Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ศิลปศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Description: ศิลปศึกษา ม.ต้น

Search

Read the Text Version

93 1.5. โขนฉาก เปน รปู แบบโขนทีพ่ ฒั นาเปนลําดบั สุดทาย กลา วคอื เปนการแสดงในโรง มกี าร จดั ทําฉาก เปล่ยี นไปตามเรอ่ื งราวทกี่ าํ ลังแสดง ดําเนนิ เร่ืองดว ยการพากย เจรจา และขบั รอง รา ยรํา ประกอบคาํ รองมรี ะบํา ฟอ นประกอบ 2. ละคร คอื การแสดงท่ีเลน เปน เรอื่ งราว มงุ หมายกอใหเกดิ ความบนั เทงิ ใจ สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ หรอื เรา อารมณ ความรูสึกของผดู ู ตามเรอ่ื งราวนนั้ ๆ ขณะเดยี วกันผดู กู จ็ ะไดแ นวคดิ คตธิ รรมและปรัชญา จากการละครน้ัน ประเภทของละครไทย ละครไทยเปน ละครท่ีมพี ฒั นาการมาเปนลําดบั ต้งั แตสมยั กรุงศรีอยุธยาจนถึงปจ จุบัน ดงั น้นั ละครไทยจงึ มรี ปู แบบตาง ๆ ซ่งึ แบงออกเปน ประเภทใหญ ได ประเภทดงั ตอไปนี้ ละครรํา ละครรอ ง ละครพูด ละครราํ เปนศลิ ปะการแสดงของไทยท่ีประกอบดว ยทา ราํ ดนตรบี รรเลง และบทขับรอ งดําเนนิ เรื่อง มีผู แสดงเปนตวั พระ ตวั นาง และตวั ประกอบแตง องคทรงเครอ่ื งตามบท งดงามระยับตา ทา รําตามบทรอง ประสานทํานองดนตรบี รรเลง จังหวะชา เรว็ เราอารมณ ใหเ กิดความรสู ึกตามบทละครทั้งคกึ คกั สนกุ สนาน หรือโศกเศรา ตวั ละครส่อื ความหมายบอกกลาวตามอารมณด ว ยภาษาทา โดยมผี ขู ับรอ ง คือผู เลา เร่ืองดว ยทํานองเพลงตามบทละคร ซ่ึงเปน คาํ ประพนั ธ ประเภทคํากลอน บทละคร มกี ารบรรยายความ วา ตัวละครเปนใคร อยูที่ไหน กําลังทาํ หรอื คดิ ส่ิงใด และมีทํานอง เพลงรอง เพลงหนาพาทย ประกอบทา ราํ บรรจไุ วใ นบทกลอน ตามรูปแบบศิลปะการแสดงละครรํา ดนตรใี ชวงปพ าทยบ รรเลงประกอบการ แสดง ละครรําแบงการแสดงออกเปน 6 ชนิดคอื ละครนอก ละครใน ละครดกึ ดาํ บรรพ ละครพันทาง ละครเสภา และละครชาตรีเครอ่ื งใหญ

94 ภาพละครในเรือ่ งอิเหนา ละครชาตรเี ร่ืองมโนราห

95 ละครนอกเร่อื งสงั ขท อง 3. ราํ และระบํา เปนการแสดงชดุ เบด็ เตลด็ มหี ลายรปู แบบ ไดแกราํ หนา พาทย การราํ บท การราํ เดี่ยว การราํ หมู ระบาํ มาตรฐาน ระบาํ ทีป่ รับปรุงขึน้ ใหม ราํ หรือ ระบาํ สวนใหญ จะเนน ในเรอ่ื งสวยงาม ความพรอมเพรียง ถา เปน การแสดงหมมู าก ตลอดทัง้ ใชร ะยะเวลาการแสดงสน้ั ๆ ชมแลว ไมเ กิดความเบ่อื หนาย ราํ สีนวล

96 ฉุยฉายพราหมณ 4. การละเลน พืน้ เมอื ง การละเลน พื้นเมอื งเปน การละเลนในทอ งถนิ่ ท่สี บื ทอดกันมาเปนเวลานาน แบง ออกเปน ภาค กลาง ภาคเหนือ ภาคใต ภาคอีสาน แตล ะภาคจะมีลกั ษณะเฉพาะในการแสดง ท้งั น้ขี น้ึ อยูกับปจจัยหลาย ประการไดแ กส ภาพภูมศิ าสตร ประเพณี ศาสนา ความเช่ือและคานิยม ทาํ ใหเกดิ รปู แบบการละเลน พน้ื เมอื งข้ึนหลายรูปแบบ ไดแ ก รปู แบบการแสดงทีเ่ ปน เรอื่ งราวของการรอ งเพลง เชน เพลงเกยี่ วขา ว เพลง บอก เพลงซอ หรอื รูปแบบการแสดง เชน ฟอนเทียน เซ้ิงกระหยัง ระบาํ ตารกี ีปส ซ่งึ แตละรูปแบบนีจ้ ะมที ง้ั แบบอนุรกั ษป รบั ปรงุ และพฒั นา เพ่อื ใหด ํารงอยสู บื ไป ภาพฟอนเทียน

97 เรือ่ งท่ี 4 นาฏยศัพท นาฏยศพั ท หมายถึง ศัพทเ ฉพาะในทางนาฏศิลป ซ่ึงเปน ภาษาที่ใชเปน สญั ลกั ษณและส่ือ ความหมายกันในวงการนาฏศิลปไ ทย นาฏยศพั ท แบง ออกเปน 3 หมวด คือ 1. หมวดนามศัพท หมายถึง ทา รําส่อื ตางๆ ท่บี อกอาการของทา นนั้ ๆ - วง เชน วงบน วงกลาง - จีบ เชน จีบหงาย จบี ควํ่า จีบหลัง - ทา เทา เชน ยกเทา ประเทา กระดก 2. หมวดกิริศพั ท คอื ศพั ทท่ีใชใ นการปฏบิ ัติอาการกริ ิยา แบงออกเปน ศัพทเสริมและ ศพั ทเส่ือม - ศพั ทเสรมิ หมายถงึ ศัพทท ี่ใชเสรมิ ทวงทใี หถ กู ตอ งงดงาม เชน ทรงตัว สง มอื เจยี ง ลักคอ กดไหล ถบี เขา เปน ตน - ศัพทเ ส่อื ม หมายถึง ศพั ทท ีใ่ ชเ รียกทารําที่ไมถูกระดบั มาตรฐาน เพื่อใหผรู าํ รูต ัวและตอง แกไ ขทว งทขี องตนใหเขาสูร ะดบั เชน วงลา วงตกั วงลน ราํ เลือ้ ย ราํ ลน เปน ตน 3. หมวดนาฏยศพั ทเ บ็ดเตลด็ คอื ศัพทท น่ี อกเหนือจากนามศัพท กิริยาศัพท ซึง่ จัดไวเ ปน หมวด เบด็ เตล็ด มีดงั นี้ เหล่ยี ม หมายถึง ระยะเขา ทง้ั สองขางแบะออก กวาง แคบ มากนอยสุดแตจะเปน ทาของพระ หรือนาง ยกั ษ ลงิ เหล่ียมท่กี วา งท่ีสดุ คือเหลีย่ มยกั ษ เดินมอื หมายถึง อาการเคลอ่ื นไหวของแขนและมอื เพ่ือเชอื่ มทา แมท า หมายถึง ทา ราํ ตามแบบมาตรฐาน เชน แมบท ขนึ้ ทา หมายถงึ ทาทีป่ ระดษิ ฐใ หส วยงาม แบง ออกเปน ก. ข้นึ ทาใหญ มอี ยู 4 ทา คอื (1) ทาพระสห่ี นา แสดงความหมายเจรญิ รุงเรอื ง เปน ใหญ (2) ทานภาพร แสดงความหมายเชน เดียวกับพรหมสห่ี นา (3) ทาเฉดิ ฉิน แสดงความหมายเก่ียวกบั ความงาม (4) ทาพสิ มยั เรียงหมอน มคี วามหมายเปนเกยี รติยศ

98 ข. ข้ึนทา นอ ย มีอยูหลายทาตา งกนั คอื (1) ทามอื หนง่ึ ตงั้ วงบัวบาน อกี มอื หนึ่งจีบหลงั (2) ทา ยอดตอ งตอ งลม (3) ทา ผาลาเพียงไหล (4) ทา มอื หนงึ่ ตง้ั วงบน อกี มือหนงึ่ ต้งั วงกลาง เหมือนทา บงั สรุ ยิ า (5) ทา เมขลาแปลง คือมอื ขางทหี่ งายไมตองทําน้วิ ลอ แกว พระใหญ – พระนอ ย หมายถึง ตวั แสดงทม่ี บี ทสําคัญพอๆ กัน พระใหญ หมายถึงพระเอก เชน อเิ หนา พระราม สวนพระนอย มีบทบาทเปนรอง เชน สังคามาระตา พระลกั ษณ นายโรง หมายถงึ พระเอก เปนศัพทเฉพาะละครราํ ยืนเครือ่ ง หมายถงึ แตงเคร่ืองละครรําครบเครอื่ ง นางกษตั ริย บคุ ลิกทว งทเี รยี บรอ ย สงา มีทีทาเปนผูด ี นางตลาด ทว งทวี อ งไว สะบดั สะบ้งิ ไมเรียบรอ ย เชน นางยกั ษ นางแมว เปนตน ทา “เฉดิ ฉิน” นาฏยศพั ท มือขวาตง้ั “วงบัวบาน” มือซายตัง้ ”วงหนา” เทาซา ย “กระดกหลงั ”

99 ภาษาทา หมายถงึ การแสดงกริ ยิ าทาทางเพ่อื สือ่ ความหมายแทนคาํ พดู สว นมากใชใน การแสดงนาฏศลิ ปแ ละการแสดงละครตา งๆ ภาษาทา แบง เปน 3 ประเภท ดงั นี้ 1. ทา ทางทใี่ ชแทนคาํ พดู เชน ไป มา เรยี ก ปฏเิ สธ 2. ทาทางที่ใชแ ทนอารมณภ ายใน เชน รกั โกรธ ดใี จ เสียใจ 3. ทา แสดงกริ ิยาอาการหรืออิริยาบถ เชน ยนื เดิน น่งั การรา ยราํ ทา ตางๆ นํามาประกอบบทรอ งเพลงดนตรี โดยมงุ ถงึ ความสงางามของลลี าทา ราํ และ จาํ เปน ตองอาศยั ความงามทางศิลปะเขาชว ย วธิ กี ารใชท า ทางประกอบบทเรียน บทพากย และเพลงดนตรี พนั ทางนาฏศิลปเ รียกวา การตีบท หรือการรําบท

100 เรอื่ งท่ี 5 ราํ วงมาตรฐาน ประวัติรําวงมาตรฐาน รําวงมาตรฐาน เปนการแสดงมาจากราํ โทน เปนการละเลน พน้ื บา นอยา งหนง่ึ ของชาวไทยท่ีบง บอกถงึ ความสนกุ สนาน ซง่ึ แตเ ดิมราํ โทนกเ็ ลนกนั เปน วง จึงเรียกวา “ราํ วง” แตเ ดิมไมมคี าํ วา “มาตรฐาน” จะเรียกกันวา ราํ วงเทานน้ั ตอ มาราวสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ไดม กี ารปรับปรุงการเลน ราํ โทนใหงดงามตาม แบบของกรมศลิ ปากร ทงั้ การรอ ง และการรายรําใหมคี วามงดงามเปน แบบฉบบั กลางๆ ทจี่ ะรองเลน ได ท่ัวไปในทกุ ภาค และเปล่ียนจากการเรียกวา ราํ โทน เปน ราํ วง เพราะประการท่ีหน่ึง เครื่องดนตรที ใ่ี ชมี มากกวา ฉง่ิ กรบั และโทน เพือ่ เพิ่มความสนกุ สนาน และความไพเราะใหถูกหลกั ทง้ั ไทยและสากล ประการทสี่ อง แตเ ดมิ ราํ โทนกเ็ ลน กันเปนวงการเปลยี่ นจากราํ โทนเปน รําวง ก็ยงั คงรูปลักษณเดิมไวส ว น ท่พี ัฒนาคอื ทารํา จดั ใหเปน ทา ราํ ไทยพืน้ ฐานอยางงา ยๆ สโู ลกสากล เรยี นรงู า ย เปน เรว็ สนุก และเปนแบบ ฉบับของไทยโดยแท ทางดา นเนือ้ รอ งไดพฒั นาในทาํ นองสรา งสรรค ราํ วงที่พัฒนาแลวนเ้ี รียกวา รําวง มาตรฐาน เนอื้ เพลงในราํ วงมาตรฐานมที ้ังหมด 10 เพลง แตละเพลงจะบอกทาราํ (จากแมบ ท) ไวใ หพ รอม ปฏิบตั ิ ชอ่ื เพลงรําวงมาตรฐานและทาราํ ทารํา ชอ่ื เพลง 1. สอดสรอ ยมาลา 1. งามแสงเดอื น 2. ชักแปง ผัดหนา 2. ชาวไทย 3. รําสา ย 3. รํามาซิมาราํ 4. สอดสรอ ยมาลาแปลง 4. คนื เดอื นหงาย 5. แขกเตาเขารงั 5. ดวงจนั ทรว ันเพญ็ เพลงรําวงมาตรฐาน 1. เพลงงานแสงเดือน ราํ ทา สอดสรอ ยมาลา งามแสงเดอื นมาเยือนสอ งหลา งามใบหนา เมือ่ อยวู งราํ (2 เทยี่ ว) เราเลน เพ่อื สนกุ เปล้อื งทกุ ขวายระกํา ขอใหเ ลน ฟอนรํา เพ่อื สามัคคี เอย.

101 2. เพลงชาวไทย รําทา ชักแปง ผดั หนา ชาวไทยเจาเอย ขออยา ละเลยในการทําหนา ที่ การทเ่ี ราไดเลน สนกุ เปลือ้ งทุกขส บายอยางน้ี เพราะชาติเราไดเ สรี มีเอกราชสมบูรณ เราจึงควรชว ยชาติ ใหเกงกาจเจดิ จํารูญ เพ่ือความสุขเพ่มิ พูน ของชาวไทยเรา เอย. 3. เพลงรําซิมารํา รําทา รําสาย เรงิ ระบาํ กันใหส นุก รํามาซิมารํา ไมละไมทิ้งจะเกดิ เขญ็ ขกุ ตามเชิงเชนเพอื่ ใหส รา งทกุ ข ยามงานเราทาํ งานจริงจริง เลน สนกุ อยางวฒั นธรรม ถึงยามวางเราจงึ ราํ เลน ใหงามใหเรยี บจงึ จะคมขาํ ตามเยี่ยมอยางตามยุค มาเลนระบําของไทยเรา เอย. เลน อะไรใหม ีระเบยี บ มาซิมาเจา เอยมาฟอนราํ 4. เพลงคนื เดอื นหงาย ราํ ทา สอดสรอ ยมาลาแปลง ยามกลางคนื เดอื นหงาย เยน็ พระพายโบกพล้วิ ปลิวมา เย็นอะไรก็ไมเ ย็นจติ เทา เยน็ ผกู มิตรไมเบ่อื ระอา เย็นรม ธงไทยปกไทยทว่ั หลา เย็นย่ิงนาํ้ ฟามาประพรม เอย. ชือ่ เพลง ทา ราํ 6. ดอกไมข องชาติ 6. รํายั่ว 7. หญงิ ไทยใจงาม 7. พรหมสห่ี นา, ยงู ฟอนหาง 8. ดวงจันทรข วญั ฟา 8. ชา งประสานงา, จันทรท รงกลดแปลง 9. ยอดชายใจหาญ 9. (หญิง) ชะนีรายไม (ชาย) จอ เพลงิ กาฬ 10. บชู านักรบ 10. เท่ียวแรก (หญิง) ขดั จางนาง (ชาย) จนั ทรท รงกลด เท่ียวสอง (หญงิ ) ลอ แกว (ชาย) ขอแกว

102 ลักษณะทา รําแบบตางของราํ วงมาตรฐาน ทาสอดสรอยมาลา ทาชกั แปง ผัดหนา

103 ทา นกแขกเตาเขา รัง

104 เร่ืองท่ี 6 การอนุรักษน าฏศิลปไทย นาฏศลิ ปไทย เปนผลผลิตทางวัฒนธรรมทเ่ี ปน รปู ธรรม ซ่ึงนบั เปน มรดกทางวัฒนธรรมทีบ่ รรพ บุรษุ ของเราไดส รา งและสั่งสมภมู ิปญญามาแตโ บราณ เปนส่ิงท่แี สดงถงึ เอกลักษณของชาติ ซงึ่ แสดงให เห็นถงึ ความเปนอารยประเทศของชาตไิ ทยที่มีความเปนเอกราชมาชานาน นานาประเทศในโลกตางชนื่ ชม นาฏศลิ ปไ ทยในความงดงามวจิ ิตรบรรจง เปน ศิลปะทมี่ คี ณุ คาควรแกก ารอนรุ กั ษแ ละสบื ทอด แนวทางในการอนรุ ักษนาฏศลิ ปไ ทย 1. การอนุรกั ษร ปู แบบ หมายถงึ การรกั ษาใหค งรปู ดงั เดิม เชน เพลงพน้ื บา นกต็ อ งรกั ษาข้นั ตอน การรอ ง ทํานอง การแตง กาย ทาราํ ฯลฯ หรอื หากจะผลิตขน้ึ ใหมกใ็ หร กั ษารูปแบบเดมิ ไว 2. การอนรุ กั ษเนอ้ื หา หมายถงึ การรักษาในดานเนอ้ื หาประโยชนค ณุ คา ดว ยวิธีการผลิต การ รวบรวมขอมลู เพ่ือการศึกษา เชน เอกสาร และสือ่ สารสนเทศตางๆ การอนรุ กั ษท้งั 2 แบบน้ี หากไมมกี ารสืบทอดและสง เสริม ก็คงไวประโยชนใ นท่นี ้ี จะขอนาํ เสนอแนวทางในการสงเสริมเพื่ออนรุ ักษน าฏศิลปไ ทย ดงั นี้ 1. จดั การศึกษาเฉพาะทาง สง เสรมิ ใหม ีสถาบนั การศกึ ษาดา นนาฏศิลปจัดการเรยี นการสอน เพ่ือ สบื ทอดงานศลิ ปะดานนาฏศิลป เชน วิทยาลัยนาฏศลิ ป สถาบนั เอกชน องคก รของรัฐบางแหง ฯลฯ 2. จดั การเรียนการสอนในข้ันพนื้ ฐาน โดยนําวชิ านาฏศิลปจดั เขา ในหลกั สูตรและเขา สรู ะบบ การเรียนการสอนทกุ ระดับ ตามระบบทค่ี วรจะใหเยาวชนไดร บั รูเปนขน้ั ตอนตงั้ แตอนบุ าล ประถม มธั ยมศกึ ษา และอดุ มศึกษา ตลอดจนสถาบนั การศกึ ษาทุกระดับ จดั รวบรวมขอ มลู ตา งๆ เพือ่ ประโยชนต อ การศึกษาคนควา และบริการแกช มุ ชนไดด ว ย 3. มีการประชาสัมพันธใ นรปู แบบสอื่ โฆษณาตา งๆ ทง้ั วิทยุ โทรทัศน และหนังสือพิมพ โดยนาํ ศลิ ปวฒั นธรรมดานนาฏศิลปเ ขา มาเก่ยี วขอ งเพื่อเปนการสรางบทบาทของความเปน ไทยใหเปนทร่ี จู กั 4. จัดเผยแพร ศิลปวัฒนธรรม ในรูปแบบการแสดงนาฏศลิ ปแกห นว ยงานรฐั และเอกชน โดยทวั่ ไปทั้งภายในประเทศและตางประเทศ 5. สง เสรมิ และปลกู ฝงมรดกทางศิลปวัฒนธรรมภายในครอบครวั ใหร ูซ้ึงถึงความเปน ไทยและ อนุรกั ษร ักษาเอกลักษณไทย

105 กิจกรรมที่ 1 ผลการเรยี นรูที่คาดหวงั บอกท่มี าและประเภทของนาฏศลิ ปไทยได คาํ ชี้แจง ใหผ ูเ รยี นตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. นาฏศลิ ปไ ทยเกิดขึน้ จากเหตใุ ด 2. นาฏศลิ ปไทยมีกป่ี ระเภท อะไรบาง จงอธบิ าย 3. ใหผูเรยี นเขยี นช่อื การแสดงราํ และระบาํ ของนาฏศลิ ปไทยที่เคยชมใหมากท่ีสุด 4. ใหผ ูเ รยี นหาภาพและประวัตกิ ารแสดงเกยี่ วกับนาฏศลิ ปไทย กจิ กรรมที่ 2 ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง 1. บอกความหมายของนาฏยศัพทได 2. เขา ใจสุนทรยี ะของการแสดงนาฏศิลปไ ทยตามหลกั การใชภ าษาทา คําช้แี จง ใหผเู รียนตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. อธิบายความหมายของนาฏศัพท พรอมยกตัวอยางพอสังเขป 2. อธิบายความหมายของภาษาทา ในนาฏศิลปไทย 3. แบง กลุม คดิ ภาษาทา กลมุ ละ 3 ประโยค ออกมาแสดงภาษาทาทคี่ ิดไวท ีละกลุม โดยใหก ลมุ อ่ืนเปนผูทายวาภาษาทานนั้ ๆ หมายถึงอะไร กิจกรรมที่ 3 ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั 1. แสดงความรูส ึก ความคิดเหน็ ไดอยางมีเหตผุ ลและสรางสรรค 2. รับฟง ความคดิ เหน็ ของผูอ่นื และนาํ ไปปรับใชไ ดอยางมีเหตผุ ล คาํ ชแี้ จง ใหผ ูเรยี นบอกชื่อการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยท่ีเคยชม แลวแสดงความคดิ เห็น 1. เร่อื งทชี่ ม 2. เนือ้ เรือ่ ง 3. ตวั แสดง 4. ฉาก 5. ความเหมาะสมของการแสดง

106 กจิ กรรมท่ี 4 ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 1. บอกประวตั คิ วามเปน มาของรําวงมาตรฐานได 2. แสดงราํ วงมาตรฐานไดอ ยา งถกู ตองเหมาะสม คาํ ช้ีแจง 1. จงอธิบายประวัติความเปน มาของรําวงมาตรฐาน 2. ราํ วงมาตรฐานนาํ ไปแสดงในโอกาสใดบา ง จงอธิบาย 3. ใหผเู รียนแบงกลมุ ฝก การแสดงราํ วงมาตรฐาน กลุมละ 3 เพลง แสดงใหเพ่อื นดทู ลี ะกลุม กิจกรรมที่ 5 ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั รคู ุณคา ของนาฏศิลปไทยและแนวทางอนุรกั ษนาฏศลิ ปไ ทย คาํ ช้แี จง ใหผูเรยี นตอบคําถามตอไปนี้ 1. ถา หากไมม นี าฏศิลปไ ทย ประเทศไทยจะเปน อยา งไร 2. ผเู รยี นมแี นวทางการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปไทยอยางไรบาง

107 บทท่ี 4 นาฏศิลปไทยกับการประกอบอาชีพ นาฏศิลปไ ทยเปน การแสดงศิลปะที่เปนเอกลักษณของไทย เปนเรื่องท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธ กบั ประวตั ศิ าสตรไทย วัฒนธรรมไทย เปนการละเลนเพอื่ ความบนั เทงิ รนื่ เรงิ ของชาวบานภายหลังฤดูเก็บ เกย่ี ว นาฏศิลปไ ทยมหี ลายประเภท เชน โขน ละคร ราํ การละเลน พนื้ เมือง เปนตน สาํ หรบั แนวทางในการประกอบอาชีพนาฏศิลปไทยนั้น ไดแก อาชีพการละเลนพื้นเมืองของแต ละภาค ดังนี้ 1. อาชพี การแสดงหนังตะลงุ 2. อาชีพการแสดงลเิ ก 3. อาชพี การแสดงหมอลาํ ผูเรยี นสนใจทีจ่ ะศึกษาแนวทางการประกอบอาชพี ดา นน้ีตองมคี วามสนใจ และมีความเช่ือม่ันใน ตัวเอง พรอ มที่จะเรยี นรูส่ิงตางๆ เก่ยี วกบั อาชพี ดังกลาว เร่อื งท่ี 1 คุณสมบตั ิของอาชพี นกั แสดงทดี่ ี ในการแสดงบทบาทตางๆ นักแสดงตองมีความรับผิดชอบ มีการซอมบทบาทท่ีตองแสดงโดย การศึกษาเน้อื เร่อื ง และบททไี่ ดรับมอบหมายใหแ สดง แสดงบทตลก บทที่เครงเครียด โดยการใชถอยคํา หรอื กิรยิ าทาทาง แสดงประกอบ อาจรอ งเพลง เตนรํา หรอื ฟอนรํา อาจชํานาญในการแสดงบทบาทอยาง ใดอยางหน่ึง หรอื การแสดงประเภทใดประเภทหนึ่งและอาจมีช่ือเรียกตามบทบาทหรือประเภทของการ แสดง เรื่องท่ี 2 คุณลกั ษณะของผูประกอบอาชีพการแสดง 1. มีความถนดั ทางศิลปะการแสดง 2. มสี นุ ทรยี ะ สนใจสง่ิ สวยงาม ดนตรี วรรณกรรม 3. มีอารมณอ อ นไหว 4. มีจนิ ตนาการสงู มีความคดิ สรา งสรรค และไมล อกเลยี นแบบใคร

108 โอกาสกา วหนา ในอาชีพ เปนนกั แสดง โอกาสกาวหนาขึ้นอยูกบั ความสามารถของผูแสดง และความนยิ มของผชู ม ท้ังน้ีอยู ท่ีการพัฒนาตนเองและการใฝหาความรูของผูท่จี ะประกอบอาชีพ 1. อาชพี การแสดงหนงั ตะลงุ หนังตะลุง คือ ศลิ ปะการแสดงประจาํ ทอ งถ่ินอยางหนง่ึ ของภาคใต เปนการเลา เรื่องราวท่ีผูกรอย เปนนิยาย ดาํ เนินเรือ่ งดวยบทรอ ยกรองท่ีขับรอ งเปน ลําเนียงทองถิ่น หรือท่ีเรียกกันวาการ “วาบท” มีบท สนทนาแทรกเปนระยะ และใชการแสดงเงาบนจอผาเปนส่ิงดึงดูดสายตาของผูชม ซ่ึงการวาบท การ สนทนา และการแสดงเงาน้ี นายหนงั ตะลงุ เปนคนแสดงเองท้งั หมด หนังตะลุงเปน มหรสพทนี่ ิยมแพรหลายอยางย่ิงมาเปน เวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยกอนที่ไมมี ไฟฟา ใชก ันทว่ั ถึงทกุ หมูบ านอยา งในปจจบุ นั หนงั ตะลงุ แสดงไดท ง้ั ในงานบุญและงานศพ ดังน้ันงานวัด งานศพ หรืองานเฉลมิ ฉลองทีส่ าํ คญั จงึ มักมหี นงั ตะลงุ มาแสดงใหช มดวยเสมอ ปจ จบุ ัน โครงการศิลปน แหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ไดสงเสริมใหมี การอนรุ ักษและสืบทอดศลิ ปะการแสดงหนังตะลงุ ใหแ กอ นชุ นรุนหลัง เพอ่ื รกั ษามรดกทางวัฒนธรรมอัน ทรงคุณคา นใ้ี หค งอยสู ืบไป ประวัตคิ วามเปนมาของหนังตะลุง นักวิชาการหลายทานเชื่อวา มหรสพการแสดงเงาจําพวกหนังตะลุง เปนวัฒนธรรมเกาแกของ มนุษยชาติ ปรากฏแพรห ลายมาทง้ั ในแถบประเทศยโุ รป และเอเชยี โดยมหี ลกั ฐานปรากฏวา เม่ือคร้ังพระ เจาอเล็กซานเดอรม หาราชมีชัยชนะเหมือนอียิปต ไดจัดใหมีการแสดงหนัง (หรือการละเลนท่ีคลายกัน) เพอื่ เฉลมิ ฉลองชัยชนะและประกาศเกยี รตคิ ณุ ของพระองค และเชื่อวามหรสพการแสดงเงาน้ีมีแพรหลาย ในประเทศอียิปตม าแตกอ นพุทธกาล ในประเทศอนิ เดยี พวกพราหมณแสดงหนังทีเ่ รียกกันวา ฉายานาฏกะ เรื่องมหากาพยรามายณะ เพื่อบูชาเทพเจาและสดุดีวีรบุรุษ สวนในประเทศจีนมีการแสดงหนังสดุดี คุณธรรมความดีของสนมเอกแหง จกั รพรรดย์ิ วนตี่ (พ.ศ. 411 – 495)

109 ในสมัยตอมา การแสดงหนังไดแพรหลายเขาสูในเอเชียอาคเนย เขมร พมา ชวา มาเลเซีย และ ประเทศไทย คาดกนั วา หนังใหญค งเกิดขึน้ กอ นหนงั ตะลงุ และประเทศแถบนคี้ งจะไดแ บบมาจากอินเดีย เพราะยงั มีอิทธิพลของพราหมณหลงเหลืออยูมาก เรายังเคารพนับถือฤาษี พระอิศวร พระนารายณ และ พระพรหม ย่ิงเรอ่ื งรามเกียรต์ิ ยิ่งถอื วาเปนเรอื่ งขลังและศกั ด์ิสทิ ธ์ิ หนังใหญจ ึงแสดงเฉพาะเร่ืองรามเกียรต์ิ เรม่ิ แรกคงไมมจี อ คนเชดิ หนังใหญจงึ แสดงทาทางประกอบการเชดิ ไปดว ย เคร่ืองดนตรีหนังตะลงุ เครื่องดนตรีหนังตะลุงในอดีต มีความเรียบงาย ชาวบานในทองถ่ินประดิษฐขึ้นไดเอง มีทับ กลอง โหมง ฉิง่ เปน สําคญั สว นป เกดิ ข้นึ ภายหลัง แตก็ยังเปนเครื่องดนตรีที่ชาวบานประดิษฐไดเองจน เมื่อมีวัฒนธรรมภายนอกเขามา หนังตะลุงบางคณะจึงนําเครื่องดนตรีใหมๆ เขามาเสริม เชน กลองชุด กตี าร ไวโอลิน ออรแกน เมอ่ื เคร่ืองดนตรีมากขน้ึ จาํ นวนคนในคณะก็มากขึ้น ตนทุนจึงสูงขึ้น ทําใหตอง เรยี กคา ราด (คา จา งแสดง) แพงข้ึน แตห นังตะลงุ หลายคณะก็ยังรักษาเอกลกั ษณเ อาไว เครอื่ งดนตรสี ําคญั ของหนังตะลุง มีดงั ตอ ไปนี้ ทับ ของหนังตะลุงเปนเครอื่ งกาํ กบั จังหวะและทวงทํานองท่ีสําคัญที่สุด ผูบรรเลงดนตรีช้ินอ่ืนๆ ตองคอยฟงและยกั ยายจงั หวะตามเพลงทบั นกั ดนตรที ี่สามารถตที ับไดเรียกวา “มือทับ” เปนคํายกยองวา เปนคนเลน ทับมือฉมัง รปู หนังตะลงุ ตัวตลกหนังตะลงุ

110 ตวั ตลกหนังตะลงุ เปน ตวั ละครที่มคี วามสาํ คญั อยางย่ิง และเปนตัวละครท่ี “ขาดไมได” สําหรับ การแสดงหนงั ตะลุง บทตลกคือเสนหหรือสีสัน ที่นายหนังจะสรางความประทับใจใหกับคนดู เมื่อการ แสดงจบลง ส่งิ ท่ีผชู มจาํ ได และยังเกบ็ ไปเลา ตอ กค็ อื บทตลก นายหนงั ตะลุงคนใดท่ีสามารถสรางตัวตลก ไดมีชีวติ ชวี าและนาประทบั ใจ สามารถทําใหผ ชู มนําบทตลกน้ันไปเลา ขานตอไดไมรูจบ ก็ถือวาเปนนาย หนังทป่ี ระสบความสําเรจ็ ในอาชีพโดยแทจ รงิ ตวั ตลกหนังตะลุงมชี อื่ ดงั ตอ ไปน้ี 1. อายเทง 2. อา ยหนนู ุย 3. นายยอดทอง 4. นายสแี กว 5. อายสะหมอ ข้นั ตอนการแสดงหนังตะลุง หนังตะลงุ ทุกคณะจะนิยมเลนเปน แบบเดยี วกันโดยมีการลําดบั การเลน ดังน้ี 1. ตง้ั เคร่อื งเบิกโรง เปนการทําพธิ ีเอาฤกษ ขอทตี่ ัง้ โรงและปด เปา เสนียดจัญไร เร่ิมโดยเมื่อคณะ หนังขนึ้ โรงแลว นายหนังจะตกี ลองนําเอาฤกษ ลกู คูบรรเลงเพลงเชดิ ชนั้ นี้เรยี กวา ต้งั เคร่อื ง 2. โหมโรง การโหมโรงเปนการบรรเลงดนตรีลวนๆ เพื่อเรียกคนดู และใหนายหนังได เตรียมพรอม การบรรเลงเพลงโหมโรงเดิมที่เลากันวาใช “เพลงทับ” คือใชทับเปนตัวยืนและเดินจังหวะ ทํานองตา งๆ กันไป 3. ออกลิงหัวคํา่ เปนธรรมเนยี มการเลนหนังตะลุงสมัยกอน ปจจุบันเลิกเลนแลว เขาใจวาไดรับ อิทธพิ ลจากหนงั ใหญ เพราะรูปท่ใี ชส ว นใหญเปนรูปจับ มีฤาษีอยูกลาง ลิงขาวกับลิงดําอยูคนละขาง แต รูปทแ่ี ยกเปน รูปเดีย่ วๆ 3 รูป แบบเดียวกบั ของหนังตะลุงกม็ ี 4. ออกฤาษี เปนการเลนเพ่ือคารวะครู และปดเปาเสนียดจัญไร โดยขออํานาจจากพระพรหม พระอิศวร พระนารายณ และเทวะอน่ื ๆ และบางหนังยังขออํานาจจากพระรัตนตรัยดวย 5. ออกรูปฉะ หรือรูปจับ คําวา “ฉะ” คอื สูร บ ออกรปู ฉะเปนการออกรูปจากพระรามกับทศกัณฐ ใหต อสกู นั วธิ ีเลน ใชท ํานองพากยค ลา ยหนงั ใหญ การเลนชดุ น้ีหนงั ตะลุงเลิกเลน ไปนานแลว 6. ออกรูปปรายหนา บท รูปปรายหนาบท เปน รปู ผูชายถือดอกบัวบา ง ธงชาตบิ าง ถือเปนตัวแทน ของนายหนงั ใชเลน เพ่อื ไหวครู ไหวสิ่งศกั ดิ์สิทธแ์ิ ละผทู ีห่ นังเคารพหนงั ถอื ทง้ั หมดตลอดท้งั ใชรองกลอน ฝากเนื้อฝากตัวกบั ผูชม 7. ออกรูปบอกเร่อื ง รปู บอกเรือ่ งเปน รปู ตลก หนงั สวนใหญใชร ูปขวัญเมืองเลนเพ่ือเปนตัวแทน ของนายหนัง ไมมีการรอง กลอน มีแตพูด จุดประสงคของการออกรูปน้ีเพ่ือบอกกลาวกับผูชมถึงเรื่อง นิยายทห่ี นังจะหยิบยกข้ึนแสดง

111 8. เก้ียวจอ เปนการรองกลอนสั้นๆ กอนต้ังนามเมืองเพ่ือใหเปนคติสอนใจแกผูชม หรือเปน กลอนพรรณนา ธรรมชาติและความในใจ กลอนท่ีรองนห้ี นงั จะแตง ไวก อ น และถอื วา มคี วามคมคาย 9. ต้ังนามเมือง หรือตั้งเมือง เปนการออกรูปกษัตริย โดยสมมติขึ้นเปนเมืองๆ หน่ึงจากนั้นจึง ดาํ เนนิ เหตุการณไ ปตามเรื่องท่ีกาํ หนดไว วตั ถุประสงคก ารเลน หนังตะลุง จากทก่ี ลาวมา เปน ขนบนิยมในการเลนหนังเพื่อความบันเทิงโดยทั่วๆ ไป แตหากเลนประกอบ พิธกี รรม จะมขี นบนิยมเพิ่มขน้ึ การเลน เพอื่ ประกอบพิธีกรรมมี 2 อยาง คือ เลนแกเหมรยและเลนในพิธี ครอบมือ การเลน แกเหมรยเปน การเลนเพื่อบวงสรวง ครูหมอหนังหรือส่ิงศักด์ิสิทธิ์ตามพันธะท่ีบนบาน ไว หนงั ตะลุงทจี่ ะเลน แกเหมรยไดต อ งรอบรใู นพิธกี รรมอยางดี และผานพิธคี รอบมอื ถูกตอ งแลว การเลน แกเหมรยจะตองดูฤกษยามใหเหมาะ เจาภาพตองเตรียมเครื่องบวงสรวงไวใหครบถวนตามที่บนบานไว ขนบนยิ มในการเลนทั่วๆไปแบบเดียวกับเลนเพื่อความบันเทิง แตเสริมการแกบนเขาไปในชวงออกรูป ปรายหนาบท โดยกลา วขับรองเชิญครหู มอหรอื สง่ิ ศกั ดิ์สิทธ์ิมารบั เครอ่ื งบวงสรวง ยกเรอื่ งรามเกียรติ์ตอน ใดตอนหนงึ่ ทพ่ี อจะแกเ คล็ดวาตัดเหมรยไดขึ้นแสดง เชน ตอนเจาบุตรเจาลบ เปนตน จบแลวชุมนุมรูป ตา งๆมีฤาษีเจาเมือง พระ นาง ตัวตลก ฯลฯ โดยปกรวมกนั หนาจอเปน ทํานองวา ไดรว มรูเห็นเปนพยานวา เจาภาพไดแกเหมรยแลว แลวนายหนังใชมีดตัด หอเหมรยขวางออกนอกโรง เรียกวา “ตัดเหมรย” เปน เสรจ็ พิธี สวนการครอบมือเปน พธิ ีที่จดั ขึน้ เพ่อื ยอมรับนบั ถอื ครหู นงั แตครั้งบุรพกาล ซง่ึ เรียกวา “ครตู น ” มี พระอณุ รทุ ธไชยเถร พระพริ าบหนา ทอง ตาหนยุ ตาหนักทอง ตาเพชร เปนตน

112 ตวั อยางผทู ปี่ ระสบความสาํ เรจ็ ในอาชีพการแสดงหนังตะลุง นายหนงั พรอ มนอ ย นายหนงั พรอ มนอ ย ตะลงุ สากล เปน นายหนังผูหนงึ่ ที่ไดร ับความนิยมจากประชาชนท่มี ีความช่ืน ชอบการแสดงหนังตะลุงของนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากล เนื่องจากมีคุณลักษณะในการแสดงหนัง ตะลงุ หลายๆ ดานรวมกัน เชน 1. มเี สยี งเพราะนํา้ เสียงในการขับบทกลอนทมี่ เี สียงดงั ฟงชดั 2.มคี วามรอบรทู ัง้ ทางโลกและทางธรรม 3. มกี ารนําเหตุการณบ า นเมอื งในปจ จบุ นั มาทําการแสดงเขากับวรรณกรรม 4. สอดแทรกมขุ ตลก นายหนงั พรอ มนอ ย ตะลุงสากล มคี ณุ ลกั ษณะในเร่ืองของเสียงนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากล เปนนาย หนังท่ีมนี ํ้าเสยี งทสี่ ามารถแสดงหนงั ตะลงุ ติดตอกันหลายชั่วโมงโดยเสียงไมแหบและสามารถเลียนเสียง ตัวหนังแตล ะตัวที่เอกลักษณข องนา้ํ เสียงแตกตางกันออกไปไดอยางเหมาะสม สามารถถายทอดใหผูชม ไดร บั รูถึงบทบาทของนายหนังไดเ ปน อยา งดี วรรณกรรมท่ีแสดงหนังพรอมนอย ตะลุงสากล มีการนําคติสอนใจมาสอดแทรกในเนื้อหาการ แสดงสอนใหผชู มไดรบั รูถงึ คําสอนในทางโลกและทางธรรม วรรณกรรมที่แสดงเขากับยุคสมัยโดยการ นําเหตุการณในทองถิ่น เหตุการณการเมืองการปกครองมาดัดแปลงในการแสดงเพ่ือเปนสื่อกลางให ชาวบานผูชมทราบถึงเหตุการณบานเมืองในปจจุบัน เร่ืองมุขตลกหนังพรอมนอย ตะลุงสากลมีวิธีการ แสดงโดยนาํ มาสอดแทรกในเรอื่ งทาํ ใหก ารแสดงหนังตะลงุ เปนเร่อื งสอื่ บนั เทิงใหกับชาวบานในทองถ่ิน ไดม ีความสนุกมสี วนรวมไปกับการแสดงหนังตะลงุ หนังพรอมนอย ตะลุงสากลยังมีลุกคูที่มีความสามารถบรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุง รวมถึงความทันสมยั ในเรื่องดนตรที นี่ าํ มาบรรเลงกบั ดนตรีพนื้ บาน ทําใหไ ดรับความนิยมจากผูชมทุกวัย การนําดนตรีสากลเขา มาใชป ระกอบการแสดงหนังตะลุงของคณะหนงั พรอมนอย มีการสรา งสรรคโ ดยนาํ เพลงไทยเดิมมาบรรเลงกับดนตรีสากล สวนเพลงตามสมัยนิยมสามารถนํามาบรรเลงกับการแสดงหนัง ตะลงุ ไดอ ยางเหมาะสมและลงตัว สิ่งที่ขาดไมไดนอกเหนือจากองคประกอบความสามารถของนายหนังในการแสดงหนังตะลุง นายหนังตะลุงควรนําองคประกอบการแสดงหนังตะลุงและความสามารถจากการแสดงหนัง

113 ตะลุงและความสามารถจากการแสดงไปชว ยเหลือสังคม โดยนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากลกลาว วา การแสดงหนังตะลุงท่ตี นประสบความสาํ เร็จไดม ากจากการยอมรับจากประชาชน เราควรจะทําอะไร เพ่ือประโยชนใหกับสังคมบาง หนังพรอมนอย ตะลุงสากล จึงนําเงินที่ไดจากการแสดงหนังตะลุงไป ชวยเหลือชุมชน หรือบางคร้ังเปดการแสดงหนังตะลุงเพ่ือหาเงินสมทบไปพัฒนาหมูบาน โรงเรียน วัด สถานทร่ี าชการ ใหม คี วามสะดวกยง่ิ ขนึ้ คณุ สมบตั พิ เิ ศษของผูทจ่ี ะแสดงหนังตะลงุ จะตองเปนคนเสียงดีและเสียงดัง ทําเสียงไดหลายเสียง เปลี่ยนเสียงตามบทบาทของตัวละครที่ พากยไดฉบั พลันและเปนธรรมชาติ พากยย กั ษเสียงตองหาวอยางยักษ พากยนางเสียงตองนุมหวานอยาง นาง พากยต ัวตลกตัวใดเสียงตองเปน อยา งตวั ตลกตัวนั้น เรยี กภาษาหนังตะลุงวา “กินรูป” เสียงท่ีชวนฟง ตอ งแจมใสกังวานกลมกลนื กับเสยี งโหมง เรียกวา “เสียงเขาโหมง ” และสามารถรกั ษาคุณภาพของเสียงได ตลอดเวลา การแสดงตงั้ แตป ระมาณ 3 ทุม จนสวาง ตองรอบรูในศิลปและศาสตรตางๆ อยางกวางขวาง ท้ังคดีโลกและคดธี รรม เพื่อแสดงหนงั ใหไดท ั้งความบันเทงิ และสารประโยชน มีอรรถรส สามารถดึงดูด ผชู มใหช วนตดิ ตาม 2.อาชพี การแสดงลิเก ลเิ ก เกิดขนึ้ ในสมัยรชั กาลที่ 5 คําวา ลเิ ก ในภาษามลายู แปลวา ขับรอง เดิมเปนการสวดบูชาพระ ในศาสนาอิสลาม สวดเพลงแขกเขากับจังหวะรํามะนา พวกแขกเจาเซ็นไดสวดถวายตัวเปนคร้ังแรกใน การบาํ เพญ็ พระราชกศุ ล เมือ่ พ.ศ. 2423 ตอ มาคิดสวดแผลงเปน ลํานําตางๆ รอ งเปน เพลงตา ง

114 ภาษา และทําตัวหนังเชิด โดยเอารํามะนาเปนจอก็มี ลิเกจึงกลายเปนการเลนขึ้น ตอมามี ผูคิดเลน ลเิ กอยา งละคร คอื เรม่ิ รอ งเพลงแขก แลวตอไปเลน อยางละครราํ และใชป พ าทยอยา งละคร ลเิ กมี 4 แบบ คอื ลิเกบันตน เร่ิมดวยรองเพลงบันตนเปนภาษามลายู ตอมาก็แทรกคําไทยเขาไปบาง ดนตรีก็ใช รํามะนา จากนั้นก็แสดงเปนชุดๆ ตางภาษา เชน แขก ลาว มอญ พมา ตองเร่ิมดวยชุดแขกเสมอ ผูแสดงแตงตัวเปนชาติตางๆ รองเอง พวกตีรํามะนาเปนลูกคู มีการรองเพลงบันตนแทรกระหวางการ แสดงแตล ะชดุ ลิเกลูกบท คอื การแสดงผสมกบั การขบั รองและบรรเลงเพลงลูกบท รองและราํ ไปตามกระบวน เพลง ใชป พ าทยป ระกอบแทนรํามะนา แตง กายตามทนี่ ิยมในสมัยน้นั ๆ แตสีฉดู ฉาด ผูแสดงเปนชายลว น เม่อื แสดงหมดแตละชุด ปพ าทยจ ะบรรเลงเพลง 3 ช้ันท่เี ปน แมบ ทข้นึ อกี และออกลูกหมดเปนภาษาตางๆ ชุดอนื่ ๆ ตอ ไปใหม ลิเกทรงเครอ่ื ง เปน การผสมผสาน ระหวางลเิ กบนั ตนและลิเกลกู บท มีทา รําเปน แบบแผน แตงตัว คลา ยละครราํ แสดงเปนเรื่องยาวๆ อยางละคร เริม่ ดว ยโหมโรงและบรรเลงเพลงภาษาตางๆ เรียกวา \"ออก ภาษา\" หรือ \"ออกสบิ สองภาษา\" เพลงสดุ ทา ยเปนเพลงแขก พอปพ าทยห ยดุ พวกตีรํามะนาก็รองเพลงบัน ตน แลวแสดงชุดแขก เปนการคํานับครู ใชปพาทยรับ ตอจากน้ันก็แสดงตามเนื้อเร่ือง ลิเกท่ีแสดงใน ปจ จุบันเปนลิเกทรงเคร่ือง ลิเกปา เปนศิลปะการแสดงที่เคยไดรับความนิยมอยางกวางขวางในจังหวัดสุราษฎรธานีและ จังหวดั ทางภาคใตท่วั ๆ ไป แตใ นปจ จุบนั ลเิ กปามีเหลืออยูนอ ยมาก ผูเฒาผูแกเลาวา เดิมลิเกปาจะมีแสดง ใหดูทกุ งาน ไมวาจะเปน บวชนาค งานวดั หรอื งานศพ ลเิ กปามีเคร่ืองดนตรีประกอบการแสดง 3 อยา ง คือ กลองรํามะนา 1-2 ใบ ฉ่งิ 1 คู กรับ 1 คู บาง คณะอาจจะมโี หมง และทบั ดวย ลเิ กปามนี ายโรงเชน เดยี วกบั หนงั ตะลงุ และมโนราห สําหรบั การแสดงก็ คลา ยกบั โรงมโนราห ผแู สดงลิเกปา คณะหนงึ่ มีประมาณ 6-8 คน ถา รวมลกู คดู ว ยก็จะมจี าํ นวนคนพอ ๆ กบั มโนราหห น่ึงคณะ การแสดงจะเรม่ิ ดวยการโหมโรง \"เกริน่ วง\" ตอ จากเกรน่ิ วงแขกขาวกบั แขกแดงจะ ออกมาเตน และรอ งประกอบ โดยลกู คจู ะรบั ไปดว ย หลังจากน้นั จะมผี ูออกมาบอกเรื่อง แลว กจ็ ะเรม่ิ แสดง วธิ กี ารแสดง เดนิ เรื่องรวดเรว็ ตลกขบขนั เร่ิมดวยโหมโรง 3 ลา จบแลว บรรเลงเพลงสาธุการ ให ผูแสด ง ไ หว ค รู แล ว จึ ง ออก แข ก บอก เรื่ อง ท่ี จ ะ แสด ง สมั ย ก อน มี ก าร รํ า ถว า ย มื อหรื อ ราํ เบกิ โรง แลวจึงดาํ เนินเร่ือง ตอมาการราํ ถวายมือก็เลกิ ไป ออกแขกแลว กจ็ บั เรือ่ งทนั ที การรายรํานอยลง ไปจนเกอื บไมเ หลอื เลย คงมีเพียงบางคณะทยี่ งั ยดึ ศลิ ปะการราํ อยู ผแู สดง เดิมใชผูชายลวน ตอมาแสดงชายจริงหญิงแทน้ัน ผูแสดงตองมีปฏิภาณในการรองและ เจรจา ดาํ เนนิ เร่ืองโดยไมมกี ารบอกบทเลย หัวหนา คณะจะเลา ใหฟ ง กอนเทา น้ัน นอกจากน้ี

115 การเจรจาตองดดั เสียงใหผ ดิ ปกติ ซึง่ เปนเอกลักษณ ของลิเก แตตวั สามัญชนและตัวตลกพูดเสียงธรรมดา เพลงและดนตรี ดาํ เนินเร่อื งใชเ พลงหงสท องช้ันเดียว แตด ดั แปลงใหดนไดเน้ือความมาก ๆ แลวจึง รับดวยปพาทย แตถาเลนเรื่องตางภาษา ก็ใชเพลงท่ีมีสําเนียงภาษาน้ันๆ ตามทองเร่ือง แตดนใหคลาย หงสทอง ตอมานายดอกดิน เสือสงา ไดดัดแปลงเพลงมอญครวญของลิเกบันตนที่ใชกับ บทโศก มาเปน เพลงแสดงความรกั ดวย เรื่องที่แสดง นิยมใชเรื่องละครนอก ละครใน และเร่ืองพงศาวดารจีน มอญ ญวน เชน สามกก ราชาธิราช การแตงกาย แตงตัวดวยเคร่ืองประดับสวยงาม เลียนแบบเครื่องทรงกษัตริย จึงเรียกวา ลิเก ทรงเครื่อง \"สมยั ของแพง\" กล็ ดเครื่องแตงกายที่แพรวพราวลงไป แตบางคณะก็ยังรักษาแบบแผนเดิมไว โดยตวั นายโรงยังแตงเลียนแบบเครื่องทรงของกษัตริยในสวนที่มิใชเครื่องตน เชน นุงผายกทอง สวมเสื้อ เขมขาบหรือเยียรบับ แขนใหญถึงขอมือ คาดเข็มขัดนอกเสื้อ ประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณตางๆ แต ดดั แปลงเสียใหม เชน เครอื่ งสวมศรี ษะ เครอื่ งประดับหนา อก สายสะพาย เครอื่ งประดับไหล ตัวนางนุงจีบ ยกทอง สวมเส้ือแขนกระบอกยาว หมสไบปกแพรวพราว สวมกระบังหนาตอยอดมงกุฎ ท่ีแปลกกวาการ แสดงอนื่ ๆ คือสวมถุงเทา ยาวสีขาวแทนการผัดฝนุ อยา งละคร แตไมสวมรองเทา สถานทแ่ี สดง ลานวัด ตลาด สนามกวางๆ โดยปลกู เพิงสงู ระดับตา ดานหนา เปน ทแ่ี สดง ดานหลงั เปนที่พักท่แี ตง ตวั คณุ สมบัติของผูท จี่ ะแสดงลเิ ก - มีใจรกั ในการแสดงและฝกฝนใหช าํ นาญ - มีการรอ งและราํ ทีด่ ีและสวยงามเพราะเปน จุดเดนของลเิ กไทย - ผสมผสานศิลปวฒั นธรรมไทยไดอยา งงดงาม นาชม - ตรงตอเวลา และมคี วามรบั ผดิ ชอบในอาชีพ สามารถทํางานกับสวนรวมให เพราะคณะลิเก จะมผี ูแ สดงจาํ นวนมาก ผูที่ประสบความสําเร็จจากอาชีพการแสดงลิเก คุณพนม พง่ึ อํานาจ อายุ 40 ป ลิเกคณะ พนมพึ่งอาํ นาจ ทอ่ี ยู 121/1 อาํ เภอเมือง จงั หวดั เพชรบรุ ี ลิเกคณะพนมพึง่ อาํ นาจ เริม่ มกี ารแสดงมาแลว ต้งั แตส มยั บรรพบรุ ษุ โดยคณุ พอคณุ แมข องคุณ พนมไดแ สดงลิเกมากอ นแลว และเขาไดเ ริ่มเลนตอนอายุ 26 ปซึ่งอดีตไดเ คยทํางานธนาคารแลวลาออกมา เลน ลิเก เพราะชอบศลิ ปวฒั นธรรมของไทยและไดต ้งั คณะลเิ กข้ึนเปน ของตนเองเพื่อเปนการสบื สานตอ จากคุณพอคณุ แม การแสดงลเิ กจะถือวา เปนเรอื่ งทง่ี า ยก็งายจะวา ยากกย็ ากแตถา มใี จรักในสงิ่ ทเ่ี ราทาํ นนั้ กจ็ ะ ถอื วาเปน ความถนดั และงา ยสาํ หรบั ตวั เราเอง และมพี ืน้ ฐานตน แบบของการแสดงลเิ กนี้มาจากคณุ พอ คณะมีผูรว มแสดงทง้ั หมดประมาณ 27 คน จะมอี ายุตั้งแต 17 ปซ ่งึ จะอยูในวยั เรยี น แลว ก็อายุ 20 ปทม่ี าก สดุ 60 ป การแสดงแตล ะเร่ืองจะมหี ลายบทบาทที่แตกตา งกนั

116 ออกไปก็จะดวู า ใครเหมาะสมกบั บทบาทไหน สวนใหญจ ะแสดงลิเกกันเปนอาชีพหลัก การแสดงจะมีอยู ตลอดทุกเดือนอยางตอเน่ืองและมีการแสดงมากในชวงออกพรรษาตระเวนแสดงผลงานทั้งป การแสดง ไดรับเงินมากท่ีสุด คือ 60,000 บาท การแสดงเร่ืองหนึ่งจะใชเวลา 4 ชั่วโมง เวลาที่แสดงจะเปนชวง กลางคืนเวลาสามทุมถึงตีหนงึ่ เสนห ข องลเิ กอยทู ่เี นอ้ื เรื่อง การแตง ตัวสําคัญที่สุดคือศิลปะการรอง การรํา ซึง่ จะเปนจุดเดน ของลิเกไทยเปน การผสมผสานของศลิ ปวัฒนธรรมไทยทาํ ใหม ีความงดงามนาชม ความเจริญกา วหนา ในอาชพี ฝกการแสดงในบทรอง – บทราํ ใหม ีความชํานาญและพฒั นาไปในสิ่งท่ีดี และมีความรับผิดชอบ จนเปน ทีย่ อมรับของผูชมท่ัวไป สามารถประสบความสาํ เรจ็ ได 3. อาชีพการแสดงหมอลาํ คําวา \"ลาํ \" มีความหมายสองอยาง อยางหน่ึงเปนช่ือของเร่ือง อีกอยางหน่ึงเปนชื่อของ การขับ รอ งหรือการลํา ที่เปนชือ่ ของเรือ่ งไดแ กเรอื่ งตา ง ๆ เชน เรอ่ื งนกจอกนอย เรอ่ื ง ทา วกา่ํ กาดํา เรอื่ งขลู นู างอว้ั เปนตน เรือ่ งเหลา นีโ้ บราณแตงไวเ ปนกลอน แทนทจี่ ะเรยี กวา เร่อื งก็เรียกวา ลาํ กลอนท่เี อามาจากหนังสือ ลาํ เรยี กวากลอนลํา อกี อยางหนง่ึ หมายถึงการขับรอง หรือการลํา การนําเอาเร่ืองในวรรณคดีอีสานมา ขับรอง หรือ มาลํา เรียกวา ลํา ผูที่มีความชํานาญในการขับรองวรรณคดีอีสาน โดยการทองจําเอากลอน มาขบั รอง หรือผทู ีช่ ํานาญในการเลานทิ านเรอื่ งนัน้ เรอ่ื งน้ี หลายๆ เรื่องเรยี กวา \"หมอลาํ \"

117 ววิ ฒั นาการของหมอลํา ความเจริญกา วหนา ของหมอลาํ กค็ งเหมือนกบั ความเจริญกา วหนาของสงิ่ อน่ื ๆ เร่มิ แรกคงเกดิ จากผู เฒา ผูแกเ ลานิทาน นิทานทน่ี าํ มาเลา เกยี่ วกบั จารตี ประเพณแี ละศลี ธรรม โดยเรยี กลกู หลานใหม าชมุ นุมกนั ที แรกนั่งเลา เม่ือลูกหลานมาฟงกนั มากจะนั่งเลา ไมเหมาะ ตอ งยืนขน้ึ เลา เรือ่ งทน่ี ํามาเลาตอ งเปน เรื่องท่ีมใี น วรรณคดี เชน เรื่องกาฬเกษ สนิ ชัย เปนตน ผูเ ลาเพยี งแตเ ลา ไมออกทาออกทางก็ไมสนุก ผูเ ลาจึง จาํ เปนตอ งยกไมย กมือแสดงทา ทางเปน พระเอก นางเอก เปน นกั รบ เปน ตน เพียงแตเ ลา อยา งเดยี วไมส นุก จึงจาํ เปนตองใชส ําเนียงส้ันยาว ใชเสยี งสงู ต่ํา ประกอบ และหา เคร่ืองดนตรีประกอบ เชน ซงุ ซอ ป แคน เพือ่ ใหเ กิดความสนุกครกึ ครนื้ ผูแสดง มเี พียงแตผ ูช ายอยา งเดยี ว ดไู มมรี สชาติเผด็ มนั จงึ จําเปน ตองหาผหู ญงิ มาแสดงประกอบ เม่อื ผูหญงิ มาแสดงประกอบจึงเปน การลําแบบ สมบูรณ เม่อื ผหู ญิงเขา มาเกี่ยวของเร่อื งตา ง ๆ ก็ตามมา เชน เรอื่ งเกีย้ วพาราสี เร่ืองชงิ ดชี งิ เดน ยาด (แยง) ชยู าด ผัวกนั เรื่องโจทย เรื่องแก เร่อื งประชนั ขันทา เร่อื งตลกโปกฮากต็ ามมา จึงเปนการลาํ สมบรู ณแบบ จากการทมี่ ีหมอลาํ ชายเพียงคนเดียวคอย ๆ พัฒนาตอมาจนมีหมอลาํ ฝายหญงิ มเี คร่อื งดนตรี ประกอบจังหวะเพ่อื ความสนกุ สนาน จนกระทั่งเพม่ิ ผแู สดงใหมจี าํ นวนเทา กบั ตวั ละครที่มใี นเรื่องมีพระเอก นางเอก ตวั โกง ตวั ตลก เสนา ครบถวน ซง่ึ พอจะแบง ยคุ ของววิ ฒั นาการไดดงั นี้ ลาํ โบราณ เปน การเลา ทานของผูเฒา ผูแกใ หล ูกหลานฟง ไมมที า ทางและดนตรปี ระกอบ ลกู คูห รือลํากลอน เปนการลําทมี่ ีหมอลําชายหญิงสองคนลําสลับกัน มีเครื่องดนตรีประกอบ คือ แคน การลาํ มีทัง้ ลําเรอื่ งนทิ านโบราณคดีอสี าน เรยี กวา ลาํ เรอื่ งตอ กลอน ลําทวย (ทายโจทย) ปญหา ซึ่งผลู ํา จะตองมี ปฏิภาณไหวพริบที่ดี สามารถตอบโต ยกเหตุผลมาหกั ลา งฝายตรงขามได ตอ มามกี ารเพ่ิมผูลํา ข้ึน อีกหนึง่ คน อาจเปนชายหรือหญิง กไ็ ด การลาํ จะเปล่ียนเปนเรอื่ ง ชิงรักหกั สวาทยาดชูยาดผัว เรียกวา ลําชิงชู ลาํ หมู เปน การลําท่มี ีผแู สดงเพิม่ มากขน้ึ จนเกือบจะครบตามจาํ นวนตัวละครทมี่ ีในเรอ่ื ง มเี คร่อื ง ดนตรีประกอบเพ่มิ ขน้ึ เชน พณิ (ซงุ หรือ ซึง) กลอง การลําจะมี 2 แนวทาง คอื ลาํ เวยี ง จะเปนการลําแบบ ลํากลอน หมอลําแสดง เปนตวั ละครตามบทบาทในเร่อื ง การดาํ เนินเร่อื งคอ นขา งชา แตก ็ไดอรรถรสของ ละครพ้ืนบาน หมอลําไดใ ชพรสวรรคข องตวั เองในการลาํ ทงั้ ทางดา นเสียงรอง ปฏภิ าณไหวพริบ และ ความจาํ เปนทนี่ ิยมในหมผู สู งู อายุ ตอมาเมอื่ ดนตรลี ูกทงุ มอี ทิ ธิพลมากขึน้ จึงเกิดววิ ัฒนาการของลําหมูอีก คร้ังหนงึ่ กลายเปน ลําเพลิน ซึง่ จะมจี ังหวะทีเ่ ราใจชวนใหส นุกสนาน กอ นการลาํ เรอ่ื งในชวงหวั ค่าํ จะมี การนําเอารปู แบบของ วงดนตรีลกู ทุงมาใชเ รยี กคนดู กลา วคอื จะมนี กั รอง (หมอลาํ ) มารอง เพลงลกู ทุงท่ี กําลังฮิตในขณะนัน้ มหี างเครอ่ื งเตนประกอบ นําเอาเครอื่ งดนตรีสมัยใหมม าประยกุ ตใ ช เชน กตี าร คียบ อรด แซ็กโซโฟน ทรมั เปต และกลองชดุ โดยนํามาผสมผสานเขากบั เคร่อื งดนตรีเดิมไดแ ก พณิ แคน ทาํ ใหไ ดรสชาตขิ องดนตรที ่แี ปลกออกไป ยุคนับวา หมอลําเฟอ งฟมู ากท่สี ุด คณะหมอลําดัง ๆ สว นใหญ จะอยูในแถบจังหวดั ขอนแกน มหาสารคาม อุบลราชธานี ลาํ ซงิ่ หลงั จากท่หี มอลําคูและหมอลําเพลิน คอย ๆ เส่อื มความนยิ มลงไป อนั เนือ่ งมาจากการกา ว เขามาของเทคโนโลยีวทิ ยโุ ทรทศั น ทําใหดนตรีสตริงเขา มาแทรกในวิถีชวี ติ ของผูค นอสี าน ความนยิ มของ

118 การชมหมอลาํ คอ นขางจะลดลงอยา งเห็นไดช ดั จนเกิดความวิตกกังวลกนั มากในกลมุ นกั อนรุ กั ษ ศิลปวัฒนธรรมพืน้ บา น แตแลว มนตข ลงั ของหมอลําก็ไดก ลบั มาอีกครั้ง ดวยรปู แบบท่ีสะเทือนวงการดวย การแสดงทีเ่ รียกวา ลําซงิ่ ซ่งึ เปนววิ ัฒนาการของลาํ คู (เพราะใชห มอลํา 2-3 คน) ใชเครือ่ งดนตรสี ากลเขา รว มใหจ ังหวะเหมอื นลําเพลิน มีหางเคร่ืองเหมอื นดนตรลี กู ทงุ กลอนลาํ สนุกสนานมจี ังหวะอันเราใจ ทาํ ใหไ ดร บั ความนิยมอยา งรวดเรว็ จนกระท่งั ระบาดไปสกู ารแสดงพืน้ บา นอน่ื ใหต อ งประยกุ ตปรบั ตวั เชน เพลงโคราชกลายมาเปน เพลงโคราชซง่ิ กนั ตรมึ ก็กลายเปนกันตรึมรอ็ ค หนงั ปราโมทยั (หนังตะลงุ อีสาน) กลายเปน ปราโมทัยซ่งิ ถงึ กบั มกี ารจดั ประกวดแขง ขัน บันทึกเทปโทรทัศนจ าํ หนายกันอยา งแพรห ลาย จนถึงกับ มบี างทา นถึงกับกลา ววา \"หมอลาํ ไมมวี นั ตาย จากลมหายใจชาวอสี าน\" กลอนลาํ แบบตางๆ กลอนท่ีนํามาเสนอ ณ ท่ีน้มี หี ลายกลอนทม่ี คี าํ หยาบโลนจาํ นวนมาก บางทา นอาจจะทําใจยอมรับ ไมไดก ต็ อ งกราบขออภยั เพราะผจู ดั ทาํ มเี จตนาที่จะเผยแพรไวเพอ่ื เปนการสบื สาน วัฒนธรรมประเพณี มไิ ด มีเจตนาทีจ่ ะเสนอใหเปนเรอ่ื งลามกอนาจาร ตอ งยอมรับอยา งหน่งึ วา น่ีคอื วิถชี วี ิตของคนอีสาน กลอนลาํ ทงั้ หลายท้งั ปวงผูลํามีเจตนาจะทําใหเกิดความสนุกสนานตลกโปกฮาเปนที่ตั้ง ทา นท่อี ยใู นทอ งถน่ิ อนื่ ๆ ขอ ไดเขา ใจในเจตนาดว ยครับ สนใจในกลอนลําหัวขอใดคลกิ ทหี่ ัวขอนน้ั เพอ่ื เขา ชมไดค รับ กลอนที่นํามารอ งมาลํามมี ากมายหลายอยาง จนไมสามารถจะกลาวนับหรือแยกแยะไดห มด แตเ มือ่ ยอรวมลงแลว จะมีอยูสองประเภท คอื กลอนสัน้ และกลอนยาว กลอนสั้น คือ คาํ กลอนท่ีส้ันๆ สาํ หรับเวลามีงานเล็กๆ นอ ยๆ เชน งานทําบญุ บา น หรอื งาน ประจําป เชน งานบญุ เดอื นหกเปนตน กลอนสนั้ มดี ังตอ ไปน้ี 1. กลอนข้นึ ลาํ 2. กลอนลงลํา 3. กลอนลาํ เหมดิ คนื 4. กลอนโตน 5. กลอนต่ิง 6. กลอนตง 7. กลอนอศั จรรย 8. กลอนสอย 9. กลอนหนังสอื เจียง 10. กลอนเตยหรือผญา 11. ลําสีฟนดอน 12. ลาํ สนั้ เรือ่ งตดิ เสนห 

119 กลอนยาว คือ กลอนสาํ หรบั ใชล าํ ในงานการกศุ ล งานมหรสพตางๆ กลอนยาวนใี้ ชเ วลาลาํ เปน ชวั่ โมงบาง คร่ึงชว่ั โมงบาง หรือแลว แตก รณี ถา ลาํ คนเดยี วเชน ลําพื้น หรอื ลําเรื่อง ตองใชเ วลาลาํ เปนวนั ๆ คนื ๆ ท้งั น้แี ลวแตเรื่องที่จะลําสั้นหรอื ยาวแคไ หน แบง ออกเปน หลายชนดิ ดังนี้ 1. กลอนประวัติศาสตร 2. กลอนลาํ พน้ื หรอื ลาํ เรื่อง 3. กลอนเซงิ้ 4. กลอนสอ ง 5. กลอนเพอะ 6. กลอนลอ งของ 7. กลอนเวาสาว 8. กลอนฟอนแบบตางๆ อปุ กรณวธิ ีการแสดง ประกอบดว ยผแู สดงและผบู รรเลงดนตรคี อื หมอแคน แบงประเภทหมอลํา ดงั น้ี 1. หมอลาํ พ้นื ประกอบดวยหมอลํา 1 คน หมอแคน 1 คน 2. หมอลาํ กลอน ประกอบดว ย หมอลํา 2-3 คน และหมอแคน 1-2 คน 3. หมอลําเรอื่ งตอกลอน ประกอบดว ยหมอลาํ หลายคน เรยี ก หมอลําหมู ดนตรีประกอบคอื แคน พณิ ฉงิ่ กลอง และเครื่องดนตรีสากล 4. หมอลาํ เพลนิ ประกอบดว ยหมอลาํ หลายคนและผูบรรเลงดนตรีหลายคน สถานท่ีแสดง เปนมหรสพที่ใชในงานเทศกาล งานบวช งานกฐิน งานวันเกิด งานศพ ฯลฯ เปน มหรสพทปี่ ระชาชนชาวอสี านในอดีตนิยมชมชน่ื มาก

120 ผปู ระสบความสําเรจ็ จากอาชพี การแสดงหมอลาํ หมอแปน หรือ น.พ.สุชาติ ทองแปน อายุรแพทย วัย 36 ป เขาสามารถใชชีวิตอยูตรงก่ึงกลาง ระหวางการเปน \"หมอรกั ษาคน\" และ \"หมอลาํ \" ไดลงตวั อะไรทท่ี ําใหน ายแพทยคนหน่ึงเลือกที่จะมีชีวิต สองข้วั บนเสน ทางคขู นานระหวา งความฝนกบั ความเปนจรงิ \"หมอแปน \" เปน แพทยประจาํ โรงพยาบาลมหาสารคาม ผูท ที่ ุมเทใหกับการรกั ษาผูปวยดวยหัวใจ เกินรอย เขายังไดรับการยอมรับจากบุคลากรทุกระดับช้ันของโรงพยาบาล วาเปนหมอท่ีมากดวย ประสทิ ธภิ าพในการเยียวยารักษา เอาใจใสผ ูปว ย และนิสยั ใจคอกโ็ อบออมอารี หมอแปน เลาวา โดยสวนตัวผมชอบหมอลํามาต้ังแตเด็ก แลวจําไดวาตอนท่ีเรียนหมออยู ป 4 ทค่ี ณะมหี มอลาํ เขามาเปดสอนใหหดั รองหัดลาํ ผมก็อยากจะไปเรียน เพราะชอบมาต้ังนานแลว ก็ไป บอกพอกับแม แตเ ขากไ็ มใ หเรียน บอกวาอยาเลย ผมเลยไมไ ดไ ปสมัคร แตต อนนน้ั กจ็ ะไปดหู มอลาํ ตลอด ดูจนถึง 6 โมงเชา เกือบทุกวันเลย แตไมใหเสียการเรียน ถึงกลับมาเชาเราก็ไปเขาเรียนตอได ไมมี ผลกระทบอะไร เพราะเราแบง เวลาเปน และทีล่ าํ หมอลาํ ไดกไ็ มไดไปเรียนทไ่ี หน อาศยั จําเอา ดูคนนั้นคน น้ีแลวก็จํา ตอมาประมาณป 2547 ก็เริ่มชักชวนเพื่อนๆ ในโรงพยาบาลตั้งวงหมอลําข้ึนมา ช่ือวา \"บาน รมเย็น\" ปจ จบุ ันมีสมาชิกประมาณ 30 คน มีท้ังแพทย พยาบาล เจาหนาที่โภชนาการ แมบาน ผูปวย ฯลฯ ซง่ึ ชว งแรกเปน เงนิ ของตัวเอง ตอ มากเ็ ปนเงินกองทุนบานรมเย็นเอาไวซ้ือเคร่ืองสําอาง วิชาชีพ \"หมอลํา\" เปนการแสดงพน้ื บาน ท่หี ลอเล้ียง จิตวญิ ญาณของชาวอสี าน ทด่ี ไู ปแลว ศาสตรท ง้ั 2 น้นั ไมนา จะโคจรมาพบ กนั ได ทําใหหนา ที่เปน หมอรกั ษาคนไข กบั การแสดงความเพลิดเพลินใหคนดมู คี วามสุข ความเจรญิ กาวหนาในอาชพี ฝก การแสดงใหมีความชาํ นาญ และพัฒนาไปในสิ่งท่ีดี มีความรับผิดชอบ จนเปนท่ียอมรับของ ผชู มทว่ั ไป สามารถประสบความสาํ เรจ็ ได

121 สถานที่สําหรบั ศกึ ษาหมอลาํ โรงเรยี นสอนหมอลาํ กลอน ลาํ ซง่ิ (ศิลปะการแสดงพ้ืนบาน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิทยาลัย นาฏศลิ ปรอ ยเอด็ สําหรับผูทีส่ นใจเรยี นศลิ ปะการแสดง หมอลํากลอน แคนเตาเดียว หรือลาํ ซิ่ง การเรียนลาํ เรียนตง้ั แตกอ นฟอน พนื้ ฐานตา งๆ สวนลํากลอนเรยี น 5 ยก ลาํ ซง่ิ 3-4 ยก กจิ กรรมทา ยบท ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง บอกลักษณะท่ีมาและประเภทของอาชพี นาฏศลิ ปไทยได คาํ ช้แี จง ใหผูเรยี นตอบคําถามตอไปน้ี 1. อธิบายข้ันตอนของอาชพี การแสดงหนังตะลุง 2. อธิบายขั้นตอนของอาชีพการแสดงลิเก 3. อธบิ ายขน้ั ตอนของอาชพี การแสดงหมอลํา

122 คณะผจู ัดทํา ทปี่ รกึ ษา 1. นายประเสริฐ บญุ เรือง เลขาธกิ าร กศน. รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชยั ยศ อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. ทป่ี รกึ ษาดานการพัฒนาหลักสตู ร กศน. 3. นายวชั รินทร จาํ ป ผูอาํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ขาราชการบํานาญ กศน. เฉลมิ พระเกรี ยติ จ.บุรีรัมย 5. นางรกั ขณา ตัณฑวฑุ โฒ สถาบนั กศน. ภาคใต สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก ผูเขียนและเรียบเรยี ง สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายจํานง วนั วิชยั ขาราชการบํานาญ 2. นางสรญั ณอร พฒั นไพศาล กศน. เฉลิมพระเกีรยติ จ.บุรรี ัมย สถาบัน กศน. ภาคใต 3. นายชยั ยนั ต มณีสะอาด สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก 4. นายสฤษดิช์ ัย ศริ ิพร กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน ขาราชการบาํ นาญ 5. นางชอทพิ ย ศิรพิ ร กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 6. นายสรุ พงษ มั่นมะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ผบู รรณาธกิ าร และพัฒนาปรับปรุง กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 1. นายจํานง วันวชิ ัย 2. นางสรัญณอร พัฒนไพศาล 3. นายชยั ยนั ต มณสี ะอาด 4. นายสฤษดชิ์ ัย ศริ พิ ร 5. นางชอทิพย ศริ ิพร 6. นายสรุ พงษ มัน่ มะโน 7. นายวิวฒั นไชย จนั ทนสุคนธ คณะทาํ งาน 1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน 2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป 3. นางสาววรรณพร ปท มานนท 4. นางสาวศริญญา กลุ ประดษิ ฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวัฒนา กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน

123 ผพู ิมพตน ฉบบั คะเนสม กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1.นางสาวปยวดี เหลืองจติ วฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นางสาวเพชรนิ ทร กวีวงษพิพัฒน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธิษา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวชาลนิ ี บา นชี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาวอลิศรา ผูอ อกแบบปก ศรีรัตนศลิ ป กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน นายศุภโชค ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 2 คณะทปี่ รกึ ษา บุญเรือง เลขาธกิ าร กศน. อมิ่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธิการ กศน. นายชัยยศ จนั ทรโอกลุ ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดานพฒั นาสอื่ การเรยี นการสอน นายวชั รนิ ทร ผาตนิ ินนาท ผูเ ชีย่ วชาญเฉพาะดานการเผยแพรท างการศกึ ษา นางวทั นี ธรรมวธิ กี ลุ หวั หนาหนวยศกึ ษานเิ ทศก นางชลุ ีพร งามเขตต ผูอ าํ นวยการศกึ ษานอกโรงเรยี น นางอัญชลี นางศุทธนิ ี ผพู ฒั นาและปรับปรงุ คร้ังท่ี 2 นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายกิตติพงศ จันทวงศ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นางสาวผณนิ ทร แซอ้งึ นางสาวเพชรินทร เหลืองจติ วฒั นา

124 คณะผูปรบั ปรงุ ขอ มลู เกย่ี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริยป พ.ศ. 2560 ทป่ี รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผูต รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร 1. นายสุรพงษ ปฏิบตั หิ นาทร่ี องเลขาธกิ าร กศน. 2. นายประเสรฐิ สุขสุเดช ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. นางตรีนุช ผปู รบั ปรุงขอ มลู นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุม พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4. นางเยาวรตั น ปน มณวี งศ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวาง 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น 8. นางสาวชมพูนท สังขพิชยั