Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore innovation2

innovation2

Published by Supawadee0807, 2019-01-19 03:23:20

Description: innovation2

Search

Read the Text Version

นวตั กรรมมีความสาคัญตอ่ การศึกษาหลายประการทง้ั นเี้ นื่องจากในโลกยุค โลกาภวิ ฒั นโ์ ลกมกี ารเปลี่ยนแปลงในทกุ ดา้ นอยา่ งรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างย่ิงความกา้ วหน้าทงั้ ดา้ นเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ การศกึ ษาจึงจาเปน็ ตอ้ งมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบ การศกึ ษาท่ีมีอยูเ่ ดมิ เพื่อใหท้ นั สมยั ต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมท่ี เปลี่ยนแปลงไป อกี ท้งั เพอ่ื แก้ไขปญั หาทางดา้ นศกึ ษาบางอย่างที่เกดิ ขึ้นอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เช่นเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงทางด้านการศกึ ษาจงึ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารศึกษาเกี่ยวกบั นวตั กรรม การศึกษาทีจ่ ะนามาใชเ้ พ่อแกไ้ ขปญั หาทางการศกึ ษาในบางเร่ือง เช่น ปญั หาทเี่ ก่ียวเน่อื งกนั จานวนผเู้ รียนที่มากข้นึ การพัฒนาหลักสตู รให้ทนั สมัย การผลิตและพฒั นาสอื่ ใหม่ ๆ ขนึ้ มา เพ่อื ตอบสนองการเรียนรู้ของมนษุ ยใ์ ห้เพิ่มมากขนึ้ ดว้ ยระยะเวลาที่ส้ันลง การใช้นวัตกรรมมา ประยกุ ต์ในระบบการบรหิ ารจดั การดา้ นการศึกษาก็มีสว่ นชว่ ยให้การใชท้ รพั ยากรการเรียนรู้ เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นนั้ e-book เล่มนไ้ี ดจ้ ดั รวบรวมเพอ่ื เปน็ องค์ความรูใ้ หก้ ับ ผสู้ นใจศึกษาและพฒั นานวตั กรรมต่อไป สุภาวดี เชยบาล

ความหมายของนวตั กรรม ๑ ความสาคญั ของนวตั กรรมการศกึ ษา ๒ องค์ประกอบทส่ี าคัญของนวตั กรรม ๓ ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา ๔-๕ ข้ันตอนการพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษา ๖-๗ การเขียนรายงานการพฒั นานวตั กรรม ๘-๙ บรรณานุกรม ๑๐

๑. ความหมายของนวตั กรรม ทอมัส ฮวิ ช์ (Thomas Hughes) ไดใ้ ห้ความหมายของ “นวตั กรรม” ว่า เปน็ การนาวิธีการใหมๆ่ มา ปฏิบตั ิหลังจากไดผ้ า่ นการทดลองหรือไดร้ ับการพฒั นามาเปน็ ขนั้ ๆ แล้ว เรมิ่ ต้ังแต่การคิดค้น (Invention) การพฒั นา (Development) ซง่ึ อาจจะเป็นไปในรปู ของโครงการทดลองปฏิบัตกิ อ่ น (Pilot Project) แลว้ จึงนาไปปฏิบัตจิ ริงซงึ่ มีความแตกตา่ งไปจากการปฏบิ ัตเิ ดมิ ท่ีเคยปฏบิ ตั ิมา ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ไดใ้ หค้ วามหมาย “นวัตกรรม” ไว้วา่ หมายถึง วธิ ีการปฏบิ ตั ิ ใหม่ๆ ท่แี ปลกไปจากเดมิ โดยอาจจะได้มาจากการคิดคน้ พบวธิ กี ารใหม่ๆ ข้ึนมาหรือมีการปรับปรงุ ของ เกา่ ให้เหมาะสมและสิง่ ทั้งหลายเหล่านีไ้ ด้รับการทดลอง พฒั นาจนเป็นท่ีเชอื่ ถอื ได้แลว้ ว่าไดผ้ ลดใี นทาง ปฏบิ ตั ิ ทาให้ระบบกา้ วไปสจู่ ดุ หมายปลายทางได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพขนึ้ สานกั งานนวัตกรรมแห่งชาติ (2549) ไดใ้ หค้ วามหมายของนวัตกรรมไวว้ ่า นวตั กรรม คือ “ส่งิ ใหม่ ทเ่ี กดิ จากการใชค้ วามรแู้ ละความคดิ สร้างสรรค์ทม่ี ปี ระโยชน์ตอ่ เศรษฐกิจและสงั คม” สมนึก เออ้ื จริ ะพงษพ์ นั ธแ์ ละคณะ (2553) ได้ใหค้ วามหมายของ นวตั กรรม หมายถงึ “สง่ิ ใหม่ท่ี เกดิ ขึ้นจากการใชค้ วามรู้ ทกั ษะประสบการณ์ และความคิดสร้างสรรคใ์ นการพัฒนาขนึ้ ซง่ึ อาจจะมลี กั กษณะเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ใหม่ บริการใหม่ หรอื กระบวนการใหม่ ทีก่ ่อให้เกิดประโยชน์ในเชงิ เศรษฐกิจและ สังคม” สรุป “นวัตกรรม” หมายถงึ ความคดิ วิธีการปฏิบตั ิ หรือสิง่ ประดษิ ฐ์ใหม่ ๆ ทีย่ งั ไมเ่ คยมใี ช้มาก่อน หรอื เปน็ การพฒั นาดัดแปลงมาจากของเดมิ ท่มี ีอยูแ่ ล้ว ให้ทันสมยั และใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เม่ือนา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยใหก้ ารทางานน้ันไดผ้ ลดมี ปี ระสิทธิภาพ ประหยดั เวลา

๒. ความสาคัญของนวตั กรรมการศึกษา นวัตกรรมมคี วามสาคัญต่อการศกึ ษาหลายประการ ทง้ั นีเ้ นอ่ื งจากในโลกยคุ โลกาภวิ ฒั นโ์ ลกมกี าร เปลีย่ นแปลงในทุกดา้ นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ความก้าวหน้าทง้ั ด้านเทคโนโลยีและ สารสนเทศ การศกึ ษาจึงจาเปน็ ตอ้ งมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษาทมี่ ีอยเู่ ดมิ เพอ่ื ให้ ทนั สมยั ต่อการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสงั คมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป อีกทั้งเพือ่ แก้ไขปญั หา ทางดา้ นศกึ ษาบางอยา่ งท่ีเกิดขึน้ อย่างมีประสิทธภิ าพเช่นเดยี วกัน การเปลย่ี นแปลงทางด้าน การศกึ ษาจงึ จาเป็นต้องมกี ารศกึ ษาเก่ยี วกับนวัตกรรมการศกึ ษาท่จี ะนามาใชเ้ พ่อแก้ไขปญั หาทางการ ศึกษาในบางเรือ่ ง เชน่ ปัญหาท่ีเกยี่ วเน่ืองกนั จานวนผ้เู รียนทีม่ ากขึน้ การพัฒนาหลกั สูตรให้ ทันสมยั การผลิตและพัฒนาสอ่ื ใหม่ ๆ ข้ึนมาเพอื่ ตอบสนองการเรยี นรู้ของมนุษยใ์ ห้เพิ่มมากขนึ้ ดว้ ย ระยะเวลาท่ีส้ันลง การใช้นวัตกรรมมาประยกุ ต์ในระบบการบรหิ ารจัดการดา้ นการศึกษาก็มีสว่ นชว่ ย ให้การใช้ทรพั ยากรการเรียนรเู้ ปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ เช่น เกิดการเรยี นรู้ด้วยตนเอง กล่าวโดยสรุป นวตั กรรมการศกึ ษาเกิดขึน้ ตามสาเหตุใหม่ ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1) การเพิ่มปรมิ าณของผู้เรยี นในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว ทาให้ นกั เทคโนโลยกี ารศกึ ษาตอ้ งหานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ เพ่อื ให้สามารถสอนนักเรยี นไดม้ ากขนึ้ 2) การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยเี ปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว การเรยี นการสอนจงึ ต้องตอบสนองการเรยี น การสอนแบบใหม่ ๆ ทีช่ ่วยให้ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรู้ไดเ้ ร็วและเรียนร้ไู ด้มากในเวลาจากัดนักเทคโนโลยี การศกึ ษาจง่ ต้องคน้ หานวัตกรรมมาประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่อื วัตถปุ ระสงค์น้ี 3) การเรียนรูข้ องผูเ้ รียนมแี นวโน้มในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองมากขน้ึ ตามแนวปรชั ญาสมัยใหมท่ ย่ี ดึ ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง นวัตกรรมการศกึ ษาสามารถช่วยตอบสนองการเรยี นรู้ตามอัตภาพ ตาม ความสามารถของแต่ละคน เชน่ การใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน CAI (Computer Assisted instruction) การเรียนแบบศนู ย์การเรียน 4) ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทีส่ ่วนผลักดนั ให้มกี ารใชน้ วตั กรรมการศึกษาเพม่ิ มากขึ้น เชน่ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรท์ าใหค้ อมพิวเตอร์ มขี นาดเลก็ ลง แต่มี ประสิทธิภาพสูงขึน้ มาก เทคโนโลยเี ครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เนต็ ทาใหเ้ กดิ การสอื่ สารไร้ พรมแดน นักเทคโนโลยีการศกึ ษาจึงคดิ ค้นหาวธิ ีการใหม่ ๆ ในการประยุกต์ใช้ระบบเครอื ข่าย คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ฐานในการเรยี นรู้ ทเ่ี รียกว่า “Web-based Learning” ทาให้สามารถเรียนรู้ในทุก

พีท่ ุกเวลาสาหรบั ทุกคน (Sny where, Any time for Everyone ) ถา้ หากผูเ้ รยี นสามารถใช้ อินเตอร์เนต็ ได้ การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นปัจจุบันเป็นไปอย่างกว้างขวาง ในวงการศึกษาคอมพวิ เตอรม์ ใิ ชเ่ พียงแตส่ งิ่ อานวยความสะดวกในสานักงานเท่านน้ั แตย่ ังใช้เป็นสื่อหรือเปน็ เคร่ืองมือสรา้ งสอ่ื ได้อยา่ งสวยงาม เหมอื นจริง และรวดเร็วมากกวา่ กอ่ น นกั เทคโนโลยีการศึกษาจงึ ศกึ ษาวจิ ยั บทนวัตกรรมทางดา้ นการ ผลติ และการใชส้ ือ่ ใหม่ ๆ ตามศักยภาพของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ ระบบ มัลตมิ เี ดีย วดิ ีโอออนดีมานด์ การประชุมทางไกล อี-เสน้ น่งิ อ-ี เอด็ ดเู คชั่น เป็นตน้ ๓. องคป์ ระกอบทสี่ าคญั ของนวัตกรรม มีอยู่ 3 ประการ คอื 1. ความใหม่ (Newness) หมายถงึ เปน็ สิ่งใหม่ที่ถูกพฒั นาขึ้น ซ่งึ อาจเปน็ ตัวผลิตภณั ฑ์ บริการ หรือ กระบวนการ โดยจะเป็นการปรับปรุงจากของเดมิ หรือพัฒนาข้นึ ใหม่เลยก็ได้ 2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits) หรอื การสร้างความสาเร็จในเชิงพาณิชย์ กลา่ วคือ นวัตกรรม จะต้องสามารถทาให้เกิดมูลค่าเพ่มิ ขึ้นไดจ้ ากการพฒั นาสง่ิ ใหม่น้ันๆซ่ึง ผลประโยชน์ทีจ่ ะเกิดข้นึ อาจจะวัดไดเ้ ป็นตัวเงนิ โดยตรง หรอื ไม่เป็นตัวเงินโดยตรงกไ็ ด้ 3. การใช้ความรู้และความคดิ สร้างสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea) ส่งิ ทจ่ี ะเปน็ นวัตกรรมได้น้นั ตอ้ งเกดิ จากการใช้ความรแู้ ละความคิดสร้างสรรค์เปน็ ฐานของการพฒั นาให้เกิดซ้า ใหม่ ไมใ่ ช่เกิดจากการลอกเลียนแบบ การทาซ้า เป็นตน้ 5. ประเภทของนวตั กรรมการศกึ ษา มี 5 ประเภทไดแ้ ก่ นวัตกรรมด้านสอื่ สารการสอน เนื่องจากมคี วามก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์ เครือข่ายและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทาใหน้ ักการศึกษาพยายามนาศกั ยภาพของเทคโนโลยีเหลา่ นี้มา ใช้ในการผลติ ส่อื การเรยี นการสอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ท้งั การเรียนดว้ ยตนเอง การเรียนเปน็ กลุม่ และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสอ่ื ทใ่ี ชเ้ พื่อสนบั สนนุ การฝกึ อบรมผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หนงั สอื อิเลค็ ทรอนิคส์ บทเรยี น CD/VCD ค่มู อื การทางานกลมุ่ เป็นต้น

นวตั กรรมดา้ นวธิ ีการจดั การเรียนการสอน เปน็ การใชว้ ิธรี ะบบในการปรับปรุงและคดิ คน้ พัฒนาวิธี สอนแบบใหมๆ่ ท่สี ามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง การเรยี น แบบมีส่วนร่วม การเรียนร้แู บบแกป้ ัญหา การพฒั นาวิธสี อนจาเปน็ ต้องอาศยั วธิ กี ารและเทคโนโลยี ใหม่ๆ เขา้ มาจดั การและสนบั สนนุ การเรียนการสอน เช่น การสอนแบบรว่ มมือ การสอนแบบ อภิปราย วธิ ีสอนแบบบทบาทสมมุติ การสอนด้วยรูปแบบการเรยี นเป็นคู่ เป็นต้น นวัตกรรมด้านหลักสตู ร เป็นการใชว้ ิธกี ารใหม่ๆในการพฒั นาหลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม ในท้องถ่นิ และตอบสนองความตอ้ งการสอนบุคคลใหม้ ากข้นึ เนือ่ งจากหลักสูตรจะต้องมกี าร เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับความก้าวหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศและของโลก นวตั กรรมทางด้านหลกั สตู รได้แก่ การพฒั นาหลกั สูตรบรู ณาการ หลกั สตู ร รายบุคคล หลกั สตู รกิจกรรมและประสบการณ์ และหลักสตู รทอ้ งถิ่น นวตั กรรมดา้ นการวดั และการประเมนิ ผล เป็นนวตั กรรมท่ีใช้เป็นเครื่องมอื เพ่ือการวัดผลและ ประเมนิ ผลไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและทาไดอ้ ย่างรวดเร็ว รวมไปถงึ การวิจยั ทางการศึกษาการวจิ ัย สถาบนั ดว้ ยการประยุกตใ์ ช้โปรแกรมคอมพิวเตอรม์ าสนบั สนนุ การวดั ผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ เช่น การสรา้ งแบบวัดต่างๆ การสร้างเครื่องมอื การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นตน้ แนวทางในการสร้างแบบวดั ผลและประเมินผล เช่น การสรา้ งแบบวัดแววครู การพัฒนาคลัง ข้อสอบ การสร้างแบบวัดความมีวินัยในตนเอง นวตั กรรมดา้ นการบรหิ ารจัดการ เปน็ การใชน้ วัตกรรมท่เี กี่ยวขอ้ งกับการใชส้ ารสนเทศมาช่วยในการ บรหิ ารจัดการ เพื่อการตดั สินใจของผูบ้ ริหารการศกึ ษาใหม้ คี วามรวดเรว็ ทันเหตกุ ารณท์ นั ต่อการ เปลยี่ นแปลงของโลก นวตั กรรมการศกึ ษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบรหิ ารจะเกี่ยวข้องกับระบบการ จดั การฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศกึ ษา เชน่ การบรหิ ารเชิงระบบ การบริหารเชิงกลยทุ ธ์ การ บรหิ ารเชงิ บรู ณาการ เป็นต้น

ทศิ นา แขมมณี (2548 : 423) ได้ใหห้ ลักการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาไวพ้ อ สรุปไดด้ งั น้ี 1. การระบปุ ัญหา (Problem) ความคิดในการพฒั นานวัตกรรมนนั้ สว่ นใหญ่จะเริม่ จากการมองเห็นปญั หา และตอ้ งการแก้ไขปัญหานน้ั ใหป้ ระสบความสาเร็จอยา่ งมคี ุณภาพ 2. การกาหนดจดุ ม่งุ หมาย (Objective) เมื่อกาหนดปญั หาแล้วกก็ าหนดจุดมุง่ หมาย เพ่อื จัดทาหรอื พฒั นานวตั กรรมใหม้ คี ณุ สมบัติ หรอื ลักษณะตรงตามจดุ มุ่งหมายที่กาหนดไว้ 3. การศึกษาข้อจากดั ตา่ งๆ (Constraints) ผ้พู ฒั นานวตั กรรมทางดา้ นการ เรยี นการสอนตอ้ งศึกษาขอ้ มลู ของปญั หาและขอ้ จากัดท่ีจะใชน้ วตั กรรมนั้น เพื่อประโยชนใ์ นการ นาไปใชไ้ ด้จรงิ 4. การประดษิ ฐ์คดิ ค้นนวัตกรรม (Innovation) ผูจ้ ัดทาหรือพฒั นานวตั กรรม จะต้องมีความรู้ ประสบการณ์ ความริเร่ิมสร้างสรรค์ ซง่ึ อาจนาของเกา่ มาปรบั ปรุง ดดั แปลง เพื่อใช้ใน การแก้ปญั หาและทาใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากขึ้น หรอื อาจคิดคน้ ข้ึนมาใหมท่ งั้ หมด นวตั กรรมทาง การศึกษามีรูปแบบแตกต่างกัน ขน้ึ อยูก่ ับลกั ษณะปญั หาหรอื วตั ถปุ ระสงคข์ องนวัตกรรมนนั้ เช่นอาจมี ลกั ษณะเปน็ แนวคิด หลกั การ แนวทาง ระบบ รปู แบบ วธิ กี าร กระบวนการ เทคนคิ หรือสิง่ ประดษิ ฐ์ และเทคโนโลยี เปน็ ต้น 5. การทดลองใช้ (Experimentation) เม่อื คิดคน้ หรือประดิษฐ์นวัตกรรมทาง การศกึ ษาแล้ว ต้องทดลองนวัตกรรม ซง่ึ เป็นสิ่งจาเป็นเพอื่ เปน็ การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ แก้ไขผล การทดลองจะทาใหไ้ ดข้ ้อมูลนามาใช้ในการปรับปรุงและพฒั นานวตั กรรมตอ่ ไป ถ้าหากมกี ารทดลอง ใช้นวตั กรรมหลายครงั้ กย็ ่อมมีความมน่ั ใจในประสิทธภิ าพของนวัตกรรมนัน้ 6. การเผยแพร่ (Dissemination) เมื่อม่ันใจนวตั กรรมที่สร้างขึน้ มปี ระสทิ ธิภาพ แลว้ ก็สามารถนาไปเผยแพร่ให้เป็นทรี่ ้จู กั โดยสรปุ การพฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษาเร่มิ ต้นจากปญั หาท่ีพบในการสอนจึง รวบรวมปัญหาและสรา้ งนวตั กรรมข้นึ เพอื่ นาไปพัฒนาระบบการสอนใหม่ และทดลองใชน้ วัตกรรม นาไปปรบั ปรุงและพฒั นาจนสามารถแก้ไขปญั หาท่ีพบไดจ้ รงิ

สือ่ นวตั กรรมทางการศกึ ษา ที่สรา้ งข้ึนมาเพื่อใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน ไมว่ า่ จะเป็น เอกสาร หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ หรอื สิง่ ประดิษฐ์ต่าง ๆ เมอ่ื ดาเนนิ การและได้นาไปใชใ้ นการ จัดการเรียนการสอน ถ้าต้องการจะส่งเป็นผลงานทางวชิ าการ เพอ่ื เลือ่ นวทิ ยฐานะจาเปน็ อย่างย่งิ ที่จะตอ้ งเขียนรายงานเพอื่ เผยแพรใ่ หผ้ อู้ ื่นไดท้ ราบและนาไปใชป้ ระโยชน์ และ รายงานที่จดั ทาควรแสดงใหเ้ ห็นแนวคิดตั้งแต่เรม่ิ ดาเนินการจนกระทง่ั เสร็จสนิ้ และแสดงให้ เหน็ ว่าสงิ่ ทจี่ ัดทาควรมปี ระสทิ ธภิ าพ การเขยี นรายงานผลการพฒั นาสอ่ื /นวัตกรรม มี ลกั ษณะไม่แตกตา่ งจากการเขยี นรายงานการวจิ ัยแตจ่ ะลดความเขม้ ขน้ ของการค้นควา้ ผลงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ งและความเขม้ ข้นทางสถติ ิทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การเขียนรายงาน ควรมลี ักษณะทส่ี าคญั 4 ประการคอื 1. มีความตรง คอื ในรายงานควรกลา่ วชดั เจนถงึ ปัญหาทต่ี อ้ งการแก้ไข วัตถปุ ระสงค์ วธิ ีการที่จะบรรลุวัตถุประสงค์และผลการบรรลุวัตถปุ ระสงค์ 2. มีความชัดเจน คือ การเขยี นตอ้ งใช้ภาษาทส่ี ่อื ความหมาย 3. มคี วามสมบูรณ์ คือมีข้อมลู ครบถ้วนตั้งแต่เริม่ วิเคราะหป์ ญั หาจนถงึ ผลการ แก้ปัญหา 4. มีความถกู ต้องตามความเป็นจริง คอื ข้อมลู จะตอ้ งเชื่อถอื ได้ และการนาเสนอ ขอ้ มลู ตอ้ งเปน็ ผลท่ไี ด้จากการวิเคราะห์จริง ๆ และมคี วามถกู ตอ้ ง

สว่ นประกอบของการเขียนรายงาน 1. ชอ่ื เร่ือง เปน็ สิง่ สาคญั ทจี่ ะทาใหผ้ ู้อา่ นเกดิ ความเขา้ ใจในปัญหาและวธิ กี าร พัฒนาไดต้ รงกับผ้พู ฒั นา ชื่อเรอ่ื งท่ดี ีควรจะดงึ ดดู ความสนใจของผูอ้ ่นื และสามารถ วิเคราะห์หาคณุ ลักษณะของตวั แปรทปี่ ระสงคจ์ ะศกึ ษา 2. ส่วนที่เป็นเนอ้ื หา แบ่งออกเปน็ 5 บท ดังน้ี บทที่ 1 บทนา บทนี้เป็นการนาเข้าสเู่ นอื้ หาของรายงาน ประกอบดว้ ยหัวขอ้ ดงั น้ี 1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา การเขยี นควรกล่าวถงึ ลกั ษณะของปญั หาในการจดั การเรยี นการสอนที่ รบั ผิดชอบโดยตรงในลกั ษณะความเรยี ง โดยกลา่ วถงึ 1.1.1 ลักษณะที่ปรากฏของปญั หา เชน่ นักเรยี นมผี ลการเรียนรเู้ ป็น อย่างไร การเขยี นอาจจะมหี ลักฐานประกอบ เชน่ กราฟ แผนภมู ิ ฯลฯ 1.1.2 สาเหตขุ องปญั หา ควรกลา่ วถึงสิ่งที่อาจเป็นสาเหตใุ ห้เกิดปัญหา โดยสาเหตอุ าจมาจากองค์ประกอบตา่ ง ๆ เช่น สาเหตุจากตัวนักเรยี น 1.1.3 แนวทางท่จี ะนามาแกป้ ัญหา กลา่ วถงึ แนวทางตา่ ง ๆ ทจ่ี ะ สามารถใชแ้ ก้ปญั หาได้ แต่ละแนวทางอาจอา้ งองิ ทฤษฎี หลกั การหรือผลการวิจยั ตา่ ง ๆ หรอื อาจใช้ความคดิ สร้างสรรคห์ รอื ประสบการณส์ ่วนตัว 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ การเขยี นควรกลา่ วถึงผลทต่ี ้องการไดร้ ับหลงั จากใชน้ วัตกรรมน้นั แลว้ 1.3 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั การเขียนอาจกล่าวถงึ ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั หลงั จากใชน้ วัตกรรมไปแลว้ ทงั้ ทางตรง ทางอ้อม ระยะสั้น และระยะยาว โดยจะต้องสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ 1.4 ขอบเขตของการศึกษา ควรระบใุ ห้ชดั วา่ นวัตกรรมทพี่ ัฒนาขน้ึ มาน้ีใชใ้ นการจดั การเรียน การสอนเมื่อใด เวลาใด ฯลฯ

1.5 คานยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ การกาหนดคานิยามศพั ทเ์ ฉพาะ เขยี นขน้ึ เพอื่ ใหผ้ ู้อา่ นไดเ้ ขา้ ใจตรงกับที่ ผเู้ ขียนตอ้ งการสอ่ื ความหมาย และไม่ควรเขยี นยาวมากนัก บทท่ี 2 การพัฒนานวตั กรรม การตัง้ ชอื่ บทน้ีอาจตัง้ ชือ่ ให้ตรงกบั นวตั กรรมทพี่ ฒั นาก็ได้ เช่น การพฒั นา สอ่ื คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนการเขียนบทน้ี อาจประกอบดว้ ย หัวขอ้ ดงั ต่อไปน้ี 2.1 แนวคิดทฤษฎที ่ีใช้ การเขียนหวั ขอ้ นคี้ วรกล่าวถงึ กรอบความคิดหรอื แนวคดิ ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ ในการสร้างนวัตกรรม เพ่อื ชน้ี าใหเ้ หน็ ว่านวตั กรรมทสี่ ร้างมีความสาคญั มเี หตุผล และมี ความเปน็ ไปไดส้ งู และมีผู้ทเี่ คยทาไวแ้ ลว้ หรอื ยงั ถ้ามีผเู้ คยทาไวแ้ ล้วผลการใชเ้ ปน็ อย่างไร 2.2 ข้ันตอนการดาเนนิ งาน เปน็ การกลา่ วถึงข้ันตอนในการผลิตนวัตกรรม ตัง้ แต่เริม่ ดาเนนิ การ จนกระท่ังไดน้ วัตกรรม 2.3 ผลงานหรอื นวัตกรรมท่ไี ด้ กลา่ วถึงนวัตกรรมทไ่ี ด้ หลงั จากทาตามข้นั ตอนตา่ ง ๆ 2.4 แนวทางการนานวัตกรรมไปใช้ เป็นส่วนทก่ี ลา่ วถึงเทคนิควิธีการใช้นวตั กรรมในสถานการณจ์ รงิ เชน่ การ นาส่ือคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน บทที่ 3 การทดลองใชน้ วัตกรรม การตงั้ ชอ่ื บทน้ีอาจใช้ชือ่ นวัตกรรมทพ่ี ฒั นา 3.1 รูปแบบการทดลอง การจะสรุปวา่ นวัตกรรมทสี่ ร้างหรือพัฒนามีประสิทธิภาพเพยี งใด มคี วาม จาเปน็ อยา่ งยิ่งทจ่ี ะตอ้ งนาไปทดลองใช้ และในการทดลองใชอ้ าจจะใช้กบั นักเรียนกลุ่มเดยี ว หรอื 2 กลมุ่ กไ็ ดข้ ้ึนอยกู่ ับผพู้ ัฒนา กรณกี ลมุ่ ตัวอยา่ งมี 2 กลมุ่ รูปแบบการทดลองมดี งั น้ี (R) หมายถึง การสมุ่ (Random) E หมายถงึ กลมุ่ ทดลอง C หมายถึง กลมุ่ ควบคมุ

X หมายถึง การใช้นวตั กรรม 0 E หมายถึง การวดั ตวั แปรตามของกลมุ่ ทดลองภายหลังการทดลอง 0 C หมายถงึ การวัดตวั แปรตามของกลมุ่ ควบคมุ ภายหลังการทดลอง การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เป็นการเปรียบเทยี บผลระหว่าง 0 E กับ 0 C ซงึ่ ได้ มาจากการวดั ดว้ ยเครอ่ื งมือวดั ชดุ เดยี วกัน 01x02 (R) E X 0E (R) C 0C 3.2 วธิ กี ารทดลอง เปน็ การเสนอขอ้ มลู เก่ยี วกับกระบวนการทดลองทงั้ หมด ได้แก่ . ประชากร ขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง . การสมุ่ ตัวอย่าง . เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมนิ และการสร้างเครอ่ื งมอื (รวมถงึ การหา คุณภาพของเครอ่ื งมอื ) . การใชน้ วัตกรรม . การเก็บรวบรวมขอ้ มูล . สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู บทที่ 4 ผลการทดลองใชน้ วัตกรรม การเสนอผลการทดลอง เป็นหลกั ฐานที่พิสูจนค์ วามสาเรจ็ ของนวัตกรรม สาระที่นาเสนอจะตอ้ งตอบวัตถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไวใ้ นบทที่ 1 ทุกขอ้ บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การเขียนบทน้ี จะเป็นการสรุปผลจากบทท1ี่ – 4 มาเขยี นยอ่ ๆ ใหเ้ ห็นภาพรวม ท้งั หมด โดยจะกลา่ วถึง 5.1 สรปุ ผล เปน็ การสรุปผลในเรือ่ ง การพัฒนานวัตกรรม ลกั ษณะของนวตั กรรมท่ี พัฒนา การทดลองใชแ้ ละผลการทดลอง 5.2 อภิปรายผล เปน็ การอภิปรายผลการใชน้ วตั กรรมทีไ่ ดน้ าเสนอในบทท่ี4 โดยชใี้ ห้เหน็

วา่ นวตั กรรมทพ่ี ฒั นาตรงตามวตั ถุประสงคท์ ี่วางไวเ้ พยี งใด มีอะไรทเี่ ป็นจดุ เด่น หรอื มี ขอ้ จากดั อะไรบา้ งทีท่ าใหผ้ ลการใช้นวัตกรรมไมบ่ รรลุตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ีวางไว้ 5.3 ข้อเสนอแนะ เปน็ การเสนอทงั้ จดุ เด่นและจุดด้อยของนวตั กรรมทพ่ี ฒั นา ไม่ว่าจะเป็น การสร้าง การวิจยั พฒั นาขนั้ ต่อไป ตลอดจนขอ้ เสนอแนะในการนานวตั กรรมไปใชใ้ ห้เกดิ ผล ในการเรยี นการสอนตอ่ ไป 3. ส่วนอา้ งอิง การเขยี นรายงานผลการพัฒนา นอกจากจะเขยี นเนื้อเรื่องท้งั 5 บททก่ี ล่าวแลว้ จะมสี ว่ นท้าย ซ่ึงเปน็ สว่ นอา้ งอิง ประกอบด้วย - บรรณานกุ รม การเขยี นบรรณานกุ รม ตอ้ งมีจานวนหนังสอื มากกวา่ หรือเท่ากับจานวน หนงั สือที่กลา่ วถึงในเล่ม และการเขียนให้ใชต้ ามหลักของวิชาบรรณารกั ษ์ - ภาคผนวก อาจจะเปน็ เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ นวัตกรรม

บรรณานุกรม กดิ านันท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและนวัตกรรม. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. คณาจารย์ภาควชิ าเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา. (2539). เทคโนโลยีการศึกษา.กรงุ เทพฯ: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต. บุญเกอื้ ควรหาเวช. (2543). นวัตกรรมการศึกษา. (พมิ พ์คร้ังที่ 5). นนทบุรี: SR Printing. ทิศนา แขมมณ.ี (2547). ศาสตรก์ ารสอน. (พมิ พค์ รงั้ ที่ 3). กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ปรียาภรณ์ จติ ตร์ ักธรรม. (2551). ประเภทนวตั กรรมการศึกษา. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า: https://www.l3nr.org/posts/224964. วนั ทสี่ ืบค้นข้อมูล 12 ธ.ค. 2558. พชิ ติ ฤทธ์จิ รูญ. (2550). การวิจัยและพฒั นานวัตกรรม. กรุงเทพฯ. เอกสารอัดสาเนา. วรวทิ ย์ นเิ ทศศิลป.์ (2551). ส่ือและนวัตกรรมแหง่ การเรยี นร.ู้ ปทุมธานี: สกายบุก๊ ส.์ สมจติ ร ยม้ิ สุด. (มปป). ความหมายนวตั กรรมการศกึ ษา (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า: https://www.gotoknow.org/posts/401951. วนั ท่สี ืบคน้ ข้อมูล 12 ธ.ค. 2558. สมนึก เอื้อจริ ะพงษ์พนั ธแ์ ละคณะ. (2533). นวัตกรรม : ความหมาย ประเภท และความสาคญั ตอ่ การเปน็ ผปู้ ระกอบการ. (ออนไลน์). วารสารบริหารธุรกิจ.ปที ่ี 33 ฉบับท่ี 128 ตุลาคม-ธันวาคม. แหลง่ ท่มี า: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=003abc82634a15f2. วันทสี่ บื ค้น ขอ้ มลู 12 ธ.ค. 2558.

สมบูรณ์ สงวนญาติ. (2534). เทคโนโลยที างการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ: หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ กรมการฝึกหดั คร.ู สคุ นธ์ สนิ ธพานนท.์ (2553). นวัตกรรมการเรยี นการสอน…เพือ่ พัฒนาคุณภาพของเยาวชน. (พิมพค์ รง้ั ท่ี 4). กรงุ เทพฯ: 9119 เทคนิคพร้ินติ้ง. สุรินทร์ บุญสนอง. (มปป). องค์ประกอบของนวตั กรรมการศึกษา. (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/428150. วนั ทส่ี ืบค้นขอ้ มูล 12 ธ.ค. 2558. _____. (มปป). นวตั กรรมเทคโนโลยที างการศึกษา. (ออนไลน)์ แหล่งทม่ี า: https://sites.google.com/site/nwatkrrmkarsuksa. วันท่สี บื ค้นข้อมลู 12 ธ.ค. 2558.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook