Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะการเรียนรู้(ทร21001)

ทักษะการเรียนรู้(ทร21001)

Published by พัชราภา ผ่านสุวรรณ, 2021-01-23 03:59:22

Description: ทักษะการเรียนรู้(ทร21001)

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทกั ษะการเรียนรู (ทร21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจาํ หนาย หนงั สือเรยี นเลมน้ีจัดพมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผนดินเพื่อการศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 33/2555

1 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู (ทร21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ลขิ สทิ ธ์เิ ปนของ สํานกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 33 /2555

2

สารบญั 3 คาํ นาํ หนา สารบัญ คําแนะนําการใชแบบเรียน 8 โครงสรา งรายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน 59 78 บทท่ี 1 การเรยี นรูดว ยตนเอง 137 บทท่ี 2 การใชแหลงเรยี นรู 176 บทท่ี 3 การจดั การความรู 189 บทท่ี 4 การคิดเปน บทท่ี 5 การวจิ ยั อยางงาย บทท่ี 6 ทักษะการเรียนรูและศักยภาพหลักของพน้ื ทใ่ี นการพฒั นาอาชพี

4 คําแนะนาํ การใชหนังสือเรยี น หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนแบบเรียนทีจ่ ัดทําขึน้ สําหรับ ผเู รยี นท่เี ปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู ผูเรียนควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในสาระสาํ คญั ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั และขอบขายเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเนือ้ หาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามทีก่ ําหนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมทีก่ ําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจใน เน้อื หาใหมใ หเ ขาใจกอ นท่จี ะศึกษาเรอ่ื งตอ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรือ่ งของแตละเรื่องเพือ่ เปนการสรุปความรูความเขาใจของเนือ้ หาในเรือ่ ง นัน้ ๆ อีกครัง้ และการปฏิบัติกิจกรรมของเนือ้ หาแตละเรือ่ ง ผูเ รียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและ เพื่อน ๆ ท่ีรวมเรียนในรายวิชาและระดบั เดยี วกันได 4. แบบเรียนนม้ี ี 6 บท คือ บทที่ 1 การเรยี นรดู ว ยตนเอง บทที่ 2 การใชแหลง เรยี นรู บทที่ 3 การจัดการความรู บทที่ 4 การคิดเปน บทที่ 5 การวิจัยอยางงาย บทที่ 6 ทกั ษะการเรียนรแู ละศักยภาพหลักของพืน้ ท่ใี นการพัฒนาอาชพี

5 โครงสรา งการเรียนรูด วยตนเอง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน สาระสําคัญ รายวิชาทักษะการเรียนรู มีเนือ้ หาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรูของนักเรียนในดาน การเรียนรูดวยตนเอง การใชแหลงเรียนรู การจัดการความรู การคิดเปนและการวิจัยอยางงาย โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหผูเ รียนสามารถกําหนดเปาหมาย วางแผนการเรียนรูด วยตนเอง เขาถึงและเลือกใช แหลงเรียนรูจัดการความรู กระบวนการแกปญหาและตัดสินใจอยางมีเหตุผล ที่จะสามารถใชเปน เครื่องมือชี้นํา ในการเรียนรู และการประกอบอาชีพใหสอดคลองกับหลักการพืน้ ฐานและการพัฒนา 5 ศักยภาพของพืน้ ที่ ใน 5 กลุม อาชีพใหม คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สรางสรรค การบริหารจัดการและการบริการ ตามยุทธศาสตร 2555กระทรวงศึกษาธิการ ไดอยางตอเนือ่ ง ตลอดชวี ติ ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง บทท่ี 1 การเรียนรดู วยตนเอง 1. สามารถวิเคราะหความรูจากการอาน การฟง การสงั เกต และสรุปไดถูกตอง 2. สามารถจัดระบบการแสวงหาความรูใหกับตนเอง 3. ปฏิบัติตามขั้นตอนในการแสวงหาความรูเกี่ยวกับทักษะการอาน ทักษะการฟง และ ทักษะการจดบันทึก 4. สามารถนําความรู ความเขาใจในเรื่อง 5 ศกั ยภาพของพื้นที่ และหลกั การพนื้ ฐานตาม ยุทธศาสตร 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไปเพิ่มขีดความสามารถการประกอบอาชีพโดยเนนที่กลุมอาชีพ ใหม ใหแขง ขันไดใ นระดับทองถ่ิน บทท่ี 2 การใชแ หลงเรียนรู 1. จาํ แนกความแตกตางของแหลง เรียนรู และตัดสินใจเลอื กใชแ หลงเรียนรู 2. เรยี งลําดบั ความสําคัญของแหลงเรียนรู และจัดทําระบบการใชแหลง เรียนรขู องตนเอง 3. สามารถปฏบิ ตั กิ ารใชแหลงเรียนรูตามขั้นตอนไดถกู ตอง 4. สามารถใชแหลงเรียนรูดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สรา งสรรค การบรหิ ารจัดการและการบรกิ าร เกย่ี วกบั อาชีพของพื้นที่ที่ตนอาศัยอยูไดตามความตองการ บทท่ี 3 การจัดการความรู 1. วิเคราะหผลที่เกิดขึ้นของขอบขายความรู ตัดสินคุณคา กําหนดแนวทางพัฒนา 2. เห็นความสัมพันธของกระบวนการจัดการความรู กับการนําไปใชการพัฒนาชุมชน ปฏบิ ตั ิการ

6 3. ปฏิบัติตามกระบวนการจัดการความรูไดอยางเปนระบบ 4. สามารถนํากระบวนการจัดการความรูของชุมชน จําแนกอาชีพในดานตาง ๆ ของ ชุมชน คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการและการ บริการ ไดอยา งถกู ตอง บทท่ี 4 การคิดเปน 1. อธิบายหรอื ทบทวนปรัชญาคิดเปนและลักษณะของขอมูลดานวิชาการ ตนเอง สังคม สง่ิ แวดลอ ม ทจ่ี ะนํามาวิเคราะหแ ละสงั เคราะหเพือ่ ประกอบการคดิ และตดั สินใจแกปญหา 2. จาํ แนก เปรียบเทียบ ตรวจสอบขอมูลดานวิชาการ ตนเอง สังคม สิง่ แวดลอม ที่จัดเก็บ และทักษะในการวิเคราะห สังเคราะหขอมูลทั้งสามดาน เพื่อประกอบการตดั สนิ ใจแกป ญ หา 3. ปฏิบัติการตามเทคนิคกระบวนการคิดเปน ประกอบการตัดสินใจไดอยางเปนระบบ 4. สามารถนําความรู ความเขาใจในเรื่อง 5 ศักยภาพของพืน้ ที่ และหลักการพื้นฐานตาม ยุทธศาสตร 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไปเพิ่มขีดความสามารถการประกอบอาชีพโดยเนนที่กลุมอาชีพ ใหมใหแ ขง ขนั ไดใ นระดบั ชาติ บทท่ี 5 การวจิ ยั อยางงา ย 1. ระบุปญหา ความจําเปน วัตถุประสงค และประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย และสืบคนขอมูล เพื่อทําความกระจางในปญหาการวิจัย รวมทั้งกําหนดวิธีการหาความรูความจริง 2. เห็นความสัมพันธของกระบวนการวิจัยกับการนําไปใชในชีวิต 3. ปฏิบัติการศึกษา ทดลอง รวบรวม วิเคราะหขอมูล และสรุปความรูความจริงตาม ขนั้ ตอนไดอ ยางถกู ตอง ชัดเจน เชน การวเิ คราะหอ าชีพ บทที่ 6 ทักษะการเรยี นรูและศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ทใี่ นการพฒั นาอาชีพ 1.บอกความหมาย ตระหนกั และเหน็ ความสําคญั ของทักษะการเรยี นรแู ละศกั ยภาพ หลักของพน้ื ท่ี 2. สามารถบอกอาชีพในกลุมอาชีพใหม 5 ดา น 3. ยกตัวอยา งอาชพี ท่สี อดคลอ งกับศักยภาพหลกั ของพน้ื ที่

7 ขอบขา ยเน้ือหา บทท่ี 1 การเรียนรูด ว ยตนเอง เร่ืองท่ี 1 ความหมาย/ และความสําคัญของการเรียนรูดว ยตนเอง เรื่องที่ 2 การกาํ หนดเปา หมาย และการวางแผนการเรยี นรูดว ยตนเอง เรื่องที่ 3 ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และเทคนคิ ในการเรยี นรดู ว ยตนเอง เรื่องที่ 4 ปจจยั ท่ีทําใหก ารเรียนรดู ว ยตนเองประสบความสําเรจ็ บทท่ี 2 การใชแ หลงเรียนรู เร่ืองท่ี 1 ความหมาย และความสําคัญของแหลงเรียนรู เร่ืองท่ี 2 หอ งสมดุ : แหลง เรียนรู เร่ืองที่ 3 แหลงเรียนรสู าํ คัญในชุมชน บทท่ี 3 การจดั การความรู เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ หลักการกระบวนการจัดการความรู เรื่องท่ี 2 การฝกทักษะ และกระบวนการจัดการความรู บทท่ี 4 การคดิ เปน เร่อื งที่ 1 ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญ และการเชื่อมโยงสูกระบวนการคิดเปน และปรัชญาคิดเปน เร่อื งที่ 2 ลักษณะและความแตกตางของขอมูลดานวิชาการ ตนเอง และสังคม สิ่งแวดลอม รวมทั้งเทคนิคการเก็บขอมูลและวิเคราะห สังเคราะหขอมูล การคิดเปนที่จะนํามาใช ประกอบการคิด การตัดสินใจ แกปญหาของคนคิดเปน เร่อื งที่ 3 กรณีตัวอยางเพือ่ การฝกปฏบิ ัติ บทท่ี 5 การวิจัยอยางงาย เร่ืองที่ 1 ความหมายและประโยชนของการวิจัยอยางงาย เร่ืองที่ 2 ขั้นตอนการวจิ ยั อยา งงาย เร่ืองท่ี 3 สถติ งิ า ย ๆ เพื่อการวิจยั เรื่องท่ี 4 เครอื่ งการวิจัยเพื่อเกบ็ รวบรวมขอมลู เรื่องท่ี 5 การเขียนโครงการวิจัยอยางงาย บทท่ี 6 ทักษะการเรยี นรแู ละศกั ยภาพภาพหลักของพื้นท่ใี นการพัฒนาอาชพี เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของศักยภาพหลักของพื้นที่ เร่ืองท่ี 2 กลุมอาชพี ใหม 5 ดาน และศักยภาพหลักของพืน้ ที่ 5 ประการ เรื่องท่ี 3 ตัวอยางการวิเคราะหศักยภาพหลักของพื้น

8 บทที่ 1 การเรยี นรูดว ยตนเอง สาระสําคญั การเรยี นรดู วยตนเอง เปน กระบวนการเรียนรูท่ีผูเรยี นริเริ่มการเรียนรูด วยตนเอง ตามความสนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปาหมาย รูจ ักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรู เลือกวิธีการเรียนรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูข องตนเอง โดยจะดําเนินการดวยตนเองหรือรวมมือ ชวยเหลือกับผูอืน่ หรือไมก็ได ทุกวันนีค้ นสวนใหญแสวงหาการศึกษาระดับทีส่ ูงขึน้ จําเปนตองรูวิธี วินิจฉัยความตองการในการเรียนของตนเอง สามารถกําหนดเปามายในการเรียนรูข องตนเอง สามารถ ระบแุ หลงความรทู ตี่ องการ และวางแผนการใชยุทธวิธี สื่อการเรยี น และแหลงความรเู หลานั้น หรือแมแต ประเมินและตรวจสอบความถูกตองของผลการเรียนรูข องตนเอง มาตรฐานการเรียนรูส ามารถวิเคราะห เห็นความสําคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรูจากการอาน ฟง และสรุปไดถูกตองตามหลักวิชาการ ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวงั 1. สามารถวิเคราะหค วามรจู ากการอาน การฟง การสงั เกต และสรปุ ไดถ ูกตอ ง 2. สามารถจัดระบบการแสวงหาความรูใหกับตนเอง 3. ปฏิบัติตามขั้นตอนในการแสวงหาความรูเกี่ยวกับทักษะการอาน ทักษะการฟง และทักษะการ จดบนั ทกึ ขอบขา ยเนือ้ หา เร่ืองท่ี 1 ความหมาย/ และความสําคัญของการเรียนรูดวยตนเอง เร่ืองท่ี 2 การกําหนดเปาหมาย และการวางแผนการเรยี นรดู ว ยตนเอง เรอ่ื งท่ี 3 ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และเทคนิคในการเรียนรู ดว ยตนเอง เร่อื งท่ี 4 ปจจยั ทท่ี ําใหการเรียนรูด ว ยตนเองประสบความสําเรจ็ เรือ่ งที่ 1 ความหมาย และความสําคัญ ของการเรยี นรดู ว ยตนเอง คําตอบ คือ ในปจจุบันโลกมีความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูตาง ๆ ไดเพิ่มขึ้นเปน อันมาก การเรียนรูจากสถาบันการศึกษาไมอาจทําใหบุคคลศึกษาความรูไดครบทั้งหมด การไขวควาหาความรูดวยตนเอง จึงเปนอีกวิธีหนึ่งที่จะสนองความตองการของบุคคลได เพราะเมือ่ ใด ก็ตามทีบ่ ุคคลมีใจรักทีจ่ ะศึกษา คนควา สิง่ ทีต่ นตองการจะรู บุคคลนัน้ ก็จะดําเนินการศึกษาเรียนรู อยางตอเนือ่ งโดยไมมีใครตองบอก ประกอบกับระบบการศึกษาและปรัชญาการศึกษาเพือ่ เตรียมคน

9 ใหสามารถเรียนรูไ ดตลอดชีวิต แสวงหาความรูด วยตนเอง ใฝหาความรู รูแ หลงทรัพยากรการเรียน รู วิธีการหาความรู มีความสามารถในการคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน มีนิสัยในการทํางานและการ ดาํ รงชวี ิต และมีสวนรวมในการปกครองประเทศ การเรียนรดู ว ยตนเอง สามารถชวยใหผเู รียนพฒั นาและเพิ่มศักยภาพ ของตนเองโดยการคนพบความสามารถและสิ่งที่มีคุณคาในตนเองที่เคยมองขามไป (“...it is possible to help learners expand their potential by discovered that which is yet untapped…”) (Brockett & Hiemstra, 1991) การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปน การจัดการศึกษาที่มีความเหมาะสมกับสภาพปญหา และความตองการของผูเ รียนทีอ่ ยูน อกระบบ ซึง่ เปน ผูที่มีประสบการณจากการทํางานและการประกอบอาชีพ โดยการกําหนดสาระการเรียนรู มาตรฐานการ เรียนรู การจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผล ใหการพัฒนากับกลุม เปาหมายดานจิตใจ ใหมีคุณธรรม ควบคูไ ปกับการพัฒนาการเรียนรู สรางภูมิคุม กัน สามารถจัดการกับองคความรู ทัง้ ภูมิปญญาทองถิน่ และเทคโนโลยี เพื่อใหผูเรียนสามารถปรับตัวอยูในสังคมที่มีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา สรางภูมิคุม กัน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง รวมทัง้ คํานึงถึงธรรมชาติการเรียนรูข องผูที่อยูน อกระบบ และสอดคลองกับ สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยีและการสือ่ สาร ดังนัน้ ในการศึกษาแตละรายวิชา ผูเ รียนจะตองตระหนักวา การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ จะสัมฤทธิผลไดดวยดีหากผูเ รียนไดศึกษาพรอมทัง้ การปฏิบัติ ตามคําแนะนําของครูแตละวิชาทีไ่ ดกําหนดเนือ้ หาเปนบทตาง ๆ โดยแตละบทจะมีคําถาม รายละเอียด กิจกรรมและแบบฝกปฏิบัติตาง ๆ ซึ่งผูเ รียนจะตองทําความเขาใจในบทเรียน และทํากิจกรรม ตลอดจน ทําตามแบบฝกปฏิบัตทิ ่ไี ดก ําหนดไวอ ยางครบถว น ซ่ึงในหนังสือแบบฝกปฏิบัติของแตละวิชาไดจัดใหมี รายละเอียดตาง ๆ ดังกลาว ตลอดจนแบบประเมินผลการเรียนรูเ พือ่ ใหผูเ รียนไดวัดความรูเ ดิมและวัด ความกา วหนา หลังจากที่ไดเ รียนรู รวมท้ังการทผ่ี ูเรยี นจะไดม ีการทบทวนบทเรียน หรือสิง่ ทีไ่ ดเรียนรู อัน จะเปน ประโยชนใ นการเตรียมสอบตอ ไปไดอ กี ดว ย การเรียนรูใ นสาระทักษะการเรียนรู เปนสาระเกี่ยวกับรายวิชาการเรียนรูด วยตนเอง รายวิชาการ ใชแหลงเรียนรู รายวิชาการจัดการความรู รายวิชาการคิดเปน และรายวิชาการวิจัยอยางงาย ในสวน ของรายวิชาการเรียนรูดวยตนเองเปนสาระการเรียนรูเกีย่ วกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู ในดานการ เรียนรูด วยตนเอง เปดโอกาสใหผูเ รียนไดศึกษา คนควา ฝกทักษะในการเรียนรูด วยตนเอง เพื่อมุง

10 เสรมิ สรางใหผเู รียนมีนสิ ัยรักการเรียนรูซึ่งเปนทักษะพื้นฐานของบุคคลแหงการเรียนรูท ีย่ ั่งยืน เพือ่ ใช เปน เครื่องมือในการช้ีนาํ ตนเองในการเรียนรไู ดอ ยา งตอ เน่อื งตลอดชีวติ การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูหนึง่ ทีส่ อดคลองกับการ เปลีย่ นแปลงของสภาพปจจุบัน และเปนแนวคิดทีส่ นับสนุนการเรียนรูต ลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู การเปนสังคมแหงการเรียนรู โดยการเรียนรูด วยตนเองเปนการเรียนรูท ีท่ ําใหบุคคลมีการริเริม่ การเรียนรู ดวยตนเอง มีเปาหมายในการเรียนรูท ี่แนนอน มีความรับผิดชอบในชีวิตของตนเอง ไมพึ่งคนอืน่ มี แรงจูงใจ ทําใหผ เู รยี นเปนบคุ คลท่ีใฝรู ใฝเรยี น ท่ีมกี ารเรียนรูตลอดชีวิต เรียนรู วิธีเรียน สามารถเรียนรู เร่อื งราวตา ง ๆ ไดมากกวาการเรยี นท่ีมคี รปู อ นความรูใ หเ พียงอยา งเดียว การเรียนรูด วยตนเองเปนหลักการทางการศึกษาซึง่ ไดรับความสนใจมากขึน้ โดยลําดับในทุก องคกรการศึกษา เพราะเปนแนวทางหนึ่งที่สนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต ในอันทีจ่ ะ หลอหลอมผูเ รียน ใหมีทักษะการเรียนรูต ลอดชีวิต ตามทีม่ ุง หวังไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แกไขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 การเรียนรูดวยตนเอง เปนหลักการทางการศึกษาทีม่ ีแนวคิดพื้นฐาน มาจากทฤษฎีของกลุม มนุษยนิยม (Humanism) ซึ่งเชื่อวา มนุษย ทุกคนมีธรรมชาติเปนคนดี มีเสรีภาพ และความเปนตนเอง มีความเปนปจเจกชนและศักยภาพ มีตนและการรับรูตนเอง มีการเปนจริงในสิง่ ที่ ตนสามารถเปนได มีการรับรู มีความรับผิดชอบและความเปนมนุษย ดังนั้น การทีผ่ ูเรียนสามารถเรียนรูด วยตนเองไดนับวาเปนคุณลักษณะที่ดีทีส่ ุดซึ่งมีอยูใ น ตัว บุคคลทุกคน ผูเ รียนควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรูด วยตนเอง การเรียนรูด วยตนเองจัดเปน กระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ยอมรับในศักยภาพของผูเ รียนวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถที่จะเรียนรู สิง่ ตา ง ๆ ไดด วยตนเอง เพ่อื ที่ตนเองสามารถทด่ี าํ รงชีวิตอยูในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาได อยางมีความสุข ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูใ นบทที่ 1 การเรียนรูด วยตนเองนี้ ผูเ รียนจะตองรวบรวม ผลการปฏิบัติกิจกรรมซึง่ เปนหลักฐานของการเรียนรู โดยใหผูเ รียนบรรจุในแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) ของผเู รยี นแตละบุคคลดงั นนั้ เมอื่ สิ้นสุดการเรียนรูในบทที่ 1 การเรียนรูดวยตนเองนี้ ผูเรียนจะตอ งมแี ฟม สะสมผลงานสงครู

แบบประเมินตนเองกอ นเ1ร1ียน แบบวดั ระดับความพรอมในการเรียนรดู ว ยตนเองของผเู รียน ช่ือ........................................................นามสกุล................................................ระดับมัธยมศึกษาตอนตน คําชแ้ี จง แบบสอบถามฉบับนี้ เปนแบบสอบถามที่วัดความชอบและเจตคติเกี่ยวกับการเรียนรูของทาน ใหท านอานขอความตา ง ๆ ตอ ไปนี้ ซง่ึ มีดวยกนั 58 ขอ หลังจากนั้น โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตรงกับ ความเปน จรงิ ของตัวทานมากที่สุด ระดับความคิดเห็น มากทสี่ ดุ หมายถึง ทา นรูส ึกวา ขอความน้ันสวนใหญเ ปนเชนน้ีหรือมนี อยครง้ั ทีไ่ มใ ช มาก หมายถึง ทานรสู กึ วา ขอความเกินคร่ึงมักเปนเชน น้ี ปานกลาง หมายถึง ทานรสู ึกวา ขอ ความจริงบางไมจริงบางคร่งึ ตอครง่ึ นอ ย หมายถึง ทานรสู กึ วา ขอ ความเปนจริงบา งไมบอ ยนกั นอยที่สุด หมายถึง ทานรสู กึ วา ขอความไมจรงิ ไมเ คยเปน เชน น้ี ความคดิ เหน็ รายการคาํ ถาม มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย ทีส่ ดุ กลาง ทสี่ ดุ 1. ขา พเจาตอ งการเรียนรอู ยเู สมอตราบช่วั ชวี ิต 2. ขา พเจาทราบดวี าขา พเจาตองการเรยี นอะไร 3. เมอ่ื ประสบกบั บางสงิ่ บางอยางท่ีไมเ จา ใจ ขา พเจาจะหลกี เลยี่ งไปจากสิ่งนนั้ 4. ถา ขาพเจาตองการเรยี นรูส ิง่ ใด ขา พเจาจะหาทางเรยี นรใู หได 5. ขาพเจารกั ทจ่ี ะเรียนรูอยูเสมอ 6. ขาพเจา ตองการใชเวลาพอสมควรในการเรม่ิ ศกึ ษาเร่อื งใหม ๆ 7. ในชัน้ เรยี นขาพเจา หวงั ทจ่ี ะใหผ สู อนบอกผูเรียนทง้ั หมดอยา งชดั เจนวา ตอ งทาํ อะไรบา งอยตู ลอดเวลา 8. ขา พเจาเชื่อวา การคดิ เสมอวา ตวั เราเปน ใครและอยทู ี่ไหน และจะทาํ อะไร เปน หลกั สาํ คญั ของการศึกษาของทุกคน 9. ขาพเจา ทํางานดว ยตนเองไดไ มด ีนกั 10. ถา ตอ งการขอ มูลบางอยา งท่ยี งั ไมม ี ขาพเจา ทราบดวี า จะไปหาไดท่ีไหน 11. ขา พเจา สามารถเรยี นรูส ิง่ ตาง ๆ ดว ยตนเองไดดกี วาคนสว นมาก 12. แมข าพเจาจะมคี วามคดิ ที่ดี แตดเู หมอื นไมส ามารถนาํ มาใชป ฏบิ ัตไิ ด 13. ขา พเจาตอ งการมสี วนรวมในการตดั สินใจวาควรเรยี นอะไร และจะเรียนอยา งไร 14. ขา พเจาไมเ คยทอ ถอยตอการเรยี นส่งิ ที่ยาก ถาเปน เร่อื งทข่ี าพเจา สนใจ 15. ไมม ีใครอน่ื นอกจากตวั ขา พเจาทีจ่ ะตอ งรบั ผิดชอบในสิง่ ท่ีขาพเจาเลือกเรียน 16. ขา พเจาสามารถบอกไดวา ขาพเจาเรียนสง่ิ ใดไดด หี รือไม

12 ความคดิ เหน็ รายการคาํ ถาม มาก มาก ปาน นอย นอย ที่สุด กลาง ทสี่ ดุ 17. สิ่งท่ีขา พเจาตอ งการเรียนรูไดม ากมาย จนขาพเจาอยากใหแตละวนั มมี ากกวา 24 ชัว่ โมง 18. ถาตดั สินใจทจ่ี ะเรยี นรูอะไรกต็ าม ขา พเจาสามารถจะจดั เวลาทจี่ ะเรียนรูส่ิงน้นั ได ไมวาจะมภี ารกจิ มากมายเพยี งใดกต็ าม 19. ขาพเจามปี ญหาในการทาํ ความเขาใจเรื่องท่ีอา น 20. ถา ขา พเจาไมเรยี นกไ็ มใชค วามผิดของขา พเจา 21. ขาพเจาทราบดวี า เมอื่ ไรท่ีขาพเจา ตอ งการจะเรียนรใู นเรือ่ งใดเร่ืองหนง่ี ให มากขน้ึ 22. ขอมคี วามเขา ใจพอทจี่ ะทําขอสอบใหไ ดค ะแนนสงู ๆ กพ็ อใจแลว ถงึ แมวา ขา พเจายงั ไมเขา ใจเรือ่ งนั้นอยา งถอ งแทกต็ ามที 23. ขาพเจาคดิ วา หองสมดุ เปน สถานทีท่ น่ี า เบ่ือ 24. ขา พเจาชน่ื ชอบผทู เี่ รียนรสู ่งิ ใหม ๆ อยเู สมอ 25. ขา พเจาสามารถคดิ คน วิธีการตาง ๆ ไดหลายแบบสําหรบั การเรยี นรหู วั ขอใหม ๆ 26. ขา พเจาพยายามเช่ือมโยงสงิ่ ทกี่ ําลังเรยี นกับเปาหมายระยะยาว ทตี่ ัง้ ไว 27. ขา พเจามคี วามสามารถเรยี นรู ในเกอื บทกุ เรือ่ ง ทข่ี าพเจาตองการ จะรู 28. ขาพเจาสนกุ สนานในการคนหาคาํ ตอบสาํ หรบั คาํ ถามตาง ๆ 29. ขา พเจาไมช อบคาํ ถามทม่ี คี าํ ตอบถกู ตองมากกวาหนึ่งคาํ ตอบ 30. ขาพเจามคี วามอยากรูอยากเหน็ เกย่ี วกับส่ิงตาง ๆ มากมาย 31. ขา พเจาจะดใี จมาก หากการเรยี นรูของขา พเจาไดส ิ้นสุดลง 32. ขาพเจาไมไ ดส นใจการเรียนรู เมอื่ เปรียบเทียบกับผูอนื่ 33. ขาพเจาไมม ปี ญหา เกย่ี วกบั ทกั ษะเบอ้ื งตนในการศกึ ษาคนควา ไดแก ทกั ษะการฟง อาน เขยี น และจาํ 34. ขา พเจาชอบทดลองสิ่งใหมๆ แมไ มแนใจ วา ผลนน้ั จะออกมา อยางไร 35. ขาพเจาไมชอบ เมอื่ มีคนชใี้ หเ หน็ ถงึ ขอ ผดิ พลาด ในสง่ิ ทขี่ า พเจา กาํ ลงั ทาํ อยู 36. ขา พเจามคี วามสามารถในการคดิ คน หาวธิ แี ปลกๆ ทจี่ ะทาํ สิง่ ตา ง ๆ 37. ขาพเจาชอบคดิ ถงึ อนาคต 38. ขาพเจามคี วามพยายามคนหาคาํ ตอบในสิง่ ทต่ี อ งการรูไดดี เมือ่ เทียบกบั ผูอืน่ 39. ขาพเจาเหน็ วาปญ หาเปนสิ่งทท่ี า ทาย ไมใ ชส ญั ญาณใหห ยุดทาํ 40. ขา พเจาสามารถบงั คบั ตนเอง ใหก ระทาํ สง่ิ ท่ี คดิ วา ควรกระทาํ 41. ขา พเจาชอบวธิ กี ารของขาพเจา ในการสาํ รวจตรวจสอบปญหาตาง ๆ 42. ขาพเจามกั เปนผูนาํ กลุม ในการเรยี นรู 43. ขา พเจาสนกุ ท่ีไดแ ลกเปลยี่ นความคิดเหน็ กับผอู ่นื

13 ความคดิ เหน็ รายการคาํ ถาม มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย ทส่ี ุด กลาง ที่สดุ 44. ขาพเจาไมช อบสถานการณก ารเรยี นรูท ที่ า ทาย 45. ขาพเจามคี วามปรารถนาอยา งแรงกลา ทีจ่ ะเรยี นรสู ิ่งใหม ๆ 46. ยิง่ ไดเ รียนรมู าก ขาพเจาก็ย่ิงรสู กึ วา โลกน้ีนาตื่นเตน 47. การเรียนรูเปนเรอ่ื งสนกุ 48. การยึดการเรยี นรูท ่ใี ชไ ดผลมาแลว ดกี วา การลองใชวธิ ใี หม ๆ 49. ขาพเจาตอ งการเรยี นรใู หมากยิ่งข้นึ เพอ่ื จะได เปนคนทม่ี ีความเจรญิ กาวหนา 50. ขาพเจาเปน ผูร บั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การเรยี นรขู องขา พเจาเอง ไมม ใี ครมารบั ผดิ ชอบ แทนได 51. การเรียนรูถึงวิธกี ารเรียน เปนสงิ่ ท่สี ําคญั สําหรบั ขา พเจา 52. ขา พเจาไมมีวนั ทีจ่ ะแกเกนิ ไป ในการเรยี นรูส งิ่ ใหม ๆ 53. การเรยี นรูอยตู ลอดเวลา เปนส่ิงทน่ี าเบื่อหนาย 54. การเรยี นรเู ปนเครอ่ื งมือในการดาํ เนนิ ชีวิต 55. ในแตล ะปข าพเจาไดเ รยี นรสู ่งิ ใหม ๆ หลายๆ อยางดวยตนเอง 56. การเรยี นรูไมไ ดท ําใหช วี ติ ของขา พเจา แตกตา งไปจากเดมิ 57. ขา พเจาเปน ผูเ รียนทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ทั้งในช้นั เรยี น และการเรยี นรูดว ยตนเอง 58 ขา พเจาเห็นดว ยกบั ความคดิ ทว่ี า “ผเู รยี นคอื ผูนาํ ” การเริ่มตนเรยี นรดู ว ยตนเองท่ีดที ส่ี ุดนั้น เรามาเริ่มตนที่ความพรอมในการ เรยี นรดู ว ยตนเอง และทานคงทราบในเบอ้ื งตน แลววา ระดับความพรอมในการ เรยี นรดู ว ยตนเองของทา น อยใู นระดบั ใด (มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอย ี่ ความพรอ มในการเรยี นรดู วยตนเอง ในการเรยี นรูดว ยตนเองเปนบุคลิกลักษณะสวนบคุ คลของผเู รียน ท่ตี องการใหเกดิ ข้ึนในตวั ผูเรียนตามเปาหมายของการศึกษา ผูเรียนทม่ี ีความพรอมในการเรยี นดว ยตนเองจะมคี วามรบั ผดิ ชอบ สวนบุคคล ความรับผิดชอบตอความคิดและการกระทําของตนเอง สามารถควบคุมและโตตอบ สถานการณ สามารถควบคุมตนเองใหเปนไปในทิศทางที่ตนเลือก โดยยอมรบั ผลที่เกิดขน้ึ จากการ กระทําที่มาจากความคิดตัดสินใจของตนเอง

14 ความหมาย และความสําคัญของการเรยี นรูดว ยตนเอง “เด็กตามธรรมชาติตอ งพง่ึ พิงผูอ่ืนและตองการผูปกครองปกปอ งเลยี้ งดูและตัดสินใจแทน เม่ือเติบโต เปน ผใู หญ ก็พัฒนามีความอิสระ พึ่งพิงจากภายนอกลดลงและเปน ตวั เอง จนมีคุณลักษณะการชน้ี ํา ตนเองในการเรยี นรู” การเรยี นรเู ปนเรือ่ งของทุกคน ศกั ดศ์ิ รีของผเู รยี นจะมไี ดเม่ือมีโอกาสในการเลือกเรียนในเร่ืองท่ี หลากหลายและมีความหมายแกตนเอง การเรียนรูมีองคประกอบ 2 ดาน คือ องคประกอบภายนอก ไดแ ก สภาพแวดลอ ม โรงเรยี น สถานศกึ ษา สิ่งอํานวยความสะดวก และครู องคประกอบภายใน ไดแก การคิด เปน พง่ึ ตนเองได มอี สิ รภาพ ใฝร ู ใฝส รา งสรรค มคี วามคดิ เชิงเหตผุ ล มีจิตสาํ นกึ ในการเรยี นรู มเี จตคติ เชงิ บวกตอการเรียนรู การเรียนรทู เี่ กดิ ขนึ้ มไิ ดเ กิดขนึ้ จากการฟง คําบรรยายหรือทาํ ตามทคี่ รูผูสอนบอก แต อาจเกดิ ข้ึนไดในสถานการณตาง ๆ ตอไปน้ี 1. การเรียนรโู ดยบงั เอิญ การเรยี นรูแ บบน้ีเกดิ ขึ้นโดยบงั เอิญ มไิ ดเกิดจากความตงั้ ใจ 2. การเรียนรดู วยตนเอง เปนการเรยี นรูดว ยความตั้งใจของผเู รียน ซ่ึงมีความปรารถนาจะรูใน เร่ืองนน้ั ผูเรียนจึงคดิ หาวธิ กี ารเรยี นดวยวธิ ีการตา งๆ หลงั จากน้ันจะมีการประเมินผลการเรียนรูดว ย ตนเองจะเปนรูปแบบการเรียนรูที่ทวีความสําคัญในโลกยุคโลกาภิวัตน บุคคลซึ่งสามารถปรับตนเองให ตามทนั ความกาวหนา ของโลกโดยใชสอ่ื อปุ กรณย ุคใหมได จะทําใหเ ปน คนท่มี ีคณุ คาและประสบ 3. การ ความสําเรจ็ ไดอยา งดี เรยี นรโู ดยกลมุ การเรียนรูแ บบนีเ้ กิดจากการท่ีผเู รียนรวมกลุม กันแลว เชญิ ผูท รงคณุ วุฒมิ าบรรยายใหกบั สมาชิกทําใหสมาชิกมคี วามรูเร่ืองท่วี ิทยากรพูด 4. การเรียนรูจากสถาบันการศึกษา เปนการเรียนแบบเปนทางการ มีหลักสูตร การประเมินผล มี ระเบยี บการเขา ศึกษาทชี่ ัดเจน ผูเ รียนตองปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บทก่ี ําหนด เมอ่ื ปฏิบัตคิ รบถว นตามเกณฑที่ กําหนดก็จะไดรับปริญญา หรือประกาศนียบัตร จากสถานการณการเรียนรูด ังกลาวจะเห็นไดวา การ เรียนรูอ าจเกิดไดหลายวิธี และการเรียนรูน ัน้ ไมจําเปนตองเกิดขึน้ ในสถาบันการศึกษาเสมอไป การ เรียนรูอาจเกิดขึน้ ไดจากการเรียนรูด วยตนเอง หรือจากการเรียนโดยกลุมก็ได และการที่บุคคลมีความ ตระหนักเรียนรูอ ยูภ ายในจิตสํานึกของบุคคลนั้น การเรียนรูด วยตนเองจึงเปนตัวอยางของการเรียนรูใ น ลักษณะทีเ่ ปนการเรียนรู ที่ทําใหเกิดการเรียนรูต ลอดชีวิต ซึง่ มีความสําคัญสอดคลองกับการ เปลย่ี นแปลงของโลกปจจบุ ัน และสนบั สนุนสภาพ “สังคมแหงการเรียนรู” ไดเปนอยางดี “การเรยี นรูเปน เพ่ือนที่ดที ีส่ ุดของมนุษย” (LEARNING makes a man fit company for himself) ... (Young)...

15 การเรียนรดู วยตนเองคอื อะไร เม่ือกลาวถงึ การเรยี นดว ยตนเอง แลว บคุ คลโดยทวั่ ไปมกั จะเขา ใจวาเปนการเรียนทผี่ ูเ รียน ทําการศึกษาคนควาดวยตนเองตามลําพังโดยไมตองพึ่งพาผูสอน แตแททจี่ ริงแลว การเรียนดวยตนเองที่ ตอ งการใหเกิดขนึ้ ในตัวผูเรียนนน้ั เปนกระบวนการเรียนรทู ผ่ี ูเรียนริเร่มิ การเรียนรดู วยตนเอง ตามความ สนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปา หมาย รูจ ักแสวงหาแหลง ทรพั ยากรของการเรียนรู เลือกวธิ ีการ เรียนรู จนถึงการประเมนิ ความกาวหนาของการเรียนรขู องตนเอง โดยจะดําเนินการดวยตนเองหรือ รวมมอื ชวยเหลอื กบั ผูอื่นหรือไมก ็ได ซ่งึ ผเู รยี นจะตอ งมคี วามรับผดิ ชอบและเปนผคู วบคุมการเรยี นของ ตนเอง ทัง้ นีก้ ารเรียนดวยตนเองนั้นมีแนวคิดพืน้ ฐานมาจากแนวคิดทฤษฎีกลุมมนุษยนิยมที่มีความเชื่อ ในเรื่องความเปนอิสระและความเปนตัวของตัวเองของมนุษยวามนุษยทุกคนเกิดมาพรอมกับความดี มี ความเปนอิสระ เปน ตวั ของตวั เอง สามารถหาทางเลือกของตนเอง มีศักยภาพและสามารถพัฒนาศักยภาพ ของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัด รวมทัง้ มีความรับผิดชอบตอตนเองและผูอ ืน่ ซึ่งการเรียนดวยตนเอง กอใหเกิดผลในทางบวกตอการเรียน โดยจะสงผลใหผูเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง มีแรงจูงใจในการ เรียนมากขึ้น มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ขึน้ และมีการใชว ิธีการเรียนท่ีหลากหลาย การเรียนดวยตนเอง จึงเปนมาตรฐานการศึกษาทีค่ วรสงเสริมใหเกิดขึน้ ในตัวผูเรียน ทุกคน เพราะเมือ่ ใดก็ตามทีผ่ ูเ รียนมีใจ รักที่จะศึกษา คนควาจากความตองการของตนเอง ผูเ รียนก็จะมีการศึกษาคนควาอยางตอเนือ่ งตอไปโดย ไมตองมีใครบอกหรือบังคับ เปนแรงกระตุนใหเกิดความอยากรูอยากเห็นตอไปไมมีที่สิน้ สุด ซ่ึงจะ นําไปสูการเปนผูเรียนรูตลอดชีวิตตามเปาหมายของการศึกษาตอไป การเรียนดวยตนเองมีอยู 2 ลักษณะคือ ลักษณะทีเ่ ปนการจัดการเรียนรูท ี่มีจุดเนนใหผูเ รียนเปน ศูนยกลางในการเรียนโดยเปนผูรับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเองโดยการวางแผน ปฏิบัติการ เรยี นรู และประเมนิ การเรยี นรดู ว ยตนเอง ซึ่งไมจําเปนจะตองเรียนดวยตนเองเพียงคนเดียวตามลําพัง และ ผูเรียนสามารถถายโอนการเรียนรูแ ละทักษะทีไ่ ดจากสถานการณหนึง่ ไปยังอีก สถานการณหนึง่ ได ใน อีกลักษณะหนึง่ เปนลักษณะทางบุคลิกภาพทีม่ ีอยูใ นตัวผูที่เรียนดวยตนเองทุกคนซึง่ มีอยูใ นระดับที่ไม เทากนั ในแตละสถานการณก ารเรยี น โดยเปนลักษณะท่สี ามารถพัฒนาใหสงู ข้นึ ไดแ ละจะพัฒนาไดสูงสุด เมอ่ื มีการจดั สภาพการจัดการเรยี นรทู เี่ ออื้ กัน การเรยี นดว ยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนกระบวนการเรียนรูท ีผ่ ูเรียนริเริม่ การเรียนรูด วย ตนเอง ตามความสนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการ เรียนรู เลือกวิธีการเรียนรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเอง โดยจะดําเนินการดวย ตนเองหรือรวมมือชวยเหลือกับผูอ ืน่ หรือไมก็ได ซึง่ ผูเ รียนจะตองมีความรับผิดชอบและเปนผูค วบคุมการ เรยี นของ ตนเอง

16 การเรยี นรูดวยตนเองมคี วามสําคัญอยา งไร การเรียนรูด วยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูห นึง่ ทีส่ อดคลองกับการ เปลีย่ นแปลงของสภาพปจจุบัน และเปนแนวคิดทีส่ นับสนุนการเรียนรูต ลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู การเปนสังคมแหงการเรียนรู โดยการเรียนรูด วยตนเองเปนการเรียนรูท ีท่ ําใหบุคคลมีการริเริม่ การเรียนรู ดวยตนเอง มีเปาหมายในการเรียนรูท ี่แนนอน มีความรับผิดชอบในชีวิตของตนเอง ไมพึ่งคนอืน่ มี แรงจูงใจ ทําใหผูเ รียนเปนบุคคลที่ใฝรู ใฝเรียน ทีม่ ีการเรียนรูตลอดชีวิต เรียนรูว ิธีเรียน สามารถเรียนรู เรือ่ งราวตาง ๆ ไดมากกวาการเรียนทีม่ ีครูปอนความรูใหเพียงอยางเดียว การเรียนรูดวยตนเองไดนับวา เปนคุณลักษณะทีด่ ีที่สุดซึ่งมีอยูใ น ตัวบุคคลทุกคน ผูเ รียนควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรูด วยตนเอง การเรียนรูดวยตนเองจัดเปนกระบวนการเรียนรูต ลอดชีวิต ยอมรับในศักยภาพของผูเ รียนวาผูเ รียนทุกคน มีความสามารถทีจ่ ะเรียนรูส ิง่ ตาง ๆ ไดดวยตนเอง เพือ่ ทีต่ นเองสามารถทีด่ ํารงชีวิตอยูใ นสังคมทีม่ ีการ เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาไดอยางมีความสุข ดงั นน้ั การเรียนรูดวยตนเองมคี วามสําคญั ดงั นี้ 1. บุคคลที่เรียนรูด วยการริเริ่มของตนเองจะเรียนไดมากกวา ดีกวา มีความตั้งใจ มีจุดมุงหมาย และมีแรงจูงใจสูงกวา สามารถนําประโยชนจากการเรียนรูไ ปใชไดดีกวาและยาวนานกวาคนทีเ่ รียนโดย เปน เพียงผูรบั หรอื รอการถายทอดจากครู 2. การเรียนรูดวยตนเองสอดคลองกับพัฒนาการทางจิตวิทยา และกระบวนการทางธรรมชาติ ทํา ใหบุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลักษณะหนึง่ ไปสูอ ีกลักษณะหนึง่ คือ เมื่อตอนเด็ก ๆ เปน ธรรมชาติที่จะตองพึง่ พิงผูอืน่ ตองการผูปกครองปกปองเลีย้ งดู และตัดสินใจแทนให เมื่อเติบโตมี พัฒนาการขึน้ เรือ่ ยๆ พัฒนาตนเองไปสูความเปนอิสระ ไมตองพึ่งพิงผูป กครอง ครู และผูอืน่ การพัฒนา เปนไปในสภาพที่เพิ่มความเปนตัวของตัวเอง 3. การเรียนรดู ว ยตนเองทําใหผูเรียนมีความรบั ผดิ ชอบ ซ่ึงเปนลักษณะท่ีสอดคลองกับพัฒนาการ ใหม ๆ ทางการศึกษา เชน หลักสูตร หองเรียนแบบเปด ศูนยบริการวิชาการ การศึกษาอยางอิสระ มหาวิทยาลยั เปด ลว นเนน ใหผูเรียนรบั ผิดชอบการเรยี นรเู อง 4. การเรียนรดู ว ยตนเองทาํ ใหมนษุ ยอ ยูร อด การมคี วามเปล่ยี นแปลงใหม ๆ เกิดขึ้นเสมอ ทําใหมี ความจําเปนที่จะตองศึกษาเรียนรู การเรยี นรดู วยตนเองจงึ เปน กระบวนการตอเนือ่ งตลอดชวี ิต การเรยี นรดู วยตนเอง เปนคุณลักษณะที่สําคัญตอการดําเนินชีวิตทีม่ ีประสิทธิภาพ ชวยใหผูเ รียน มีความตั้งใจและมีแรงจูงใจสูง มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความยืดหยุนมากขึน้ มีการปรับพฤติกรรม การทํางานรวมกับผูอืน่ ได รูจ ักเหตุผล รูจ ักคิดวิเคราะห ปรับและประยุกตใชวิธีการแกปญหาของตนเอง จัดการกับปญหาไดดีขึ้น และสามารถนําประโยชนของการเรียนรูไปใชไดดีและยาวนานขึ้น ทําใหผูเรียน ประสบความสําเร็จในการเรียน

17 การเรยี นรดู ว ยตนเองมีลักษณะอยา งไร การเรยี นรดู วยตนเอง สามารถจาํ แนกออกเปน 2 ลกั ษณะสาํ คัญ ดงั น้ี 1. ลักษณะที่เปนบุคลิกคุณลักษณะสวนบุคคลของผูเรียนในการเรียนดวยตนเอง จัดเปน องคประกอบภายในทีจ่ ะทําใหผูเ รียนมีแรงจูงใจอยากเรียนตอไป โดยผูเรียนท่ีมี คุณลักษณะในการเรียน ดวยตนเองจะมีความรับผิดชอบตอความคิดและการกระทําเกีย่ วกับการเรียน รวมทั้ง รับผิดชอบในการ บรหิ ารจดั การตนเอง ซ่ึงมีโอกาสเกดิ ขึน้ ไดส งู สดุ เมอื่ มกี ารจัดสภาพการเรยี นรูทส่ี งเสริมกนั 2. ลักษณะทีเ่ ปนการจัดการเรียนรูใ หผูเ รียนไดเรียนดวยตนเอง ประกอบดวย ขัน้ ตอนการวาง แผนการเรยี น การปฏิบัติตามแผน และการประเมนิ ผลการเรียน จัดเปนองคประกอบ ภายนอกทีส่ งผลตอ การเรียนดวยตนเองของผูเ รียน ซึง่ การจัดการเรียนรูแ บบนีผ้ ูเรียนจะไดประโยชนจากการเรียนมากทีส่ ุด Knowles (1975) เสนอใหใชสัญญาการเรียน (Learning contracts) เปนการมอบหมายภาระงานใหแก ผเู รียนวาจะตอ งทําอะไรบางเพ่ือใหไ ดร ับความรูตามเปาประสงคแ ละผูเ รียนจะปฏบิ ตั ติ ามเงือ่ นไขนัน้ องคป ระกอบของการเรยี นรดู ว ยตนเองมอี ะไรบา ง องคป ระกอบของการเรยี นรูดวยตนเอง มดี ังนี้ 1. การวิเคราะหความตองการของตนเองจะเริ่มจากใหผูเรียนแตละคนบอกความตองการ และความสนใจของตนในการเรียนกับเพื่อนอีกคน ทําหนาทเี่ ปน ท่ีปรกึ ษา แนะนาํ และเพอ่ื นอกี คน ทําหนาที่จดบันทึก และใหก ระทาํ เชน น้ีหมนุ เวยี น ทง้ั 3 คน แสดงบทบาทครบทั้ง 3 ดา น คอื ผเู สนอ ความตองการ ผใู หค าํ ปรึกษา และผูคอยจดบนั ทึก การสังเกตการณ เพอ่ื ประโยชนใ นการเรยี น รว มกันและชวยเหลือซง่ึ กันและกนั ในทุกๆ ดา น 2. การกําหนดจุดมุงหมายในการเรียน โดยเริ่มจากบทบาทของผูเรียนเปนสําคัญ ผเู รียน ควรศึกษาจุดมุงหมายของวิชา แลว เขยี นจดุ มงุ หมายในการเรยี นของตนใหช ดั เจน เนน พฤตกิ รรมท่ี คาดหวงั วดั ได มีความแตกตางของจุดมุงหมายในแตละระดับ 3. การวางแผนการเรยี น ใหผูเ รยี นกําหนดแนวทางการเรยี นตามวตั ถุประสงคท ี่ระบุไว จัดเนื้อหาใหเหมาะสมกับสภาพความตองการและความสนใจของตน ระบกุ ารจดั การเรยี นรใู ห เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด 4. การแสวงหาแหลงวิทยาการทั้งที่เปนวัสดุและบุคคล 4.1 แหลงวิทยาการที่เปนประโยชนในการศึกษาคนควา เชน หองสมุด พิพธิ ภัณฑ เปน ตน 4.2 ทักษะตาง ๆ ทม่ี สี ว นชว ยในการแสวงแหลง วทิ ยาการไดอ ยา งสะดวกรวดเร็ว เชน ทักษะการตั้งคําถาม ทักษะการอาน เปนตน 5. การประเมินผล ควรประเมินผลการเรียนดวยตนเองตามที่กําหนดจุดมุงหมายของการ เรยี นไว และใหส อดคลอ งกบั วัตถุประสงคเ กยี่ วกบั ความรู ความเขาใจ ทักษะ ทัศนคติ คานยิ ม มี

18 ขน้ั ตอนในการประเมนิ คอื 5.1 กําหนดเปาหมาย วัตถุประสงคใ หชัดเจน 5.2 ดาํ เนินการใหบ รรลุวัตถุประสงคซง่ึ เปน ส่ิงสาํ คญั 5.3 รวบรวมหลักฐานจากผลการประเมินเพ่ือตัดสินใจซ่งึ ตองตัง้ อยูบนพ้นื ฐานของ ขอ มลู ทส่ี มบูรณและเช่ือถือได 5.4 เปรียบเทยี บขอมลู กอนเรียนกับหลังเรยี นเพ่ือดูวาผูเรียนมีความกาวหนาเพียงใด 5.5 ใชแ หลงขอ มูลจากครูและผูเรียนเปนหลกั ในการประเมิน องคประกอบของการเรียนรูดว ยตนเอง ผูเรียนควรมีการวิเคราะหความตองการ วเิ คราะห เนอ้ื หา กาํ หนดจดุ มงุ หมายและการวางแผนในการเรยี น มีความสามารถในการแสวงหาแหลง วิทยาการ และมีวิธีในการประเมนิ ผลการเรยี นรูดว ยตนเอง โดยมเี พื่อนเปนผูรว มเรียนรไู ปพรอมกัน และมีครเู ปน ผูช ้ีแนะ อาํ นวยความสะดวก และใหคาํ ปรึกษา ท้งั นี้ ครูอาจตองมีการวิเคราะหความ พรอมหรือทักษะท่จี าํ เปน ของผเู รียนในการกา วสูก ารเปนผูเรยี นรูด ว ยตนเองได รายละเอียดกิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมที่ 1 ใหอธิบายความหมายของคําวา “การเรยี นรูดว ยตนเอง” โดยสังเขป กิจกรรมท่ี 2 ใหอ ธิบาย “ความสําคัญของการเรียนรูดวยตนเอง” โดยสังเขป กิจกรรมท่ี 3 ใหสรุปสาระสําคัญของ “ลักษณะการเรียนรูดวยตนเอง” มาพอสังเขป กิจกรรมท่ี 4 ใหสรุปสาระสําคัญของ “องคป ระกอบของการเรยี นรดู วยตนเอง” มาพอสังเขป

19 เรอ่ื งที่ 2 การกําหนดเปา หมาย และการวางแผนการเรยี นรูดว ยตนเอง กระบวนการในการเรียนรูดว ยตนเอง ความรบั ผดิ ชอบในการเรยี นรดู วยตนเองของผูเรียน เปน ส่ิงสําคญั ท่ีจะนาํ ผูเรียนไปสูการเรยี นรูดวยตนเอง เพราะความรบั ผิดชอบในการเรยี นรดู วยตนเองน้ัน หมายถงึ การที่ผูเ รยี นควบคุมเนอ้ื หา กระบวนการ องคประกอบของสภาพแวดลอมในการเรียนรูของ ตนเอง ไดแ ก การวางแผนการเรียนของตนเอง โดยอาศัยแหลงทรัพยากรทางความรูตางๆ ทจ่ี ะชวยนํา แผนสกู ารปฏบิ ัติ แตภายใตความรับผดิ ชอบของผูเรียน ผเู รียนรดู วยตนเองตองเตรียมการวางแผนการ เรยี นรขู องตน และเลอื กส่ิงทจี่ ะเรียนจากทางเลอื กทก่ี าํ หนดไว รวมทงั้ วางโครงสรา งของแผนการเรยี นรู ของตนอกี ดว ย ในการวางแผนการเรยี นรู ผูเรยี นตองสามารถปฏบิ ตั ิงานท่กี ําหนด วนิ จิ ฉยั ความชว ยเหลอื ท่ตี อ งการ และทาํ ใหไ ดค วามชว ยเหลอื น้ัน สามารถเลือกแหลงความรู วเิ คราะห และวางแผนการการ เรยี นทง้ั หมด รวมทั้งประเมินความกาวหนาในการเรียนของตน ในการเรยี นรดู ว ยตนเองผูเรียนและครูควรมีบทบาทอยางไร การเปรียบเทยี บบทบาทของครแู ละผูเรยี นตามกระบวนการเรียนรดู ว ยตนเอง บทบาทของผเู รียนในการเรียนรดู ว ยตนเอง บทบาทของครใู นการเรียนรูดว ยตนเอง 1. การวเิ คราะหค วามตองการในการเรยี น 1. การวิเคราะหค วามตอ งการในการเรยี น  วนิ จิ ฉยั การเรียนรู  สรางความคุนเคยใหผูเรียนไววางใจ เขาใจ  วินิจฉัยความตองการในการเรียนรูของตน บทบาทครู บทบาทของตนเอง  รบั รูและยอมรับความสามารถของตน  วเิ คราะหความตองการการเรยี นรขู องผูเรียน  มีความรับผิดชอบในการเรียนรู และพฤตกิ รรมทต่ี องการใหเกดิ แกผูเรียน  สรางบรรยากาศการเรียนรูที่พอใจดวยตนเอง  กําหนดโครงสรางคราว ๆ ของหลกั สตู ร  มีสวนรวมในการระบุความตองการในการเรียน ขอบเขตเนื้อหากวาง ๆ สรางทางเลือกที่  เลือกส่งิ ทีจ่ ะเรียนจากทางเลือกตางๆ ที่ หลากหลาย กาํ หนด  สรา งบรรยากาศใหเกิดความตองการการเรียน  วางโครงสรางของโครงการเรียนของตน  วเิ คราะหความพรอมในการเรยี นรูข องผูเ รียน โดยการตรวจสอบความพรอมของผูเรียน  มสี ว นรว มในการตดั สนิ ใจในทางเลอื กน้ัน  แนะนําขอ มลู ใหผ ูเรยี นคิด วเิ คราะหเ อง

20 การเปรียบเทยี บบทบาทของครูและผูเรยี นตามกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (ตอ) บทบาทของผเู รียนในการเรยี นรดู วยตนเอง บทบาทของครใู นการเรียนรูดว ยตนเอง 2. การกําหนดจุดมงุ หมายในการเรียน 2. การกําหนดจดุ มุง หมายในการเรียน  ฝก การกาํ หนดจุดมงุ หมายในการเรยี น  กําหนดโครงสรางคราวๆ วัตถุประสงคการ  รูจดุ มุง หมายในการเรียน และเรยี นใหบ รรลุ เรยี นของวชิ า  ชวยใหผูเรยี นเปล่ียนความตองการทม่ี ีอยใู ห จุดมุงหมาย  รวมกนั พฒั นาเปา หมายการเรยี นรู เปนจดุ มุงหมายการเรียนรูท ่ีวัดไดเปนไดจรงิ  กําหนดจุดมุงหมายจากความตองการของตน  เปดโอกาสใหมีการระดมสมอง รว มแสดง ความคดิ เห็นและการนาํ เสนอ 3. การออกแบบแผนการเรียน  แนะนําขอ มลู ใหผูเรียนคิด วเิ คราะหเอง  ฝกการทํางานอยางมีขั้นตอนจากงายไปยาก 3. การออกแบบแผนการเรียน  การใชยุทธวิธีที่เหมาะสมในการเรียน  เตรียมความพรอมโดยจัดประสบการณการ  มีความรับผิดชอบในการดําเนินงานตามแผน เรยี นรู เสริมทกั ษะท่จี ําเปน ในการเรียนรู  รว มมอื รว มใจรับผิดชอบการทาํ งานกลมุ  มสี ว นรว มในการตดั สนิ ใจ วิธีการทํางาน ตอ ง  รบั ผิดชอบควบคุมกจิ กรรมการเรยี นรูของ ทราบวา เร่อื งใดใชวิธใี ด สอนอยา งไร มสี ว นรว ม ตนเองตามแผนการเรยี นทก่ี าํ หนดไว ตัดสนิ ใจเพยี งใด  ย่วั ยใุ หเกดิ พฤตกิ รรมการเรยี นรู 4. การแสวงหาแหลง วิทยาการ  ผูป ระสานสิง่ ทตี่ นเองรกู ับส่ิงทผี่ เู รยี นตองการ  ฝกคนหาความรูตามที่ไดรับมอบหมายจาก  แนะนําขอมลู ใหผ ูเรียนคิด วเิ คราะหเองจนได แหลง การเรยี นรทู ่ีหลากหลาย แนวทางทแ่ี จม แจง สรางทางเลือกที่หลากหลาย  กําหนดบุคคล และสอ่ื การเรียนท่เี กย่ี วของ ใหผเู รยี นเลอื กปฏบิ ัตติ ามแนวทางของตน  มสี ว นรว มในการสบื คน ขอมูลรวมกับเพื่อนๆ 4. การแสวงหาแหลง วิทยาการ  สอนกลยุทธการสืบคนขอมูล ถายทอดความรู ดวยความรับผิดชอบ  เลอื กใชประโยชนจากกิจกรรมและยุทธวิธที ม่ี ี ถาผเู รียนตองการ ประสิทธภิ าพเพอ่ื ใหบรรลวุ ัตถปุ ระสงคทกี่ าํ หนด  กระตนุ ความสนใจชี้แหลง ความรู แนะนําการใชส ื่อ  จดั รปู แบบเน้ือหา สอื่ การเรียนที่เหมาะสม บางสวน  สงั เกต ตดิ ตาม ใหคาํ แนะนาํ เมื่อผูเรียนเกดิ ปญหาและตองการคําปรึกษา

21 การเปรียบเทียบบทบาทของครแู ละผูเรยี นตามกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (ตอ) บทบาทของผเู รยี นในการเรยี นรูดวยตนเอง บทบาทของครใู นการเรียนรูดว ยตนเอง 5. การประเมินผลการเรียนรู 5. การประเมินผลการเรยี นรู  ฝก การประเมินผลการเรยี นรดู ว ยตนเอง  ใหค วามรแู ละฝก ผเู รยี นในการประเมินผลการ  มสี ว นรว มในการประเมินผล เรยี นรทู หี่ ลากหลาย  ผูเรียนประเมินผลสมั ฤทธิด์ ว ยตนเอง  เปดโอกาสใหผ เู รยี นนาํ เสนอวิธีการ เกณฑ ประเมินผล และมสี ว นรว มในการตัดสนิ ใจ  จัดทําตารางการประเมินผลที่จะใชรวมกัน  แนะนาํ วิธกี ารประเมนิ เม่ือผเู รียนมขี อ สงสยั จะเห็นไดว า ทัง้ ผูเรยี นและครูตองมกี ารวนิ จิ ฉัยความตองการสิง่ ท่จี ะเรียน ความพรอม ของผูเรียนเกย่ี วกับทักษะท่ีจําเปนในการเรียน การกําหนดเปาหมาย การวางแผนการเรยี นรู การ แสวงหาแหลง วทิ ยาการ การประเมนิ ผลการเรยี นรู ซง่ึ ครเู ปนผูฝก ฝน ใหแ รงจงู ใจ แนะนาํ อาํ นวยความ สะดวกโดยเตรียมการเบื้องหลัง และใหคาํ ปรึกษา สว นผเู รียนตอ งเปน ผเู ร่ิมตนปฏบิ ตั ิ ดว ยความ กระตอื รอื รน เอาใจใส และมีความรับผิดชอบ กระทาํ อยา งตอ เนอ่ื งดว ยตนเอง เรยี นแบบมสี ว นรว ม จึงทาํ ใหผูเรียนเปนผูเ รียนรดู ว ยตนเองได ดงั หลักการที่วา “การเรยี นรูตอ งเร่มิ ตนท่ีตนเอง” และ ศกั ยภาพอนั พรอมท่ีจะเจรญิ เติบโตดวยตนเองนัน้ ผเู รยี นควรนาํ หัวใจนักปราชญ คือ สุ จิ ปุ ลิ หรอื ฟง คิด ถาม เขยี น มาใชในการสังเคราะหความรู นอกจากน้ี กระบวนการเรียนรูในบริบททางสังคม จะเปน พลงั อนั หนง่ึ ในการเรยี นรดู ว ยตนเอง ซ่งึ เปน การเรียนรใู นสภาพชวี ติ ประจําวนั ท่ตี องอาศัย สภาพแวดลอ มมสี ว นรว มในกระบวนการ ทําใหเกิดบรรยากาศการแลกเปลี่ยน พึ่งพากัน แตภ ายใต ความเปน อิสระในทางเลือกของผเู รียนดวยวิจารณญาณท่อี าศยั เหตุผล ประสบการณ หรือคาํ ชแ้ี นะ จากผรู ู ครู และผเู รยี นจึงเปน ความรับผดิ ชอบรว มกนั ตอ ความสาํ เร็จในการเรียนรดู วยตนเอง

22 ลกั ษณะสําคัญในการเรยี นรดู วยตนเองของผเู รียน มีดงั น้ี 1. การมีสวนรวมในการวางแผน การปฏิบัติตามแผน และการประเมนิ ผลการเรยี นรู ไดแก ผูเรยี นมี สว นรว มวางแผนกิจกรรมการเรียนรบู นพนื้ ฐานความตองการของกลมุ ผูเรยี น 2. การเรียนรูทคี่ ํานงึ ถึงความสําคญั ของผูเรยี นเปน รายบคุ คล ไดแ ก ความแตกตางใน ความสามารถ ความรูพนื้ ฐาน ความสนใจเรียน วิธีการเรยี นรู จดั เน้ือหาและสอ่ื ใหเ หมาะสม 3. การพัฒนาทักษะการเรียนรูดวยตนเอง ไดแ ก การสืบคนขอมูล ฝกเทคนิคที่จาํ เปน เชน การ สงั เกต การอานอยางมีจุดประสงค การบันทึก เปน ตน 4. การพฒั นาทกั ษะการเรียนรซู ่ึงกันและกัน ไดแ ก การกาํ หนดใหผ ูเรยี นแบง ความรบั ผิดชอบใน กระบวนการเรยี นรู การทํางานเดี่ยว และเปนกลุมทีม่ ที กั ษะการเรียนรตู า งกัน 5. การพัฒนาทักษะการประเมินตนเองและการรวมมือในการประเมินกับผูอื่น ไดแ ก การให ผูเรียนเขาใจความตองการในการประเมิน ยอมรับการประเมินจากผอู ื่น เปดโอกาสใหประเมินหลาย รูปแบบ กระบวนการในการเรยี นรูดว ยตนเอง เปน วธิ ีการที่ผเู รียนตองจัดกระบวนการเรียนรูดว ยตนเอง โดยดาํ เนนิ การ ดงั น้ี 1. การวินิจฉัยความตองการในการเรียน 2. การกําหนดจุดมุงหมายในการเรียน 3. การออกแบบแผนการเรียน 4. การดาํ เนินการเรยี นรูจากแหลงวิทยาการ 5. การประเมินผล การตอบสนองของผูเรียนและครูตามกระบวนการในเรยี นรดู ว ยตนเอง มดี ังนี้ ขนั้ ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู ผูเรยี น 1. วินิจฉัยความ 1. ศึกษา ทําความเขาใจ 1. กระตุน ใหผูเ รียนตระหนักถึงความจําเปนในการ ตองการในการเรียนรู คําอธิบายรายวิชา เรยี นรดู ว ยตนเอง ของผเู รยี น 2. วินิจฉัยความตองการ 2. วิเคราะหคําอธิบายรายวิชา จุดประสงค เนื้อหา ในการเรียนของตนเอง กิจกรรมและการประเมินการเรียนรายวิชา ทั ง้ ร า ย วิ ช า แ ล ะ ร า ย 3. อธิบายใหผ ูเรียนเขาใจคําอธิบายรายวิชา หัวขอ การเรียน 4. ใหคําแนะนําแกผูเ รียนในการวินิจฉัยความ 3. แบงกลุม อภิปราย ตอ งการในการเรยี น เกีย่ วกับความตองการ 5. อํานวยความสะดวกในการเรียนแบบรวมมือใน

23 ขน้ั ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู ผเู รียน ใ น ก า ร เ รี ย น เ พื อ่ ใ ห กลุม ผเู รียนแตละคนมนั่ ใจใน ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ค ว า ม ตองการในการเรียนของ ตนเอง 2. กําหนดจุดมุงหมาย 1. ผูเ รียนแตละคนเขียน 1. ใหคําแนะนําแกผูเ รียนในการเขียนจุดมุง หมาย ใน จุดมุง หมาย การเรียนใน การเรยี นทถ่ี กู ตอง การเรยี น แตละหัวขอการเรียน ที่ วัดได สอดคลองกับ ค ว า ม ต อ ง ก า ร ใ น ก า ร เ รี ย น ข อ ง ผู เ รี ย น แ ล ะ อธิบายรายวิชา 3. วางแผนการเรียน 1. ทําความเขาใจ 1. ใหคําแนะนําผูเรียนเกี่ยวกับความจําเปนและ โดยเขียนสัญญาการ เกีย่ วกับความจําเปน วธิ กี ารวางแผนการเรยี น เรยี น และวิธีการวางแผนการ 2. ใหคาํ แนะนาํ ผเู รยี นในการเขียนสญั ญาการเรยี น เรยี น 2. เขียนสัญญาการเรียน ที ส่ อ ด ค ล อ ง กั บ คํ า อ ธิ บ า ย ร า ย วิ ช า รวมทัง้ ความตองการ และความสนใจของ ตนเอง ในการเรียนแต ละครัง้ 4. เขยี นโครงการเรยี นรู 1. รวมกับผสู อนและ 1. ใหคําแนะนําในการเขียนโครงการเรียนรูรายวิชา เพอ่ื นเขยี นโครงการ 2. พจิ ารณาโครงการเรียนรูรวมกับผเู รยี นโดย เรียนรูของทั้งชั้น โดย กระตนุ ใหผ ูเรียนแสดงความคิดเหน็ อยา งทั่วถึง พิจารณาจากโครงการ 3. รว มกบั ผเู รียนสรุปโครงการเรยี นรูใหเหมาะสม

24 ข้ันตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู 5. ดาํ เนนิ การเรยี นรู ผเู รยี น เรียนรูท่ผี ูส อนรางมา และสญั ญาการเรยี นของ ทุกคน 1. ทบทวนความรูเ ดิม 1. ทดสอบความรูเดิมของผูเรียน โดยใชเทคนิคการ ข อ ง ต น เ อ ง ที ่จํ า เ ป น ตั้งคําถามหรือทดสอบ สําหรับการสรางความรู 2. ใหความรเู สรมิ เพอ่ื ใหแ นใจวาผเู รยี นจะสามารถ ใหม โดยการตอบ เชื่อมโยงความรูเดิมกับ ความรูใหมได คํ า ถ า ม ห รื อ ทํ า 3. ตั้งคําถามเพอ่ื กระตนุ ใหผูเรยี นคน หา คําตอบ แบบทดสอบ และประมวลคาํ ตอบดว ยตนเอง 2. ผูเ รียนแตละคน 4. สรางบรรยากาศที่สงเสริมการเรียน ดําเนินการเรียนตาม 5. ใหค าํ ปรึกษา ใหข อมูล ชว ยเหลอื และอาํ นวย สัญญาการเรียนอยาง ความสะดวกในกิจกรรมการเรียนของผูเรียนตาม กระตือรือรน โดยการ ความจําเปนและความตองการของผูเรียน สื บ ค น แ ล ะ แ ส ว ง ห า 6. กระตุนใหผ ูเรยี นใชความรูและ ประสบการณ ความรูเพื่อสนองตอบ เดิมที่เกี่ยวของกันมาใชในการคนหาคําตอบ โดยให ความตองการในการ ยกตวั อยางหรือเปรยี บเทียบเหตุการณที่เก่ยี วของ เ รี ย น ด ว ย วิ ธี ก า ร ที ่ กับเรอื่ งท่ีเรยี น หลากหลาย และใช 7. ติดตามในการเรียนของผเู รยี นตามสญั ญาการ แหลงทรัพย าก รก าร เรยี นและใหค าํ แนะนาํ เรียนทีเ่ หมาะสมตาม 8. ตดิ ตามเปนระยะๆ และใหข อ มูลปอ นกลับแก ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง ผูเรียน ตนเอง โดยนําความรู 9. บันทึกปญหาและขอขัดของตางๆในการดําเนิน และประสบการณเดิมที่ กจิ กรรมการเรยี นเพอ่ื เสนอแนะการปรบั ปรงุ ใหด ี เกีย่ วของกันมาใชใน ขนึ้ การคนหาคําตอบ 10. ใหอ ิสระแกผเู รยี นในการทาํ กจิ กรรม 3. แบงกลุม เรียนแบบ และกระตนุ ใหผเู รียนมสี ว นรวมในกิจกรรมการ รวมมือ เพื่อศึกษาใน เรียนอยา งเต็มท่ี ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูเรยี น ป ร ะ เ ด็ น ที ่ต อ ง ต อ บ และไมตัดสินวาความคิดเห็นของผูเรียนไมถกู ตอ ง คําถาม โดยการปรับ 11. กระตนุ ใหผ ูเรียนสอ่ื สารความรคู วาม เขาใจและ

25 ขนั้ ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู ผูเ รยี น จุดมุง หมายในการเรียน แนวคดิ ของตนเองใหผ อู ่ืน เขาใจอยางชัดเจน ของ ผูเ รียนแตละคน 12. กระตนุ ใหผูเรยี นมีสว นรวมในการอภปิ ราย เปนของกลุม แลวแบง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยางกวางขวางทั้งในกลุม บ ท บ า ท ห น า ที ่เ พื อ่ และชน้ั เรียน แสวงหาความรู โดยใช 13. สังเกตการเรียนของผูเรียน บนั ทกึ พฤติกรรม เทคนิคการตัง้ คําถาม และกระบวนการเรียนของ ผูเรียน รวมท้ังเหตุการณ เ พื่ อ นํ า ไ ป สู ก า ร ห า ทส่ี งผลตอ การเรียน คําตอบ ทัง้ นีก้ ลุม ผูเ รียน 14. กระตนุ ใหผูเรียนสรปุ ความรูความเขา ใจใน แตละกลุม อาจมีรูปแบบ บทเรยี นดวยตนเอง ในการทํากลุมที่แตกตาง 15. กลั่นกรอง แกไ ข และเสริมสาระสําคัญของ กัน บทเรียนใหชัดเจนและครอบคลุมจุดมุงหมายการ 4. ใชความคิดอยางเต็มที่ เรยี น มีปฏสิ ัมพันธ โตตอบ 16. รวมกับผูเรียนอภปิ รายเกี่ยวกบั วธิ กี ารเรยี นที่มี คัดคาน สนบั สนนุ และ ประสิทธิภาพ ส่ิงที่สนบั สนุนและส่งิ ท่ขี ัดขวางการ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น เรยี น และความรสู ึกทเี่ ปด กวา งในกลุม และรบั ฟง ความคิดเห็นของผูอื่น เพื่อหาแนวทางการ ไดมาซึ่งคําตอบที่ ตองการของตนเองและ ของกลุม 5. แสดงความสามารถ ของตนเอง และยอมรับ ความสามารถของผูอื่น 6. ตดั สนิ ใจ และชว ย แกปญหาตา งๆท่ีเกิดข้ึน ในกจิ กรรมการเรยี น 7. ฝกปฏบิ ัติทักษะท่ีตอง

26 ขนั้ ตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู ผเู รียน ศึกษาตาม จุดมุงหมาย การเรยี น 8. ขอความชวยเหลือ จากผสู อน ตามความ เหมาะสม 9. ปรกึ ษาผูสอนเปน ระยะๆ ตามที่ระบุไวใน สญั ญาการเรยี นเพอ่ื ขอ คาํ แนะนาํ ชว ยเหลอื 10. ปรับเปลี่ยนการ ดาํ เนนิ การเรยี น ตาม ความเหมาะสม และ บันทึกสิง่ ท่ี ปรบั เปล่ยี น ลงในสญั ญาการเรยี นให ชดั เจน และนําไปเปน ขอ มลู ในการวินิจฉยั ตนเองเพ่ือตง้ั จุดมุงหมายในการเรียน ครงั้ ตอไป 11. อภิปรายและสรุป ความรูทไี่ ดในกลมุ 12. นําเสนอวธิ กี ารเรียน และความรทู ไ่ี ดต อท้งั ชัน้ โดยใชรูปแบบใน การแสดงออกในสิ่งที่ ตนไดเรียนรทู ี่ หลากหลาย 13. อภิปราย แสดงความ คดิ เหน็ สะทอ น

27 ข้ันตอน การตอบสนองของ การตอบสนองของครู ผูเรียน 6. ประเมินผลการ เรยี นรู ความรสู กึ และให ขอ เสนอแนะเกย่ี วกบั วิธกี ารเรียนดวยตนเองท่ี มีประสทิ ธภิ าพ สิง่ สนบั สนนุ และสง่ิ ขัดขวางการ เรยี น 14. รว มกนั สรปุ ประเด็น ความรูท ไ่ี ดใน ชนั้ เรยี น 15. เขียนรายงานผลการ เรยี น ทง้ั ในดา นเนอ้ื หา และวธิ ีการเรยี น รวมทั้ง ความรสู กึ เกี่ยวกับ ความสําเร็จหรือไม สาํ เร็จในการเรียนเปน รายบุคคลและรายกลุม 1. ประเมนิ ผลการเรียน 1. กระตนุ ใหผูเรยี นตรวจสอบความรูความเขาใจ ของตนเองตลอดเวลา ของตนเอง โดย 2. ประเมินการเรียนของผูเรียนจากการสังเกต เปรียบเทียบกับ จุดมุงหมายในการเรียน พฤตกิ รรมในการเรยี น ความสามารถในการเรียน ตามสัญญาการเรียน และผลงานในแฟมสะสมงาน ของตนเอง 2. ใหเพ่อื นและครชู วย 3. ใหข อมูลปอนกลับแกผเู รียนรายบุคคลและราย สะทอ นผลการเรียน กลุมเกี่ยวกับกระบวนการเรียนดวยตนเองและ 3. ใหข อ มูลปอ นกลับแก พฤตกิ รรมในการเรยี นรวมท้ังใหข อ เสนอแนะตาม ความ เหมาะสม เพอ่ื นในกลมุ กระบวนการเรียนรูดวยตนเอง ประกอบดวยขนั้ ตอน วินิจฉัยความตอ งการในการเรยี นรูของ ผเู รยี น กาํ หนดจุดมุง หมายในการเรยี น วางแผนการเรียนโดยใชส ัญญาการเรยี น เขยี นโครงการเรียนรู ดาํ เนินการเรียนรู และประเมินผลการเรยี นรูนน้ั ผเู รียนจะไดป ระโยชนจากการเรียนมากที่สุด “สญั ญา

28 การเรยี น ( Learning Contract)” เปนการมอบหมายภาระงานใหกับผูเรียนวาจะตองทําอะไรบาง เพอ่ื ใหไ ดรับความรูตามเปาประสงค และผูเรียนจะปฏิบตั ิตามเง่อื นไขนั้น สญั ญาการเรยี น (Learning Contract) คําวา สัญญา โดยทั่วไปหมายถึง ขอตกลงระหวางบุคคล 2 ฝา ย หรอื หลายฝายวา จะทําการหรือ งดเวนกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง ความจริงนั้นในระบบการจัดการเรียนรูก็มีการทําสัญญากันระหวาง ครกู บั ผูเรยี น แตส ว นมากไมไ ดเ ปน ลายลกั ษณอกั ษรวา ถาผเู รียนทาํ ไดอยา งน้นั แลว ผเู รียนจะไดรบั อะไรบางตามขอตกลง สัญญาการเรียน จะเปนเครื่องมือที่ชวยใหผูเรียนสามารถกําหนดแนวการเรียนของ ตัวเองไดดียง่ิ ขน้ึ ทําใหป ระสบผลสาํ เร็จตามจดุ มุงหมายและเปน เคร่ืองยนื ยนั ทเี่ ปนรปู ธรรม ทานคงแปลกใจที่ไดยินคําวา “สญั ญา” เพราะคําน้เี ปนคาํ ท่ีคนุ หูกนั ดีอยู แตไมแนใจวา ทานเคย ไดยินคําวา “สญั ญาการเรยี น” หรือยัง คําวาสัญญาการเรยี นมผี ูเรมิ่ ใชเปนคนแรกคือ Dr. M.S. Knowles ศาสตราจารย สอนวิชาการศึกษาผูใหญ มหาวิทยาลัย North Carolina State ในสหรฐั อเมรกิ า คําวา สัญญา แปลตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลวา “ขอตกลงกนั ” ดงั นั้น สัญญา การเรยี น ก็คือขอตกลงทผ่ี เู รียนไดท ําไวก ับครวู าเขาจะปฏิบตั ิอยางไรบางในกระบวนการเรยี นรูเพอ่ื ให บรรลุจุดมุงหมายของหลักสูตรนั่นเอง สญั ญาการเรยี นเปนรูปแบบของการเรียนรูท ่แี สดงหลกั ฐานของการเรียนรูโดยใชแฟมสะสม ผลงานหรือ Portfolio 1. แนวคดิ การจัดการเรยี นรใู นระะบบ เปนการเรียนรูทค่ี รูเปนผกู ําหนดรปู แบบ เน้ือหา กิจกรรมเปนสว น ใหญ ผเู รยี นเปนแตเพยี งผปู ฏิบัติตาม ไมไดมีโอกาสในการมสี วนรวมในการวางแผนการเรยี น นกั การศึกษาทั้งในตะวันตกและแอฟริกา มองเห็นวาระบบการศึกษาแบบนี้เปนระบบการศึกษาของพวก จักรพรรดินิยมหรือเปนการศึกษาของพวกชนชั้นสูงบาง เปนระบบการศึกษาของผูถูกกดขี่บาง สรุปแลวก็ คือระบบการศึกษาแบบนีไ้ มไดฝก คนใหเปนตวั ของตวั เอง ไมไดฝ ก ใหค นรูจ ักพึ่งตนเอง จึงมผี ูพยายามท่ี จะเปลี่ยนแนวคิดทางการศึกษาใหม อยางเชนระบบการศึกษาที่เนนการฝกใหคนไดรูจักพึ่งตนเองใน ประเทศแทนซาเนีย การศึกษาที่ใหคนคิดเปนในประเทศไทยเราเหลานี้เปนตน รูปแบบของการศึกษาใน อนาคต ควรจะมงุ ไปสูต วั ผูเรียนมากกวา ตวั ผสู อน เพราะวาในโลกปจจบุ ันวทิ ยาการใหม ๆ ได เจริญกาวหนาไปอยางรวดเร็วมีหลายสิ่งหลายอยางที่มนุษยจะตองเรียนรู ถาจะใหแตมาคอยบอกกันคงทํา ไมไ ด ดังนนั้ ในการเรียนจะตองมีการฝกฝนใหคิดใหรูจักการหาวธิ ีการทไ่ี ดศ ึกษาสงิ่ ที่คนตองการ กลาว งา ย ๆ ก็คอื ผเู รียนท่ีไดรับการศึกษาแบบทีเ่ รียกวาเรยี นรเู พ่ือการเรียนในอนาคต 2. ทําไมจะตองมีการทําสญั ญาการเรยี น

29 ผลจากการวิจยั เกย่ี วกับการเรียนรูของผูใหญ พบวาผูใ หญจะเรยี นไดดีทีส่ ุดก็ตอ เม่อื การเรยี นรู ดว ยตนเอง ไมใชการบอกหรือการสอนแบบทเี่ ปน โรงเรียน และผลจากการวิจัยทางดานจิตวิทยายังพบอีก วา ผใู หญม ีลักษณะท่เี ดนชัดในเร่ืองความตองการทจี่ ะทาํ อะไรดวยตนเองโดยไมต องมีการสอนหรือการ ชี้แนะมากนัก อยางไรก็ดีเมื่อพูดถึงระบบการศึกษาก็ยอมจะตองมีการกลาวถึงคุณภาพของบุคคลที่เขามา อยูในระบบการศึกษา จึงมีความจําเปนที่จะตองกาํ หนดกฎเกณฑข ้นึ มาเพ่ือเปนมาตรฐาน ดังน้นั ถงึ แมจะ ใหผูเรยี นเรยี นรดู วยตนเองก็ตามก็จาํ เปนจะตองสรางมาตรการข้ึนมาเพ่ือการควบคุมคุณภาพของผูเ รียน เพื่อใหมีมาตรฐานตามที่สังคมยอมรับ เหตุนี้สัญญาการเรียนจึงเขามามีบทบาทในการเรียนการสอนเปน การวางแผนการเรียนทเี่ ปนระบบ ขอดขี องสญั ญาการเรยี น คือเปนการประสานความคิดท่ีวา การเรียนรู ควรใหผ ูเรียนกําหนด และการศกึ ษาจะตองมเี กณฑมาตรฐานเขา ดว ยกันเพราะในสัญญาการเรยี นจะบงระบวุ าผเู รียนตองการ เรียนเรื่องอะไรและจะวัดวาไดบรรลุตามความมุงหมายแลวนั้นหรือไมอยา งไร มีหลักฐานการเรยี นรู อะไรบางที่ บงบอกวาผเู รยี นมผี ลการเรียนรอู ยา งไร 3. การเขียนสัญญาการเรียน การเรียนรูดวยตนเอง ซ่งึ เรมิ่ จากการจัดทําสญั ญาการเรียนจะมลี าํ ดับการดาํ เนนิ การ ดังนี้ ขน้ั ท่ี 1 แจกหลักสูตรใหกบั ผูเ รียนในหลกั สตู รจะตองระบุ  จุดประสงคของรายวิชานี้  รายช่ือหนงั สืออางอิงหรือหนงั สือสําหรบั ทจี่ ะศึกษาคนควา  หนว ยการเรยี นยอย พรอมรายชอื่ หนังสืออางองิ  ครูอธิบาย และทําความเขา ใจกบั ผเู รียนในเร่ืองหลกั สตู ร จุดมุง หมายและหนว ยการ เรยี นยอ ย ข้นั ที่ 2 แจกแบบฟอรม ของสญั ญาการเรียน จุดมงุ หมาย แหลง วิทยาการ/วิธีการ หลกั ฐาน การประเมินผล เปนสว นท่ีระบุวาผเู รียน เปน สว นที่ระบุวาผเู รยี น เปน สวนที่มสี ง่ิ อางองิ เปนสวนท่ีระบวุ าผูเ รยี น ตองการบรรลผุ ลสาํ เร็จ จะเรยี นรไู ดอ ยา งไร หรอื ยืนยันท่ีเปน สามารถเกดิ การเรยี นรู ในเร่ืองอะไร อยา งไร จากแหลงความรูใด รปู ธรรม ในระดบั ใด ทแี่ สดงใหเห็นวา ผเู รยี น ไดเกดิ การเรยี นรแู ลว โดยเกบ็ รวบรวมเปน แฟมสะสมงาน ขนั้ ท่ี 3 อธิบายวิธีการเขียนขอตกลงในแบบฟอรมแตละชองโดยเริ่มจาก  จุดมุงหมาย

30  วธิ กี ารเรียนรูห รือแหลงวิทยาการ  หลกั ฐาน  การประเมินผล ข้ันท่ี 4 ถามปญหาและขอสงสัย ขัน้ ที่ 5 แจกตัวอยา งสญั ญาการเรียนใหผ ูเรียนคนละ 1 ชดุ ขั้นท่ี 6 อธิบายถึงการเขียนสัญญาการเรียน ผูเรียนลงมือเขยี นขอตกลงโดยผเู รียนเอง โดยเขียนรายละเอียดทั้ง 4 ชองในแบบฟอรม สญั ญาการเรยี น นอกจากนี้ผเู รียนยงั สามารถระบรุ ะดบั การเรยี นทงั้ ในระดับดี ดีเยยี่ ม หรอื ปานกลาง ซ่ึง ผเู รยี นมคี วามตัง้ ใจท่จี ะบรรลุการเรียนในระดับดเี ย่ยี มหรือมคี วามต้ังใจท่จี ะเรียนรูใ นระดบั ดี หรอื พอใจ ผูเ รยี นกต็ องแสดงรายละเอียด ผูเรียนตองการแตระดับดี คอื ผูเ รยี นตองแสดงความสามารถตาม วัตถปุ ระสงคท่ีกลาวไวในหลกั สูตรใหครบถว น การทําสญั ญาระดบั ดีเยยี่ ม นอกจากผูเรียนจะบรรลุ วัตถปุ ระสงคต ามหลกั สตู รแลว ผเู รียนจะตองแสดงความสามารถพิเศษเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ อันมี สวนเกยี่ วขอ งกับหลกั สูตร ข้ันที่ 7 ใหผเู รียนและเพ่อื นพิจารณาสญั ญาการเรยี นใหเรียบรอย ตอไปใหผเู รยี นเลอื กเพอ่ื นใน กลมุ 1 คน เพื่อจะไดชว ยกันพิจารณาสัญญาการเรยี นรขู องทัง้ 2 คน ในการพิจารณาสัญญาการเรียนใหพิจารณาตามหัวขอตอไปนี้ 1. จุดมุงหมายมีความแจมชัดหรือไม เขาใจหรือไม เปนไปไดจริงหรือไมบอกพฤติกรรมท่ีจะให เกิดจรงิ ๆ หรือไม 2. มีจุดประสงคอื่นที่พอจะนํามากลาวเพิ่มเติมไดอีกหรือไม 3. แหลงวิชาการและวิธีการหาขอมูลเหมาะสมเพียงใด มีประสิทธิภาพเพียงใด 4. มีวิธีการอนื่ อกี หรือไม ท่ีสามารถนาํ มาใชเ พ่อื การเรยี นรู 5. หลักฐานการเรียนรมู คี วามสอดคลองกบั จดุ มงุ หมายเพยี งใด 6. มีหลักฐานอน่ื ท่ีพอจะนาํ มาแสดงไดอ กี หรอื ไม 7. วิธีการประเมินผลหรือมาตรการที่ใชวัดมีความเชื่อถือไดมากนอยเพียงใด 8. มวี ิธกี ารประเมินผลหรือมาตรการอน่ื อีกบา งหรอื ไม ในการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู ขัน้ ที่ 8 ใหผูเรียนนําสัญญาการเรยี นไปปรบั ปรุงใหเหมาะสมอกี ครั้งหน่งึ ขัน้ ที่ 9 ใหผูเรยี นทาํ สญั ญาการเรียนท่ปี รับปรงุ แลว ใหครูและที่ปรกึ ษาตรวจดูอีกคร้ังหน่งึ ฉบับทเ่ี รียบรอยใหด าํ เนนิ การไดตามที่เขยี นไวใ นสญั ญาการเรยี น ข้ันที่ 10 การเรียนกอนที่จะจบเทอม 2 อาทิตย ใหผเู รียนนําแฟมสะสมงาน (แฟม เก็บขอ มลู Portfolio) ตามที่ระบุไวในสัญญาการเรียนมาแสดง ขนั้ ท่ี 11 ครูและผูเรียนจะตัง้ คณะกรรมการในการพิจารณาแฟมสะสมงานท่ผี เู รยี นนาํ มาสงและ สงคนื ผเู รยี นกอนส้ินภาคเรยี น

31 (ตวั อยา ง) การวางแผนการเรยี นโดยใชส ญั ญาการเรยี น วิธีการเรียนรู จุดมงุ หมาย แหลง วิทยาการ หลกั ฐาน การประเมินผล 1. สามารถอธิบาย 1. อา นเอกสารอา งองิ 1. ทํารายงานยอ ใหผ ูเรยี น 2-5 คน ประเมิน ความตองการ ความ ทเ่ี สนอแนะในหลกั สตู ร ขอ คดิ เหน็ จากหนงั สอื รายงานและบันทึกการ ท่ีอา น อภิปรายการประเมินให สนใจ แรงจงู ใจ 2. อานเอกสารที่ ความสามารถและ เก่ียวขอ งอ่ืน ๆ 2. บันทกึ การอภปิ ราย ประเมินตามหัวขอตอไปนี้ 1. รายงานครอบคลุม ความสนใจของ 3. รวมกลุมรายงานและ 3. ทํารายงานและ อภิปรายกับผูเรียนอ่ืน เสนอแนะเกี่ยวกับ เนื้อหาตามความมุงหมาย ผใู หญไ ด หรือกลมุ การเรียนอ่ืน ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อ เพียงใด นาํ ไป 5 4 3 2 1 ใชก บั นักศกึ ษาผใู หญ 2. รายงานมีความ (โดยจัดทาํ ในรปู แบบ ชดั เจน เพียงใด แฟมสะสมงาน) 54321 3. รายงานมีประโยชน ในการเรียนของนักศึกษา ผูใ หญเ พียงใด 54321 โดยขาพเจา จะเริ่มปฏิบัติตัง้ แตวนั ท.ี่ ....เดือน.................พ.ศ. .........ถงึ วนั ท่ี.......เดือน................พ.ศ. ....... ลงช่ือ.................................ผูทําสญั ญา () ลงชอื่ .................................พยาน () ลงชื่อ.................................พยาน () ลงชือ่ .................................ครผู สู อน ()

32 การประเมินผลการเรียนโดยใชแฟมสะสมงาน การจัดทําแฟมสะสมงาน (Portfolio) เปนวิธีการสําคัญที่นํามาใชในการวัดผลและประเมินผล การเรยี นรูท ่ีใหผ ูเรียนเรียนรดู วยตนเองโดยการจัดทาํ แฟมสะสมงานท่มี ีความเช่ือพืน้ ฐานที่สําคญั มาจาก การใหผ ูเรียนเรียนรูจากสภาพจรงิ (Authentic Learning) ซ่งึ มีสาระสาํ คัญที่พอสรุปไดดงั น้ี 1. ความเชือ่ พืน้ ฐานของการเรียนรูตามสภาพจรงิ (Authentic Learning) 1.1 ความเชื่อเกี่ยวกับการจัดการศึกษา  มนุษยมีสัญชาตญาณที่จะเรียนรู มีความสามารถและมีความกระหายที่จะเรียนรู  ภายใตบรรยากาศของสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยและการสนับสนุนจะทําใหมนุษย สามารถท่ีจะรเิ รมิ่ และเกดิ การเรียนรูของตนเองได  มนุษยสามารถที่จะสรางองคความรูจากการปฏิสัมพันธกับคนอื่นและจากสื่อที่มี ความหมายตอชีวิต  มนุษยม ีพัฒนาการดานรางกาย ดานอารมณ ดานสังคม และดานสติปญญาแตกตาง กัน 1.2 ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู  การเรียนรูจะเริม่ จากสง่ิ ทีเ่ ปนรูปธรรมไปสูนามธรรมโดยผา นกระบวนการการ สาํ รวจ ตนเอง การเสริมสรางบรรยากาศของการเรียนรูและการสรางบริบทของสังคมใหผูเรียนไดป ฏิสัมพันธกับ ผเู รยี นอ่นื  การเรียนรูมีองคประกอบทางดานปญญาหลายดานทั้งในดานภาษา คํานวณ พื้นที่ ดนตรี การเคล่ือนไหว ความสัมพันธร ะหวา งบคุ คลและอน่ื ๆ  การแสวงหาความรูจะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นถาอยูในบริบทที่มีความหมายตอ ชวี ติ  การแสวงหาความรเู ปน กระบวนการท่ีเกดิ ขน้ึ ตลอดชวี ิต 1.3 ความเชื่อเกี่ยวกับการสอน  การสอนจะตองยดึ ผูเรยี นเปน ศนู ยกลาง  การสอนจะเปนทั้งรายบุคคลและรายกลุม  การสอนจะยอมรับวัฒนธรรมที่แตกตา งกันและวิธกี ารเรยี นรทู ี่เปน เอกลักษณข อง ผูเรียนแตละคน  การสอนกับการประเมินเปนกระบวนการตอเนื่องและเกี่ยวของซึ่งกันและกัน  การสอนจะตองตอบสนองตอการขยายความรูที่ไมมีที่สิ้นสุดของหลักสูตรสาขาตาง ๆ

33 1.4 ความเชื่อเกี่ยวกับการประเมิน  การประเมินแบบนําคะแนนของผูเรียนจํานวนมากมาเปรียบเทียบกัน มีคุณคานอย ตอการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน  การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ไมใชสิ่งสะทอนความสามารถ ทม่ี อี ยูใ นตัวผูเรียน แตจะสะทอ นถึงการปฏสิ มั พันธระหวางบุคคลกบั ส่งิ แวดลอมและความสามารถที่ แสดงออกมา  การประเมินตามสภาพจริงจะใหขอมูลและขาวสารท่ีเทยี่ งตรงเกย่ี วกบั ผูเรยี นและ กระบวนการทางการศึกษา 2. ความหมายของการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) การประเมินตามสภาพจริง เปนกระบวนการของการสังเกตการณบันทึก การจัดทําเอกสารที่ เกยี่ วกบั งานหรือภารกจิ ทีผ่ เู รียนไดทํา รวมทั้งแสดงวธิ กี ารวาไดท ําอยา งไร เพือ่ ใชเ ปน ขอมลู พน้ื ฐาน เกี่ยวกับการตัดสินใจทางการศึกษาของผูเรียนนั้น การประเมินตามสภาพจริงมีความแตกตางจากการ ประเมินโครงการตรงที่การประเมินแบบนี้ไดใหความสําคัญกับผูเรียนมากกวาการใหความสําคัญกับผล อนั ทจ่ี ะเกิดขึ้นจากการดูคะแนนของกลุมผูเรียนและแตกตางจากการทดสอบเนื่องจากเปนการวัดผลการ ปฏิบัติจรงิ (Authentic Assessment) การประเมินตามสภาพจริงจะไดขอมูลสารสนเทศเชิงคุณภาพอยาง ตอ เน่อื งทีส่ ามารถนํามาใชในการแนะแนวการเรยี นสาํ หรับผูเรียนแตล ะคนไดเ ปนอยางดี 3. ลกั ษณะทส่ี าํ คญั ของการประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment)  ใหความสําคัญขอบการพัฒนาและการเรียนรู  เนนการคนหาศักยภาพนําเอามาเปดเผย  ใหความสาํ คัญกับจุดเดนของผเู รียน  ยดื ถือเหตุการณในชวี ิตจริง  เนนการปฏบิ ัติจริง  จะตองเชื่อมโยงกับการเรียนการสอน  มุงเนนการเรียนรูอยางมีเปาหมาย  เปนกระบวนการเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในทุกบริบท  ชวยใหมีความเขาใจในความสามารถของผูเรียนและวิธีการเรียนรู  ชว ยใหเกิดความรวมมือท้งั ผูป กครอง พอแม ครู ผเู รยี นและบคุ คลอ่ืน ๆ 4. การประเมินผลการเรียนโดยใชแฟมสะสมงาน แฟม สะสมงาน เปน วธิ ีการประเมินผลการเรียนรตู ามสภาพจรงิ ซงึ่ เปน วิธีการที่ครูไดนําวธิ ีการ มาจากศิลปน (artist) มาใชในทางการศึกษาเพื่อการประเมินความกาวหนาในการเรียนรูของผูเรียน โดย แฟมสะสมงานมีประโยชนที่สําคัญคือ

34  ผเู รียนสามารถแสดงความสามารถในการทํางานโดยที่การสอบทําไมได  เปนการวัดความสามารถในการเรียนรูของผูเรียน  ชว ยใหผูเรยี นสามารถแสดงใหเห็นกระบวนการเรยี นรู (Process) และผลงาน (Product)  ชว ยใหสามารถแสดงใหเ หน็ การเรียนรูทเี่ ปนนามธรรมใหเปน รูปธรรม แฟม สะสมงานไมใ ชแ นวคิดใหม เปนเรือ่ งท่ีมมี านานแลว ใชโ ดยกลมุ เขยี นภาพ ศลิ ปน สถาปนกิ นักแสดง และนักออกแบบ โดยแฟมสะสมงานไดถูกนํามาใชในทางการศึกษาในการเรียนการสอนทาง ดานภาษา คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร และวิชาอนื่ ๆ ทง้ั น้ีแฟม สะสมงานเปนวิธีการท่ีสะทอ นถงึ วิธีการ ประเมินผลการเรยี นรตู ามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) ซง่ึ เปน กระบวนการของการรวบรวม หลักฐานที่แสดงใหเห็นวาผูเรียนสามารถทําอะไรไดบางและเปนกระบวนการของการแปลความจาก หลักฐานที่ไดและมกี ารตัดสนิ ใจหรือใหคุณคา การประเมินผลตามสภาพจริงเปน กระบวนการที่ใชเพ่ือ อธิบายถงึ ภาระงานท่ีแทจริงหรอื real task ทผี่ ูเรียนจะตอ งปฏิบตั หิ รือสรา งความรู ไมใชสรา งแตเพียง ขอมูลสารสนเทศ การประเมินโดยใชแฟมสะสมงานเปนวิธีการของการประเมินที่มีองคประกอบสําคัญคือ  ใหผูเ รียนไดแสดงการกระทาํ - ลงมือปฏิบัติ  สาธิตหรือแสดงทกั ษะออกมาใหเ หน็  แสดงกระบวนการเรยี นรู  ผลิตชิ้นงานหรือหลักฐานวาเขาไดรูและเขาทําได ซึ่งการประเมินโดยใชแฟมสะสมงานหรือการประเมินตามสภาพจริง โดยวิธีการดังกลาวนี้จะ มีลักษณะทีส่ ําคัญ คอื  ชิ้นงานที่มีความหมาย (meaningful tasks)  มีมาตรฐานทช่ี ดั เจน (clear standard)  มีการใหสะทอนความคิด ความรูสึก (reflections)  มีการเช่อื มโยงกับชีวิตจริง (transfer)  เปนการปรับปรุงและบูรณาการ (formative integrative)  เก่ียวของกับการคิดในลาํ ดบั ท่สี ูงขึ้นไป (high – order thinking)  เนน การปฏิบัตทิ ม่ี ีคุณภาพ (quality performance)  ไดผลงานทมี่ ีคุณภาพ (quality product) 5. ลกั ษณะของแฟมสะสมงาน นักการศึกษาบางทา นไดกลาววาแฟมสะสมงานมีลกั ษณะเหมือนกับจานผสมสี ซงึ่ จะเหน็ ไดวา จานผสมสเี ปน สวนที่รวมเรอ่ื งสตี า ง ๆ ทงั้ นีแ้ ฟมสะสมงานเปน สง่ิ ท่ีรวมการประเมินแบบตาง ๆ เพื่อการ วาดภาพใหเ ห็นวาผูเรยี นเปน อยางไร แฟม สะสมงานไมใ ชถังบรรจุสิ่งของ (Container) ทเ่ี ปน ทรี่ วมของ สิ่งตาง ๆ ที่จะเอาอะไรมากองรวมไวหรือเอามาใสไวในที่เดียวกัน แตแฟมสะสมงานเปนการรวบรวม

35 หลักฐานที่มีระบบและมีการจัดการโดยครูและผูเรียนเพ่ือการตรวจสอบความกา วหนา หรือการเรียนรู ดานความรู ทักษะและเจตคติในเรื่องเฉพาะวิชาใดวิชาหนึ่ง กลา วโดยทวั่ ไป แฟมสะสมงานจะมลี ักษณะที่สําคัญ 2 ประการคือ - เปน เหมอื นสิง่ ทร่ี วบรวมหลักฐานท่ีแสดงความรแู ละทักษะของผูเรียน - เปนภาพทแี่ สดงพัฒนาการของผูเรยี นในการเรียนรู ตลอดชว งเวลาของการเรยี น 6. จุดมงุ หมายของการประเมินโดยใชแ ฟมสะสมงาน มีดังนี้  ชว ยใหครไู ดรวบรวมงานทส่ี ะทอ นถงึ ความสาํ คัญของนักเรยี นในวัตถปุ ระสงคใหญของการ เรยี นรู  ชว ยกระตุนใหผ ูเรยี นสามารถจัดการเรยี นรขู องตนเอง  ชวยใหครูไดเกิดความเขาใจอยางแจมแจงในความกาวหนาของผูเรียน  ชวยใหผเู รยี นไดเขาใจตนเองมากยงิ่ ขึ้น  ชวยใหทราบการเปลี่ยนแปลงและความกาวหนา ตลอดชวงระหวางการเรียนรู  ชว ยใหผ เู รยี นไดตระหนักถึงประวัตกิ ารเรียนรขู องตนเอง  ชวยทําใหเกิดความสัมพันธระหวางการสอนกับการประเมิน 7. กระบวนการของการจดั ทําแฟมสะสมงาน การจัดทําแฟมสะสมงาน มกี ระบวนการหรือขน้ั ตอนอยูหลายข้นั ตอน แตทั้งน้กี ็สามารถปรบั ปรุง ไดอยา งเหมาะสม Kay Burke (1994) และคณะ ไดก าํ หนดข้ันตอนของการทาํ แฟม สะสมงานไว 10 ข้ันตอน ดงั น้ี  ขั้นการรวบรวมและจัดระบบของผลงาน  ขนั้ การเลอื กผลงานหลกั ตามเกณฑท ีก่ าํ หนด  ขั้นการสรางสรรคแฟมสะสมผลงาน  ขั้นการสะทอนความคิด หรือความรูสึกตอผลงาน  ขน้ั การตรวจสอบเพอ่ื ประเมนิ ตนเอง  ขนั้ การประเมินผล ประเมินคาของผลงาน  ขน้ั การแลกเปลี่ยนประสบการณก บั บคุ คลอื่น  ข้ันการคดั สรรคและปรับเปลี่ยนผลงานเพือ่ ใหท ันสมยั  ขั้นการประชาสัมพันธ หรือจัดนิทรรศการแฟมสะสมงาน

36 8. รปู แบบ (Model) ของการทาํ แฟม สะสมงาน สามารถดําเนนิ การไดด ังน้ี  สําหรบั ผูเริ่มทําไมมีประสบการณมากอนควรใช 3 ข้ันตอน ขน้ั ที่ 1 การรวบรวมผลงาน ขน้ั ท่ี 2 การคัดเลือกผลงาน ขัน้ ที่ 3 การสะทอนความคิด ความรูสึกในผลงาน  สําหรับผูที่มปี ระสบการณใหม ๆ ควรใช 6 ขัน้ ตอน ข้นั ท่ี 1 กาํ หนดจุดมงุ หมาย ขน้ั ที่ 2 การรวบรวม ขน้ั ท่ี 3 การคัดเลือกผลงาน ขั้นที่ 4 การสะทอนความคิดในผลงาน ขน้ั ที่ 5 การประเมินผลงาน ข้นั ที่ 6 การแลกเปล่ยี นกับผเู รียน  สาํ หรับผูทมี่ ปี ระสบการณพ อสมควร ควรใช 10 ข้ันตอนดงั ที่กลาวขางตน 9. การวางแผนทําแฟมสะสมงาน  การวางแผนและการกาํ หนดจดุ มุงหมาย คําถามหลักที่จะตองทําใหชัดเจน ทําไมจะตอ งใหผ ูเรียนรวบรวมผลงาน ทําแฟมสะสมงานเพื่ออะไร จุดมุงหมายที่แทจริงของการทําแฟมสะสมงาน คืออะไร การใช แฟมสะสมงานในการประเมินมีขอดี ขอเสียอยางไร  แฟมสะสมงานไมใชเปนเพียงการเรียนการสอนหรอื การประเมินผล แตเปน ทง้ั กระบวนการ เรยี นการสอนและการวัดผลประเมนิ ผล  แฟมสะสมงาน เปน กระบวนการท่ที าํ ใหผูเรยี นเปนผูทลี่ งมอื ปฏิบัตเิ องและเรียนรูดวยตนเอง  การใชแฟมสะสมงานในการประเมินจะมีหลักสําคัญ 3 ประการ เนอ้ื หา ตองเก่ยี วกับเนือ้ หาทส่ี ําคัญในหลกั สตู ร การเรยี นรู ผเู รยี นเปน ผูล งมอื ปฏบิ ตั ิเอง โดยมีการบูรณาการที่จะตอ งสะทอ น กระบวนการเรียนรู ทงั้ ในเรอื่ งการอา น การเขยี น การฟง การแกปญ หา และการคิดระดับที่สูงกวาปกติ 10. การเก็บรวบรวมชน้ิ งานและการจัดแฟมสะสมงาน  ความหมายของแฟมสะสมงานคือ การรวบรวมผลงานของผูเรียนอยางมีวัตถุประสงค เพื่อการแสดงใหเห็นความพยายาม ความกาวหนาและความสําเร็จของผูเรียนในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

37  วิธีการเก็บรวบรวม สามารถจัดใหอยูในรปู แบบของสิ่งตอไปน้ี แฟม งาน สมุดบันทึก ตเู กบ็ เอกสาร กลอง อลั บ้ัม แผนดิสก  วธิ กี ารดาํ เนินการเพ่ือการรวบรวม จดั ทาํ ไดโดยวธิ กี าร ดงั น้ี รวบรวมผลงานทุกชิ้นที่จัดทําเปนแฟมสะสมงาน คัดเรื่องผลงานเพื่อใชในแฟมสะสมงาน สะทอนความคิดในผลงานที่คัดเรื่องไว  รูปแบบของแฟมสะสมงาน อาจมีองคประกอบดังนี้ สารบัญและแสดงประวัติผูทําแฟมสะสมงาน สว นทแ่ี สดงวตั ถปุ ระสงค/จุดมุงหมาย สวนที่แสดงชิ้นงานหรือผลงาน สว นทีส่ ะทอนความคิดเห็นหรอื ความรสู ึก สว นทแ่ี สดงการประเมนิ ผลงานดว ยตนเอง สว นทแ่ี สดงการประเมนิ ผล สว นทีเ่ ปนภาคผนวก ขอ มูลประกอบอ่ืน ๆ กิจกรรมการเรียนรู กจิ กรรมที่ 1 ใหสรุปบทบาทของผูเรียนในการเรยี นรูดวยตนเอง มาพอสงั เขป กจิ กรรมที่ 2 ใหสรุปบทบาทของครูในการเรยี นรูดว ยตนเอง มาพอสงั เขป กจิ กรรมที่ 3 ใหเปรียบเทียบบทบาทของผูเรียนและครู มาพอสังเขป กจิ กรรมท่ี 4 ใหส รปุ สาระสําคัญของ “กระบวนการเรยี นรูดว ยตนเอง” มาพอสังเขป กิจกรรมท่ี 5 ใหผ เู รยี นศึกษาสัญญาการเรียนรู (รายบุคคล) และปรึกษาครู แลว จัดทาํ รางกรอบ แนวคดิ สัญญาการเรียนรูรายวชิ าทักษะการเรยี นรู

38 เรื่องที่ 3 ทกั ษะพ้นื ฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกป ญหา และเทคนิคการเรียนรดู วยตนเอง คําถามธรรมดา ๆ ที่เราเคยไดยินไดฟงกันอยูบ อย ๆ ก็คือ ทําอยางไรเราจึงจะสามารถฟงอยางรู เรือ่ ง และคิดไดอยางปราดเปรือ่ ง อานไดอยางรวดเร็ว ตลอดจนเขียนไดอยางมืออาชีพ ทั้งนี้ ก็เพราะเรา เขาใจกันดีวา ทัง้ หมดนีเ้ ปนทักษะพืน้ ฐาน (basic skills) ที่สําคัญ และเปนความสามารถ (competencies) ที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิตทั้งในโลกแหงการทํางาน และในโลกแหงการเรียนรู การฟง เปนการรับรูค วามหมายจากเสียงทีไ่ ดยิน เปนการรับสารทางหูการไดยินเปนการเริม่ ตน ของการฟงและเปนเพียงการกระทบกันของเสียงกับประสาทตามปกติ จึงเปนการใชความสามารถทาง รางกายโดยตรง สวนการฟงเปนกระบวนการทํางานของสมองอีกหลายขั้นตอนตอเนือ่ งจากการไดยิน เปนความสามารถทีจ่ ะไดรับรูส ิง่ ที่ไดยิน ตีความและจับความสิง่ ที่รับรูน ั้นเขาใจและจดจําไว ซึ่งเปน ความสามารถทางสติปญญา การพูด เปนพฤติกรรมการสือ่ สารที่ใชกันแพรหลายทั่วไป ผูพูดสามารถใชทั้งวจนะภาษา และอวัจนะภาษาในการสงสารตดิ ตอไปยังผฟู งไดช ัดเจนและรวดเร็วการพูด หมายถึง การสือ่ ความหมาย ของมนุษยโดยการใชเสียง และกิริยาทาทางเปนเครือ่ งถายทอดความรูค วามคิด และความรูส ึกจากผูพ ูด ไปสผู ฟู ง การอาน เปนพฤติกรรมการรับสารที่สําคัญไมยิง่ หยอนไปกวาการฟง ปจจุบันมีผูร ูนักวิชาการ และนักเขยี นนาํ เสนอความรู ขอมูล ขา วสารและงานสรา งสรรค ตีพิมพ ในหนังสอื และส่ิงพมิ พอื่น ๆ มาก นอกจากนีแ้ ลวขาวสารสําคัญ ๆ หลังจากนําเสนอดวยการพูด หรืออานใหฟงผานสือ่ ตาง ๆ สวนใหญจะ ตพี มิ พรักษาไวเปนหลกั ฐานแกผ ูอา นในชนั้ หลัง ๆความสามารถในการอานจึงสําคัญและจําเปนยิง่ ตอการ เปน พลเมอื งที่มคี ณุ ภาพในสังคมปจ จบุ ัน การเขียน เปนการถายทอดความรูส ึกนึกคิดและความตองการของบุคคลออกมาเปนสัญลักษณ คือ ตวั อักษร เพื่อส่อื ความหมายใหผอู นื่ เขา ใจจากความขางตน ทําใหมองเห็นความหมายของการเขียนวา มีความจําเปนอยางยิ่งตอการสื่อสารในชีวิตประจําวัน เชน นักเรียน ใชการเขียนบันทึกความรู ทํา แบบฝกหัดและตอบขอสอบบุคคลทั่วไป ใชการเขียนจดหมาย ทําสัญญา พินัยกรรมและค้าํ ประกัน เปน ตน พอคา ใชการเขียนเพือ่ โฆษณาสินคา ทําบัญชี ใบสัง่ ของ ทําใบเสร็จรับเงิน แพทย ใชบันทึกประวัติ คนไข เขียนใบสั่งยาและอ่ืนๆ เปน ตน

39 รายละเอียดกจิ กรรมการเรียนรู กจิ กรรมที่ 1 คุณเปนผฟู งท่ีดีหรือเปลา ใหตอบแบบทดสอบตอไปนี้ ดวยการทําเครื่องหมาย  ในชองคําตอบทางดานขวา เพื่อ ประเมนิ วา คุณเปน ผูฟง ไดดแี คไหน ลักษณะของการฟง ความบอ ยครั้ง เสมอ สว น บางครง้ั นาน ๆ ไมเคย ใหญ ครั้ง 1. ปลอยใหผูพูดแสดงความคิดของเขาจนจบโดย ไมขดั จังหวะ 2. ในการประชุม หรือระหวางโทรศัพท มีการจดโนต สาระสาํ คัญของส่ิงทไี่ ดยนิ 3. กลาวทวนรายละเอียดที่สําคัญของการสนทนากับผูพูด เพือ่ ใหแนใจวา เราเขาใจถูกตอง 4. พยายามตั้งใจฟง ไมวอกแวกไปคิดเรื่องอื่น 5. พยายามแสดงทาทีวาสนใจในคําพดู ของผูอนื่ 6. รดู ีวาตนเองไมใ ชน กั สือ่ สารท่ีดี ถาผูกขาดการพูด แตผเู ดยี ว 7. แมวากําลังฟงก็แสดงอาการตาง ๆ เชน ถาม จดสรุปสิ่งที่ ไดฟ ง กลา วทวนประเด็นสาํ คญั ฯลฯ 8. ทาํ ทา ตา ง ๆ เหมอื นกาํ ลังฟง อยูในท่ปี ระชมุ เชน ผงกศีรษะเหน็ ดวยมองตาผพู ูด ฯลฯ 9. จดโนต เก่ียวกบั รูปแบบของการส่อื สารที่ไมใ ชค ําพดู ของคูสนทนา เชน ภาษากาย น้ําเสยี ง เปนตน 10 พยายามทจี่ ะไมแ สดงอาการกา วราว หรือต่นื เตนเกินไป . ถามีความคิดเห็นไมตรงกับผูพูด

40 ดงั น้ี คาํ ตอบท้ัง 5 คาํ ตอบ (ในแตล ะชอง) มคี ะแนน การฟงน้ันสาํ คญั ไฉน เสมอ = 5 คะแนน นาน ๆ ครง้ั = 2 คะแนน การฟง เปน ประตูสําคญั ทเ่ี ปดไปสู สว นใหญ = 4 คะแนน การเรียนรู การเรียนรูก อใหเ กิดพฒั นาการ ไมเ คย = 1 คะแนน ดังนัน้ จึงอาจกลาวไดวา การท่เี ราเปน อยาง บางครั้ง = 3 คะแนน ทกุ วนั น้ี สว นหนง่ึ เปน ผลมาจาก การฟง ไม นาํ คะแนนจากทง้ั 10 ขอ มารวมกนั เพื่อดวู า คณุ ค“ทกเแเรขตอาํก่ีมายีพนเจาีคมนรมกงกไฟสวะดูทวื่อคาพหาา็ไเีใถงเาี่เปยจหเราํคมรเมนาดูรปอะปนาแลนรคาเสเจธนปหไรเคนาปอศคําะดบินกึทนรลคยากนึยพพาษวูย้ันสากัทัญษถกยายูดขาดูษกนักาาาขเทหออขมอๆ็จรษะใสอส่ีะางาฟอะตใจะงครถพคไุดนกกทัวงหทรอืนาําูดขลไใเกี่จนอนอาพปนอับกอาะอนองทึงู่ดรแะางคมพาบกรท่ีสคลไจราฒัไาพรวนื่อคาอํเปงปนงกดูสบดิไเนารนนัาคหวาคนานั้กนรบยุามรากทใาวัาฯวรนยางี่สาฟลใรเกทาํรนฯเฟงถ็คราป่ี โงาทอื”แญั รรเฟวตปง้ัะขงงาพนเชๆนเไรปวมุเดยีารทกนดนดอ่ื ี่กเนรีแงาาค้ีร จัดอยูในกลมุ นักฟง ประเภทไหนใน 3 กลุม ตอไปน้ี ............ก....า..ร..ฟ......ง..แ....ล....ว ....ซ....ึง่....เป......น ....ค....ว..า....ม..เ..ข....า..ใ....จ....ผ..ดิ....อ....ย....า ..ง..ย....ิง่ 40 คะแนนขนึ้ ไป จดั วาคุณเปน นกั ฟง ชัน้ ยอด ..............................สคเ.....พ.....วน.....รา.....ใา.....มจ.....ะ.....หคก..........ํามา.....พ.....รา.....ยฟูด..........ทอ.....ง.....ยกุท.....กก.....านแี่.....ลิจง.....ทยั เ.....กาทต.....ขจวร.....าม็.....รอขร.....นิงทง.....าม.....คงคี่ห.....ทจล.....ิําด.....ม่ีนพา.....2อ.....งาเดู.....กยยน.....เ.....ดิถาห้ี.....ง.....คงึ ล.....กไว.....า .....ราาน.....รมก.....้ัน.....ใัเบ.....หข..........คคา..........ใําวจาม 25-39 คะแนน คุณเปนนกั ฟงทด่ี ีกวาผฟู งทวั่ ๆ ไป .......................โ.ป..ร..ด..อ..ธ.ิบ..า..ย................. ตาํ วา 25 คะแนน คณุ เปน ผูฟง ท่ีตอ งพัฒนาทกั ษะการฟง เปน พิเศษ ...................................................... แตไมว าจะอยูใ นกลมุ ไหนกต็ าม คณุ กค็ วรจะ ...................................................... พัฒนาทักษะในการฟง ของคุณอยเู สมอ เพราะวา ผูสง สาร ...................................................... (ท้งั คนและอปุ กรณเ ทคโนโลยตี า ง ๆ ) น้นั มีการเปลย่ี นแปลง ...................................................... และมคี วามซบั ซอ นมากขน้ึ อยตู ลอดเวลา ...................................................... ......................................................  การพูดเปนวิธีการสื่อสารที่มนุษยใชกันมานาน นับพันป ...................................................... และในโลกนี้คงไมมีเครื่องมือสือ่ สารใดทีส่ ามารถถายทอดความคิด ...................................................... ความรูส ึกและ สิ่งตาง ๆ ในใจเราไดดีกวาคําพูด ถึงแมวาปจจุบันนี้ ...................................................... เทคโนโลยีในการสื่อสารจะไดรับการพัฒนาไปถึงไหน ๆ แลวก็ตาม สาเหตุทีเ่ ปนเชนน้ี ก็เพราะวา การพดู ไมใชแ ตเพียงเสียงท่ีเปลงออกไป แนวการตอบ เปนคํา ๆ แตการพูดยังประกอบไปดวย น้ําเสียงสูง-ตํ่า จังหวะชา-เร็ว การพดู ทกุ ครงั้ จาํ เปนตอ งคดิ และเปนการคดิ และทาทางของผูพูด ทีท่ ําใหการพูดมีความซับซอน และมี กอ นพดู เราจึงจะเปน นายของคําพดู ไดทกุ ครง้ั ประสทิ ธิภาพยง่ิ กวา เคร่อื งมือสือ่ สารใด ๆ กจิ กรรมกทารี่ 3พูดใหนอั้นาเนปเรรียือ่ บงเ“สกมารือมนอดงาโบลกสใอนงแคงมด”ี คแือลสะสามรุปารถใหทั้งคุณและ เรอื่ โงททษ่ีอแากนตใัวหผไ ูพ ดูดป ไรดะมนาอณก1จ5ากบนรรี้กทารดั พูดยังเปนอาวุธในการสื่อสารทีค่ น สวนใหญชอบเใรช่ือมงา“กกการวมากอางรโลฟกงใแนลแะงกดา”ี รเขียน เพราะคิดวาการพูดได ควมามากหกมวาา ยคแนลอะ่ืนคนวาั้นมจสะาํ ทคาํ ญั ใหขตองนกเอารงมไดอเงปโรลยีกบในไแดงปด รี ะโยชน แตท้ัง ๆท่ีคิด กาอรดยาําเงนนนิ ี้หชลวี าิตยขคอนงกม็ยนังษุ พยาเตรัาวนเอั้นงไไดปใสชูคค ววาามมหคดิายมนาชะวไยดใดนวกยาปรากเขาทํานอง ตัดปสาินกใพจาเรจือ่ นงรซาึ่งวเตหาตงๆุที่เทปอ่ี นยเูรชอนบนตี้กวั ็เเพรารไาดะอรยูกาันงเแหตมเาพะียสงมวาซฉ่ึงันอยากจะพูด ในโบดายงไคมรง้ั คกิดารกมออนงพโลูดกโดไมยใรชูว คากวาามรคพิดูดนที้ี่จกะอ็ ใาหจจคะุณมแมี กมุ ตมนอเงองไดนัน้ ควรมี ไดล กั ษณะดังน้ี หลายดเถนูกา อ้ื จนหังหาเชชววะน นเวตทลดิ าาตงาดมา นบวกและทางดานลนภบาาํ้ ษเสกายีเาหงรชมมวาะนอสฟงมงโลกใน  กิริยาทาทางดี  มีอารมณข ัน  ใหผฟู ง มีสวนรว ม  เปน ธรรมชาตแิ ละเปน ตัวของตัวเอง แว

41 ลักษณะเชนน้ี สามารถถายทอดความรสู กึ นกึ คดิ ออกมาทาง หลกั การมองโลกในแงด ี คําวา การมองโลกในแงดี โดยในแงของภาษาสามารถแยกออกเปน 3 คําแตกตางจากกัน คําที่ หนึ่งคือ การมอง คําที่สองคือ โลก คาํ ที่สาม คอื ในแงด ี เปา หมายของการมอง คือ เพ่ือใหเห็นการจะเห็นส่ิงใดเรามวี ิธเี ห็น 2 วธิ ี 1. ใชตามอง เรียกวามองเห็น เราเหน็ หองนาํ้ กาแฟ เหน็ สรรพสง่ิ ในโลกเราใชตามอง 2. คดิ เหน็ เรากับคณุ แมอยหู างกนั แตพ อเราหลับตาเรายงั นึกถงึ คณุ แมไ ด เราไมไ ดไ ปเมืองนอก มานานหลับตายังนกึ ถึงสมัยเราเรียนๆ ท่ีตรงนัน้ อยา งนีเ้ รียกวาคดิ เหน็ เพราะฉะน้นั การท่ีจะเห็นสิง่ ใด สามารถทําไดทั้งตากับคิด การมองโลกบางครั้งอาจมองดูเห็นปบคิดเลย หรือบางทไี มตองเหน็ แตจ นิ ตนาการ ทานคดิ และ เหน็ คําวาโลก เราสามารถแยกเปน 2 อยาง คอื โลกทเ่ี ปน ธรรมชาติ ปาไม แมน า้ํ ภูเขา อยางนเี้ รียกวา เปนธรรมชาติโลกอีกความหมายหนึ่ง คือ โลกของมนุษย พวกทีม่ นษุ ยอ ยเู รียกวา สงั คมมนษุ ย เพราะฉะนั้นเวลามองโลกอาจมองธรรมชาติ บางคนบอกวามอง ภูเขาสวย เห็นทิวไมแลวชอบ เรียกวา มองธรรมชาติ แตบางครั้งมองมนุษยดวยกัน มองเห็นบุคคลอื่นแลวสบายใจ เรียกวาการมองเหมือนกัน เพราะฉะนั้นโลกจึงแยกออกเปน 2 สว น คือธรรมชาติกับมนุษย คําวาดี เปนคําที่มีความหมายกวางมาก ในทางปรัชญาถอื วาดี หมายถงึ สง่ิ ท่จี ะนาํ ไปสู ตัวอยางเชน ยาดี หมายถึงยาที่นาํ ไปสู คอื ยารักษาโรคน่ันเอง มดี ดี คือมีดทน่ี าํ ไปสู คือสามารถตัดอะไรได หรืออาหารดี หมายความวาอาหารนําไปสูใหเรามีสุขภาพดีขึ้น เพราะฉะน้ันอะไรที่นาํ ไปสสู กั อยา งหนงึ่ เราเรยี กวาดี ดีในที่น้ีดไู ด 2 ทางคือ นําไปทําใหเราเกิดความสุข หรือนําไปเพื่อใหเราทํางานประสบ ความสําเร็จ ชวี ติ เราหนกี ารทํางานไมไ ด หนชี วี ิตสว นตัวไมไ ด เพราะฉะนน้ั ดูวามองคนแลวทาํ ใหเ ราเกิด ความสุข ทําใหทํางานประสบความสําเร็จ ถารวม 3 ตวั คือเราเห็น หรือเราคดิ เกีย่ วกับคน แลวทาํ ใหเ รามีความสุข เรามอง เราคิดกับคน ทํา ใหเราประสบความสําเร็จ นี่คือความหมาย สรุปความสําคัญของคําวา การมองโลกในแงด ี คือ 3 อยางนี้ตองผกู พันกันเสมอคือ การคดิ การ ทาํ และผลการกระทาํ ถาเราคิดดีเราก็ทาํ ดี ผลจะไดด ีดว ย ตัวอยางเชน เราคดิ ถงึ เร่อื งอาหาร ถา เราคดิ วา อาหารนีด้ ี เราซอ้ื อาหารนี้ และผลจะมตี อ รางกายเรา ถา เราคดิ ถึงสุขภาพ เรื่องการออกกําลงั เราก็ไปออก กําลังกาย ผลที่ตามมาคือ รางกายเราแข็งแรง เพราะฉะนั้นถาเราคิดอยางหนึ่ง ทําอยางหนึ่ง และผลการ กระทําออกมาอยางหนึ่งเสมอ ถาการมองโลกจะมีความสําคัญคือ จะชวยทาํ ใหชีวติ เรามีความสุข เพราะเราคิดคนๆ นี้ในแงดี เราจะพดู ดีกับเขา ผลตามมาก็คือเขาจะมีปฏิกิริยาในทางดีกับเรา ถาเราคิดในทางรายตอเขา เชน สมมติคุณ กําลังยนื อยู มีคนๆ หนึง่ มาเหยียบเทาคณุ ถาคิดวาคนที่มาเหยียบเทาคุณ เขาไมสบายจะเปนลม แสดงวา

42 คุณคิดวาเขาสุขภาพไมดี คุณจะชวยพยุงเขา แตถ าคุณคิดวาคนน้ีแกลง คุณ แสดงวาคุณมองในแงไมดี คุณจะมปี ฏิกริ ิยาคอื ผลกั เขา เม่อื คุณผลักเขาๆ อาจจะผลักคณุ และเกดิ การตอสูกันได เพราะฉะน้ันคิดทดี่ ี จะชวยทําใหชีวิตเรามีความสุข ถาคิดรายหรือคิดทางลบชีวิตเราเปนทุกข ถาคิดในทางที่ดีเราทํางาน ประสบความสําเร็จ ถาคิดในแงลบงานของเราก็มีทุกขตามไปดวย (ทม่ี า: http://www.stou.ac.th/Thai/Offices/Oce/Knowledge/4-46/page6-4-46.html) สขุ หรือทกุ ขข น้ึ อยูกบั อะไร? ขา วท่ีมีผถู กู หวยรฐั บาลไดรางวัลเปน จาํ นวนหลายลานบาท เรียกวา เปนเศรษฐภี ายใน ชวั่ ขามคืน คงเปนขาวที่ทุกทานผานตามาแลว และก็ดเู หมือนจะเปนทุกขลาภอยไู มนอยที่ตองหลบเลยี่ งผู ที่มาหยิบยืมเงินทอง รวมทั้ง โจร-ขโมย จองจะแบงปนเงินเอาไปใช ในตางประเทศ ก็เคยมกี ารศกึ ษาถงึ ชวี ติ คนทถี่ กู หวยในลักษณะของกรณีศึกษาก็คนพบวาหลาย ตอหลายคน ประสบความทุกขยากแสนสาหัสกวาเดิม หลายรายตองสูญเสียเงินทองจํานวนมาก มอี ยูร าย หนึ่งที่สุดทายกลับไปทํางานเปนพนักงานทําความสะอาด ความเปนจริงแลว พบวา วธิ ีคิด หรือโลกทศั น ของเราตางหากที่บงบอกถึงความสามารถในการมีความสุขหรือความทุกข วิธคี ดิ อยางไร นํามาซึ่งความสุข? คงไมใ ชว ธิ คี ดิ แบบเดยี วอยา งแนน อน แตวธิ ีคิดซงึ่ มีอยหู ลายแบบและนํามาซึ่งความสุขนัน้ มกั มี พ้ืนฐานคลา ยๆกนั คือ การมองดานบวกหรือคาดหวังดานบวกรวมทั้งมองเห็นประโยชนจากสิ่งตางๆ (แมว าจะเปนเหตกุ ารณที่เลวรา ยก็ตาม) แตก วาท่ีคนเราจะ \"บรรล\"ุ ความเขาใจได ก็อาจใชเวลาเปนสิบๆ ป เลยทเี ดยี ว คริสโตเฟอร รีฟ อดีตดาราในบทบาทของซุปเปอรแมน ไดประสบอุบัติเหตุตกจากหลังมา เขาเคยให สมั ภาษณในรายการหนึ่งวา เขาตอ งปรับตัวอยา งมากในชวงแรกๆ แลว ในทส่ี ดุ เขาก็สามารถมีความสุข ได แมวาจะไมสามารถขยับแขนขยับขาไดดังใจนึกก็ตาม ผบู ริหารคนหนงึ่ ของบริษทั ในเครือเย่ือกระดาษสยาม เลา วา เขาโชคดที ถี่ กู ลูกคาดาเมือ่ สบิ กวาป ทแ่ี ลว ในเวลานน้ั ลกู คา ซงึ่ เปนผจู ัดการบริษัทแถวถนนสาธปุ ระดิษฐ ไมพอใจเซลลขายกระดาษคนกอน เปนอยางยิ่งที่ปรับราคากระดาษโดยกระทันหัน จนทําใหบริษัทของเขาตองสูญเสียเงินจํานวนมากเขา (เซลลขายกระดาษ) ทานนี้ไดใชความพยายามเอาชนะใจลูกคาคนนี้อยู 6 เดอื นเตม็ ๆ อนั เปน เวลาท่ีออ เดอรล อ ตปรากฎขน้ึ “ผมขอบคุณวิกฤตกิ ารณในคร้งั นน้ั มาก มันทําใหผมเขาใจในอาชีพนักขายและสอน บทเรียนที่สําคัญมาจนถึงปจ จุบนั ” จากตวั อยา งดงั กลา ว สามารถสรุปไดวา 1. ผูประสบความสําเรจ็ มักผา นวกิ ฤติการณแ ละไดบทเรยี นมาแลวทง้ั ส้นิ 2. ผูที่จะมีความสุขในการทํางานและใชชีวิตได ยอ มตอ งใชว ธิ ีคดิ ท่ีเปนดา นบวกซง่ึ ไดร ับการ พิสจู นม าแลว

43 หากอยากมคี วามสขุ ตอ งเริม่ จากการสรา งความคิดดานบวก มองเหตุการณอยา งไดประโยชน (ที่มา: http://drterd.com/news/view.asp?id=4) เรอ่ื งที่ 4 ปจ จยั ท่ีทาํ ใหก ารเรียนรูดวยตนเองประสบความสาํ เร็จ ความพรอมในการเรียนรูด วยตนเอง (Self-Directed Learning Readiness : SDLR) เปนสิง่ สําคัญ และจําเปนอยางมากสําหรับผูท ีม่ ีความสนใจ มีความรักจะเรียนรูด วยตนเอง วัดไดจากความรูสึก และ ความคิดเหน็ ท่ผี ูเรยี นมีตอ การแสวงหาความรู การที่บุคคลจะเรียนรูด วยตนเองไดนัน้ ตองมีลักษณะความ พรอมของการเรียนรดู ว ยตนเอง 8 ประการ ดังนี้ 1. การเปดโอกาสตอการเรียนรู ไดแก การมีความสนใจในการเรียนรูม ากกวาผูอ ื่น มีความพึง พอใจกับความคิดริเริม่ ของบุคคล มีความรักในการเรียนรูแ ละความคาดหวังวาจะเรียนรูอ ยางตอเนือ่ ง แหลงความรูม ีความดึงดูดใจ มีความอดทนตอการคนหาคําตอบในสิง่ ทีส่ งสัย มีความสามารถในการ ยอมรับและใชประโยชนจากคําวิจารณได การนําความสามารถดานสติปญญามาใชได มีความรับผิดชอบ ตอ การเรยี นรขู องตนเอง 2. มีอัตมโนทัศนในดานของการเปนผูเ รียนทีม่ ีประสิทธิภาพ ไดแก การมีความมั่นใจในการ เรียนรูดวยตนเอง ความสามารถจัดเวลาในการเรียนรูไ ด มีระเบียบวินัยตอตนเองมีความรูใ นดานความ จําเปน ในการเรียนรู และแหลง ทรัพยากรการเรียนรู มีความคิดเห็นตอตนเองวา เปน ผทู ีม่ ีความอยากรูอยาก เหน็ 3. การมีความคิดริเริ่มและเรียนรูดวยตนเอง ไดแก ความสามารถติดตามปญหายาก ๆ ไดอยาง คลองแคลว ความปรารถนาตอการเรียนรูอ ยูเ สมอ ชื่นชอบตอการมีสวนรวมในการจัดประสบการณการ เรียนรู มีความเชื่อมัน่ ในความสามารถทีจ่ ะทํางานดวยตนเองไดดี ชืน่ ชอบในการเรียนรู มีความพอใจกับ ทักษะการอาน การทําความเขาใจ มีความรูเกี่ยวกับแหลงความรูตาง ๆ มีความสามารถในการวางแผนการ ทํางานของตนเองได และมีความคิดริเริ่มในเรื่องการเริ่มตนโครงการใหม ๆ 4. การมีความรับผิดชอบตอการเรียนรูข องตน ไดแก การมีทัศนะตอตนเองในดานสติปญญาอยู ในระดบั ปานกลางหรอื สูงกวา ยินดีตอการศกึ ษาในเรอ่ื งที่ยาก ๆ ในขอบเขตท่ีตนสนใจ มีความเชือ่ มัน่ ตอ หนาที่ในการสํารวจตรวจสอบเกี่ยวกับการศึกษา ชื่นชอบที่จะมีบทบาทในการจัดประสบการณการเรียนรู ดวยตนเอง มีความเชือ่ มั่นตอหนาทีใ่ นการสํารวจตรวจสอบเกีย่ วกับการศึกษา ชืน่ ชอบทีจ่ ะมีบทบาทใน การจัดประสบการณการเรียนรูดวยตนเอง มีความรับผิดชอบตอการเรียนรูของตนเอง และมี ความสามารถในการตัดสินความกาวหนาในการเรียนรูของตนเองได 5. รกั การเรียนรู ไดแก มีความชื่นชมในการเรียนรูสิง่ ใหม ๆ อยูเสมอ มีความปรารถนาอยางแรง กลาในการเรียนรู มีความสนุกสนานกับการสืบสวนหาความจริง 6. ความคิดสรางสรรค ไดแก มีความคิดที่จะทําสิง่ ตาง ๆ ไดดี สามารถคิดคนวิธีการ แปลก ๆ ใหม ๆ และความสามารถทจี่ ะคิดวธิ ตี า ง ๆ ไดม ากมายหลายวธิ สี ําหรบั เร่อื งนั้น ๆ

44 7. การมองอนาคตในแงดี ไดแก การมีความเขาใจตนเองวาเปนผูท ี่มีการเรียนรูตลอดชีวิต มี ความสนกุ สนานในการคดิ ถงึ เรื่องในอนาคต มีแนวโนมในการมองปญหาวาเปนสิ่งทาทายไมใชสัญญาณ ใหห ยดุ กระทาํ 8. ความสามารถในการใชทักษะทางการศึกษาหาความรูแ ละทักษะการแกปญหา คือ มี ความสามารถใชทักษะพืน้ ฐานในการศึกษา ไดแก ทักษะการฟง อาน เขียนและจํา มีทักษะในการ แกป ญ หา

45 รายละเอยี ดกิจกรรมการเรียนรู กจิ กรรมท่ี 1 ใหอธบิ ายลกั ษณะของ “ความพรอ มในการเรยี นรูดว ยตนเอง” มาพอสังเขป .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. กจิ กรรมที่ 2 “รเู ขา รเู รา” วัตถุประสงค เพื่อใหผ ูเรยี นแสดงความคดิ และความรูสึกท่ีมตี อตนเอง และผอู น่ื แนวคดิ สิ่งแวดลอมของการมีเพื่อนใหม คือ การทําความรูจักคุนเคยกัน บรรยากาศที่เปนกันเองมารยาท ทางสังคมจะเปนแนวทางการนําไปสูสมั พันธภาพที่ดีระหวางสมาชิกในกลุมซึ่งจะนําไปสูการแสดงความ คิดเห็น การอภิปรายแลกเปลี่ยนประสบการณ และความรวมมือในการทํางาน คําช้ีแจง 1. ใหทานคิดสัญลกั ษณแ ทนตวั เองซง่ึ บงบอกถงึ ลกั ษณะนิสยั ใจคอ จํานวน 1 ขอ วาด/เขยี นลง ใน ชอ งวา งทก่ี าํ หนดใหข า งลา ง หลงั จากน้ัน ใหท านเขยี นอดุ มการณ แนวคิด หรอื คําขวัญ ประจําตัวลง ใตภ าพ 2. ใหท านไปสัมภาษณ พดู คุยกับเพอ่ื นหรือคนใกลชดิ โดยการใหเ พื่อนหรือคนใกลช ิดคิด สัญลักษณแ ทนตวั เองซ่งึ บง บอกถงึ ลกั ษณะนสิ ัยใจคอ จาํ นวน 1 ขอ วาด/เขียนลงในชองวางที่กําหนดให ขางลาง หลังจากนั้น ใหเขียนอุดมการณ แนวคิด หรือคําขวัญ ประจาํ ตวั ลงใตภาพ 3. ทานไดขอคิดอะไรบางจากกิจกรรมนี้

46 กิจกรรมที่ 3 “คุณคา แหง ตน” วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื ใหผ เู รียนเกิดความตระหนกั ในคุณคาของตนเอง และสรางความภูมิใจในตนเอง 2. เพ่อื ใหผ เู รียนสามารถระบุปจจัยที่มีผลทําใหตนไดรับความสําเร็จ และความตองการ ความสําเร็จ รวมทั้งความคาดหวังที่จะไดรับความสําเร็จอีกในอนาคต แนวคดิ ทุกคนยอมมีความสามารถอยูในตนเอง การมองเห็นถึงความสําคัญของตน จะนําไปสูการรูจัก คณุ คาแหง ตน และถามโี อกาสนาํ เสนอถงึ ความสามารถและผลสําเรจ็ ในชีวติ ใหผูอืน่ ไดรบั ทราบใน โอกาสที่เหมาะสม จะทําใหคนเราเกิดความภาคภูมิใจยิ่งขึ้น การทบทวนความสําเร็จในอดีตจะชวยสราง เสริมความภูมิใจ กาํ ลงั ใจ เจตคตทิ ดี่ ี เกดิ ความเชื่อม่นั วาตนเองจะเปนผทู ส่ี ามารถเรยี นรูดวยตนเองได และความตองการประสบความสําเร็จตอไปอีกในอนาคตความรูสึกเห็นคุณคาในตนเองอยางแทจริงเปน การเหน็ คุณคา คณุ ประโยชนในตนเอง เขา ใจ ตนเอง รบั ผดิ ชอบตอทุกสง่ิ ทต่ี นเปนเจา ของ ยอมรับความ แตกตางของบุคคล เห็นคุณคาการยอมรับของผูอื่น สามารถพัฒนาตนเองทั้งในดานสวนตวั ยอมรับ ยก ยอ ง ศรทั ธาในตัวเองและผอู ื่น ทาํ ใหเกิดความเชอ่ื ม่นั ในตนเองเปน ความรสู ึกไวว างใจตนเอง สามารถ ยอมรับในจุดบกพรอง จุดออนแอของตนและพยายามแกไข รวมทั้งยอมรับความสามารถของตนเองใน บางครง้ั และพฒั นาใหดีข้ึนเร่ือยไป เมื่อทาํ อะไรผดิ แลว ก็สามารถยอมรับไดอยางแทจ ริง และแกป ญหา ไดอยางสรางสรรค คําช้ีแจง 1. ใหผูเ รยี นเขยี นความสาํ เรจ็ ที่ภาคภูมใิ จในชีวิตในชวง 5 ป ท่ผี านมา จํานวน 1 เรอ่ื ง และตอบ คําถามในประเด็น 1) ความรูสึกเมื่อประสบความสําเร็จ 2) ปจจยั ทมี่ ีผลทาํ ใหตนไดรับความสําเรจ็ 2. ใหผูเ รยี นเขยี นเร่อื งที่มคี วามมงุ หวัง ทจี่ ะใหสําเร็จในอนาคตและซง่ึ คาดวาทําไดจ ริง จาํ นวน 1 เร่ือง และตอบคําถามในประเด็น ปจจัยอะไรบางที่จะทําใหความคาดหวังไดรับความสําเร็จ ในอนาคต”

47 กิจกรรมท่ี 4 “แปรงสฟี น มหัศจรรย” วตั ถปุ ระสงค เพ่อื ใหผ ูเรยี นตระหนักถึงความสําคัญของการมองโลกในแงดี ความคิดสรางสรรคและพัฒนาทั้ง ความคิดในดานบวก และความคิดสรางสรรคที่มีในตนเอง คําช้ีแจง 1. ใหผ เู รียนเขยี นประโยชนของแปรงสีฟน ใหไ ดม ากทีส่ ดุ ในเวลา 5 นาที …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………….....……………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………

48 กจิ กรรมที่ 5 “บัณฑิตสูงวยั ” วตั ถุประสงค 1. เพ่อื ใหผ ูเรยี นทราบและเขาใจในแนวคิดการเรียนรูดว ยตนเอง และความพรอมในการ เรยี นรู ดว ยตนเอง 2. เพ่อื นาํ ไปสูลักษณะการเรียนรูด ว ยตนเองทใ่ี ฝเ รียนรู เห็นคุณคา ของการเรยี นรู ความสามารถ ทีจ่ ะเรยี นรดู ว ยตนเองความรับผดิ ชอบในการเรียนรู การมองอนาคตในแงดี ของสมาชิก รวมทั้งสมาชิก เหน็ ความสาํ คัญ และตระหนักในความพรอ มในการเรยี นรดู ว ยตนเอง แนวคดิ คุณลกั ษณะพเิ ศษในการทจี่ ะเรียนรูและพฒั นาตนเองอยางตอ เน่อื งโดยมจิ ําเปน ตองรอคอยจาก การศกึ ษาหรือการเรยี นรอู ยางเปน ทางการเพียงอยางเดยี ว คุณลกั ษณะพิเศษ ดังกลาวคือ “ความพรอมใน การเรยี นรูโดยการช้ีนาํ ตนเอง” ซึ่งเปนความคิดเห็น วา ตนเองมีเจตคติ ความรู ความสามารถที่จะเรียนรู โดยมติ องใหค นอื่นกําหนดหรอื ส่งั การ พรอ มท่ีจะเรยี นรวู ิธีการเรยี นรแู ละประเมนิ การเรียนรู ท้ังอาจดวย ความชว ยเหลอื จากผูอ่นื หรือไมก็ตาม การที่บุคคลสามารถชี้นําตนเองที่จะเรียนรู ยอมเปนโอกาสที่บุคคล จะเรียนรูทจ่ี ะพฒั นาตนเองอยางตอ เนื่องและเรียนรูตลอดชีวติ การพัฒนาการเรยี นรูโ ดยการชน้ี ําตนเอง ยอ มเปนหนทางทที่ าํ ใหบ คุ คลเรียนรูอยางไมส้ินสดุ คาํ ชแ้ี จง ใหผเู รยี นศึกษาภาพขาว การสําเร็จการศกึ ษาจากภาพ ของ บัณฑติ สงู วัย พรอมอธบิ าย ในประเด็น (1) “ความรูสกึ ของทานตอภาพท่ีไดเหน็ ”

49 (2) “ทําไมบุคคลในภาพ ถึงประสบความสําเร็จในการเรียนรู” กิจกรรมท่ี 6 “บทสะทอ นจากการเรียนรู” วตั ถุประสงค เพอื่ ใหผ ูเรียนสาํ รวจตนเอง และตระหนักถงึ ความสําคัญของความขยัน แนวคดิ ความขยันเปนสิ่งที่ดี และสามารถจํานําบุคคลใหประสบความสําเร็จในสิ่งที่ตนเองหวังได คาํ ช้แี จง ใหผูเรียนทําแบบทดสอบความขยันสูความสําเร็จพรอมแปลผลแบบทดสอบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook