1. เครอ่ื งหมายตราประจำชาติไทยคือ ตราครฑุ ตราแผน่ ดินของไทย คือตราพระราชลญั จกรพระครุฑพา่ ห์ เทพพาหนะของพระนารายณ์ ใชเ้ ป็นสญั ลักษณข์ องพระราชอำนาจแห่งพระมหากษตั รยิ ์ผ้เู ปน็ ประมขุ ของชาตแิ ละเป็นองคอ์ วตารของพระนารายณต์ ามแนวคิดสมมุตเิ ทพ โดยเริ่มใชม้ าตัง้ แตร่ ชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ตัง้ แตห่ ลงั พ.ศ. 2436 เปน็ ต้นมา แตม่ าใช้อยา่ งเตม็ ทีแ่ ทนตราแผน่ ดินเดมิ ทัง้ หมดเมอื่ พ.ศ. 2453
2. เขาพระวหิ าร เดมิ ตั้งอยู่ที่ อ.กนั ทรลักษณ์ จ.ศรีสะเกษ อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาพระวหิ าร อยู่ในพน้ื ทอ่ี ำเภอกันทรลักษ์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ และอำเภอนำ้ ขุ่น อำเภอนำ้ ยืน จงั หวดั อบุ ลราชธานี มีเนอ้ื ท่ี 85,388.97 ไร่ (136.62 ตารางกโิ ลเมตร) อาณาเขตด้านใต้ตดิ ต่อกบั ประเทศกมั พชู า มีถนนและบนั ไดทางขึ้นสปู่ ราสาทเขาพระวหิ ารบรเิ วณผามออีแดงในตำบลเสาธงชัย อำเภอ กันทรลักษ์ เป็นอทุ ยานแห่งชาติตามพระราชบญั ญตั อิ ุทยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2504 (ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 115 ตอนที่ 14 ก ลงวันที่ 20 มีนาคม 2541) นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดบั ที่ 19 ของภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื และเปน็ อทุ ยานแห่งชาติลำดบั ที่ 83 ของประเทศ พน้ื ทปี่ ่าสงวนแหง่ ชาติปา่ เขาพระวิหาร ป่าฝั่งลำโดมใหญ่ ท้องทอี่ ำเภอกนั ทรลกั ษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และอำเภอนำ้ ขุ่น อำเภอน้ำยนื จังหวดั อุบลราชธานี เป็นพืน้ ที่ ป่าไมช้ ายแดนให้เป็นพื้นทีเ่ พอ่ื การอนุรักษ์ หา้ มเข้าไปและอาศัยอยู่โดยเดด็ ขาด เนอ่ื งจากพ้ืนท่ดี งั กล่าวยังคงความอดุ มสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้และเปน็ แหล่งตน้ น้ำ ลำธาร มีสตั วป์ ่านานาชนดิ อาศยั อยมู่ าก มที ศั นยี ภาพท่ีสวยงาม ตลอดจนโบราณสถานท่มี คี วามสำคญั ทางประวัตศิ าสตร์ และกรมป่าไมก้ ำหนดและประกาศเป็น อทุ ยานแหง่ ชาติ
3. พระราชวงั สมยั กรุงธนบรุ เี ป็นราชธานคี อื พระราชวงั เดมิ อย่รู ะหว่างวัดอรุณราชวราราม กบั วัดโมฬีโลกยา ราม พระราชวงั กรุงธนบรุ ี หรอื พระราชวังเดมิ เปน็ พระราชวงั หลวงในสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ตัง้ อยู่ริมฝั่งแม่นำ้ เจา้ พระยา บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่ ภายในกองบญั ชาการกองทัพเรอื ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรณุ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ในเขตท่ีเคยเปน็ ที่ตง้ั ของป้อมวิไชยเยนทร์ ทีส่ ร้างขึ้นใน สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตำแหนง่ ของพระราชวงั เดิมเปน็ จุดสำคัญทางยทุ ธศาสตร์ สามารถสังเกตการณไ์ ด้ในระยะไกล อีกท้ังยังใกล้กับเสน้ ทาง คมนาคม และเสน้ ทางการเดนิ ทพั ทส่ี ำคัญ สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรงโปรดใหส้ ร้างพระราชวงั นีข้ ้ึนในปี พ.