Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore innovation

innovation

Published by Supawadee0807, 2019-01-19 02:59:47

Description: innovation

Search

Read the Text Version

ความหมายของนวตั กรรม ๑ ความสาคญั ของนวตั กรรมการศกึ ษา ๒ องค์ประกอบทส่ี าคัญของนวตั กรรม ๓ ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา ๔-๕ ข้ันตอนการพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษา ๖-๗ การเขียนรายงานการพฒั นานวตั กรรม ๘-๙ บรรณานุกรม ๑๐

๑. ความหมายของนวตั กรรม ทอมสั ฮวิ ช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวตั กรรม” ว่า เป็นการนาวิธกี ารใหม่ๆ มา ปฏิบตั ิหลังจากไดผ้ า่ นการทดลองหรือไดร้ ับการพัฒนามาเปน็ ขั้นๆ แลว้ เริ่มตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การพัฒนา (Development) ซ่งึ อาจจะเปน็ ไปในรูปของโครงการทดลองปฏบิ ตั กิ ่อน (Pilot Project) แล้วจึงนาไปปฏิบัตจิ ริงซ่ึงมีความแตกต่างไปจากการปฏิบตั ิเดมิ ท่เี คยปฏบิ ตั ิมา ไชยยศ เรืองสวุ รรณ (2521 : 14) ไดใ้ ห้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้วา่ หมายถึง วธิ ีการปฏิบตั ิ ใหมๆ่ ที่แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะไดม้ าจากการคดิ ค้นพบวิธกี ารใหมๆ่ ขนึ้ มาหรอื มีการปรับปรุงของ เกา่ ให้เหมาะสมและสิ่งทง้ั หลายเหลา่ นี้ไดร้ บั การทดลอง พฒั นาจนเปน็ ท่ีเช่ือถอื ได้แลว้ วา่ ไดผ้ ลดีในทาง ปฏบิ ัติ ทาให้ระบบก้าวไปสจู่ ุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขน้ึ สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (2549) ไดใ้ ห้ความหมายของนวัตกรรมไวว้ ่า นวัตกรรม คือ “สิง่ ใหม่ ท่เี กดิ จากการใชค้ วามร้แู ละความคดิ สร้างสรรค์ท่ีมปี ระโยชนต์ ่อเศรษฐกจิ และสังคม” สมนกึ เอ้ือจิระพงษ์พันธ์และคณะ (2553) ได้ให้ความหมายของ นวตั กรรม หมายถึง “สง่ิ ใหมท่ ่ี เกดิ ขน้ึ จากการใช้ความรู้ ทกั ษะประสบการณ์ และความคิดสร้างสรรคใ์ นการพัฒนาขึน้ ซ่ึงอาจจะมีลัก กษณะเป็นผลิตภณั ฑใ์ หม่ บริการใหม่ หรอื กระบวนการใหม่ ท่กี ่อให้เกดิ ประโยชน์ในเชงิ เศรษฐกิจและ สงั คม” สรุป “นวัตกรรม” หมายถึง ความคดิ วิธีการปฏิบตั ิ หรอื สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยงั ไมเ่ คยมีใช้มาก่อน หรอื เป็นการพัฒนาดดั แปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมยั และใชไ้ ด้ผลดยี ง่ิ ข้นึ เม่อื นา นวัตกรรมมาใชจ้ ะช่วยใหก้ ารทางานน้ันไดผ้ ลดมี ปี ระสิทธภิ าพ ประหยดั เวลา

๒. ความสาคญั ของนวตั กรรมการศึกษา นวัตกรรมมคี วามสาคญั ตอ่ การศกึ ษาหลายประการ ทง้ั นีเ้ นอ่ื งจากในโลกยคุ โลกาภวิ ฒั นโ์ ลกมกี าร เปลีย่ นแปลงในทุกดา้ นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ความก้าวหน้าทง้ั ดา้ นเทคโนโลยีและ สารสนเทศ การศกึ ษาจงึ จาเปน็ ตอ้ งมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษาทมี่ อี ยเู่ ดมิ เพือ่ ให้ ทนั สมยั ต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสงั คมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป อีกทงั้ เพ่อื แก้ไขปญั หา ทางด้านศึกษาบางอยา่ งที่เกดิ ขึน้ อย่างมีประสิทธภิ าพเช่นเดยี วกัน การเปลีย่ นแปลงทางด้าน การศกึ ษาจงึ จาเป็นตอ้ งมีการศกึ ษาเก่ยี วกับนวัตกรรมการศกึ ษาท่จี ะนามาใช้เพอ่ แก้ไขปญั หาทางการ ศึกษาในบางเรือ่ ง เช่น ปัญหาท่ีเกยี่ วเน่ืองกนั จานวนผ้เู รียนทมี่ ากขึน้ การพัฒนาหลักสูตรให้ ทันสมยั การผลิตและพฒั นาสอ่ื ใหม่ ๆ ข้ึนมาเพอ่ื ตอบสนองการเรยี นรขู้ องมนุษยใ์ ห้เพิม่ มากขึ้นดว้ ย ระยะเวลาท่ีส้ันลง การใช้นวัตกรรมมาประยกุ ตใ์ นระบบการบรหิ ารจัดการดา้ นการศกึ ษาก็มสี ่วนชว่ ย ให้การใช้ทรพั ยากรการเรียนรูเ้ ปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เช่น เกิดการเรยี นรู้ด้วยตนเอง กล่าวโดยสรุป นวตั กรรมการศกึ ษาเกิดขึน้ ตามสาเหตุใหม่ ๆ ดังต่อไปน้ี 1) การเพิ่มปรมิ าณของผู้เรียนในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทาให้ นกั เทคโนโลยกี ารศกึ ษาต้องหานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ เพื่อให้สามารถสอนนกั เรียนได้มากข้นึ 2) การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยเี ปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว การเรยี นการสอนจึงต้องตอบสนองการเรยี น การสอนแบบใหม่ ๆ ทีช่ ่วยใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรยี นรู้ไดเ้ ร็วและเรียนร้ไู ดม้ ากในเวลาจากดั นักเทคโนโลยี การศกึ ษาจง่ ต้องคน้ หานวัตกรรมมาประยกุ ตใ์ ช้เพื่อวัตถปุ ระสงค์น้ี 3) การเรียนรูข้ องผูเ้ รียนมแี นวโน้มในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองมากขน้ึ ตามแนวปรชั ญาสมัยใหมท่ ย่ี ึด ผเู้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง นวัตกรรมการศกึ ษาสามารถช่วยตอบสนองการเรยี นรู้ตามอัตภาพ ตาม ความสามารถของแต่ละคน เชน่ การใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน CAI (Computer Assisted instruction) การเรียนแบบศูนย์การเรียน 4) ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ท่ีส่วนผลักดันให้มกี ารใชน้ วตั กรรมการศึกษาเพม่ิ มากขึ้น เช่น เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรท์ าใหค้ อมพิวเตอร์ มีขนาดเลก็ ลง แต่มี ประสิทธิภาพสูงข้ึนมาก เทคโนโลยเี ครือข่ายคอมพิวเตอร์และอนิ เตอร์เนต็ ทาให้เกดิ การสอื่ สารไร้ พรมแดน นักเทคโนโลยกี ารศึกษาจึงคดิ ค้นหาวธิ ีการใหม่ ๆ ในการประยุกต์ใชร้ ะบบเครอื ข่าย คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ฐานในการเรยี นรู้ ทเ่ี รียกว่า “Web-based Learning” ทาให้สามารถเรียนรู้ในทุก

พีท่ ุกเวลาสาหรบั ทุกคน (Sny where, Any time for Everyone ) ถา้ หากผูเ้ รยี นสามารถใช้ อินเตอร์เนต็ ได้ การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นปัจจุบันเป็นไปอย่างกวา้ งขวาง ในวงการศึกษาคอมพวิ เตอรม์ ิใชเ่ พียงแตส่ งิ่ อานวยความสะดวกในสานักงานเท่านน้ั แต่ยังใช้เป็นส่ือหรือเปน็ เคร่ืองมอื สรา้ งส่อื ได้อยา่ งสวยงาม เหมอื นจริง และรวดเร็วมากกวา่ กอ่ น นกั เทคโนโลยีการศึกษาจงึ ศกึ ษาวจิ ยั บทนวัตกรรมทางดา้ นการ ผลติ และการใชส้ ือ่ ใหม่ ๆ ตามศักยภาพของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ ระบบ มัลตมิ เี ดีย วดิ ีโอออนดีมานด์ การประชุมทางไกล อี-เสน้ น่งิ อ-ี เอด็ ดเู คชั่น เป็นตน้ ๓. องคป์ ระกอบทสี่ าคญั ของนวัตกรรม มีอยู่ 3 ประการ คอื 1. ความใหม่ (Newness) หมายถงึ เปน็ สิ่งใหม่ที่ถูกพฒั นาขึ้น ซ่งึ อาจเปน็ ตัวผลิตภัณฑ์ บริการ หรือ กระบวนการ โดยจะเป็นการปรบั ปรุงจากของเดมิ หรือพัฒนาข้นึ ใหม่เลยก็ได้ 2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits) หรอื การสร้างความสาเรจ็ ในเชิงพาณิชย์ กลา่ วคือ นวัตกรรม จะต้องสามารถทาให้เกิดมูลค่าเพ่มิ ขึ้นไดจ้ ากการพฒั นาส่ิงใหม่น้ันๆซ่ึง ผลประโยชน์ทีจ่ ะเกิดข้นึ อาจจะวัดไดเ้ ป็นตัวเงนิ โดยตรง หรอื ไม่เป็นตัวเงินโดยตรงกไ็ ด้ 3. การใช้ความรู้และความคดิ สร้างสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea) ส่งิ ทจ่ี ะเปน็ นวัตกรรมได้น้นั ตอ้ งเกดิ จากการใช้ความรแู้ ละความคิดสร้างสรรค์เปน็ ฐานของการพฒั นาให้เกิดซ้า ใหม่ ไมใ่ ช่เกิดจากการลอกเลียนแบบ การทาซ้า เปน็ ตน้ 5. ประเภทของนวตั กรรมการศกึ ษา มี 5 ประเภทไดแ้ ก่ นวัตกรรมด้านสอื่ สารการสอน เนื่องจากมคี วามก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์ เครือข่ายและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทาใหน้ ักการศึกษาพยายามนาศกั ยภาพของเทคโนโลยีเหลา่ นี้มา ใช้ในการผลติ ส่อื การเรยี นการสอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ท้งั การเรียนดว้ ยตนเอง การเรียนเปน็ กลุม่ และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสอ่ื ทใ่ี ชเ้ พื่อสนบั สนุนการฝกึ อบรมผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หนังสอื อิเลค็ ทรอนิคส์ บทเรยี น CD/VCD ค่มู ือการทางานกลมุ่ เป็นต้น

นวัตกรรมด้านวธิ ีการจดั การเรียนการสอน เปน็ การใช้วิธรี ะบบในการปรับปรุงและคดิ คน้ พัฒนาวธิ ี สอนแบบใหมๆ่ ท่สี ามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง การเรียน แบบมีส่วนรว่ ม การเรียนร้แู บบแกป้ ัญหา การพฒั นาวธิ สี อนจาเปน็ ต้องอาศัยวธิ กี ารและเทคโนโลยี ใหมๆ่ เข้ามาจดั การและสนบั สนนุ การเรียนการสอน เชน่ การสอนแบบรว่ มมือ การสอนแบบ อภิปราย วิธสี อนแบบบทบาทสมมุติ การสอนด้วยรูปแบบการเรยี นเป็นคู่ เป็นตน้ นวัตกรรมด้านหลักสตู ร เป็นการใชว้ ิธกี ารใหม่ๆในการพฒั นาหลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม ในท้องถ่ิน และตอบสนองความตอ้ งการสอนบุคคลใหม้ ากข้นึ เนือ่ งจากหลักสูตรจะต้องมกี าร เปลย่ี นแปลงอยู่เสมอ เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับความก้าวหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศและของโลก นวตั กรรมทางด้านหลกั สตู รได้แก่ การพฒั นาหลกั สูตรบูรณาการ หลกั สตู ร รายบคุ คล หลกั สตู รกิจกรรมและประสบการณ์ และหลักสตู รทอ้ งถิ่น นวัตกรรมด้านการวดั และการประเมนิ ผล เป็นนวตั กรรมท่ีใช้เป็นเครื่องมอื เพื่อการวัดผลและ ประเมนิ ผลไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและทาไดอ้ ย่างรวดเร็ว รวมไปถงึ การวิจยั ทางการศึกษาการวจิ ัย สถาบัน ดว้ ยการประยุกตใ์ ช้โปรแกรมคอมพิวเตอรม์ าสนบั สนนุ การวดั ผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ เช่น การสรา้ งแบบวัดต่างๆ การสร้างเครื่องมอื การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น แนวทางในการสร้างแบบวดั ผลและประเมินผล เช่น การสรา้ งแบบวัดแววครู การพัฒนาคลงั ขอ้ สอบ การสร้างแบบวัดความมีวินัยในตนเอง นวตั กรรมดา้ นการบรหิ ารจัดการ เปน็ การใชน้ วัตกรรมท่เี กี่ยวขอ้ งกับการใชส้ ารสนเทศมาช่วยในการ บริหารจัดการ เพื่อการตดั สินใจของผูบ้ ริหารการศกึ ษาใหม้ คี วามรวดเรว็ ทันเหตุการณท์ นั ต่อการ เปล่ยี นแปลงของโลก นวตั กรรมการศกึ ษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบรหิ ารจะเกี่ยวขอ้ งกับระบบการ จัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศกึ ษา เชน่ การบรหิ ารเชิงระบบ การบริหารเชิงกลยทุ ธ์ การ บรหิ ารเชงิ บรู ณาการ เป็นต้น

ทิศนา แขมมณี (2548 : 423) ไดใ้ หห้ ลักการพัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษาไว้พอ สรุปไดด้ ังนี้ 1 การระบุปัญหา (Problem) ความคิดในการพัฒนานวัตกรรมน้ัน สว่ นใหญ่จะเร่มิ จากการมองเห็นปญั หา และต้องการแกไ้ ขปญั หาน้ันใหป้ ระสบความสาเร็จอย่างมคี ณุ ภาพ 2 การกาหนดจดุ ม่งุ หมาย (Objective) เม่อื กาหนดปัญหาแล้วกก็ าหนด จุดม่งุ หมายเพ่ือจัดทาหรือพฒั นานวัตกรรมให้มีคณุ สมบตั ิ หรอื ลกั ษณะตรงตามจุดมุ่งหมายทกี่ าหนด ไว้ 3 การศกึ ษาข้อจากดั ตา่ งๆ (Constraints) ผู้พัฒนานวตั กรรมทางด้านการ เรยี นการสอนต้องศกึ ษาขอ้ มลู ของปัญหาและขอ้ จากัดทจ่ี ะใช้นวตั กรรมน้นั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการ นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ 4 การประดษิ ฐค์ ดิ ค้นนวตั กรรม (Innovation) ผู้จดั ทาหรือพัฒนานวตั กรรม จะตอ้ งมคี วามรู้ ประสบการณ์ ความริเริ่มสร้างสรรค์ ซ่งึ อาจนาของเก่ามาปรับปรงุ ดดั แปลง เพ่ือใช้ใน การแกป้ ญั หาและทาใหม้ ีประสิทธภิ าพมากข้ึน หรืออาจคดิ คน้ ข้นึ มาใหม่ทัง้ หมด นวัตกรรมทาง การศกึ ษามีรูปแบบแตกต่างกนั ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหาหรอื วัตถปุ ระสงคข์ องนวตั กรรมนนั้ เชน่ อาจมี ลกั ษณะเป็นแนวคดิ หลักการ แนวทาง ระบบ รูปแบบ วิธีการ กระบวนการ เทคนคิ หรือสงิ่ ประดษิ ฐ์ และเทคโนโลยี เปน็ ต้น 5 การทดลองใช้ (Experimentation) เมอื่ คิดค้นหรอื ประดษิ ฐน์ วัตกรรมทาง การศกึ ษาแล้ว ต้องทดลองนวตั กรรม ซ่ึงเปน็ ส่งิ จาเป็นเพือ่ เป็นการประเมนิ ผลและปรับปรุงแก้ไขผล การทดลองจะทาใหไ้ ด้ขอ้ มูลนามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมตอ่ ไป ถา้ หากมีการทดลอง ใช้นวตั กรรมหลายคร้ังก็ย่อมมีความมั่นใจในประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรมนั้น 6 การเผยแพร่ (Dissemination) เม่อื ม่นั ใจนวตั กรรมที่สรา้ งข้นึ มีประสทิ ธภิ าพ แลว้ ก็สามารถนาไปเผยแพรใ่ ห้เป็นที่รจู้ ัก โดยสรุป การพัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาเร่มิ ตน้ จากปญั หาท่ีพบในการสอนจึง รวบรวมปญั หาและสร้างนวัตกรรมขนึ้ เพ่ือนาไปพฒั นาระบบการสอนใหม่ และทดลองใชน้ วตั กรรม นาไปปรับปรุงและพัฒนาจนสามารถแก้ไขปัญหาที่พบไดจ้ รงิ

สื่อ นวตั กรรมทางการศกึ ษา ทสี่ รา้ งขึ้นมาเพื่อใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน ไมว่ ่าจะเปน็ เอกสาร หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื สิ่งประดิษฐต์ ่าง ๆ เมื่อดาเนนิ การและไดน้ าไปใช้ในการ จดั การเรียนการสอน ถา้ ต้องการจะสง่ เปน็ ผลงานทางวชิ าการ เพอื่ เลอื่ นวิทยฐานะจาเปน็ อยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะตอ้ งเขยี นรายงานเพือ่ เผยแพร่ให้ผอู้ ืน่ ไดท้ ราบและนาไปใชป้ ระโยชน์ และ รายงานท่ีจัดทาควรแสดงให้เหน็ แนวคดิ ต้งั แต่เรม่ิ ดาเนินการจนกระท่งั เสร็จสิ้นและแสดงให้ เห็นวา่ สงิ่ ทจ่ี ดั ทาควรมปี ระสิทธภิ าพ การเขยี นรายงานผลการพฒั นาสอ่ื /นวัตกรรม มี ลักษณะไมแ่ ตกตา่ งจากการเขียนรายงานการวจิ ยั แต่จะลดความเขม้ ขน้ ของการคน้ ควา้ ผลงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้องและความเขม้ ขน้ ทางสถติ ทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูลการเขยี นรายงาน ควรมลี ักษณะที่สาคญั 4 ประการคอื 1. มคี วามตรง คือในรายงานควรกลา่ วชดั เจนถึงปญั หาท่ตี ้องการแกไ้ ข วัตถุประสงค์ วธิ กี ารท่ีจะบรรลวุ ัตถปุ ระสงคแ์ ละผลการบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ 2. มีความชดั เจน คอื การเขียนตอ้ งใชภ้ าษาทสี่ อื่ ความหมาย 3. มีความสมบรู ณ์ คือมีข้อมลู ครบถว้ นต้ังแต่เร่ิมวเิ คราะหป์ ัญหาจนถงึ ผลการ แกป้ ัญหา 4. มคี วามถูกต้องตามความเป็นจริง คือขอ้ มลู จะตอ้ งเช่อื ถอื ได้ และการนาเสนอ ขอ้ มูลตอ้ งเป็นผลทไี่ ด้จากการวิเคราะหจ์ รงิ ๆ และมคี วามถกู ต้อง ส่วนประกอบของการเขยี นรายงาน 1. ชื่อเร่ือง เปน็ ส่ิงสาคญั ทจ่ี ะทาให้ผู้อา่ นเกดิ ความเขา้ ใจในปญั หาและวิธีการ พัฒนาไดต้ รงกับผพู้ ฒั นา ช่อื เรือ่ งที่ดคี วรจะดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่นื และสามารถ วิเคราะห์

หาคณุ ลกั ษณะของตัวแปรท่ปี ระสงคจ์ ะศกึ ษา 2. สว่ นทเี่ ป็นเนอื้ หา แบ่งออกเปน็ 5 บท ดังนี้ บทท่ี 1 บทนา บทนี้เป็นการนาเขา้ สเู่ นอ้ื หาของรายงาน ประกอบดว้ ยหัวข้อดงั น้ี 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การเขียนควรกล่าวถงึ ลกั ษณะของปญั หาในการจัดการเรยี นการสอนท่ี รบั ผดิ ชอบโดยตรงในลกั ษณะความเรยี ง โดยกล่าวถึง 1.1.1 ลกั ษณะทป่ี รากฏของปญั หา เช่น นกั เรียนมีผลการเรยี นรเู้ ป็น อยา่ งไร การเขยี นอาจจะมหี ลักฐานประกอบ เช่น กราฟ แผนภมู ิ ฯลฯ 1.1.2 สาเหตขุ องปญั หา ควรกลา่ วถงึ สิง่ ที่อาจเป็นสาเหตใุ หเ้ กดิ ปัญหา โดยสาเหตอุ าจมาจากองค์ประกอบตา่ ง ๆ เช่น สาเหตจุ ากตวั นักเรียน สาเหตจุ ากครอบครัว สาเหตุจากเพอื่ น สาเหตุจากสิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชน สาเหตจุ ากสิ่งแวดล้อมในโรงเรยี น สาเหตุจากครู สาเหตุจากหลักสูตร ฯลฯ 1.1.3 แนวทางทจ่ี ะนามาแก้ปัญหา กลา่ วถึง แนวทางตา่ ง ๆ ทจี่ ะ สามารถใช้แกป้ ญั หาได้ แต่ละแนวทางอาจอ้างองิ ทฤษฎี หลักการหรอื ผลการวิจัยต่าง ๆ หรือ อาจใช้ความคิดสรา้ งสรรค์หรือประสบการณส์ ว่ นตวั งานทพ่ี ฒั นา สอ่ื คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เร่ือง การออกคาควบกลา้ ชื่อรายงาน รายงานผลการพัฒนาส่อื คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เร่ือง การออกคา ควบกล้า ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี4 หลังจากระบุแนวทางในการแก้ปัญหาท่เี ป็นไปได้ต่าง ๆ แล้ว ก็เสนอว่าเลือกทางเลอื กใดในการแก้ปญั หาทด่ี ีที่สดุ (หรอื วิธีการนวัตกรรม) ทเ่ี หมาะสมท่สี ดุ

ซึ่งอาจใช้วิธีการหรือแนวทางหลายอย่างประกอบกนั เปน็ “แนวทางแกป้ ญั หา” ที่ดีทส่ี ดุ ก็ ได้ เชน่ การสอนใหน้ กั เรยี นออกคาควบกลา้ อาจจะจดั ทาเปน็ สอ่ื คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เพื่อ นกั เรียนจะได้ใชใ้ นการฝึกท้งั ทีบ่ า้ นและทโ่ี รงเรยี นได้ 1.2 วัตถุประสงค์ การเขยี นควรกล่าวถึงผลทตี่ ้องการไดร้ บั หลังจากใชน้ วตั กรรมน้ันแลว้ เชน่ กลา่ วถึงตัวนกั เรียนวา่ จะเพมิ่ พูนความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ คา่ นิยม และศึกษานิสยั ในแงใ่ ดบา้ ง นอกจากนั้นการเขยี นหวั ข้อน้ีจะต้องคานงึ ถงึ ลกั ษณะของปัญหาทไ่ี ดก้ ล่าว ไว้ในหัวขอ้ 1.1 ในบางคร้ังนวัตกรรมอาจไม่มีวตั ถปุ ระสงคท์ ีจ่ ะแก้ปัญหาโดยตรง แต่ต้อง เชือ่ มโยงใหเ้ ห็นวา่ จะนาไปสูผ่ ลกระทบลดสภาพปญั หาลงไดอ้ ย่างไร 1.3 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ การเขยี นอาจกลา่ วถึงผลท่ีคาดว่าจะได้รับหลงั จากใชน้ วัตกรรมไปแลว้ ทง้ั ทางตรง ทางออ้ ม ระยะสัน้ และระยะยาว โดยจะต้องสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ 1.4 ขอบเขตของการศกึ ษา ควรระบุให้ชดั วา่ นวตั กรรมทพ่ี ัฒนาข้นึ มานี้ใชใ้ นการจดั การเรียน การสอนเมื่อใด เวลาใด ฯลฯ 1.5 คานยิ ามศัพท์เฉพาะ การกาหนดคานิยามศพั ทเ์ ฉพาะ เขยี นขึน้ เพอื่ ใหผ้ ้อู า่ นไดเ้ ขา้ ใจตรงกบั ที่ ผู้เขียนตอ้ งการสอื่ ความหมาย และไม่ควรเขียนยาวมากนกั ปญั หา : นักเรยี นไม่สามารถออกคาควบกล้าได้ แนวทางการแก้ปญั หา : จัดทาสอื่ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เชน่ การออกคาควบกล้า วตั ถปุ ระสงค:์ 1. เพ่อื จดั ทาสือ่ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง การออกคาควบกล้า 2. เพื่อศกึ ษาความสามารถของนกั เรยี นในการออกคาควบกล้า 3. เพ่ือเปรยี บเทยี บความสามารถของนกั เรยี นทฝี่ ึกโดยใช้สอ่ื คอมพิวเตอร์ช่วยสอนกบั ท่ีเรยี นปกติ บทที่ 2 การพัฒนานวตั กรรม

การต้งั ชอื่ บทน้อี าจตง้ั ชื่อใหต้ รงกับนวัตกรรมที่พัฒนาก็ได้ เชน่ การพฒั นา ส่ือคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน การเขยี นบทนี้ อาจประกอบด้วย หัวข้อดงั ต่อไปน้ี 2.1 แนวคดิ ทฤษฎที ี่ใช้ การเขยี นหวั ขอ้ นค้ี วรกล่าวถึง กรอบความคดิ หรือแนวคดิ ทฤษฎที ีน่ ามาใช้ ในการสรา้ งนวัตกรรม เพ่ือช้นี าใหเ้ หน็ วา่ นวตั กรรมทสี่ รา้ งมีความสาคญั มเี หตผุ ล และมี ความ เปน็ ไปได้สงู และมีผทู้ ่เี คยทาไวแ้ ลว้ หรอื ยงั ถา้ มผี ้เู คยทาไวแ้ ล้วผลการใช้เป็นอย่างไร 2.2 ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน เป็นการกลา่ วถึงขน้ั ตอนในการผลติ นวตั กรรม ตัง้ แต่เรมิ่ ดาเนินการ จนกระท่ังไดน้ วตั กรรม เช่น การวเิ คราะห์หลักสตู ร การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ฯลฯ อนึง่ การเขยี นในหวั ขอ้ น้ี ควรเขยี นให้เห็นถงึ ความเพยี รพยายามอตุ สาหะ ของการคิดคน้ พฒั นา สร้างนวัตกรรม ถา้ มแี หล่งอา้ งอิง หรอื แหลง่ ต้นแบบ หรือแหล่ง ชว่ ยเหลอื แนะนาใด ๆ ทไี่ ด้นามาใช้จริง ก็ควรกล่าวไว้ใหค้ รบถว้ น 2.3 ผลงานหรอื นวัตกรรมท่ีได้ กลา่ วถงึ นวัตกรรมทไ่ี ด้ หลังจากทาตามข้นั ตอนตา่ ง ๆ 2.4 แนวทางการนานวตั กรรมไปใช้ เปน็ สว่ นท่กี ลา่ วถงึ เทคนิควธิ กี ารใช้นวัตกรรมในสถานการณจ์ ริง เช่น การ นาสือ่ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน บทท่ี 3 การทดลองใช้นวตั กรรม การตั้งชื่อบทนอ้ี าจใช้ชอ่ื นวัตกรรมทพ่ี ัฒนา เชน่ การทดลองใชส้ อ่ื คอมพวิ เตอร์ ช่วยสอน บทนเ้ี ป็นการแสดงให้เห็นถงึ ประโยชน์ของนวตั กรรมทสี่ ามารถนาไปใชไ้ ด้ สถานการณ์จรงิ วา่ สามารถใช้ไดเ้ พียงใด หวั ข้อทนี่ าเสนอในบทนมี้ ีดังน้ี 3.1 รปู แบบการทดลอง การจะสรปุ วา่ นวัตกรรมทีส่ รา้ งหรือพัฒนามีประสิทธภิ าพเพยี งใด มคี วาม จาเปน็ อยา่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งนาไปทดลองใช้ และในการทดลองใช้อาจจะใชก้ ับนักเรียนกลุ่มเดียว หรอื 2 กล่มุ ก็ได้ขึ้นอยกู่ ับผพู้ ฒั นา

กรณที ีใ่ ช้กับนักเรียนกลุม่ เดียว รปู แบบการทดลองมดี งั น้ี 0 1 หมายถึง การวดั ตวั แปรตามกอ่ นการทดลอง X หมายถงึ การใชน้ วัตกรรม 0 2 หมายถงึ การวัดตวั แปรตามหลังการทดลอง 0 1 และ 0 2 เปน็ การวัดด้วยเครอ่ื งมอื เดยี วกนั มีมาตรวดั อันเดียวกนั การวเิ คราะห์เปน็ การเปรียบเทียบระหว่าง 0 2 กับ 0 1 กรณีกลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม รปู แบบการทดลองมีดังน้ี (R) หมายถงึ การสมุ่ (Random) E หมายถึง กลุม่ ทดลอง C หมายถึง กลมุ่ ควบคมุ X หมายถงึ การใชน้ วตั กรรม 0 E หมายถงึ การวัดตวั แปรตามของกลมุ่ ทดลองภายหลงั การทดลอง 0 C หมายถึง การวัดตวั แปรตามของกลมุ่ ควบคมุ ภายหลงั การทดลอง การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เป็นการเปรียบเทยี บผลระหว่าง 0 E กบั 0 C ซ่ึงได้ มาจากการวดั ดว้ ยเครอ่ื งมอื วัดชุดเดียวกนั 01x02 (R) E X 0E (R) C 0C 3.2 วธิ กี ารทดลอง เปน็ การเสนอขอ้ มลู เก่ยี วกับกระบวนการทดลองทงั้ หมด ได้แก่ . ประชากร ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง . การส่มุ ตวั อยา่ ง . เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการประเมนิ และการสร้างเครอ่ื งมอื (รวมถงึ การหา คุณภาพของเครอื่ งมอื ) . การใช้นวัตกรรม . การเกบ็ รวบรวมข้อมูล . สถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู บทท่ี 4 ผลการทดลองใช้นวตั กรรม

การเสนอผลการทดลอง เปน็ หลักฐานทพ่ี ิสูจนค์ วามสาเรจ็ ของนวัตกรรม บางคร้ังการเสนอผลอาจเปน็ เพียงความคดิ เหน็ หรอื ความรสู้ กึ ของผเู้ ก่ยี วข้องทง้ั โดยตรง หรือ โดยออ้ ม ผ่านการใช้แบบสอบถามหรอื อาจจะเป็นการทดสอบ ซึง่ ก็จะเป็นขอ้ มูลทยี่ ืนยนั ผล การทดลองใชไ้ ด้ การนาเสนอผลการทดลองใช้ อาจเสนอในรูปของการบรรยาย ตาราง แผนภูมิ หรือกราฟประกอบการบรรยาย และสาระทนี่ าเสนอจะตอ้ งตอบวตั ถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดไว้ ใน บทท่ี 1 ทกุ ขอ้ บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การเขียนบทนี้ จะเปน็ การสรุปผลจากบทท1่ี – 4 มาเขียนยอ่ ๆ ใหเ้ หน็ ภาพรวม ทัง้ หมด โดยจะกล่าวถึง 5.1 สรุปผล เปน็ การสรุปผลในเร่ือง การพัฒนานวัตกรรม ลกั ษณะของนวตั กรรมท่ี พัฒนา การทดลองใช้และผลการทดลอง 5.2 อภปิ รายผล เปน็ การอภิปรายผลการใช้นวตั กรรมท่ีได้นาเสนอในบทท่ี4 โดยชใี้ ห้เหน็ ว่านวตั กรรมทพี่ ฒั นาตรงตามวตั ถุประสงค์ท่ีวางไวเ้ พยี งใด มอี ะไรทเ่ี ป็นจดุ เด่น หรอื มี ขอ้ จากัดอะไรบา้ งทที่ าใหผ้ ลการใชน้ วตั กรรมไมบ่ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงคท์ ี่วางไว้ 5.3 ขอ้ เสนอแนะ เป็นการเสนอท้งั จดุ เดน่ และจุดดอ้ ยของนวตั กรรมทีพ่ ฒั นา ไมว่ า่ จะเปน็ การสร้าง การวจิ ยั พัฒนาขนั้ ตอ่ ไป ตลอดจนขอ้ เสนอแนะในการนานวตั กรรมไปใช้ให้เกดิ ผล ในการเรยี นการสอนตอ่ ไป 3. สว่ นอา้ งองิ การเขียนรายงานผลการพัฒนา นอกจากจะเขยี นเนอ้ื เร่ืองท้ัง 5 บทที่กลา่ วแล้ว จะมสี ว่ นท้าย ซึ่งเป็นสว่ นอ้างองิ ประกอบด้วย - บรรณานกุ รม การเขยี นบรรณานกุ รม ตอ้ งมจี านวนหนังสอื มากกวา่ หรือเทา่ กับจานวน

หนังสือท่กี ลา่ วถงึ ในเลม่ และการเขยี นใหใ้ ชต้ ามหลกั ของวชิ าบรรณารักษ์ - ภาคผนวก อาจจะเป็นเครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ นวัตกรรม บรรณานุกรม กิดานนั ท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและนวัตกรรม. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. คณาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศึกษา. (2539). เทคโนโลยกี ารศึกษา.กรงุ เทพฯ:

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ติ . บุญเกอ้ื ควรหาเวช. (2543). นวตั กรรมการศึกษา. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 5). นนทบรุ ี: SR Printing. ทิศนา แขมมณ.ี (2547). ศาสตร์การสอน. (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ปรยี าภรณ์ จิตต์รกั ธรรม. (2551). ประเภทนวตั กรรมการศกึ ษา. (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า: https://www.l3nr.org/posts/224964. วนั ทสี่ ืบค้นขอ้ มลู 12 ธ.ค. 2558. พิชติ ฤทธ์ิจรูญ. (2550). การวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรม. กรงุ เทพฯ. เอกสารอัดสาเนา. วรวทิ ย์ นิเทศศิลป์. (2551). สือ่ และนวตั กรรมแหง่ การเรียนร.ู้ ปทมุ ธานี: สกายบกุ๊ ส.์ สมจิตร ยม้ิ สุด. (มปป). ความหมายนวตั กรรมการศกึ ษา (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า: https://www.gotoknow.org/posts/401951. วันทีส่ ืบคน้ ข้อมูล 12 ธ.ค. 2558. สมนึก เอ้ือจริ ะพงษพ์ ันธ์และคณะ. (2533). นวตั กรรม : ความหมาย ประเภท และความสาคญั ต่อ การเปน็ ผู้ประกอบการ. (ออนไลน์). วารสารบริหารธรุ กิจ.ปที ่ี 33 ฉบับท่ี 128 ตุลาคม-ธนั วาคม. แหลง่ ท่มี า: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=003abc82634a15f2. วนั ทีส่ บื ค้น ขอ้ มลู 12 ธ.ค. 2558. สมบรู ณ์ สงวนญาติ. (2534). เทคโนโลยที างการเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ: หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ กรมการฝกึ หดั คร.ู สุคนธ์ สนิ ธพานนท.์ (2553). นวตั กรรมการเรยี นการสอน…เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพของเยาวชน. (พิมพค์ ร้งั ท่ี 4). กรุงเทพฯ: 9119 เทคนคิ พริ้นตง้ิ . สุรินทร์ บญุ สนอง. (มปป). องค์ประกอบของนวตั กรรมการศึกษา. (ออนไลน)์ .

แหลง่ ทม่ี า: https://www.gotoknow.org/posts/428150. วนั ทสี่ ืบค้นข้อมลู 12 ธ.ค. 2558. _____. (มปป). นวตั กรรมเทคโนโลยที างการศกึ ษา. (ออนไลน)์ แหล่งท่ีมา: https://sites.google.com/site/nwatkrrmkarsuksa. วันทส่ี บื ค้นข้อมลู 12 ธ.ค. 2558.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook