคนป่า ซ่ึ งยังไม่เจริญ บางจาพวก จะเห็นได้ว่าศิลปะเหล่านี้สืบเนื่องมาจากธรรมชาติอย่างแท้จริง เช่น การขับร้อง แต่เดิมก่อนท่ีจะ ดัดแปลงให้ไพเราะเพราะพร้ิงมีหลักเกณฑ์อย่างทุกวันน้ี ก็เป็นแค่การเปล่งเสียงออกมาตามเรืองราว สูงบ้าง ต่าบ้าง เพียงให้ผิดเพ้ียนไป จากการ เปล่งเสียงพูดธรรมดาเท่าน้ัน การฟ้อนราแต่เดิมน้ัน มาจากการแสดง กิรยิ าอาการเคลื่อนไหวโดยธรรมชาติ เมื่อเกิดการทาจังหวะดนตรีแล้ว ความฮึกเหิมตามสัญชาติญาณก็เกิดขึ้น โดยลุกข้ึนออกท่าทางทามือ ทาไม้ไปตามความหมาย ตามความรู้สึก การพูด การทาท่าทาง นั่ง ยืน เดิน อารมณ์ต่าง ๆ โกรธ ดีใจ เสียใจ ตลอดจนการแต่งกาย และเร่ืองราวการเลียนแบบจากชีวิตจริง (เรณู โกศินา นนท์ 2544 : 42) นาฏศิลป์ไทย ถือว่าเป็นศาสตร์ทางศิลปะ ท่ีสาคัญยิ่ง เป็นท่ีรู้จักกันดีในรูปแบบของ การแสดงที่มีลีลาอันอ่อนช้อยงดงาม บ่งบอกถึงความประณีตรักสวยรักงามแฝงด้วยจินตนาการและศิลปะ อันละเอยี ดออ่ นของคนไทย แสดงถงึ ความเป็นอารยธรรมอนั รุง่ เรืองและความม่ันคงของชาติที่ได้สืบทอดต่อกัน มาตั้งแต่โบราณกาล และความสาคัญของนาฏศิลปน์ อกจากจะมคี ุณค่า ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและ แสดงถึงอารยธรรมท่ีรุ่งเรืองแล้วนาฏศิลป์ยังมีประโยชน์สาหรับผู้ที่ได้เรียนรู้ นั่นเป็นเพราะว่าการเรียน นาฏศิลป์เป็นการใช้อวัยวะทุกส่วนของร่างกายในการเคล่ือนไหว และท่าทางต่าง ๆ ของนาฏศิลป์ไทยมีท่วงที คล้ายท่าฤาษีดัดตน จึงส่งผลให้ผู้ท่ีได้ฝึกหัดเป็นผู้มีสุขสภาพสมบูรณ์ มีจิตใจร่าเริงแจ่มใส และมีบุคลิกภาพที่ดี นอกจากนีน้ าฏศิลปย์ ังเปน็ กิจกรรมทีส่ ามารถเสริมสรา้ งนักเรยี นใหม้ วี นิ ัยในตนเอง กกกกกกกปัญหาที่พบในขณะทาการสอนคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีทักษะในด้านการฝึก ปฏิบัติทค่ี ่อนขา้ งช้าและจาท่าราไม่คอ่ ยได้ เนื่องจากรายวิชานาฏศิลป์เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เวลาใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีเพียงสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง ขาดส่ือการเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการพัฒนาการเรียนรู้ ความ เข้าใจในเน้ือหาที่ทา การเรียนจากข้อมูลและปัญหาที่ผู้ทาวิจัยได้พบ ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ มาวิเคราะห์และหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 4 มีความเขา้ ใจตอ่ เนื้อหาในรายวชิ านาฏศิลปไ์ ทย กกกกกกกดังน้ันผู้วิจัย จึงมีความสนใจท่ีจะพัฒนาทักษะการราเพลงปลุกใจ โดยให้นักเรียนได้จัดทาแบบ บันทึกท่าราเพลงปลุกใจ เพื่อนามาแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นในระหว่างขณะทาการเรียนการสอนใน รายวิชานาฏศิลป์ไทย ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2563 เพ่ือให้นักเรียนสามารถจดจาท่าราและ ปฏิบตั ทิ า่ ราในเพลงปลกุ ใจไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบผลการประเมินทักษะการปฏิบัติท่าราเพลงปลุกใจ ก่อนและหลังเรียน โดย ใชส้ มุดบนั ทึกทา่ รา สาหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรยี นเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้สมุดบันทึกท่ารา สาหรับ นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 ขอบเขต ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรเป็นนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 ท่ีจาท่ารา เพลงปลุกใจไมไ่ ด้ จานวน 10 คน ๑. ขอบเขตดา้ นเน้อื หา เป็นการพัฒนาทักษะการปฏิบัติวธิ ีการราเพลงปลุกใจ ๒. ขอบเขตระยะเวลา ระยะเวลาการแกป้ ัญหา ระหว่างภาคเรียนที่ 2 เดือน 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 ถงึ เดอื น 31 มกราคม พ.ศ. 2564 ตัวแปรท่ีปรกึ ษา ตัวแปรตน้ คือ สมดุ บนั ทกึ ท่ารา ตัวแปรตาม คอื การประเมินผลการปฏบิ ตั ทิ า่ ราเพลงปลกุ ใจ ก่อนและหลัง โดยใช้แบบบนั ทกึ ทา่ รา สถานท่ี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 21 อ.แมล่ านอ้ ย จ.แม่ฮ่องสอน นิยามศัพท์เฉพาะ 1.) ทักษะการปฏิบัติท่ารา หมายถึง ความชานิชานาญในการปฏิบัติการรา ซ่ึงตัวผู้เรียนสามารถ สร้างข้ึนเองได้จากการเรียนรู้ด้วยตนเองจนเกิดทักษะในการปฏิบัติหรือความสามารถในการปฏิบัติการราใน เพลงต่างๆ ตลอดจนพฒั นาความรใู้ นการปฏบิ ตั ิการราในเพลงตา่ ง ๆ ให้เกิดทกั ษะและประสบการณ์ 2.) สมดุ บันทกึ ท่ารา หมายถงึ สอ่ื การเรยี นรู้ วิธีการจดจาทา่ ราเพลงปลกุ ใจ โดยการจดบันทึกท่าราลง ในสมดุ บนั ทกึ ทา่ รา เพ่ือช่วยให้ผเู้ รยี นได้ฝกึ ปฏบิ ตั ิการราได้อยา่ งถูกต้องและแม่นยา

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั จากการวจิ ยั ๑.) นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและทักษะการราท่ีแม่นยามากขน้ึ ๒.) นกั เรียนมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ และมีเจตคตทิ ี่ดใี นการเรียนวิชานาฏศิลป์ 3.) ทาให้วธิ ีการเรยี นการสอนของครูผู้สอนเป็นไปตามจดุ มงุ่ หมายท่ีกาหนดไว้ 4.) เพือ่ เปน็ แนวทางในการสอนวชิ านาฏศลิ ป์ เร่ือง เพลงปลกุ ใจ การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง ความหมายและทีม่ าของนาฏศลิ ปไ์ ทย 1. ความหมายของนาฏศลิ ปไ์ ทย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542, หน้า 576)ระบุ ความหมาย คาว่า “นาฏศลิ ป์” หมายถึง ศลิ ปะแห่งการละครหรือการฟอ้ นรา สุรพล วิรุฬห์รักษ์ (2543, หน้า 12) กล่าวถึง นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะการฟ้อนรา ท้ังท่ีเป็นระบา รพ เต้น และอื่นๆ รวมท้ังละครา โขน หนังใหญ่ ปัจจุบันมีคนคิดช่ือใหม่ให้ดูทันสมัยคือ นาฏกรรม สังคีตศิลป์ วิพิธทัศนา และศิลปะการแสดง ซ่ึงมีความหมายใกล้เคียงกันเพราะเป็นคาท่ีครอบคลุมศิลปะแห่งการร้อง การรา และการบรรเลงดนตรี อาคม สายาคม (2545, หน้า 15) ให้ความหมาย นาฏศิลป์ คือ การร่ายราในสิ่งที่มนุษย์เราได้ปรุง แตง่ จากธรรมชาติใหส้ วยสดงดงามขึน้ แต่ทั้งน้ีมิได้หมายถึงการร่ายราเพียงอย่างเดียว จะต้องมีดนตรีประกอบ ไปด้วย จึงจะช่วยให้สมบรู ณ์แบบตามหลกั วชิ านาฏศิลป์ เรณู โกศินานนท์ (2545, หน้า 7) กล่าวว่า นาฏศิลป์ เป็นสัญชาตญาณชนิดหนึ่งของมนุษย์ท่ีแสดง ออกมาเม่ือเกิดอารมณ์ข้ึน นาฏศิลป์มีวิวัฒนาการมาพร้อมกับความเจริญของมนุษย์ โดยอาศัยพลังเจตนาเป็น เคร่ืองผลักดันให้จิตกระตุ้นร่างกายให้แสดงการเคลื่อนไหว มีจังหวะมีแบบแผน เพ่ือให้เกิดความสุข ความ เข้าใจและความงดงามแก่ตนเองและผู้อื่น เป็นสิ่งท่ีสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมของมนุษย์ในชุมชนน้ันๆ และ เม่ือสังคมเจริญเติบโตข้ึนก็สามารถจาแนก ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางนาฏศิลป์และมีการจัดระเบียบแบบแผน นาฏศิลป์ให้มีความงดงามยิ่งขึ้น ชุนชมเป็นผู้ที่ท้ังสร้างนาฏศิลป์ให้เกิดขึ้นและเป็นผู้ที่อนุรักษ์รักษาวัฒนธรรม นาฏศิลป์ต่างๆ ในชุมชนด้วยและเมื่อนาฏศิลป์เจริญถึงจุดหนึ่งก็จะมีคุณสมบัติสากลที่คนทั่วไปเข้าใจและชื่น ชอบได้ หากคนเหล่านน้ั มคี วามเขา้ ใจทางวัฒนธรรมนาฏศิลป์เปน็ อยา่ งดี รจนา สุนทรานนท์ (2552, หน้า 10) กล่าวว่า นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะของการฟ้อนราเป็นสิ่งท่ี มนุษยส์ ร้างข้นึ ด้วยความประณีตงดงาม เพื่อให้ความบันเทิง ให้ผู้ท่ีได้ดูมีความรู้สึกคล้อยตาม การร่ายรานี้ต้อง อาศัยเครอ่ื งดนตรี และการขับร้อง การแสดง เชน่ ฟ้อน รา ระบา โขน ซึ่งแต่ละท้องถ่ินจะมีช่ือเรียกและมีลีลา ทา่ ทาง การแสดงทแ่ี ตกต่างกนั ไปสาเหตุหลักมาจากภมู ิอากาศ ภมู ิประเทศของแต่ละทอ้ งถิ่น ความเช่ือ ศาสนา ภาษานิสัยใจคอของผคู้ น ชวี ติ ความเปน็ อยู่ กล่าวโดยสรุป นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะการร้ายราที่มนุษย์เป็นผู้สร้างสรรค์ มีลีลาท่าทางที่ประณีต สวยงามประกอบการขับร้องและดนตรี เพื่อเป็นการส่ืออารมณ์ ความรู้สึก โน้มน้าวอารมณ์ ส่งเสริมให้เกิด คุณค่าทางศิลปะมากขึน้ 2. ที่มาของนาฏศิลป์ไทย

นาฏศิลป์ในโลกไม่ว่าชาติใดภาษาใด มาจากชีวิตจริงอันเกิดจากธรรมชาติ การขับร้อง ฟ้อนรา ดนตรี เริม่ ต้นด้วยธรรมชาติเป็นพื้นฐาน และมีวิวัฒนาการสืบต่อกันมาตามลาดับ ตามกาลและสมัยนิยม สรุปท่ีมาได้ ดังน้ี (พาณี สีสวย, 2543, หน้า 30-35) 2.1 เกดิ จากเลยี นแบบธรรมชาติ โดยเฉพาะการเคล่อื นไหวอิริยาบถตามธรรมชาติของมนุษย์หรือการ แสดงความรสู้ กึ อารมณ์ต่างๆของมนุษย์ในการสื่อความหมาย และนามาดัดแปลงให้นุ่มนวล น่าดู ชัดเจน เกิด เป็นศิลปะการฟ้อนราและใช้เป็นการแสดง ซ่ึงมีวิวัฒนาการเป็นลาดับ จนกระท่ังเกิดเป็นท่าทางการร่ายราที่ งดงามที่เป็นพ้ืนฐานของการฟ้อนรา 2.2 เกิดจากการที่มนษุ ย์คิดประดิษฐ์หาเคร่ืองบันเทิงใจ เพื่อเป็นการผ่อนคลายจากภารกิจประจาวัน เร่ิมจากการเลา่ เรือ่ ง นาเอาดนตรีมาประกอบ มกี ารประดิษฐ์ ท่าทาง พัฒนารูปแบบการร่ายราจนถึงการแสดง เป็นเรือ่ งราว 2.3 เกิดจากการละเล่นเลียนแบบของมนุษย์ เช่น การเลียนแบบท่าทางบุคคลใกล้ชิดหรือเลียนแบบ ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เช่น การเล่นงูกินหาง การเล่นขายของ ซ่ึงถือเป็นการเรียนรู้นาไปสู่การสร้างสรรค์การ แสดงนาฏศิลป์ 2.4 เกิดจากการเซ่นบวงสรวงบูชาเทพเจ้า ในสมัยก่อนมนุษย์มีความเช่ือเร่ืองเทพเจ้า พระผู้เป็นเจ้า สง่ิ ศกั ดส์ิ ิทธแิ์ ละจะเคารพบชู าในสิ่งที่ตนเองนับถอื เม่อื มนุษย์เกิดความหวั่นกลัวจะมีการเคารพสักการะบูชาส่ิง ศกั ดิ์สิทธิ์ เร่ิมจากการอธิษฐาน บวงสรวงบูชาด้วยอาหาร การร่ายรา มกี ารเลน่ เคร่ืองดนตรี และมีการร้องเพลง ประกอบ เพื่อใหเ้ ทพเจ้าพอใจ ประทานส่งิ ทข่ี อให้ประสบความสาเร็จตามที่ปรารถนา สรุปท่ีมาของนาฏศิลป์ไทย เกิดข้ึนมาพร้อมกับมนุษย์ ตามความต้องการ อารมณ์ ความรู้สึก วิถีชีวิต โดยมีที่มาจากการเลยี นแบบธรรมชาติ การเป็นเคร่ืองบันเทิงใจ การละเล่นเลียนแบบของมนุษย์ การเซ่นสรวง บูชาสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ และรับอารยธรรมจากอินเดีย แล้วนามาประดิษฐ์ให้สวยงาม วิจิตรบรรจง ส่ือความหมายใน การแสดงไดอ้ ยา่ งสวยงาม มีการพฒั นาจนเป็นแบบแผนในปจั จุบัน วธิ ดี าเนนิ การ ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง ประชากรเปน็ นกั เรยี นโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 จานวน 10 คน เครื่องมือทีใ่ ช้ 1. สมุดบนั ทึกทา่ รา 2. แบบวดั ผลภาคปฏิบัติกอ่ นและหลงั การทดลอง 3. แบบสอบถามความพงึ พอใจ การสร้างเครือ่ งมือ 1. แบบบันทึกท่าราแบบวัดผลภาคปฏิบัติก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาการประเมินทักษะการ ปฏิบัติท่าราเพลงปลกุ ใจ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 2. แบบสอบถามความพงึ พอใจในกระบวนการเรยี นการสอนโดยใช้แบบบันทกึ ท่ารา ประชานเุ คราะห์ 21

วิธดี าเนินการ ๑. สังเกตพฤติกรรมก่อนการทดลอง มาประเมินผู้เรียนท่ีปฏิบัติการราเพลงปลุกใจ ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 จานวน 10 คน เพ่ือทราบจานวนนักเรียนท่ีไม่ สามารถจาทา่ ราเพลงปลุกใจไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และทาการประเมินผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล 2. นาแบบบันทึกท่ารามาใช้และสังเกตพฤติกรรมหลังการทดลอง มาประเมินผู้เรียนที่ปฏิบัติท่ารา เพลงปลุกใจ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 จานวน 10 คน เพื่อ ทราบพัฒนาการการราเพลงปลุกใจ และทาการประเมนิ ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล ๓. ดาเนินการหาคา่ ร้อยละของแต่ละคน วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ๑. สงั เกตพฤติกรรมการราเพลงปลุกใจ จากความรเู้ ดิมหรือจากการอา่ นหนังสือเรยี นนาฏศิลป์ ก่อน การทดลองแล้วบันทกึ ผล 2. สังเกตพฤติกรรมการราเพลงปลุกใจหลงั การทดลอง โดยการบันทกึ ทา่ ราหลังการปฏิบัตทิ ่ารา การวิเคราะหข์ อ้ มูล กกกกกกกกวิเคราะห์ผลจากคะแนนท่ีได้จากการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการราก่อนและหลังของผู้เรียน เป็นรายบุคคล เพอ่ื ศึกษาการพฒั นาทกั ษะของผ้เู รยี น กกกกก สถิตทิ ่ีใช้ คา่ ร้อยละ = X= จานวนนกั เรียนทีไ่ ด้คะแนน N= จานวนเตม็ นกั เรยี น กก การหาคา่ เฉลี่ยคะแนน =∑ ค่าเฉลยี่ = = ค่าเฉลี่ย ∑= N= ผลรวมของคะแนน จานวนเต็มนกั เรยี น

สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสังเกตพฤติกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหาการปฏิบัติการราเพลงปลุกใจ โดยใช้สมุดบันทึกทา่ รา ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 จานวน 10 คน แสดงให้เห็นว่า ก่อนการสังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาปฏิบัติการราเพลงปลุกใจ ผู้เรียนท่ีได้คะแนน 11 คะแนน จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕ , ผู้เรียนที่ได้คะแนน 12 คะแนน จานวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๗.๕ , ผูเ้ รียนท่ีได้คะแนน 13 คะแนน จานวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๕ และผู้เรียน ที่ได้คะแนน 14 คะแนน จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ ดังน้ันคะแนนเฉล่ียก่อนการสังเกต พฤตกิ รรมอยทู่ ่ี ๑๒.๖๒ คะแนน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๑๒ หลังจากท่ีมีการใช้สมุดบันทึกท่ารา ผู้เรียนมีการ ปฏิบัติท่ีข้ึนได้คะแนน 17 คะแนน จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ , ผู้เรียนที่ได้คะแนน 18 คะแนน จานวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓๗.๕ , ผู้เรียนท่ีได้คะแนน 19 คะแนน จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕ และผู้เรียนที่ได้คะแนน 20 คะแนน จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ พบว่า คะแนนเฉลย่ี หลังการสังเกตพฤตกิ รรมอยทู่ ่ี ๑๘.๓๗ คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๑.๘๗ สรปุ ผลการศกึ ษา จากการสรา้ งแบบสังเกตพฤติกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาปฏิบัติการราเพลงปลุกใจ โดยใช้สมุดบันทึกท่ารา ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 จานวน 10 คน ก่อนการสังเกต พฤติกรรมผู้เรียนในการปฏิบัติการราเพลงปลุกใจ พบว่า ผู้เรียนจาท่าราไม่ได้หรือลืมท่าราบางท่า ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงใช้สมุดบันทึกท่ารา เพื่อใช้ในการปรับพฤติกรรมผู้เรียนในการพัฒนาทักษะการราเพลงปลุกใจ หลงั การใช้สมุดบันทึกท่ารา พบว่า ผู้เรียนมีการปรับพฤติกรรมและนาไปสู่การพัฒนาทักษะการราเพลงปลุก ใจดขี นึ้ มากกว่าเดิม มคี วามมนั่ ใจในการปฏิบตั กิ ารรา สามารถจาท่าราไดอ้ ย่างแม่นยาและถกู ต้อง ขอ้ เสนอแนะ กกกกก1.) ในการสร้างแบบสังเกตพฤติกรรมการพัฒนาทักษะสามารถจัดทากับนักเรียนในทุกระดับชั้น ต้ังแต่ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 6 แต่การทาวิจัยคร้ังนี้กลุ่มตัวอย่างเป็นเพียงนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปที ี่ 4 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21 กกกกก2.) ควรมีการศึกษาวิจัยในการสร้างชุดการสอนในหัวข้ออื่น ๆ ท่ีอยู่ในรายวิชานาฏศิลป์ ที่ยังไม่ได้ทา การวจิ ัย 3.) ควรมีการพัฒนาและนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการเรียนการสอน เพ่ือสร้างความสนใจของ ผ้เู รยี น

บรรณานกุ รม การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด. 2542, จาก http://www.thaigoodview.com/node/17172. สืบค้น เม่อื วันท่ี 1 ธนั วาคม 2558 การเรียนร.ู้ 2552,จาก http://th.wikipedia.org/wiki/, สืบคน้ ขอ้ มูลเม่อื วันท่ี 24 มกราคม 2559 การจดจาและการลมื . 2555, จาก http://www.unigang.com/Article/3752. สบื ค้นวนั ท่ี 1 มกราคม 2559 ระบบของการจา. 2554, http://www.stou.ac.th/Offices/Oes/OesPage/l_center/train.html. สืบคน้ วนั ที่ 9 มกราคม 2559

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกอ่ นการทดลองการปฏิบัติการราเพลงปลุกใจ ที่ ชือ่ – สกุล ความจา ทา่ ราถกู ต้อง จงั หวะถกู ต้อง ลลี าทา่ ทาง แม่นยา รวม 1. นางสาวชนกิ านต์ เสรนี นท์ 2. นางสาวธาวินี พระจนั ทร์แย้ม ระดบั คุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดบั คุณภาพ ระดบั คุณภาพ 3. นางสาวปิยนนั ท์ ท่งุ พนาเวศน์ 4. นางสาวพชิ ญา ใจเผ่าพนั ธุ์ 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20 5. นายคฑาวธุ กอ่ เผา่ พานิช 6. นางสาวอรพรรณ กมลวรรณหงส์    14 7. นางสาวปรยิ ากร ยงวนาพงศ์ 8. นางสาวพทุ ธวรรณ ปองเลิศผล    13 9. นางสาวจรยิ า โชติเกษตรกุล 10. นางสาวนภิ า ครองจติ ธรรม    12     13     14   11     12   12   12   12 เกณฑ์การประเมิน คะแนน ระดับคณุ ภาพ 18 - 20 ดีมาก 15 - 17 ดี 11 - 14 ต่ากวา่ 10 พอใช้ ควรปรับปรงุ

ผลการสังเกตพฤติกรรมกอ่ นการทดลองการปฏบิ ตั กิ ารราเพลงปลกุ ใจ คะแนน จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ 11 1 ๑๒.๕ 12 5 ๓๗.๕ 13 2 ๒๕ 14 2 ๒๕ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมหลังการทดลองการปฏบิ ัติการราเพลงปลุกใจ ที่ ชื่อ – สกุล ความจา ท่าราถกู ตอ้ ง จงั หวะถูกต้อง ลีลาทา่ ทาง แมน่ ยา รวม 1. นางสาวชนิกานต์ เสรนี นท์ 2. นางสาวธาวินี พระจันทรแ์ ยม้ ระดบั คุณภาพ ระดบั คุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดบั คุณภาพ 3. นางสาวปิยนันท์ ทุ่งพนาเวศน์ 4. นางสาวพชิ ญา ใจเผ่าพันธุ์ 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20 5. นายคฑาวุธ กอ่ เผ่าพานชิ 6. นางสาวอรพรรณ กมลวรรณหงส์     17 7. นางสาวปริยากร ยงวนาพงศ์ 8. นางสาวพุทธวรรณ ปองเลศิ ผล    19 9. นางสาวจรยิ า โชตเิ กษตรกุล 10. นางสาวนภิ า ครองจิตธรรม    18    18    17    18  20  20  20    17 เกณฑ์การประเมนิ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ 18 - 20 ดมี าก 15 - 17 ดี 11 - 14 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ควรปรับปรงุ

ผลการสังเกตพฤติกรรมหลังการทดลองการปฏบิ ตั ิการราเพลงปลกุ ใจ คะแนน จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ 17 3 ๒๕ 18 3 ๓๗.๕ 19 1 ๑๒.๕ 20 3 ๒๕ กกกก ก คะแนนเฉลีย่ กอ่ นและหลังการสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตกิ ารราเพลงปลุกใจของนักเรยี น ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 21 จานวน 10 คน แบบสงั เกตพฤติกรรม คะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละ กอ่ นการสังเกตพฤติกรรม ๑๒.๖๒ ๖๓.๑๒ หลังการสังเกตพฤติกรรม ๑๘.๓๗ ๙๑.๘๗