ศ. 2310 ภายหลังจากทท่ี รงกอบกูเ้ อกราชใหช้ าตไิ ทย เพื่อใช้เปน็ ท่ปี ระทับและว่า ราชการ เม่อื ทรงสถาปนากรงุ ธนบุรเี ปน็ ราชธานี พร้อมกับปรบั ปรุงป้อมวไิ ชยเยนทร์ และเปลย่ี นชือ่ ใหมเ่ ป็นป้อมวิไชยประสทิ ธิ์ เดมิ พระราชวังแหง่ นี้มีอาณาเขต ตั้งแตป่ ้อมวิไชยประสิทธ์ขิ นึ้ มาจนถึงคลองเหนอื วดั อรุณราชวราราม (คลองนครบาล) และวัดทา้ ยตลาด (วัดโมลีโลกยา ราม) เขา้ ไปในเขตพระราชวงั เดมิ ตอ่ มาเมอ่ื พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชเสดจ็ ขึน้ ครองราชยส์ มบตั ิ ไดท้ รงย้ายราชธานีมาอยูฝ่ ง่ั พระนคร โดยสร้างพระบรมมหาราชวังขน้ึ เปน็ ทป่ี ระทับ พระราชวังกรงุ ธนบุรจี ึงได้ช่อื ว่า \"พระราชวังเดิม\" ต้งั แต่น้นั เปน็ ต้นมา[1]
4. โรงแรมแหง่ แรกของไทย โรงแรมโอเรยี นเตล็ กลมุ่ โรงแรมแมนดารนิ โอเรยี นเต็ล (องั กฤษ: Mandarin Oriental Hotel Group ตวั ย่อ: MOHG) เป็นกลมุ่ บริษัทในเครือ Jardine Matheson Group ลงทนุ และจัดการธุรกิจโรงแรมระดับนานาชาติ โดยมีกิจการโรงแรม รีสอรต์ และทพี่ กั อาศัยหรหู ราในเอเชยี ยโุ รป และอเมรกิ า[1] ได้รบั รางวัลตา่ ง ๆ หลายรางวลั ในดา้ น บรกิ ารและการจดั การทีเ่ ป็นแบบอยา่ งทด่ี ี และดา้ นสปาและภตั ตาคารที่ตงั้ อยู่ในโรงแรมและรีสอรต์ [2]
5. บทประพันธ์ทท่ี ำการขายลขิ สิทธ์ิกนั ในครั้งแรกในประเทศไทย เรอ่ื ง นริ าศลอนดอน ของหม่อมราโชทยั ขาย ลขิ สทิ ธใ์ิ หก้ บั หมอบรดั เลย์ เมอื่ ปี พ.ศ. 2398 สมเด็จพระราชนิ ีนาถวิกตอเรยี แห่งสหราชอาณาจกั ร ได้ทรงแตง่ ต้ังให้ เซอร์ จอหน์ เบาริง เปน็ ราชทูตเชิญพระราชสาส์น และเครือ่ ง ราชบรรณาการเขา้ มาถวายพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ชักชวนใหป้ ระเทศไทย (สยามในสมยั น้ัน) ทำหนงั สือสัญญาทางพระราชไมตรี ซง่ึ ก็คือ สนธสิ ัญญาเบาริง พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกลา้ ฯ แต่งตัง้ ใหพ้ ระยามนตรสี รุ ยิ วงศ์ (ชุม่ บุนนาค) พร้อมด้วยคณะ เชิญพระราชสาสนแ์ ละ เครอ่ื งราชบรรณาการไปถวายสมเด็จพระราชนิ นี าถวคิ ตอเรยี เม่อื ปี พ.ศ. 2400 หม่อมราโชทยั (หม่อมราชวงศก์ ระต่าย อิศรางกรู ) ในขณะนนั้ ไดร้ บั ตำแหน่งเป็น ลา่ มไปกับคณะราชทตู ชดุ นี้ทำใหม้ ีโอกาส ได้เขียนจดหมายเหตกุ ารณเ์ ดนิ ทาง จนกระทงั่ มาเปน็ นริ าศลอนดอน
6. แบบเรยี นเล่มแรกของคนไทย หนงั สือจินดามณี ทพี่ ระโหราธิบดี เป็นผู้แต่ง จนิ ดามณี เปน็ แบบเรยี นภาษาไทย มีเนื้อหาครอบคลุมเรอ่ื ง การใชส้ ระ พยญั ชนะ วรรณยกุ ต์ การแจกลกู การผนั อักษร อักษรศพั ท์ อักษรเลข การสะกดการันต์ การแตง่ คำประพนั ธ์ ชนิดต่าง ๆ และกลบท ปรากฏกลบท อยู่ 60 ชนิด มที ้งั จินดามณี แต่งขนึ้ ในสมยั อยธุ ยาตอนกลาง โดยพระโหราธิบดี ในรชั สมยั ของสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช (แตบ่ างขอ้ มลู เชื่อว่าอาจจะแต่งกอ่ นหน้าน้ันนบั ร้อยปี คือ แต่งในรชั สมัยของสมเด็จพระเอกาทศรถ[1]) และยังเปน็ แบบเรียนเล่มแรกของ ไทยดว้ ย และจากการที่จนิ ดามณขี องพระโหราธิบดี เป็นแบบเรียนไทยมากอ่ นจนเป็นเสมอื นสญั ลกั ษณข์ องแบบเรยี นไทย ทำให้หนังสอื แบบเรยี นไทยในยคุ ตอ่ มา หลายเลม่ ใชช้ ื่อตามว่า \"จนิ ดามณี\" เช่นเดยี วกนั เช่น จินดามณฉี บบั ความแปลก จินดามณีคร้ังแผน่ ดนิ พระเจา้ บรมโกศ จินดามณฉี บบั กรมหลวงวงษาธิราชสนิท จนิ ดามณฉี บบั พิมพ์ของหมอสมทิ และจนิ ดามณฉี บบั พมิ พข์ องหมอบรัดเลย์
7. ประเพณีถือนำ้ พิพฒั นส์ ตั ยา เรม่ิ มคี รั้งแรกในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยา พระราชพธิ ถี อื น้ำพระพิพฒั นส์ ัตยา หรือท่โี บราณเรียกวา่ พระราชพิธีศรีสจั จปานกาล เป็นพธิ กี รรมท่จี ัดขน้ึ ใหพ้ ระบรมวงศานุวงศแ์ ละขา้ ราชการ ฝา่ ยหน้าและฝา่ ยใน ดมื่ น้ำสาบานว่าจะจงรกั ภกั ดแี ละซอื่ ตรงต่อพระมหากษัตริย์ กำหนดใหป้ ระกอบข้ึนปลี ะ 2 ครั้ง ไดแ้ ก่ วนั ข้ึน 3 คำ่ เดือนห้า และแรม 13 คำ่ เดือนสิบ เหตเุ พราะวันขน้ึ 3 ค่ำ เดอื นหา้ เปน็ พิธีอันเน่อื งมาแต่พระราชพธิ ีสมั พัจฉรฉินท์ (พระราชพธิ ีตรษุ ส้ินปี) สว่ นในวันแรม 13 คำ่ เดอื นสบิ เน่อื งมาแต่ พระราชพิธีสารท
8. วิทยุ โทรทศั น์ มีข้นึ คร้ังแรกในประเทศไทยเม่อื ปี พ.ศ.2497 (สมัยจอมพล ป.พบิ ลู สงคราม) โทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศแบบภาคพื้นดนิ เป็นชอ่ งทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลืน่ วิทยุ ซึง่ ระยะแรกทีอ่ อกอากาศ ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2498 เร่ิมใช้ย่าน ความถส่ี งู มาก (VHF) ซึ่งประกอบดว้ ยช่วงความถีต่ ่ำ ช่องสญั ญาณที่ 2-4 และชว่ งความถสี่ งู ชอ่ งสญั ญาณที่ 5-12 จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2538 จงึ เรม่ิ ใชย้ า่ นความถ่สี งู ย่งิ (UHF) คอื ช่องสัญญาณท่ี 26-60 (ช่วงความถ่ตี ำ่ คือช่องสัญญาณที่ 26-34 และช่วงความถี่สงู คอื ชอ่ งสัญญาณที่ 35-60 ต่อมาในปี พ.ศ. 2562 ไดม้ กี ารปรบั เปลี่ยนใหส้ ่งสัญญาณระหว่างชอ่ งสญั ญาณท่ี 21-48[1]) ทง้ั น้ี ต้งั แต่เร่มิ ออกอากาศจนถงึ พ.ศ. 2517 แพรภ่ าพในระบบแอนะล็อก เป็นภาพขาวดำ 525 เสน้ 30 อัตราภาพ แบบเอ็นทีเอสซี ต่อมาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2510 จึงเริม่ นำระบบการส่งแพรภ่ าพ 625 เสน้ 25 อัตราภาพ แบบแพล เขา้ มาใช้ในประเทศไทย และเริม่ ออกอากาศด้วยภาพสีภายใตร้ ะบบดงั กล่าวต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2513 นอกจากนี้ ยงั มบี รกิ ารโทรทัศน์แห่งชาติ ภายใตก้ ำกับของกรมประชาสัมพันธ์ เริม่ จากส่วนภูมิภาค ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 และเรมิ่ ดำเนนิ การในสว่ นกลางตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2528 จนถงึ ปัจจุบนั จากนนั้ กเ็ ร่มิ นำสัญญาณดิจทิ ัลเข้ามาใชใ้ นกระบวนการผลิตรายการและ ควบคมุ การออกอากาศตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2540 และนำมาใชก้ บั กระบวนการแพรภ่ าพผา่ นอปุ กรณ์รวมส่งสัญญาณตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปจั จุบนั ทำใหเ้ ริ่มมกี าร เปลยี่ นผา่ นโดยการยตุ ิการออกอากาศโทรทศั น์ระบบแอนะล็อกตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2558 และเสร็จสน้ิ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2563
9. โรงเรยี น \"หลวง\" สำหรับราษฎรแหง่ แรก คือ โรงเรยี นวัดมหรรณพาราม 'โรงเรียนวดั มหรรณพาราม ในพระราชปู ถัมภ์ ฯ เปน็ โรงเรยี นรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ต้ังอย่บู รเิ วณวัดมหรรณพารามวรวหิ าร ถนน ตะนาว แขวงเสาชิงชา้ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เปดิ สอนในระดบั ชั้นอนุบาลถงึ ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาแบบสหศกึ ษา โดยโรงเรยี นวัดมหรรณพาราม ในพระ ราชูปถัมภ์ ฯ ถือวา่ เปน็ โรงเรยี นประถมศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ซ่งึ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระองค์เจ้า ดิศวรกุมาร ต้ังโรงเรียนข้ึนในปี พ.ศ. 2427
10. เจดยี ์ทเ่ี กา่ แก่ และใหญท่ ่สี ุด พระปฐมเจดีย์ ที่ จ.นครปฐม วดั พระปฐมเจดีย์ เปน็ พระอารามหลวงช้นั เอก ชนิดราชวรมหาวหิ าร[1] ตง้ั อยทู่ ี่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวดั นครปฐม มีจดุ เดน่ ที่ สำคัญคือ พระปฐมเจดยี ์ หรอื พระธมเจดยี ์ ซึ่งเป็นเจดีย์ที่ใหญ่และสงู ที่สุดแห่งหนง่ึ ในประเทศไทย (120.45 เมตร) องค์พระปฐมเจดียป์ จั จุบันน้ี เปน็ พระเจดียท์ รงลงั กา แบบสุโขทัย สรา้ งข้ึนในสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ซึ่งสรา้ งครอบเจดยี ์เดมิ ถงึ สอง องค์ ได้แก่ เจดยี ท์ รงสถปู สาญจตี ามแบบอินเดียยุคพระเจา้ อโศกมหาราช และเจดีย์ทรงขอมโบราณ นอกจากองคพ์ ระปฐมเจดียแ์ ลว้ ในลานชั้นลดดา้ นทศิ ใต้องคพ์ ระปฐมเจดีย์และพระอโุ บสถมพี ระประธาน พระพุทธรปู ศลิ าขาว ซ่ึงเปน็ สองในสพ่ี ระพทุ ธ รปู ประทบั นง่ั หอ้ ยพระบาท ปางแสดงธรรม ท่ีสร้างขน้ึ ในยุคทวารวดี[2]
11. ผแู้ ตง่ เพลงกราวกฬี า เจ้าพระยาธรรมศกั ด์มิ นตรี มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาธรรมศักด์มิ นตรี (สนัน่ เทพหสั ดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 – 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามปากกา ครเู ทพ เป็น ขนุ นางชาวไทย เคยเปน็ เสนาบดีกระทรวงธรรมการ และเปน็ ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรคนแรก ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐานและอาชวี ศึกษา ท้งั ไดร้ ่วมดำริ ใหก้ อ่ ตงั้ มหาวิทยาลัยแหง่ แรกของประเทศ คือ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และเป็นผแู้ ปลกติกาฟุตบอลมาเผยแพรใ่ นประเทศไทย นอกจากนี้ ยงั เปน็ นกั ประพนั ธ์ งานประพันธ์เล่อื งชอื่ คือ เพลงกราวกฬี า และ เพลงชาติไทยฉบับกอ่ นปจั จุบัน
12. หนงั สือไทยเลม่ แรก หนังสือไตรภูมิพระรว่ ง ไตรภมู ิพระรว่ ง เปน็ พระราชนพิ นธ์ของพระมหาธรรมราชาที่ 1 ซึง่ แต่งข้ึนเมอ่ื วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 ปีระกา ตรงกบั วันพฤหัสบดีท่ี 4 มีนาคม พ.ศ. 1864 (ปีเกา่ ) จ.ศ. 683 ม.ศ. 1243 เป็นปคี รองราชยท์ ่ี 6 โดยมพี ระประสงค์ท่จี ะเทศนาโปรดพระมารดา และเพ่ือจำเริญพระอภิธรรม ไตรภูมพิ ระรว่ งเป็น หลักฐานชนิ้ หนง่ึ ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระปรชี าสามารถอยา่ งลกึ ซง้ึ ในด้านพุทธศาสนาของพระมหาธรรมราชาลิไทที่ทรงรวบรวมข้อความต่างๆ ในคัมภีรพ์ ระพุทธ ศาสนา นับแตพ่ ระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณพ์ เิ ศษตา่ งๆ มาเรยี บเรียงข้นึ เป็นวรรณคดโี ลกศาสตร์เลม่ แรกท่ีแต่งเปน็ ภาษาไทยเท่าทีมหี ลกั ฐานอยู่ใน ปัจจบุ นั นี้ [1] ทง้ั น้ี อ.สินชัย กระบวนแสง ได้วิเคราะหเ์ หตุผลการแตง่ ไตรภมู ิพระร่วงของพระมหาธรรมราชาลไิ ท ว่าจะเกี่ยวขอ้ งกบั เรอ่ื งการเมืองดว้ ย[ตอ้ งการอ้างอิง] เนื่องจากไตรภมู เิ ปน็ เรือ่ งที่เกี่ยวข้องกบั นรก-สวรรค์ สอนให้คนรจู้ กั การทำความดีเพ่ือจะไดข้ ึน้ สวรรค์ หากแต่ใครทำชั่วประพฤติตนผดิ ศลี กจ็ ะต้องตกนรก กลา่ ว คอื ประชากรในสมัยทีพ่ ระมหาธรรมราชาลิไทปกครองนนั้ เริม่ มมี ากขึ้นกวา่ แต่กอ่ น ทำใหก้ ารปกครองบ้านเมืองใหส้ งบสขุ ปราศจากโจรผรู้ ้ายเป็นไปไดย้ ากย่งิ ข้นึ การดูแลของรฐั ก็ไมอ่ าจดแู ลไดท้ ่วั ถึง พระมหาธรรมราชาลไิ ทจึงไดค้ ิดนิพนธว์ รรณกรรมทางศาสนาเร่ืองไตรภูมพิ ระร่วงขึน้ มาเพื่อที่ตอ้ งการสอนใหป้ ระชาชนของ พระองคท์ ำความดี เพ่อื จะได้ขนึ้ สวรรคม์ ีชีวติ ที่สุขสบาย และหากทำความชวั่ ก็จะต้องตกนรก ดว้ ยเหตุน้ีวรรณกรรมเรือ่ งไตรภมู จิ งึ เป็นสิ่งท่ีใช้ควบคมุ ทางสงั คมได้ เปน็ อย่างดียิ่ง เพราะสามารถเขา้ ถึงจติ ใจทุกคนไดโ้ ดยมติ อ้ งมอี อกกฎบงั คบั กนั แตอ่ ย่างไร
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: