Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore a_constructive_joyful_and_blissful_life

a_constructive_joyful_and_blissful_life

Published by ratcha_07, 2016-05-13 04:14:17

Description: a_constructive_joyful_and_blissful_life

Search

Read the Text Version

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๕สอง ลาภยศเปน ตนเกดิ แกค นทเ่ี ปนบณั ฑิต มแี ตเปนประโยชน เพราะเปนเครื่องมือในการสรางสรรคประโยชนสุขใหแผขยายกวางขวางออกไปเกื้อกูลแกสังคม และทําชีวติ ใหพ ัฒนาขึ้น แตถาทรัพยและอํานาจเกิดแกผูท่ีไมรูเทาทัน มีความลุมหลงละเลิงมัวเมา ก็กลับกลายเปนโทษแกชีวิตของตนเอง และเปนเคร่ืองมือทาํ รา ยผอู ่ืนไป ซงึ่ ก็เปน ผลเสยี แกต นเองในระยะยาวดวย โลกธรรมอยางอื่นก็เชนเดียวกันท้ังนั้น ลาภ ยศ สรรเสริญ สุขเปนสิง่ ที่เราจะตอ งปฏิบตั ิใหถูก หลักสาํ คัญกค็ อื อยา ไปหลงละเลงิ มัวเมาถา เคราะหม ามนั คือของขวญั ท่ีสง มาชวยตวั ฉนั ใหย ิ่งพัฒนา ในทางตรงขาม ถาโลกธรรมฝายรายเกิดขึ้นจะทําอยางไร เม่ือกี้ฝายดีเกิดขึ้น เราก็ถือโอกาสใชใหเปนประโยชน ทําการสรางสรรค ทําใหเ กิดประโยชนส ขุ แผข ยายออกไปมากยิง่ ขึน้ ทีนี้ ถึงแมฝายรายเกิดขึ้น คือเส่ือมลาภ เส่ือมยศ ถูกติฉินนินทาและประสบทกุ ข คนมีปญญารเู ทา ทนั ก็ไมก ลัว ไมเปนไร เขาก็รักษาตัวอยูไ ด และยงั หาประโยชนไ ดอีกดว ย คอื ๑. รูทันธรรมดา คือรูความจริงวา สิ่งท้ังหลายก็อยางน้ีเอง ลวนแตไมเทีย่ งแทแ นน อน ยอมผันแปรไปไดท้ังส้ิน นี่แหละท่ีวาอนิจจัง เราก็ไดเจอกับมันแลว เมื่อมีได ก็หมดได เม่ือข้ึนได ก็ตกได แตเมื่อหมดแลว ก็มีไดอีก เม่ือตกแลว ก็อาจข้ึนไดอีก ไมแนนอน มันข้ึนตอเหตปุ จ จยั

๔๖ ชวี ติ ทส่ี รางสรรค สดใสและสุขสนั ต ขอสําคัญอยูที่วา มันเปนการมีการไดและเปนการขึ้น ที่ดีงามชอบธรรม เปนประโยชนหรือไม และเปนเร่ืองที่เราจะตองศึกษาหาเหตุปจ จยั และทําใหถ ูกตองตอไป เพราะฉะน้ัน อยามัวมาตรอมตรมทุกขระทมเหงาหงอย อยามัวเศรา โศกเสียใจละหอ ยละเห่ียทอแทใจไปเลย จะกลายเปนการซ้ําเติมทับถมตัวเองหนักลงไปอีก และคนที่ตองพึ่งพาอาศัยเราก็จะยิ่งแยไปใหญเร่ืองธรรมดาของโลกธรรมเปนอยางน้ี เราก็ไดเห็นความจริงแลว เรารูเทาทันมันแลว เอาเวลามาศึกษาหาเหตุปจจัย จะไดเรียนรู จะไดแกไขปรับปรุง ลุกขน้ึ มาทําใหฟนตวั ข้นึ ใหมด ีกวา เมื่อรูเ ทาทนั อยูกับความจริงอยางนี้ เราก็รักษาตัวรักษาใจใหเปนปกติ ปลอดโปรงผองใสอยูได ไมละเมอคลุมคลั่งเตลิดหรือฟุบแฟบทาํ ลายหรอื ทาํ รายตัวเองใหยง่ิ แยล งไป ๒. เอามาพัฒนาตัวเรา คนท่ีเปนนักปฏิบัติธรรม เม่ือความเสื่อมความสูญเสีย และโลกธรรมฝายรายทั้งหลายเกิดขึ้นแกตน นอกจากรูเทาทันธรรมดา มองเห็นความจริงของโลกและชีวิตที่เปนอนิจจังแลวเขายังเอามันมาใชใหเ ปน ประโยชนใ นการพัฒนาตวั เองใหดียิง่ ขน้ึ อกี ดวย เขาจะมองวา นี่แหละความไมเท่ียงไดเกิดข้ึนแลว เมื่อมันเกิดข้ึนมา ก็เปนโอกาสที่เราจะไดทดสอบตนเอง วาเรานี่มีความมั่นคงและความสามารถแคไหน ในการที่จะตอสูกับสิ่งเหลาน้ี เราจะเผชิญกับมันไหวไหม ถาเราแนจริง เราก็ตองสูกับมันไหว และเราจะตองแกไขไดเพราะอันน้ีเทากับเปนปญหาที่จะใหเราสูใหเราแก เราจะมีความสามารถแกปญหาไหม น่คี อื บททดสอบท่เี กดิ ขึ้น นอกจากเปนบททดสอบแลว ก็เปนบทเรียนท่ีเราจะตองศึกษาวา

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๗มันเกดิ ขน้ึ จากเหตอุ ะไร เพ่อื จะไดเปนประโยชนต อ ไปภายหนา ถาเราสามารถแกปญหานี้ได ก็แสดงวา เรามีความสามารถจริงถาเราผานสถานการณนี้ไปไดปลอดโปรงสวัสดีแลว ตอไปเราก็จะมีความสามารถและจดั เจนย่งิ ขนึ้ รวมความวา คนที่ดําเนินชีวิตเปน จะใชประโยชนจากโลกธรรมฝายรายได ทั้งในแงเปนเคร่ืองทดสอบจิตใจ และเปนเครื่องพัฒนาปญญา คือทดสอบวาเรามีจิตใจเขมแข็งม่ันคง แมจะเผชิญเคราะหรายหรือเกิดมีภัย ก็ดํารงรักษาตัวใหผานพนไปได ไมหว่ันไหว และใชปญญาเรียนรูสืบคนเหตุปจจัย เพ่ือจะไดแกไขและสรางสรรคเดินหนาใหไ ดผลดียง่ิ ขน้ึ ตอ ไป ยิ่งกวาน้ัน เขาจะมองในแงดีวา คนที่ผานทุกขผานภัยมามากเม่ือผานไปได ก็เปนประโยชนแกตัวเอง คนที่ผานมาได ถือวาไดเปรียบคนอ่ืนทีไ่ มเ คยผา น นอกจากผานทุกขผานโทษผานภัยไปแลว ถายิ่งสามารถผานไปไดดวยดีอีกดวย ก็เปนหลักประกันวาตอไปไมตองกลัวแลว เพราะแสดงวาเราประสบผลสาํ เร็จแกปญหาได เราจะมีชีวิตทดี่ ีงามเขมแข็ง ไมตองกลัวภัยอันตรายอีก ดีกวาคนที่ไมเคยเจอกับสิ่งเหลานี้ พบแตส่ิงท่ีเปน คณุ หรอื สิ่งทีช่ อบใจอยางเดยี ว เปนชวี ิตทไี่ มไ ดท ดสอบ เปนอันวา ถามองในแงที่ดีงามแลว เราก็ใชประโยชนจากโลกธรรมท้ังท่ีดีและรายไดทั้งหมด อยางนอยก็เปนคนชนิดท่ีวา ไมเหลิงในสขุ ไมถ กู ทุกขทับถม ฉะน้ัน ถาเราจะตองเผชิญกับโลกธรรมท่ีไมชอบใจ ก็ตองมีใจพรอมที่จะรับมือและสูมัน ถาปฏิบัติตอมันไดถูกตอง เราก็จะผาน

๔๘ ชีวิตที่สรางสรรค สดใสและสุขสนั ตสถานการณไปดวยดี และเปนประโยชน เราจะมีความเขมแข็ง ชีวิตจะดีงามย่ิงข้นึแลวตอนน้ัน เราจะไดพิสูจนตัวเองดวยวา ถึงแมวาเราจะมีประโยชนสุขข้ันที่หนึ่ง ที่เปนรูปธรรมหรือมีวัตถุเพียงเล็กนอยน้ี เราจะสามารถอยูดวยประโยชนสุขขั้นท่ีสอง ดวยทุนทางดานคุณความดีทางดานจิตใจไดหรือไม แลวก็ทดสอบยิ่งขึ้นไปอีกคือในระดับท่ีสาม วาเรามีจิตใจที่เปนอิสระ สามารถที่จะอยูดีมีสุข โดยไมถูกกระแทกกระเทอื นหวน่ั ไหวดวยโลกธรรมไดไ หมถาจิตถูกโลกธรรมทั้งหลายกระทบกระท่ังแลวไมหวั่นไหว ยังสามารถมีใจเบกิ บานเกษมปลอดโปรง ไมมีธุลี ไรความขุนมัวเศราหมองผองใสได กเ็ ปน มงคลอันสงู สุดมงคลหมดทงั้ ๓๘ ประการมาจบลงสดุ ทายท่ีนี่พระพุทธศาสนาสอนหลักธรรมไปตามลําดับจนมาถึงขอนี้ คือขอวามีจิตใจเปนอิสระ อยางท่ีพระสงฆสวดในงานพิธีมงคลทุกครั้ง ตอนที่สวดมงคลสตู ร มงคล ๓๘ จะมาจบดว ยคาถานี้ คือ ผุฏฐัสสะ โลกะธมั เมหิ จติ ตัง ยสั สะ นะ กมั ปะติ อะโสกงั วริ ะชัง เขมัง เอตมั มงั คะละมุตตะมังผูใดถูกโลกธรรมท้ังหลาย (ท้ังฝายดีและฝายราย)กระทบกระท่ังแลว จิตใจไมเศราโศก ไมหวั่นไหว เกษม ม่ันคง ปลอดโปรง ได นั่นคือมงคลอันอุดมถาถึงข้นั นี้แลว กเ็ รยี กวาเราไดประสบประโยชนสุขขั้นสูงสุด ชีวิตก็จะสมบูรณ อยูในโลกก็จะมีความสุขเปนเนื้อแทของจิตใจ ถึงแมไปเจอความทุกขเ ขาก็ไมมปี ญ หา กส็ ุขไดแมแ ตใ นทา มกลางความทุกข

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) คนท่ีทําอยางน้ีได จะมีลักษณะชีวิตท่ีพัฒนาในดานความสุข ซ่ึงทําใหเปน คนท่ีมีความสขุ ไดง า ยทําไม โลกยงิ่ พัฒนา ชาวประชายิง่ เปนคนที่สขุ ยาก เปนท่ีนาสังเกตวา มนุษยในโลกปจจุบันน้ีไดพัฒนาทางดานวัตถุกันมาก เกงในการหาวัตถุเปนอยางยิ่ง แตมีลักษณะที่ปรากฏเดนข้ึนมาอยา งหนงึ่ คอื มกั จะกลายเปน คนท่ีสขุ ยากข้นึ ย่ิงอยูไปๆ ในโลก ก็ยิ่งเปน คนทส่ี ุขยากขึ้นทกุ ที อันนไี้ มใชล ักษณะทีด่ ี เมื่อมีของมีวัตถุอะไรตางๆ ที่เปนเครื่องอํานวยประโยชนสุขในระดับที่หน่ึงมากขึ้น คนก็นาจะมีความสุขมากข้ึน แตปรากฏวาผูคนไมไดมีความสุขมากขึ้น ความสุขบางอยางที่ดูเหมือนจะมากขึ้น ก็มักจะเปนความสุขแบบฉาบฉวยเสยี มากกวา โดยเฉพาะความสขุ ทแี่ ทใ นจิตใจ นอกจากไมดีข้ึน ยังมีทีทาวาลดนอยลง คนตะเกียกตะกายหาความสุขแบบผานๆ ชั่วครูชั่วยามกันพลา นไป เพราะไมมคี วามสขุ ท่มี น่ั คงยนื ตวั อยภู ายใน ทั้งๆ ท่ีมีส่ิงของและอุปกรณท่ีจะบํารุงความสุขมากเหลือลน แตคนก็ขาดแคลนความสุขกันอยูเร่ือยๆ และมีลักษณะอาการท่ีมีความสุขไดยาก คือกลายเปนคนท่ีสุขยากข้ึน อยางท่ีวา เคยมีเทานี้สุขก็ไมสุขแลว ตองมเี ทาน้นั ตองไดข นาดโนนจึงจะสขุ เปนลกั ษณะท่ีนาสังเกต ในเร่อื งนี้ ลกั ษณะทีต่ รงกนั ขามก็คือสุขงายข้ึน คนเราอยูในโลกนี้ชีวิตของเราเจริญเติบโตขึ้นมา เราพัฒนาข้ึนๆ ส่ิงหนึ่งที่เรานาจะพัฒนาข้ึนดวย ก็คือความสุข หมายความวา ยิ่งเราพัฒนาไป เราก็นาจะเปน คนทีส่ ุขงา ยยง่ิ ขึ้น และก็สุขไดมากขน้ึ

๕๐ ชีวิตทีส่ รางสรรค สดใสและสุขสนั ต เม่ือเปนเด็ก ไดเลนอะไรเล็กๆ นอยๆ หรืออยากไดอะไรนิดๆหนอยๆ พอไดมาก็ดูจะมีความสุขมากๆ สุขไดงายๆ แตพอโตขึ้นมาดูเหมอื นวาจะสุขยากขนึ้ ทกุ ที ถาเรามีชีวิตอยูมาแลวเราเปนคนสุขงายข้ึนนี่ โอ! เราจะโชคดีมาก เพราะถาเราสุขงาย มันก็ตองดีซิ ทําอะไรนิดหนอย มีอะไร ไดอะไรเล็กๆ นอยๆ เด๋ียวมันก็สุขละ แตเด๋ียวน้ีกลายเปนวาเรามีอะไรนิดหนอยไมไ ด จะตองมมี ากๆ จงึ จะสุข ในทางท่ีถูกท่ีควร ถาเรามีความสุขงายขึ้น แลวเราไดของมากขึ้นเรากย็ ิ่งสขุ ใหญ แตถา เราสุขยากขน้ึ เราไดข องมามากขึ้น มันกไ็ มชวยใหเราสุขมากขึ้น เพราะแมวาส่ิงอํานวยสุขจะมากข้ึนก็จริง แตจุดหรือขีดท่ีจะมีความสุขไดก เ็ ขยิบหนีขึ้นไป เพราะฉะน้ัน บางทีไดสิ่งอํานวยสุขมากขึ้น แตไ ดค วามสขุ นอยลง อะไรท่ีมันขาดหายไป คําตอบก็คือเราพัฒนาดานเดียว เราพัฒนาชีวติ เพียงดา นหน่งึ คือ ไปมงุ วาถาเรามีวัตถุมีอะไรตางๆ มีทรัพยสินเงินทอง ยศ ตําแหนงดีข้ึนน่ี เราจะมีความสุข ฉะน้ัน เราก็แสวงหาวัตถุหรอื สิ่งที่จะมาบาํ รงุ ความสขุ กันใหม าก แตการที่เราจะแสวงหาอยางไดผล เราก็จะตองพัฒนาความสามารถอันน้ี คือพัฒนาความสามารถในการแสวงหาสิ่งท่ีจะมาบํารุงความสุข และมนุษยเราก็ไดพัฒนาในดานนี้กันจริงๆ จังๆ ดังจะเห็นวาในดานนี้เราเกงมาก มนุษยยุคปจจุบันไดพัฒนาความสามารถในการแสวงหาวัตถุมาบาํ รงุ ความสุขกนั ไดเกง กาจ แมแตการศึกษาก็พลอยมคี วามหมายอยา งน้ีดวย ดูซิ การศึกษาสวนมากจะมีความหมายและความมุงหมายอยาง

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕๑นี้ คือเปนการพัฒนาความสามารถที่จะหาวัตถุมาบํารุงความสุขแลวเราก็เกงกันในดานนี้ เรามีความสามารถในการหาส่ิงมาบํารุงความสขุ อยางมากมายแตทีนี้ยังมีอีกดานหนึ่งของการพัฒนาชีวิตที่เรามองขามไป คือความสามารถท่ีจะมีความสุข บางทีเราพัฒนาความสามารถในการหาส่ิงบาํ รงุ ความสขุ พอพัฒนาไปๆ ความสามารถในการที่จะมีความสุขนี้กลับลดนอ ยลง หรือแมแ ตห ายไปเสียเฉยๆในเรื่องนี้ เราตองมีดุลยภาพ คือตองมีความสามารถที่จะมีความสุขมาเขาคูในเมื่อเราจะตองมีความสามารถนี้อีกดานหนึ่งดวย คือความสามารถในการท่จี ะมคี วามสุข เราก็ตอ งพัฒนามันข้ึนมาความสขุ จะเพิ่มทวี ถาพัฒนาอยา งมีดุลยภาพ ถาเราพัฒนาความสามารถที่จะมีความสุขดวย พรอมกันไปกับการพัฒนาความสามารถในการหาสิ่งบํารุงความสุข มันก็จะมีดุลยภาพ แลวสองดานน้ีก็จะมาเสริมกันดวย เพราะวาเมื่อเราพัฒนาความสามารถท่ีจะมีความสุขไดมากขึ้น เราก็มีความสุขงายข้ึน เม่ือเราสุขงายขึ้น แลวเรามีของบํารุงความสุขมากขึ้น ความสุขมนั ก็ทวมทนเปน ทวีคณู เลย แตที่มันเสียหรือลมเหลวไปไมเปนอยางนั้น ก็เพราะสาเหตุน้ีแหละ คือการที่เราพัฒนาดานเดียว เราไดแตพัฒนาความสามารถท่ีจะหาสิ่งบํารุงความสุข แตเราไมไดพัฒนาความสามารถที่จะมีความสขุ บางทคี วามสามารถน้กี ลบั คอยๆ หมดไปดวยซา้ํ คนจํานวนมากอยูไปๆ ในโลก ก็คอยๆ หมดความสามารถที่จะมี

๕๒ ชวี ิตท่สี รางสรรค สดใสและสุขสนั ตความสุข ในเม่ือเขาหมดความสามารถที่จะมีความสุข ส่ิงบํารุงความสุขกไ็ มม ีความหมาย อันนี้คือชีวิตที่ขาดดุลยภาพ เพราะเรามัววุนอยูกับประโยชนสุขระดับที่หน่ึงอยางเดียว ขาดการพัฒนาเพ่ือประโยชนสุขระดับที่สองและระดบั ท่สี าม ในทางธรรม ทานไมไดมองขามการพัฒนาในระดับที่หน่ึง อันนั้นทานเรียกวาการพัฒนาในระดับศีล คือการพัฒนาความสามารถท่ีจะหาตลอดจนจัดสรรและจัดการกับส่ิงบํารุงความสุข แตระดับตอไปซึ่งอยาไดมองขาม ก็คอื การพฒั นาความสามารถทจ่ี ะมคี วามสขุ ถาเราพัฒนาความสามารถท่ีจะมีความสุข หรืออยางนอยเราไมสูญเสียมันไป เราก็จะเปนคนท่ีมีความสุขไดไมยาก หรือกลับจะเปนคนที่สุขงายข้ึนๆ ดวย คนที่มีความสามารถอยางน้ีจะอยูอยางไรก็สุขสบายสุขสบายตลอดเวลาเลย และยิ่งอยูไปก็ย่ิงสุขงายขึ้น ยิ่งมีของมาก็ยิ่งสุขกันใหญ ฉะน้ันจึงควรทบทวนดูวา ถาหากเรามีอะไรตอ อะไรมากมายแลวก็ยังไมมีความสุข ก็คงจะเปนเพราะสาเหตุอันน้ีดวย คือเราชักจะหมดความสามารถท่จี ะมคี วามสุข การปฏิบัติธรรมน้ัน ในความหมายหน่ึงก็คือการพัฒนาความสามารถท่ีจะมคี วามสขุ เปน การทาํ ใหคนเปน สุขไดงายขึ้น ฉะนนั้ โยมทปี่ ฏิบตั ธิ รรมตอ งนึกถงึ ความหมายที่วาน้ี ถาเราปฏิบัติธรรม เราตองมีความสามารถที่จะมีความสุขไดมากข้ึน และงายข้ึนจะตอ งเปน คนทสี่ ขุ งายขึ้น แลวสองดานน้ีเราไมท้ิงเลยสักอยาง เราจะเปนคนท่ีสมบูรณ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕เพราะวา ในดา นความสามารถทีจ่ ะมีความสขุ เราก็เปนคนที่มีความสุขไดงายขึ้น และในดานการหาวัตถุบํารุงความสุข เราก็มีความสามารถท่ีจะหาไดเพ่มิ ขน้ึ เมอ่ื เปนอยา งนีเ้ ราก็มคี วามสขุ กําลงั สองถาไมม ีความสุขแบบประสาน ก็ไมม ีการพฒั นาแบบย่งั ยืน ทีนี้เรื่องมันไมจบแคน้ี พอเรามีความสามารถท่ีจะมีความสุขไดมากขึน้ ความสุขของเรานน้ั กลบั ขึน้ ตอ วัตถุนอยลง เราก็ไมตองอาศัยวัตถุมากมายท่ีจะมีความสุข เรามีแคพอเหมาะพอควรเราก็มีความสุขเต็มอม่ิ แลว เราก็ไมกังวลในเร่ืองวตั ถมุ าก แตในเวลาเดียวกนั นี้ ความสามารถท่ีจะหาวัตถุบํารุงความสุขของเราก็ยังมีอยูเต็มที่ เราก็หาวัตถุไดเยอะแยะมากมาย แตความสุขของเราไมข ึน้ ตอ สิง่ เหลา น้ัน แลวจะทําอยา งไรละ วัตถุก็เขามาๆ ความสุขของเราก็ไมไดขึ้นตอมัน เราสุขอยูแลวนี่จะทําอยางไรละทีน้ี ปรากฏวา พอดุลยภาพที่วามาน้ีเกิดข้ึน จิตใจของเราก็เปดออก เราก็มีโอกาสคิดถึงความสุขความทุกขของคนอื่น แลววัตถุท่ีเขามามากก็กลายเปนเคร่ืองมือสรางสรรคประโยชนสุขแกเพ่ือนมนษุ ยหรอื แกสังคมไปเลย ตอนน้ีความสุขของเราไมข้ึนตอวัตถุเหลานั้นมากนักแลว สิ่งเหลานั้นมีมามากก็เปนสวนเหลือสวนเกิน และเมื่อใจของเราไมมัวพะวงวุนวายกับการหาส่ิงเสพ ใจน้ันก็เปดออกไปคิดถึงคนอื่น เราก็เลยใชวัตถุเหลาน้ัน ท่ีแสวงหามานี่ ในการชวยเหลือเพ่ือนมนุษย สรางสรรคความดี ทาํ ประโยชนสุขขยายออกไป

๕๔ ชีวติ ท่ีสรางสรรค สดใสและสุขสนั ต เมือ่ ทาํ อยา งน้ี เรากย็ ่ิงเขา ถึงประโยชนสขุ ในระดับทสี่ อง พอเราทําอยางนี้แลว เราระลึกถึงชีวิตของเราวาไดทําส่ิงที่เปนประโยชนม คี ณุ คา เราก็ย่งิ มีความสขุ ลึกซงึ้ ขนึ้ ในใจของเราอีก ประโยชนสุขขั้นที่สองมาแลว ก็สนับสนุนประสิทธิภาพของประโยชนสุขระดับท่ีหนงึ่ ประโยชนสุขทง้ั สองระดบั ก็เลยสนบั สนนุ ซง่ึ กันและกัน ความสุขของบุคคลก็มาเน่ืองกับความสุขของสังคม ตัวเราสุขงายและไดสุขแลว เราชวยเหลือสังคม เพื่อนรวมสังคมก็ยิ่งมีความสุขและเราเองก็ย่ิงสขุ ขน้ึ ดว ย ความสุขแบบนจี้ ึงเนอื่ งกนั และประสานเสรมิ กัน เวลาเราหาประโยชนสุขระดับที่หน่ึง เราบอกวาเราจะตองไดมากท่ีสุด เราจึงจะมีความสุขท่ีสุด เราก็เลยตองยิ่งแสวงหาใหไดมากท่ีสุดคนอ่ืนเขากม็ องอยา งเดยี วกนั เขากม็ องวา ยิ่งไดมากเขาก็จะยิ่งสขุ มาก เมื่อตางคนตางหา ตางคนตางเอา ตางคนตางได มันก็ตองแยงกันเบียดเบียนกัน มันก็เกิดความทุกขความเดือดรอน เรียกวาเปนความสุขที่ตองแยงชิงกัน เมื่อตองแยงชิงก็เปนการบอกอยูในตัวแลว วา จะตอ งเจอกบั ทุกขดว ย และไมแนว า จะไดสุขหรอื ไม ทีน้ีพอเรามาถึงระดับที่สอง มันเปล่ียนไปกลายเปนวา ความสุขน้ันมันเนื่องกัน สุขของตนกับสุขของคนอ่ืน หรือสุขของบุคคลกับสุขของสังคม มันมาประสานเสริมสนับสนุนซ่ึงกันและกัน ทําใหทุกคนสุขไปดวยกัน มันก็เลยไมตองเบียดเบียนหรือแยงชิงกัน เปนความสุขที่เน่อื งกนั หรอื ความสุขท่ปี ระสานกัน เวลานี้พูดกันมากวาจะตองมีการพัฒนาแบบยั่งยืน โลกจึงจะอยูรอดได แตถ าพฒั นากนั ไปแลว ผคู นมแี ตการหาความสุขแบบแยงชิงกันการพัฒนาแบบยง่ั ยนื กจ็ ะเปน เพยี งความฝน ทไ่ี มมีทางเปน จรงิ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๕๕ เราก็มองเห็นกันไดไมยากวา ถามีแตการพัฒนาดานวัตถุ จะพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและพัฒนาเศรษฐกิจไปเทาไรก็ตามถาไมมีการพัฒนาคนในดานความสามารถท่ีจะมีความสุขนี้ ก็จะตองมีแตการหาความสุขแบบแขงขันชวงชิง การพัฒนาแบบยั่งยืนก็ไมมีทางสําเร็จ ถาจะใหการพัฒนาแบบยั่งยืนสําเร็จผล ก็ตองพัฒนาคนใหม ีความสขุ แบบประสานการพฒั นาแบบยัง่ ยืนมาดว ยกันกบั ความสขุ แบบยง่ั ยนื เม่ือมนุษยพัฒนาอยางมีดุลยภาพ พอจิตใจพัฒนาดีข้ึนมาความสุขท่ีจะตองไดตอ งเอาวัตถมุ า กค็ อ ยๆ อาศัยวตั ถุนอ ยลง ตอนแรกเราจะสุขเม่ือไดเมื่อเอา แตพอเราพัฒนาคุณธรรมข้ึนมามันก็เปลี่ยนแปลงไป ความสุขจะขึ้นตอส่ิงเหลาน้ันนอยลง กลับมาขึ้นตอการมีคณุ ความดี เชนการมคี วามรกั แทเกดิ ขึ้นในใจ ความรักแท คืออะไร คือความอยากใหคนอ่ืนมีความสุข และอยากทําใหเขามีความสุข ตรงขามกับความรักเทียมท่ีอยากไดอยากเอาคนอื่นมาทาํ ใหต วั มีความสขุ ความรักแทนั้นจะเห็นไดจากตัวอยางงายๆ คือ พอแม พอแมรักลูกก็คืออยากใหลูกมีความสุข ความสุขของคนทั่วไปนั้นบอกวาตองไดตองเอาจึงจะมีความสุข แตพอแมไมจําเปนตองไดความสุขจากการไดหรอื การเอา พอ แมใหแ กล ูกกม็ ีความสุข เวลาใหแกลูก พอแมเสียใจหรือทุกขไหม ไมทุกขเลย ใหไป ถาพูดในแงของวัตถุ ก็คือตัวเองเสีย พอแมสูญเสียวัตถุน้ันไป เพราะ

๕๖ ชีวิตที่สรา งสรรค สดใสและสขุ สันตใหแกล ูก แตพอพอแมใหแกล ูกแลว แทนท่จี ะทกุ ข พอ แมก ลับเปนสุข พอแมสูญเสียแตกลับสุขเพราะอะไร พอแมสละใหแตกลับไดความสุขเพราะอะไร ก็เพราะอยากใหลูกเปนสุข พอแมรักลูกอยากเห็นลูกเปนสุข ความอยากใหค นอน่ื เปน สขุ น้ัน ทา นเรียกวา เมตตา เม่ือเรามีความอยากใหผูอื่นเปนสุข พอเราทําใหคนอื่นเปนสุขไดก็สมใจเรา เรากเ็ ปน สขุ เพราะฉะน้ัน คนใดมีเมตตา เกิดความรักแทข้ึนมา เขาก็มีสิทธิ์ที่จะไดความสขุ ประเภทท่สี อง คอื ความสขุ จากการให สวนคนที่ขาดเมตตาการุณย ไมมีคุณธรรม อยูกับเขาในโลกตั้งแตเกิดมาก็ไมไดพัฒนา ก็จะมีความสุขประเภทเดียว คือ ความสุขจากการไดและการเอา ความสุขแบบแยงกับเขา ตองได ตองเอาจึงจะเปนสขุ พอเรามีคุณธรรมเกิดข้ึนในใจ คือมีเมตตาขึ้นมา เราก็อยากใหคนอื่นมีความสุข เชนอยากใหลูกมีความสุข พอเราใหแกลูก เราก็มีความสุข ทีน้ีขยายออกไป เรารักคนอ่ืน รักสามี รักภรรยา รักพ่ี รักนอ ง รกั เพอ่ื นฝงู ย่ิงเรารักจริงขยายกวางออกไปเทาไร เราก็อยากใหคนทั่วไปมีความสุขเพ่ิมขึ้นเทานั้น พอเราใหเขาเราก็มีความสุข เพราะเราทําใหเขามีความสุขได เราก็มีความสุขดวย ความสุขของเรากับความสขุ ของเขาเน่ืองกัน ประสานเปนอันเดียวกัน ฉะน้ัน คนท่ีพัฒนาตนดี มีคุณธรรม เชน มีเมตตาเกิดในใจ จึงเปนคนที่ไดเปรียบมาก จะมีความสุขเพิ่มข้ึนและขยายออกไป และไดความสุขท่ีสะทอนเสริม คือกลายเปนวา ความสุขของเราก็เปนความสุขของเขา ความสขุ ของเขาก็เปนความสขุ ของเรา เปนอันเดยี วกนั ไปหมด

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) คนท่ีพัฒนามาถึงระดับนี้ ก็มีความสุขเพิ่มขึ้น และ๕ข๗ยายมิติแหงความสุขออกไป คือ นอกจากความสุขจากการไดการเอาแลว ก็มีความสุขจากการใหเพ่ิมข้ึนมาดวย และเขาก็จะมีชีวิตและความสุขชนิดท่ีเปนอิสระมากข้ึน เพราะความสุขของเขาขึ้นตอวัตถุภายนอกนอ ยลง นอกจากนั้น ความสขุ ของเขาก็เร่มิ เปนเนื้อหาสาระมากขึ้น ไมเปนเพยี งความสขุ ผานๆ ที่ไดจากการเสพวัตถุใหตื่นเตนไปคราวหน่ึงๆ แลวคอยวิ่งตามหาความสุขช้ินตอไปๆ แตเขาจะมีความสุขชนิดท่ียืนพ้ืนประจําอยูในใจของตัวเอง ที่ไมตองรอผลการว่ิงไลตามหาจากภายนอกเรียกไดวา เปน ความสุขแบบยั่งยนื ถาคนพัฒนาจนมีความสุขแบบย่ังยืนไดอยางน้ี ก็จะเปนหลักประกันใหการพัฒนาแบบย่ังยืนสําเร็จผลไดจริงดวย เพราะถาวิเคราะหกันใหถึงท่ีสุดแลว การพัฒนาที่ผิดพลาด ซ่ึงกลายเปนการพัฒนาแบบไมยั่งยืนน้ัน ก็เกิดจากความเชื่อความเขาใจเก่ียวกับเร่ืองความสุขและวิธีการหาความสุขของมนุษย ท่ีไมไดพัฒนาขึ้นมาเลยน่ันเอง ถามนุษยจมอยูกับแนวคิดและวิธีการหาความสุขแบบท่ีไมพัฒนาน้ัน ก็ไมมีทางที่จะทําใหเกิดการพัฒนาแบบยั่งยืนได เพราะฉะน้ัน การพัฒนาท่ียง่ั ยนื จะตอ งมากับความสุขทยี่ ่ังยืน เปนอันวา การพัฒนาในระดับของประโยชนสุขท่ีแทนี้ จะทําใหโลกนี้มีความสุขรมเย็น พรอมกับที่ตัวบุคคลเองก็สุขสบายพอใจ ทุกอยา งดไี ปหมดเลย เพราะอะไรตอ อะไรก็มาเกือ้ กลู ซ่ึงกนั และกัน ฉะน้ัน เมื่อเดินทางถูกแลว ชีวิตก็สมบูรณ และความสุขก็ย่ิง

๕๘ ชีวิตที่สรางสรรค สดใสและสุขสนั ตมากข้นึ จนเปน ความสขุ ทีส่ มบูรณไปดว ย ขอแทรกขอสังเกตวา เวลาเรารักใคร ก็จะมีความรัก ๒ แบบไมแบบใดก็แบบหนึ่ง หรืออาจจะท้ังสองแบบปนกันอยู ไดแก ความรักแบบที่หน่ึง เม่ือรักใคร ก็คืออยากไดเขามาบําเรอความสุขของเราและความรกั แบบทีส่ อง เม่ือรกั ใคร กค็ อื อยากใหเขามคี วามสุข พอเราอยากใหเขาเปนสุข เราก็จะพยายามทําใหเขาเปนสุข ไมวาจะทําอยางไรก็ตามท่ีจะทําใหเขาเปนสุขได เราก็พยายามทําเพราะฉะน้ัน เรากใ็ ห เรากช็ ว ยเหลือเกื้อกูลเอาใจใสอะไรตางๆ ทําใหเขาเปน สขุ พอเขาเปนสขุ เรากเ็ ปน สุขดว ย ฉะน้ัน ความรักประเภทที่ ๒ น้ีจึงเปนคุณธรรม ทานเรียกวาเมตตา เชน พอแมรักลูก ก็อยากใหลูกเปนสุข แลวก็พยายามทําใหลูกเปนสุข ดว ยการใหเปนตน เราก็ขยายความรักประเภท ๒ คือเมตตานี้ออกไปใหกวางขวางเปนการพัฒนาที่ทําใหมีชีวิตและสังคมท่ีดีงาม เพราะตัวเราเองก็ขยายขอบเขตของความสุขไดมากขน้ึ พรอมกบั ที่โลกกม็ คี วามสขุ มากขึน้ ดวย ตกลงวา นี่แหละคือหลักธรรมตางๆ ท่ีพระพุทธเจาสอนไว ซึ่งถาเราปฏิบัติตามได ก็เปนคุณประโยชนแกชีวิตของเรา และชวยใหโลกน้ีรม เยน็ เปน สขุ ไปดวยชีวิตสมบรู ณ ความสขุ กส็ มบรู ณ สังคมกส็ ขุ สมบรู ณเพราะจติ เปนอิสระดวยปญ ญา ที่ถงึ การพัฒนาอยา งสมบูรณ การปฏิบัติธรรมนี้ทําใหทุกอยางประสานกลมกลืนกันไปหมดเชน ประโยชนสุขของเราก็เปนไปเพ่ือประโยชนสุขของผูอื่นดวย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕ประโยชนสขุ ของผูอน่ื กเ็ ปนประโยชนสขุ ของเราดว ย ไมข ัดแยง กนั แตถาเราไมปฏิบัติตามธรรม ทุกอยางจะขัดแยงกันหมด แมแตความสุข กเ็ ปนความสขุ ทแ่ี ยงชิงกนั ซ่ึงจะตองเปนทุกขม ากกวาสขุ เม่ือปฏิบัติไปตามหลักการนี้จนถึงที่สุดแลว เราก็เปนอิสระอยางที่วามาแลว จนถึงข้ันที่วา กฎธรรมชาติที่วาสิ่งท้ังปวงเปนอนิจจัง ทุกขังอนัตตา มันก็เปนของมันตามธรรมชาติ กฎธรรมชาติก็เปนกฎของธรรมชาติ มันเปนอยางไรก็เปนของมันไปซิ เราก็อยูดีไดอยางเปนอิสระของเรา ไมถูกมนั เขามาบบี ค้นั ถาทําไดถึงขั้นน้ัน ก็เปนความสุขที่ไมขึ้นตอวัตถุและไมขึ้นแมตอนามธรรมความดี เปนความสุขท่ีไมตองหา ไมตองไปขึ้นตอส่ิงอื่น คือมีความสุขเต็มเปยมอยใู นใจตลอดเวลา เมื่อมีความสุขเต็มอยูในใจตลอดเวลาแลว มันก็เปนอิสระ เปนปจจุบันทุกขณะ ก็จึงเรยี กวาเปนชีวิตทีส่ มบรู ณ เมื่อเรามีชีวิตท่ีสมบรู ณเปนอิสระอยางนแ้ี ลว เราจะมีประโยชนสุขขั้นท่ีหน่ึง และประโยชนสุขข้ันท่ีสอง มันก็เปนสวนประกอบเขามา ท่ีไมทําใหเกดิ ปญ หา และย่ิงเพิ่มพนู ขยายประโยชนสุขใหทวียง่ิ ข้ึนไปอีก ฉะนั้น ในฐานะพุทธศาสนิกชน เราควรจะพัฒนาชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาใหเขาถึงประโยชนส ุขทกุ ขั้น ขอทบทวนอีกทหี น่งึ ประโยชนสุขระดับที่ ๑ ดานรูปธรรม ท่ีตามองเห็นหรือเห็นไดกับตา คือการมีสุขภาพดี การมีทรัพยสินเงินทอง การมีอาชีพการงานเปนหลักฐาน การมียศ ฐานะ ตําแหนง การเปนท่ียอมรับในสังคม การมมี ติ รสหายบรวิ าร และการมชี ีวติ ครอบครัวทีด่ ี

๖๐ ชวี ิตทส่ี รา งสรรค สดใสและสขุ สนั ต ประโยชนสุขระดับที่ ๒ ดานนามธรรม ที่ลึกล้ําเลยจากตามองเห็น คือเร่ืองของคุณธรรมความดีงาม การมีความสุขที่เกิดจากความมั่นใจในคุณคาของชีวิต การไดบําเพ็ญประโยชนชวยเหลือเก้ือกูลแกเพ่ือนมนุษย ความมีศรัทธาในส่ิงท่ีดีงาม ที่เปนหลักของจิตใจ และการมีปญญาทีท่ าํ ใหรูจ กั ปฏิบัติตอสิ่งท้ังหลายไดถูกตองและแกไขปญหาที่เกดิ ขึ้นได ทําใหช วี ิตเปน อยูดว ยดี ประโยชนสุขระดับท่ี ๓ ดานนามธรรมข้ันโลกุตตระ ท่ีอยูเหนือกระแสความไหลเวียนของโลกธรรม คือความเปนผูมีจิตใจเปนอิสระดวยความรูเทาทันตอสิ่งท้ังหลาย รูโลกและชีวิตตามความเปนจริงจนกระท่ังวาโลกธรรมเกิดข้ึนมากระทบกระทั่งก็ไมหวั่นไหว วางใจและปฏบิ ตั ิไดถูกตองตามเหตุปจ จยั ปลอยใหกฎธรรมชาติทั้งหลายก็เปนกฎธรรมชาติอยูตามธรรมชาติ ความทุกขท่ีมีอยูในธรรมชาติ ก็คงเปนทุกขของธรรมชาติไป ไมเขามากระทบกระทั่งบีบคั้นจิตใจของเราได เปนผูมีสุขอยกู ับตนเองตลอดทุกเวลา ก็จบ ไดเ ทา น้ี ชวี ิตก็สมบูรณแลว อาตมามาในวันนี้ ก็เลยนําธรรมของพระพุทธเจาเร่ืองชีวิตที่สมบูรณน้ีมาเลาใหญาติโยมฟง อยางนอยในวันนี้ญาติโยมก็ทําประโยชนสุขไดมากแลว ๑. ในดานปจจัยส่ี ทรัพยสินเงินทอง และฐานะทางสังคมตลอดจนมิตรสหายบริวาร ทานท้ังหลายที่มานี่ อาตมาเช่ือวาก็ทํากันมาไดมากพอสมควร คือมีประโยชนสุขในดานวัตถุ ท่ีเปนรูปธรรมซึ่งตามองเหน็ กนั เยอะแยะ นบั วาเปนฐานทดี่ แี ลว ๒. ในขณะน้ีทานท้ังหลายก็มีใจเปนบุญเปนกุศล พากันเดินทาง

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๖๑มาดวยความมีศรัทธาในพระศาสนา มีนํ้าใจเก้ือกูลตอพระสงฆ มีไมตรีธรรมตอกันในหมูญาติมิตร แลวก็มาพบกันดวยความสุขช่ืนใจในไมตรีตอกัน โดยที่แตละทานก็เปนผูมีการศึกษา มีหนาที่การงาน และมีการสมาคมที่ทําใหมคี วามคิดคํานึงเกย่ี วกับการสรา งสรรคส งั คมสวนรวม นี่ก็เปนเร่ืองของนามธรรมความดี ที่จะทําใหเราพัฒนากันย่ิงขึ้นไป และจะทําใหเราใชประโยชนสุขระดับที่ ๑ เชน ทรัพยสินเงินทอง ยศ ตําแหนง อํานาจ ในการท่ีจะทําประโยชนสุขขั้นที่สองใหเกิดเพมิ่ ข้ึน ประโยชนสขุ ก็ขยายออกไป ๓. เม่ือเรามชี ีวติ และอยใู นโลก กต็ อ งรูจ กั ชวี ิตและรจู กั โลกน้ันใหชัดเจนตามเปนจริง อยางท่ีวารูเทาทันโลกและชีวิตน้ัน เราจะไดปฏิบัติตอ มนั ไดถกู ตอ งจรงิ ๆ ท้ังทางจิตใจและในการดําเนินชีวติ เม่ือไดสรางสรรควัตถุและทําความดีกันมาแลว ก็ควรเขาถึงความจริงกันใหจริงๆ ดวย จึงจะไดประโยชนจากพระพุทธศาสนาโดยสมบูรณแลว กจ็ ะทําใหชวี ติ ของเราเปนชีวติ ท่ีสมบูรณ โดยมจี ติ ใจทีเ่ ปนอิสระเหนือโลกธรรมทง้ั ปวง ดว ยปญ ญาทีส่ มบูรณ และมีความสขุ ท่สี มบูรณ

เพมิ่ พลังแหงชวี ติ ∗ คณะโยมญาติมิตรมีศรัทธามาทําบุญในวันน้ี โดยปรารภโอกาสมงคลครบรอบวันเกิด ท้ังส่ีทานมารวมทําบุญดวยกัน โดยตรงกับวันเกิดบาง เน่ืองในวันเกิดบาง นับวาเปนความพรอมเพรียงกัน ซึ่งทางพระเรยี กวา “สามคั ค”ีเร่ิมตนดี ดวยสามัคคใี นบญุ กุศล ความพรอมเพรียงกนั ในวันน้ี มหี ลายแง ๑. พรอมเพรียงในแงท่ีมีวันเกิดใกลๆกัน เรียกวา รวมกันในแง วนั เกิด ๒.พรอมเพรียงในแงของจิตใจ คือ ทุกทานมีจิตใจที่จะทําบุญทํา กุศล โดยมีบุญกศุ ลเปนศูนยกลาง เปนท่ีรวมใจ ๓. พรอมเพรียงในแงวา ทุกทานเปนญาติโยมท่ีไดอุปถัมภบํารุง วัดนี้มา แมกระทั่งบวชท่ีนี่ แตพดู งายๆ กเ็ ปนโยมวดั น่นั เอง รวมแลว ก็มีความหมายวา ทุกทานไดรวมกัน ในความสามัคคีพรอมเพรยี งทุกดานทว่ี า มาน้นั ความพรอมเพรียงสามัคคีน้ีเปนธรรมสําคัญ ท้ังทําใหเกิดกําลังและทําใหมีบรรยากาศแหงความสุข เม่ือคนเรามีใจพรอมเพรียงกันดี ก็∗ สัมโมทนยี กถาของพระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ในการถวายสงั ฆทานเนอื่ งในมงคลวารคลา ย วันเกดิ ของ พลโท นพ.ดาํ รง ธนชานันท คุณนงเยาว ธนชานันท ดร.สุรยี  ภมู ิภมร และในโอกาสแหง ป ครบ ๕ รอบอายุของ ดร.อรพนิ ภมู ิภมร ทีว่ ดั ญาณเวศกวนั ๑๙ ธ.ค. ๒๕๔๖

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๓คือมีมิตรไมตรี มเี มตตา จติ ใจกม็ คี วามสุข และบรรยากาศก็ดไี ปตาม นอกจากตัวเจาของวันเกิดเองแลว ยังมีญาติมิตรหลายทานมารว มทําบญุ ดว ย ก็ถอื วา มีความสามคั คีพรอ มเพรียงกนั ทัง้ ส้ิน นอกจากพรอมเพรียงกันทางใจแลว ยังมาพรอมเพรียงกันทางกายดวย ใจน้ันพรอมเพรียงกันดวยบุญกุศล สวนกายก็พรอมเพรียงดวยการมารว มพธิ ี มาประชุมน่ังอยูดวยกนั เมื่อบรรยากาศและกิจกรรมเปนบุญเปนกุศล เปนการเร่ิมตนท่ีดีอยางนี้ ก็เปนเคร่ืองสงเสริมชีวิต โดยเปนเครื่องปรุงแตงท่ีดี หรือเปนปจจยั อนั ดที จี่ ะสง เสรมิ ใหช วี ิตเจรญิ งอกงามยง่ิ ขนึ้ ไป อายุ ๖๐ ปน้ีถือวาเปนปท่ีสําคัญ และนิยมกันวาเปนกาละพิเศษคือพิเศษทงั้ ในแงข องการครบรอบใหญถ ึงหารอบ และในแงของผทู ํางานราชการก็เปน วาระเกษียณอายรุ าชการ วันเกิดครบหารอบเปนเร่ืองเกี่ยวกับอายุท่ีสําคัญ และวาท่ีจริงทุกทานที่เปนเจาของวันเกิดมาทําบุญวันนี้ ก็มีอายุใกลๆ กัน คือมีอายุอยูใ นชวงหกสิบปถา รูเขา ใจ จะอยากใหอ ายุมาก อายุในชวงหกสิบป เปนกาลเวลาสําคัญท่ีชีวิตกาวเดินหนามา เราพดู กันวา ชักจะมอี ายุมากแลว ท่ีจริงนั้น คําวา “อายุมาก” ในภาษาพระน้ีดี แตในภาษาไทยเราอยากจะใหอายุนอย ในภาษาพระกลับกัน ถาอายุนอยไมดี อายุมากจึงจะดี ทําไมจงึ วาอยางน้ัน ขอใหด ูในคาํ ใหพรวา อายุ วัณโณ สุขัง พลัง ซึ่งเร่ิมที่อายุ บอก

๖๔ ชีวติ ท่สี รางสรรค สดใสและสขุ สนั ตวาใหมีทุกอยางมากๆ มีสุขมากๆ มีกําลังมากๆ มีวรรณะก็มาก แลวก็ตอ งมอี ายมุ ากดว ย ที่วาใหพร อายุ วัณโณ สุขัง พลัง ก็คือบอกวาใหมีอายุมากๆ มีวรรณะมากๆ คือสวยงามมาก มีสุขมาก และมีพละกําลังมาก แลวทาํ ไมเราไมช อบละ อายุมากๆ เรานา จะชอบ ทําไมวาอายมุ ากดี ก็ตอ งมาดูคาํ แปลกอนวา อายุแปลวาอะไร อายุในภาษาพระนัน้ มคี วามหมายทด่ี ีมาก ญาติโยมตองเขาใจ “อายุ” นี้ ถาแปลเปนภาษาไทยงายๆ ก็แปลวา พลังหลอเลี้ยงชีวิต หรือปจจัยสงเสริมที่จะหลอเล้ียงใหชีวิตมีความเขมแข็ง และดํารงอยูไดดีอยางมั่นคง เพราะฉะนั้นอายุยิ่งมากก็ยิ่งดี ไมไดหมายความวาเปนชวงเวลาของการเปนอยูวาอยูมานาน แตหมายถึงขณะน้ีแหละ ถาเรามีอายุมากก็คือ มีพลังชีวิตมาก แสดงวาเราตองแข็งแรง เราจึงมีอายุมาก เพราะฉะน้ัน ทุกคนในแตละขณะนี้แหละ สามารถจะมีอายุนอยหรืออายุมากไดทกุ คน คนที่เรียกในภาษาไทยวาอายุมาก ก็อาจจะมีอายุของชีวิตนอยคอื มีพลงั ชวี ติ นอ ยนั่นเอง แตเด็กที่เราเรียกวาอายุนอยก็อาจจะมีอายุมาก หมายความวาแกมพี ลังชวี ติ เขมแขง็ หรอื มปี จ จัยเคร่ืองหลอเลย้ี งชวี ิตอยางดี เพราะฉะน้ัน ในภาษาพระ ความหมายของการมีอายุนอย และอายมุ าก จงึ ไมเ หมือนในภาษาไทย เปนอันวา ในท่ีนี้เราพูดตามภาษาพระวาอายุมากดี แสดงวาชีวิตเขมแข็ง เม่ืออายุมีความหมายอยางน้ีแลว เราก็ตองพยายามสงเสริม

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๖๕อายุ เพราะฉะน้ันทานจึงสอนวิธีปฏิบัติ คือธรรมะ ที่จะทําใหเรามีอายุมาก หรือมีพลังชวี ติ เขม แข็ง ถาพูดเปนภาษาไทยวาอายุมาก ก็อาจจะรูสึกขัดหู ก็เปลี่ยนเสียใหมว า มีพลงั อายุหรือพลังชีวิตเขมแขง็หาคําตอบใหไ ด วาพลังชวี ิตอยูที่ไหน การที่จะมีพลังอายุเขมแข็ง ทําไดอยางไร ก็ตองมีวิธีปฏิบัติและวิธีทําก็มีหลายอยาง หลักอยางหน่ึงทางพระบอกไววาจะทําใหมีอายุยืน การทจ่ี ะมอี ายยุ ืนกเ็ พราะมีพลงั ชีวิตเขม แขง็ เริ่มดว ย ๑. มีความใฝปรารถนา หมายถึงความใฝปรารถนาที่จะทําอะไรที่ดีงาม คนเรานั้น ชีวิตจะมีพลังท่ีเขมแข็งได ตองมีความใฝปรารถนาท่ีจะทาํ อะไรบางอยาง ถาเรามีความใฝปรารถนาท่ีจะทําอะไรท่ีดีงาม หรือคิดวาสิ่งน้ีดีงามเราจะตองทํา ฉันจะตองอยูทําส่ิงน้ีใหได ความใฝปรารถนานี้จะทําใหชวี ติ เขมแขง็ ข้ึนมาทนั ที พลังชีวติ จะเกดิ ขึน้ เพราะฉะน้ัน ในสมัยโบราณ เขาจึงมีวิธีการคลายๆ เปนอุบายใหคนแกหรือทานผูเฒาชรามีอะไรสักอยางที่มุงหมายไวในใจวา ฉันอยากจะทาํ นั่นทํานี่ และมักจะไปเอาท่ีบุญกุศล อยางเชนในสมัยกอนยังไมมีพระพุทธรูปมากเหมือนในสมัยนี้ ทานมักจะบอกวาตองสรางพระแลวใจก็ไปคดิ อยกู ับความปรารถนาที่จะสรางพระน้ัน หรอื วา ญาติโยมคิดจะทําอะไรท่ีดีๆ งามๆ แ ม แ ต เ กี่ ย ว กั บลกู หลานวา จะทําใหเ ขามีความเจริญกาวหนา จะทาํ อยา งน้นั อยา งนใ้ี หได ใจท่ีใฝปรารถนาจะทําสิ่งท่ีดีงามนั้น จะทําใหชีวิตมีพลังขึ้นมาทันที

๖๖ ชวี ิตทส่ี รา งสรรค สดใสและสขุ สนั ตนี้เปนตัวที่หน่ึง เรียกวา “ฉันทะ” คือความใฝปรารถนาที่จะทําอะไรสักอยางที่ดีงาม ซึ่งควรจะใหเขมแข็งหนักแนน จนกระทั่งวา ถานึกวาส่ิงน้ันดีงามควรจะทําแทๆ อาจจะบอกกับใจของตัวเองวา ถางานนี้ยังไมเสรจ็ ฉันตายไมไ ด ตอ งใหแรงอยางน้ัน ถา มีใจใฝปรารถนาจะทําอะไรที่ดีงามแรงกลา แลวมันจะเปนพลังท่ใี หญเ ปนทหี่ น่งึ เปนตัวปรุงแตงชวี ิต เรียกวาอายุสงั ขาร เหมือนอยางพระพุทธเจา แมจะทรงพระชรา เม่ือยังทรงมีอะไรท่ีจะกระทํา เชนวาทรงมีพระประสงคจะบําเพ็ญพุทธกิจ ก็จะดํารงพระชนมอยูตอไป ตอนท่ีปลงอายุสังขาร ก็คือทรงวางแลว ไมปรุงแตงอายุตอ แลว “อายุสังขาร” แปลวา เคร่ืองปรุงแตงอายุ คือ หาเคร่ืองชวยมาทําใหอายุมีพลังเขมแข็งตอไป วาฉันจะตองทําโนนตองทํานี่อยู ถาอยางน้ลี ะก็อยูไดตอ ไป ขอที่ ๑ น้ีสําคัญแคไหน ขอใหดูเถิด พระพุทธเจาพอตกลงวาพระพุทธศาสนาม่ันคงพอแลว พุทธบริษัท ๔ เขมแข็งพอแลว เขารับมอบภาระไดแลว พระองคก็ทรงปลงอายุสังขาร บอกวาพอแลวพระองคกเ็ ลยประกาศวา จะปรนิ พิ พานเมื่อน้นั เม่ือน้ี หลักขอน้ีใชไดกับทุกคน ขอท่ี ๑ คือ ตองมีใจใฝปรารถนาท่ีจะทําอะไรที่ดีงาม แลวตั้งม่ันไว แตมองใหชัดวา อันนี้ดีแน และคิดจะทําจริงๆพอจับแกนอายุได กพ็ ฒั นาตอไปใหค รบชดุ ๒. มคี วามเพียรมงุ หนา กาวไป พอมีใจใฝปรารถนาจะทําส่ิงท่ีดี

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๖๗งามนั้นแลว ก็มุงหนา ไป คอื มงุ ทจี่ ดุ เดียวนั้น เดินหนาตอไปในการเพียรพยายามทําสิ่งน้ันใหสําเร็จ ก็ยิ่งมีพลังแรงมากข้ึน ความเพียรพยายามมงุ หนา กาวไปนเี้ ปน พลังท่สี ําคญั ซง่ึ จะไปประสานสอดรบั กบั ขอท่ี ๓ ๓. มีใจแนวอยูกับสิ่งท่ีอยากทํานั้น เมื่อแนวแลวก็จดจอ จนอาจจะถงึ ข้ันที่เรียกวา อทุ ิศตัวอุทศิ ใจให คนแก หรอื คนทีม่ อี ายมุ ากนั้น ถาไมม อี ะไรทํา ๑)มักจะน่ังคิดถงึ ความหลังหรอื เรอ่ื งเกา ๒) รับกระทบอารมณตางๆ ลูกหลานทําโนนทํานี่ ถูกหูถูกตาบาง ขัดหขู ัดตาบา ง ก็มักเก็บมาเปนอารมณ ทีน้ีก็บนเร่ือยไป ใจคอก็อาจจะเศรา หมอง แตถามีอะไรจะทําชัดเจน ใจก็จะไปอยูท่ีนั่น คราวน้ีไมวาจะมีเร่ืองอะไรเขามา หรือมีอารมณมากระทบ ก็ไมรับ หรือเขามาเดี๋ยวเดียวก็ผานหมด ทีน้ีก็สบาย เพราะใจไปอยูกับบุญกุศล หรือความดีท่ีจะทําน้คี ือ ไดข อ ๓ แลว ใจจะแนว ตดั อารมณก ระทบออกไปหมดเลย คนทีม่ ีอายุสงู มักจะมีปญหาน้ี คือรบั อารมณกระทบ ที่เขามาทางตา ทางหู จากลูกหลานหรือคนใกลเคียงนั่นแหละ แตถาทําไดอยางท่ีวามาน้ี ก็สบาย ตัดทกุ ข ตดั กงั วล ตัดเรอ่ื งหงุดหงิดไปหมด ๔. มกี ารคิดพิจารณาใชป ญ ญา เม่อื มีอะไรที่จะตองทําแลวและใจก็อยูทนี่ ั่น คราวนี้ก็คิดวาจะทําอยางไร มันบกพรองตรงไหน จะแกไขอยา งไร ก็วางแผนคิดดว ยปญ ญา ตอนน้ีคิดเชิงปญญา ไมคิดเชิงอารมณแลว เรียกวาไมคิดแบบปรงุ แตง แตคิดดวยปญญา คิดหาเหตุหาผล คิดวางแผน คิดแกไข คิดปรับปรุง โดยใชปญญาพิจารณา สมองก็ไมฝอ เพราะความคิดเดินอยู

๖๘ ชีวติ ท่สี รางสรรค สดใสและสขุ สนั ตเรอ่ื ย ส่ีขอนี้แหละ พระพุทธเจาตรัสไวแลว บางทีเราก็ไมไดคิดวาธรรม ๔ ขอน้ีจะทําใหอายุยืน เพราะไมรูจักวามันเปนเคร่ืองปรุงแตงชวี ิตหรอื ปรุงแตง อายุ ท่เี รียกวาอายสุ งั ขาร พระพุทธเจาจึงตรัสไววา ถามีธรรม ๔ ประการนี้แลว อยูไปไดจนอายุขัยเลย หมายความวา อายุขัยของคนเราในชวงแตละยุคๆ น้ันส้ันยาวไมเทากัน ยุคน้ีถือวาอายุขัย ๑๐๐ ป เราก็อยูไปใหได ๑๐๐ ปถาวางใจจัดการชีวิตไดถ ูกตอ งแลวและวางไวใหด ี ก็อยไู ด ธรรม ๔ ประการน้ี พระพุทธเจาตรัสเรียกวา อิทธิบาท ๔ ทีนี้ก็บอกภาษาพระให คือ ๑)ฉันทะ ความใฝปรารถนาท่ีจะทํา คือความอยากจะทํานั่นเองเปน จดุ เรมิ่ วา ตอ งมีอะไรท่ีอยากจะทํา ทด่ี ีงามและชดั เจน ๒)วริ ยิ ะ ความมีใจเขม แขง็ แกรงกลา มุงหนา พยายามทาํ ไป ๓)จติ ตะ ความมีใจแนว จดจอ อทุ ศิ ตวั ตอสงิ่ นน้ั ๔)วิมังสา การไตรตรองพิจารณา ใชปญญาใครครวญในการท่ีจะปรบั ปรุงแกไขทาํ ใหดีย่งิ ขน้ึ ไป จนกวาจะสมบรู ณ สี่ขอน้ีเปนหลักความจริงตามธรรมดาของธรรมชาติ ถาญาติโยมท่ีสูงอายุนําไปใช ก็จะเปนประโยชนอยางมาก และรับรองผลไดมากวันน้ีจงึ ยกหลกั ธรรมนข้ี ึ้นมา แมแตลูกหลาน หรือทานท่ีอายุยังไมสูง ก็ใชประโยชนได และควรเอาไปชวยทานผูใ หญ คุณปู คุณยา คณุ ตา คณุ ยายดว ย แมเพียงแคขอที่ใหใจแนวอยูกับสิ่งใดส่ิงหน่ึงที่เปนบุญกุศล เชนระลึกนึกถึงสิ่งที่ทําไปแลว วาทานไดทําบุญทํากุศลทําความดีอะไรไว

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๖๙ลูกหลานก็คอยยกเอาเรื่องนี้ข้ึนมาพูด ทําใหใจของปูยาตายายอยูกับสิ่งน้ันท่ีดีงาม ไมใหใจทานไปอยูกับเร่ืองท่ีวุนวาย เดือดรอน ขุนมัวเศราหมอง สวนอะไรที่ทําใหใจขุนมัวเศราหมอง พอมันจะเกิดขึ้น เราก็ใชสติกนั ออกไปหมดเลย แลวกห็ ยุด สติเปนตัวจับ เหมือนเปนนายประตู พอมีอะไรท่ีไมถูกตอง ไมดีไมง าม เราจะใหตวั ไหนเขาตวั ไหนไมเ ขา เรากใ็ ชส ตินน้ั แหละจดั การ พอตัวไหนจะเขามา สติก็เจอกอนเพราะเปนนายประตู ตัวนี้ไมดีก็กันออกไปเลย ไมใหเขามาสูจิตใจ สวนอันไหนที่ดี ทําใหจิตใจดีงามเบิกบานผองใส ก็เอาเขามา สติก็เปดรับ อยางน้ีก็สบาย ชีวิตก็มีความสขุ ความเจริญงอกงามเมอ่ื อายคุ บื หนา เรากเ็ ติมพลังอายไุ ปดว ย วันเกิดเปนวันที่เราเริ่มตน วันเกิดคือวันเริ่มตนของชีวิต และในแตละปถือวาเปนการเริ่มตนในรอบอายุของปน้ันๆ ท่ีสําคัญก็คือ ใหนําคติและความหมายของการเกิดน้ีมาใชประโยชน วาการเกิดของชีวิต ที่เราเรยี กกันวาเกิดเม่อื วนั นนั้ ปน้ัน อยางนเ้ี ปน การเกดิ ครง้ั เดียวของชีวติ แตท่ีจริงน้ัน ถาวาทางธรรมแลว การเกิดมีอยูทุกเวลา และเราก็เกิดอยูตลอดเวลา ทั้งรางกายของเรา และจิตใจของเรา หรือท้ังรูปธรรมและนามธรรมหมดทั้งชีวิตนี้ เกิดอยูทกุ ขณะ ในทางรางกาย เราก็มีเซลลเกาและเซลลใหม มันเกิดตอกันแทนกนั อยตู ลอดเวลา ทางจิตใจนี่ ทุกขณะก็มีความเกิด ทั้งเกิดดีและเกิดไมดี เม่ือ

๗๐ ชวี ติ ท่สี รางสรรค สดใสและสขุ สันตโกรธข้ึนมา ที่เรียกวาเกิดความโกรธ ก็เปนการเกิดไมดี ถาเกิดความอิ่มใจขนึ้ มากเ็ ปน เกิดดี เรียกวาเกดิ กศุ ล เกดิ เมตตาขึ้นมา เกิดมีไมตรี เกิดศรัทธา เกิดเยอะแยะไปหมด ในใจของเรามีการเกิดตลอดเวลา เรียกงา ยๆวา เกิดกศุ ล และเกิดอกศุ ล ในเมื่อการเกิดโดยท่ัวไปมี ๒ แบบอยางน้ี เราจะเลือกเกิดแบบไหน เรากต็ อ งเลือกเกิดกุศล คอื ตอ งทาํ ใจใหม ีการเกดิ ทดี่ ตี ลอดเวลา เพราะฉะน้นั วนั เกิดจึงมีความหมายทีโ่ ยงมาใชปฏิบัติได คือทําใหม กี ารเกดิ ของกุศล ถาทําใจของเราใหเกิดกุศลไดทุกเวลาแลว ชีวิตก็เจริญงอกงามเพราะการท่ชี ีวิตของเราเจริญเติบโตมานี้ ไมใชวาเกิดคร้ังเดียวในวันเกิดที่เริ่มตนชีวิตเทานั้น แตมันตองมีการเกิดทุกขณะตอจากนั้น ชีวิตจึงเจริญงอกงาม เตบิ โตขน้ึ มาได กุศลคือความดีงามตางๆ เริ่มตนข้ึนในใจ เม่ือเกิดขึ้นมาแลว มันกเ็ ขาสคู วามคดิ และออกมาสกู ารพูดการทํา แลว ก็เจริญงอกงามตอ ไป การที่มันเจริญงอกงาม ก็คือเกิดบอยๆ เชนใหศรัทธาเกิดบอยๆ หรือเมตตาเกิดบอยๆ ตอมาศรัทธา หรือเมตตานั้นก็เจริญขยายงอกงามย่ิงข้ึน เพราะฉะน้ัน เมื่อทาํ ใหเกดิ บอ ยๆ กเ็ จรญิ งอกงาม พอเจริญงอกงามแลว ความเกิดของกุศลตัวนั้นก็จะมีการสงตอไปใหตัวอื่นรับชวงอีก เชนเม่ือเราเกิดศรัทธาข้ึนมา เราก็อาจจะนึกอยากจะทําบุญทํากุศลอยางน้ันอยางนี้ตอไปอีก เรียกวามันเปนปจจัยแกกัน ก็หนุนเนอ่ื งกนั ฉะน้ัน กุศลก็ตาม อกุศลก็ตาม จึงมีความสัมพันธซ่ึงกันและกันเปน ปจ จัยตอกัน พอตวั หนง่ึ มาแลว เราก็ทําใหมันเปนปจจัยตอไปยังอีก

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๗๑ตัวหน่ึง อีกตัวหน่ึงก็ตามมา แลวก็หนุนกันไปๆ คนท่ีฉลาดในกระบวนเหตุปจจัย จึงสามารถทําส่ิงท่ีดีงามใหขยายเพ่ิมพูนไดมากมาย ท้ังหมดนร้ี วมแลวก็อยูใ นคําวา เจริญงอกงาม เมื่อวันเกิดเปนนิมิตในคติวาเราจะตองทําใหเกิดกุศลในใจอยางนี้เราจึงควรพยายามทาํ ใหเกิดธรรมะเหลานี้ เร่ิมดวยเกิดฉันทะ คือความใฝป รารถนาจะทําสิ่งที่ดีงาม แลวก็เกิดวิริยะ คือมีความเพียรมุงหนาจะไปทําส่ิงน้ัน และจิตตะ คือความมีใจแนวจองจะทําส่ิงน้ัน พรอมทั้งวิมังสา ไดแกก ารใชปญ ญาพจิ ารณาไตรตรองในเรอ่ื งท่ที ําน้นัสรา งสรรคข างใน ใหส อดคลอ งกันกับสรางสรรคขา งนอก พรอ มกันน้ัน ควรจะมีอีก ๕ ตัว ใหเปนเคร่ืองหมายของธรรม ๕อยาง ที่จะเขาคูกับอายุ ๕ รอบ เปนตัวอยางของการทําใหเกิดกุศลข้ึนในใจตลอดไปทุกขณะ ถาใครทําได ก็เอามารวมกับอิทธิบาท ๔ เม่ือก้ีคราวนีจ้ ะดีใหญเ ลย ธรรม ๕ ตัวนี้พระพุทธเจาตรัสเสมอ ถือวาเปนธรรมะคูชีวิตของทุกทาน เหมือนอยูในใจตั้งแตทานเกิดขึ้นมา ถาใครทําได ชีวิตจะเจริญงอกงาม มคี วามสขุ ทกุ เวลา และอายุกจ็ ะยืนดวย ๕ อยา งอะไรบาง ๑. ทานใหมีความราเริงเบิกบานใจตลอดเวลา เรียกวาปราโมทยเปนธรรมท่ีสําคัญมาก ถือวาเปนธรรมพ้ืนจิต ถาใครอยากเปนชาวพุทธท่ดี ี ตอ งพยายามสรา งปราโมทยไวประจําใจใหได พระพุทธเจาถึงกับตรัสไวในธรรมบทวา “ปาโมชฺชพหุโล ภิกฺขุทุกฺขสฺสนฺตํ กริสฺสติ” ภิกษุผูมากดวยปราโมทย จักกระทําความส้ินทุกขได ใครท่ใี จมีปราโมทยอ ยเู สมอ จะหมดความทุกข บรรลุนิพพานได

๗๒ ชีวติ ทีส่ รางสรรค สดใสและสุขสันต ชาวพุทธบางทีก็ไมไดนึกถึง มัวไปคิดอะไร จะทําโนนทํานี่ท่ียากเยน็ แตไ มไดท าํ ของงายๆ คือปราโมทยใ นใจของเราน้ี ใจท่ีจะไปนิพพานไดตองมีปราโมทย ถาไมมีปราโมทยก็จะไมไดไป เพราะฉะนน้ั ตองทํากับใจของตัวใหไดกอ น ใจมีปราโมทย คือใจที่ราเริงเบิกบานแจมใส จิตใจท่ีไปนิพพานเปนใจที่โลงโปรงเบา ไมขุนมัว ไมเศราหมอง ปราโมทยทําใหไมมีความขุนมัวเศราหมอง เพราะฉะนั้น ญาติโยมตองทําใจใหไดปราโมทยทุกเวลา คอื รา เรงิ เบิกบาน แจม ใส เปน พ้ืนจติ ประจําใจ ๒. ปติ ความอ่ิมใจ ปลาบปลื้ม ขอน้ีเจาะลงไปในแตละเร่ืองแตละกิจ เวลาทําอะไร เชนอยางโยมทําครัว เรารูอยูแลววากําลังทําบุญทํากุศล เดี๋ยวอาหารเสร็จก็จะไดถวายพระ เล้ียงพระ พระทานก็จะไดฉันฉันแลวทานก็จะไดมีกําลังไปทําหนาท่ีการงาน ทําศาสนกิจ ไดเลาเรียนศึกษาปฏิบัติ แหม เราไดมีสวนชวยอุปถัมภบํารุงพระพุทธศาสนา เสริมกําลังพระ ใหพระศาสนาเจริญรุงเรือง มองเห็นโลงไปหมด การท่ีเราทําทุกอยา งนี่ กจ็ ะเปน ไปเพ่อื ผลดอี ยา งนัน้ นึกขน้ึ มา ก็อิม่ ใจ ปลื้มใจ ตอนนี้ปญญาก็มาดวย คือเวลาทําอะไรเราก็มองเห็นวา ผลดีจะเกิดอยางนั้นๆ แมแตกวาดบาน ทําครัว หรือลางจาน หรือหุงขาว ทุกขณะโยมนกึ อยางน้แี ลว กอ็ ่มิ ใจ ปลืม้ ใจ เรียกวา มปี ติ เม่อื มีปราโมทยเปน พื้นใจแลว ก็ใหมปี ติ ไมวาจะทําอะไรทุกอยางแมแ ตท าํ งานทําการ อยางคุณหมอรักษาคนเปนโรค ทําใหคนเจ็บไขหายปวยแข็งแรงพอนึกถึงภาพของเขาที่จะแข็งแรง เขาหายปวยสบายแลว ก็นึกไปถึงสังคมทด่ี เี ขมแขง็ นึกไปอยา งน้ี

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๓ ไปปลูกตนไม ก็มองเห็นวาจะไดชวยประเทศชาติ หรือมาชวยวัดใหเปน ที่ร่นื รมยร ม รื่น เปน ทเี่ ชดิ ชจู ิตใจคน ใหเ ขามคี วามสขุ เวลาทํางาน ใจของเราอาจจะเครียดได ใจไมสบาย แตถาเรานึกไปไกลโดยมองเห็นผลท่ีจะเกิดข้ึนในทางที่ดี ปติจะเกิด พอปติอ่ิมใจมาแลว ก็ไดเ คร่อื งบาํ รงุ ตัวท่ี ๒ ๓. ปสสัทธิ แปลวาความผอนคลาย ซึ่งเดี๋ยวนี้ตองการกันมากมันตรงขามกับความเครียด คนเด๋ียวน้ีทํางานแลวเครียด เพราะมีความกงั วล เพราะมโี ลภะ มโี ทสะ มคี วามกระวนกระวาย อะไรตางๆ มาก แตถาใจนึกถึงผลดีท่ีจะเกิดขึ้น ก็จะทําใหสบายใจ ไมเครียดทํางานดวยความผอนคลาย ใจก็สงบเย็น เปนปสสัทธิ พอใจผอนคลายกายก็ผอนคลายดวย กายกับใจน่ีมีจุดบรรจบกันท่ีปสสัทธิ ถากายเครียด ใจก็เครียดถาใจเครียด กายก็เครียด ทีน้ีพอใจผอนคลาย กายก็ผอนคลายดวยเรียกวามปี ส สัทธิ ๔. สขุ พอมปี ราโมทย มปี ติ มปี ส สทั ธแิ ลว ก็มีความสุข ซ่ึงแปลงา ยๆ วาความฉ่ําชืน่ ร่นื ใจ คือใจมนั รื่นสบาย ไมติดขัด ไมมีอะไรบีบค้ันมันโลง มันโปรง มันคลอง มันสะดวก ตรงขามกับทุกขท่ีมันติดขัด บีบค้ัน ขดั ของ ๕. ถึงตอนนี้ใจก็อยูตัว และตั้งมั่น ไมมีอะไรมารบกวน ไมกระสับกระสาย ไมพ ลงุ พลา น ไมกระวนกระวาย ท่ีวา อยูตวั คือใจกาํ ลงัคิดกําลังทําอะไร ก็อยูกับส่ิงน้ัน การที่ไมมีอะไรมารบกวนไดเลย ใจอยูตวั ตั้งมน่ั อยา งนี้ เรียกวาสมาธิ พอใจเปนสมาธิ ซึ่งเปนท่ีชุมนุมของส่ิงที่ดีงาม ธรรมท่ีเปนบุญ

๗๔ ชีวติ ทีส่ รา งสรรค สดใสและสุขสันตกศุ ลกม็ าบรรจบรวมกันที่น่หี มด เปนอันวา ธรรม ๕ ตวั นี้ เขา กับอายุ ๕ รอบ ก็เอารอบละตัว แลวกม็ าบรรจบตอนน้ใี หค รบ ๕ ขอทวนอีกครง้ั หน่ึงวา ๑) ปราโมทย ความรา เรงิ แจม ใสเบิกบานใจ ๒) ปต ิ ความเอิบอิม่ ใจปล้ืมใจ ๓) ปส สทั ธิ ความผอ นคลาย สงบเยน็ กายใจ ๔) สขุ ความฉ่ําชน่ื รื่นใจ ๕) สมาธิ ความอยูต ัวของจิตใจ ทตี่ ้งั ม่นั สงบแนว แน พอได ๕ ตัวน้ีแลว ก็สบายแนเลย หาตัวนี้ ทานเรียกวาธรรมสมาธิ คือความท่ีธรรมะซ่ึงเปนองคประกอบสําคัญมาแนวรวมกันเรยี กวา ประชมุ พรอ ม ตอจากนกี้ เ็ กิดจติ ตสมาธิ พอจติ เปน สมาธแิ ลว ก็เอามาใชชวนเชิญปญ ญาใหมาทาํ งานได คอื เอามาใชเปนบาทฐานของการคดิ เม่ือจิตใจผองใส ก็คิดโลง คิดโปรง คิดไดผลดี พระพุทธเจาจึงใหใชสมาธิเปนฐานของปญญาตอไป หรือแมจะทํางานทําการอะไร ใจเปนสมาธแิ ลวกท็ าํ ไดผลดี ถาปฏิบัติไดอยางนี้ ก็จะเปนการสรางสรรคอยางครบวงจร ทั้งสรางสรรคชีวิตจิตใจ และสรางสรรคสังคมไปดวยกัน พรอมกันสรางสรรคขา งในสอดคลองกันไปกับการสรางสรรคข างนอกเกิดกศุ ล เปนมงคลมหาศาล วันนแี้ คโยมไดธรรมะ ๕ ตัวนกี้ ส็ บายแลว ยงั ไงๆ กใ็ ห ๕ ตวั น้ี

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๗๕เกิดในใจเปนประจํา ทีว่ า วันเกิด ก็ขอใหเ ปนนมิ ติ หมายวา ตอ ไปนใี้ หเ ราเกิดกศุ ลทกุ เวลา และกุศลสาํ คัญทีเ่ กดิ งายเพราะมันอยูในใจแนน อน ก็คือ ๕ ตัวน้ี ไดแ ก ปราโมทย ปต ิ ปส สทั ธิ สขุ สมาธิ เมอ่ื มันเกิดขนึ้ มาแลว กใ็ หม นั ไปประสานกับอิทธิบาท ๔ คราวนี้ก็เปนชวงยาวเลย วากนั นาน อทิ ธิบาท ๔ กอ็ ยา งท่ีวา แลว เร่ิมดวยใจปรารถนาจะทําอะไรทีด่ ีงาม คิดขน้ึ มาใหช ดั แลวมีความเพยี รมุงหนาไปทาํ มัน มใี จอยูกับมันและใชปญญา ทีเ่ รยี กวาวมิ ังสา คิดการ พิจารณาเหตปุ จจยั ไมมีอารมณวุน วายเขา ไปเกยี่ วขอ ง เมือ่ จิตใจไมม อี ารมณข ุน มัวและเศรา หมอง ก็ไดผ ลดี ทั้งแกใจของเรา และแกง านท่ีทาํ น่คี อื ธรรมะประจาํ วนั เกิด โดยเฉพาะวันเกดิ ทีอ่ ายุครบ ๕ รอบ ก็ขออนุโมทนาเจา ของวันเกิดทุกทา นท่ีไดม าทําบุญทํากศุ ล โดยถือวา พอทาํ บญุ นกี้ ุศลก็เร่มิ เกดิ แลว เขาหลกั ทบ่ี อกไวแ ลว คือใจทีม่ ีความคดิ ผุดขนึ้ มาวาจะทาํ บุญ น้กี ค็ อื เกิดกศุ ลแลว พอเกดิ กศุ ลวา จะทําบุญ ก็ตองมศี รัทธา ตอ งมีใจเมตตา เชนปรารถนาดตี อ พระ ตอ พระศาสนา มใี จเมตตาตอญาติมติ ร ฯลฯ ทั้งน้ี รวมทง้ั ญาตโิ ยมทม่ี ารวมอนโุ มทนา ทําบุญ กม็ ีไมตรจี ติเกิดขึ้นในใจ ลว นแตเกิดดีๆทั้งนั้น เมือ่ เกดิ ดแี ลว ก็รกั ษาคุณสมบัติที่ดที ี่เกิดนไ้ี ว และพยายามใหมันสงตอ หนุนกันไปเรื่อยๆ กุศลตา งๆ ก็จะเจริญงอกงาม เม่ือจิตใจของเราเจรญิ งอกงามแลว ชีวิตของเรากเ็ จริญงอกงามไปดว ย และเมื่อกุศลเจรญิ งอกงามในชวี ติ ของเราแลว เพราะมันเปนสงิ่

๗๖ ชีวติ ที่สรางสรรค สดใสและสุขสนั ตท่ดี ี เมอื่ ขยายไปสูผอู นื่ ก็เกิดเปนความดีในการชวยเหลือเออื้ เฟอ ตอกนัทาํ ใหอยรู วมกันไดดี ทาํ ใหเกดิ ความสามัคคเี ปนตน สังคมก็จะรมเย็นเปน สุข ฉะนั้น การเกิดกุศลจึงเปนมงคลท่ีแท ซึ่งมีคุณมหาศาล ทั้งแกชีวติ ของตนเอง และแกเพื่อนมนษุ ยผอู น่ื ทร่ี ว มสังคม ทําใหอยูดวยความมสี ันติสุขกนั ตอ ไป วันนี้ อาตมภาพขออนุโมทนาทุกทานอีกครั้งหน่ึง ในการท่ีไดมาทําบุญเนื่องในโอกาสวันเกิด และอนุโมทนาญาติมิตรทุกทานพรอมกันดว ย ท่ีไดมารวมบญุ รว มกุศลดวยการมีจติ ใจเปน สามัคคดี ังท่กี ลาวมา เปนอันวา ไดทั้งกุศลสวนตนของแตละทานแตละบุคคล เชนศรัทธา ฉันทะ เมตตาไมตรี เปนตน และกุศลรวมกัน มีสามัคคีเปนตนก็ขอใหบญุ กศุ ลนี้ เมื่อเกิดขึ้นแลว กจ็ งเจริญงอกงาม เพิ่มพูนย่งิ ขนึ้ ไป ขออาราธนาคณุ พระรตั นตรยั เปน ปจ จยั อภบิ าลรักษา พทุ ธานุ-ภาเวนะ ธมั มานุภาเวนะ สงั ฆานุภาเวนะ ดวยอานภุ าพคุณพระรัตนตรัยพรอ มทง้ั บญุ กศุ ล มีศรัทธาและเมตตาเปนตน ทญี่ าตมิ ติ รทงั้ หลายไดต้ังขึ้นในจิตใจแลว จงเจรญิ งอกงามขึ้นมา มกี าํ ลังอภิบาลรักษาใหทกุทาน เรม่ิ ต้งั แตเจาของวนั เกดิ เปนตนไป พรอ มท้งั ครอบครวั ญาตมิ ติ รทกุ คน เจรญิ งอกงามดวยจตรุ พธิ พรชัย ขอจงไดมพี ลังแหงชีวิต โดยเฉพาะปจจัยเครื่องปรงุ แตงเสริมกําลงั ชีวิตทเ่ี รยี กวา อายุนั้น อันเขม แข็ง เพอื่ จะไดดํารงชวี ิตทดี่ ีงาม มีความสขุ และสามารถทําประโยชนเ กือ้ กูลแกเ พื่อนมนษุ ย ต้งั แตครอบครัวของทุกคนเปน ตนไป ใหอยกู นั ดว ยความรมเยน็ เปนสุข มีความเจรญิ สถาพร ตลอดกาลทกุ เมอ่ื เทอญ

ชีวติ จะงาม สงั คมจะดี ตองมกี ารศกึ ษาที่ไมผ ิด ๏ จรงิ ไหม ทวี่ า ในสงั คมไทยทุกวนั น:้ี คนช้ันที่สูงข้ึนมา หรือพวกมีระดับข้ึนหนาในสังคมก็มักจมปลักอยูกับการเสพบริโภค ลุมหลงมัวเมาในกามเอาแตจะสนุกสนานฟุงเฟอเหิมเหอบํารุงบําเรอเห็นแกตัวถามีโอกาสมาก ก็ย่งิ กอบโกยเขา ตัว สวนคนช้ันลางลงไป หรือเหลาชาวบานและคนท่ีดอยหนาตา ก็มักเลื่อนลอยไปกับการหวังเพอรอผลดลบันดาล หรือหวังการหยิบยื่นความชวยเหลือใหจากภายนอก คอยลาภลอยจากการพนันและหวยเบอร วอนไหวขอโชคจากสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ แมกระท่ังขูดเลขหวยและกราบไหวสัตวพิกลพิการแปลกประหลาด แลวก็มีชีวิต

๗๖ ชีวิตทส่ี รา งสรรค สดใสและสขุ สนั ตแบบอยูไปวันๆ แตเมื่อมองรวมแลว ท้ังสองพวก หรือทั้งสังคม คนไทยนี้ อยูกันไปแบบมองเห็นแคแคบๆ ใกลๆ เอาแตตัวเอาแตพวก ไมม ีจุดหมายรว มทจ่ี ะรวมใจใหมุงหนากาวไปอยา งแขง็ ขนั เปน อนั หน่ึงอันเดยี ว ถาเปนอยางนี้จริง ก็เห็นชัดวา คนไทยมีคุณภาพแคไหน สงั คมไทยเขมแข็งหรือออนแอ ถารูตัววา \"แย\" ก็ไมควรรอชา ตองรบี แกไ ข และแกใหถูกหลักถูกวธิ ี สําหรับคนพวกที่หน่ึง ไดพูดถึงในที่อื่นมาแลวมากในทนี่ ีจ้ ะพูดกวา งๆ โดยเนนท่ีคนระดับลางลงไป แตไมวาในระดับไหน เม่ือจะแกไข ถาหันมาดูทางดานพระศาสนา วัดและพระสงฆก็มีพันธะตามพระธรรมวินัยอยูเต็มตัว ที่จะตองเอาใจใสทําหนาท่ีโดยไมประมาท ทนี ี้กม็ าดูกันวา วัดและพระสงฆนั้น โดยหลักการก็ดีโดยปฏิบัติการก็ดี ควรจะทํา และไดทํากิจหนาท่ีกันอยูอยางไร ที่จะใหเปนไปตามพระพุทธโอวาทท่ีไดตรัสฝากไว ใหปฏิบัติกิจเพ่ือประโยชนสุขแกพหูชน ใหโลกพนยาก

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๗๗เข็ญ เปน แดนเกษมศานต อยางนอยก็ใหร กู นั พอเปน ทส่ี ังเกตไว

ภาค ๑ มองสงั คมใหถึงคน -—-งานทตี่ องเพงและเรง คือฟน ฟชู นบทหน่งึทเี่ ปนสวนใหญของประเทศไทย- ไมใหความเส่อื มแบบเมืองไหลเขาชนบท แตใหชนบทเปน สติแกเมือง อยากพูดถงึ เร่ืองเฉพาะกาลเทศะ โดยเฉพาะเรอื่ งเก่ียวกับประเทศไทย เราจะพดู กันถงึ หลักการของพระพทุ ธศาสนา ที่เปน เรอื่ งยนื ตวั ตั้งแตคร้ังพทุ ธกาลมาจนบัดน้ี แตในทนี่ ี้ เม่ือพดู ถงึ เรอื่ งราวปญ หาของประเทศไทย ก็เปน เรอื่ งของกาลเทศะโดยเฉพาะ ซ่ึงตองเนนเปน จดุ ๆ วา เวลานเ้ี รามปี ญ หาอะไร ปญ หาเดน อยูต รงไหน และเราจะตองทาํ อะไร ประเทศไทยนี้ เมื่อโยงกับภูมหิ ลงั ทางประวตั ิศาสตร สงั คมของเรา ก็เปน สงั คมทป่ี ระกอบดว ยชุมชนยอ ยๆ มากมาย และชมุ ชนเหลาน้นั เวลานี้สว นใหญกย็ ังอยใู นชนบท ชนบทจงึ เปน ฐานสําคัญของประเทศไทยหน่งึ จากหนังสือ ตองฟนฟูวัด ใหชนบทพัฒนา สังคมไทยจึงจะกาวหนาไดม่ันคง (สาํ นักงานพระพุทธศาสนาแหง ชาติ จัดพมิ พครั้งแรก ต.ค. ๒๕๔๖) หนา ๑–๑๘ [หนังสือนี้คือ คาํ วิสัชนา ของ พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) แก พล ต.ท. อุดม เจริญ ผูอํานวยการ พศ. ทวี่ ดั ญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม เมื่อวันพุธที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๖ - ในการพิมพครั้งใหม ก.ย. ๒๕๔๙ ไดจัดปรับลําดับหัวขอใหม ใหเหมาะ แกการอานของคนทั่วไปมากขึ้น]

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๗๙ ย่ิงกวา นั้น ชุมชนชนบทยงั มีความเชอ่ื มโยงกับวฒั นธรรม กับอดตีกบั ประวตั ิศาสตรม าก ชมุ ชนเมืองเสยี อกี กลบั มีภาวะท่ีเหมอื นกบั วา ไมชัดเจน แปรปรวน หรือขาดตอน ในเม่ือชนบทเปน สว นท่โี ยงกบั พนื้ ฐานและภูมิหลังทางวัฒนธรรมรวมทง้ั เรือ่ งของพระพทุ ธศาสนา แลว ยงั เปนสว นใหญของประเทศชาตใิ นปจจุบนั ดวย จงึ เปนจดุ ที่นา จะเอาใจใสเปน พเิ ศษ ชนบทนาเอาใจใสพ เิ ศษ ทั้งในแงของสภาพเอ้อื ท้ังในแงของภาวะที่จําเปน ท้งั ในแงท ส่ี ําคัญตอความดํารงอยขู องประเทศชาติ และทง้ั ในแงท ่ีเปนจุดลอ แหลม หรอื กําลงั อยทู ีท่ างสองแพรง จะไปตามอยา งสังคมเมืองหรอื ไม เวลานช้ี มุ ชนในชนบท เปน สวนใหญของประเทศ ประเทศของเรานี้ราว ๗๐% ยงั ถือวา เปนชนบท และชนบทเวลาน้ี กําลังทรุด เมอื งไทยเรามีปญ หามากอยูแลว เชน ในเรอื่ งบรโิ ภคนยิ มท่ีโถมเขามาปญ หาอยางที่ทราบๆ กันอยู หนงึ่ ทําอยางไรจะปองกันไมใ หค วามเสือ่ มแบบเมืองเขา ไปสูช นบท ซง่ึ เปน สว นใหญข องประเทศ พรอมกันนัน้ ก็ สอง ทําอยางไรจะฟนของดีทมี่ ีอยูในชนบท ใหม ีชีวติ และมีกาํ ลงั ขึ้นมา ถา ทาํ ได นอกจากจะปองกันชมุ ชนชนบทไมใ หเส่ือมทรุดแลว ชนบทน้นั จะกลบั มาเปน สว นชวยประเทศท้งั ประเทศ แตเวลาน้ชี นบทไทยออนแอมาก บางทีพูดกันถึงข้นั วา แตกสลายแลว ถกู ซัดพดั พา ไมมกี าํ ลงั ท่ีจะตัง้ ตวั อยไู ดในกระแสโลกาภิวัตน เรอ่ื งน้เี ริ่มมาตง้ั แตยุคทอ่ี ุตสาหกรรมเฟองฟู เดก็ ๆ ในชนบทเขามาเปนแรงงานในกรุงเทพฯ ปรากฏวาปจ จุบนั นี้ ท้ังหญิงทั้งชาย หนุม สาว มาในวิถขี องการเคลอ่ื นยายเพื่อเศรษฐกิจ ซึ่งในบางแงก็เปน ประโยชนต อชนบท แตใ นแงเสยี เม่อื จัดการไมด ี กเ็ กดิ ผลรา ยมากกวา คนท่สี ามารถเปนกาํ ลังของชนบท แตเ ม่ือเขามาอยใู นกรุงเทพฯ กลับ

๘๐ ชีวติ ทส่ี รางสรรค สดใสและสุขสนั ตกลายเปนปญหาของเมือง ถาเขาอยูใ นชนบท เขาจะเปนกาํ ลังสําคญั เปนทรพั ยากรทม่ี คี า เปน ผนู าํ ของชนบท แตค นเดียวกันนน้ั พอเขา มากรุงเทพฯแลว เขากลับกลายเปนคนท่ีกอปญหาแกเมอื ง อยา งนีล้ ําบาก กลายเปน วา คนท่จี ะเปน ขมุ กาํ ลงั ของชนบทน้ี ออกจากชนบท ไปเปนปญ หาในเมอื ง แลว ชนบทก็ขาดแคลนทรัพยากรมนษุ ย ขาดแคลนกาํ ลังคนในระดับทจ่ี ะเปน ผนู าํ อันนี้คือภาวะอยางทวี่ า แทบจะแตกสลาย ส.ส.บางทา นกเ็ อามาพดู โดยเหน็ ตรงกันวา ชนบทบางถ่ินแทบจะไมเหลอื คนหนมุ สาวเลย มแี ตคนแกเ ลยี้ งหลาน สว นหนุมสาวทเี่ ปนพอ แมเ ด็กมาอยใู นกรุงเทพฯ มาเปน แรงงานประเภทกรรมกร อะไรทํานองน้ี แลว สง เงนิ ไปให และผกู ปนโตให ปยู า ตายายเลย้ี งหลานไป ก็กนิ อาหารปน โตนนั้ ไป งานการในชนบทก็เหมอื นกบั ถกู ทอดทิง้ การพฒั นาในชนบทก็ไมม ีนอกจากนนั้ เม่ือมองดอู งคประกอบของชุมชนชนบทก็ลว นแตเสอ่ื มทรุดลงไป ถา ชนบททรดุ และคนบา นนอกเขามาเปน ปญหาแกเ มือง คนในเมอื งตองชว ยเสรมิ กาํ ลงั ใหชนบทฟน ขน้ึ มา ซ่ึงจะเปน การแกป ญ หาของเมอื งเองดว ย ท่วี าน้ี มใิ ชวา จะไมใ หช าวชนบทเขามาหาโชคในเมือง แตตองหาทางบริหาร และจดั การใหเ ขา มาในปรมิ าณที่พอควรพอดี และมที างพัฒนาคุณภาพ พรอ มกับทต่ี วั ชนบทเองตองไมถกู ทอดทงิ้ ใหข าดกาํ ลัง วดั เปน ทนุ เดมิ ของชมุ ชน ซง่ึ มอี ยูแลว ถารูจ กั จดั ใหถ กู ในฐานะท่ีเปนศนู ยรวม และเปน แหลง ธรรมแหลง ปญ ญาของชุมชนนัน้ วดั ก็จะชว ยแกป ญ หาและชวยพัฒนาชนบทไดมากมาย

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๘๑- ฟนฟบู ทบาทที่แทข องวัดข้นึ มาใหประสานบา นกบั โรงเรยี น พาชุมชนกา วไปดวยกนั ชมุ ชนชนบทนนั้ เรยี กกนั มาในวงการศึกษาวา “บวร”(ประกอบดว ย บา น วดั โรงเรยี น) แตตอนนกี้ ็แยไ ปตามๆ กนั บานกแ็ ยแลว เพราะวาพอ แมจะออกโรงก็ไมมีแรง และพอแมเองก็ไมมหี ลักท่ีจะรบั มือกับสภาพความเจรญิ สมยั ใหมตงั้ รับไมเปน เลย ไดแคก ลายเปนเหย่อื ของความเจรญิ ปจจุบันท่เี ปนปญหา สวนโรงเรียน ก็มีปญ หาอยา งหนกั อยา งทท่ี ราบกันอยูแลว แลวเหลอื อะไร กเ็ หลอื วัด แตพ อมาดวู ดั ปรากฏวา วดั ก็ทรุดอีก วัดจํานวนมากไมม บี ทบาทตอ ชมุ ชน คนจํานวนมาก โดยเฉพาะเด็กวัยรุน มองไมเ ห็นความหมายของวัด ถา วดั ไมมีบทบาทตอชุมชน หรอื ไมท าํบทบาทท่ีควรจะทาํ แลว ก็เปนอันวาหมดความหมาย นีแ่ หละเปน ภาวะท่ชี มุ ชนแตกสลาย เม่ือชมุ ชนแตกสลาย สังคมก็แตกสลาย แลวประเทศชาติกจ็ ะแตกสลายไปดวย ตอนนเ้ี ราพูดไดว า พระในชนบทกาํ ลังจะหมดบทบาทตอชมุ ชน สว นทห่ี มดไปแลว กม็ าก ทําอยา งไรจะใหฟ น ขน้ึ มาได ก็ตองใหพ ระมีบทบาทที่ถูกตองตอ ชุมชน ถาพระทําบทบาททีถ่ กู ตองไมไ ด ทา นกต็ อ งทาํ บทบาทอน่ื เพราะทา นมีชีวิตท่ีสัมพันธกบั ประชาชน ตองพึง่ พากันกบั ประชาชน ฉะนนั้ ทา นจงึ ตอ งตอบสนองความตองการของประชาชน เมือ่ ตอบสนองดว ยบทบาทท่ถี ูกตอ งไมได กเ็ กดิ บทบาททีไ่ มด ีขนึ้ มา กลายเปน วา มเี ร่ืองไสยศาสตร เรอื่ งนอกลูนอกทางนอกพระศาสนาก็

๘๒ ชีวติ ทสี่ รางสรรค สดใสและสขุ สันตเจริญกันใหญ ถา เราไมส ามารถพัฒนาบทบาททถี่ กู ตอ งได ทา นก็ตอ งออกไปสแู นวทางนั้น เพราะทานตองอยกู บั ชาวบา น มนั เปนธรรมดา อยาไปวาทานอยางเดียวไมถกู เราจะตอ งไปพ้ืนฟู ฉะน้นั จึงขอยํา้ วา เวลานต้ี องพ้นื ฟชู ุมชนในชนบทใหได และในการฟนฟชู นบท วัดจะตอ งเปนผูน าํ จึงตองใหพ ระมีคณุ ภาพ ตอ งใหพ ระมกี ารศึกษาทดี่ ีและถกู ตอง มีความสามารถ รูธ รรมวินยั ที่จะสอนประชาชนได นําประชาชนในทางที่ถกู ตองถูกทาง เมือ่ พระทําบทบาททถี่ ูกตอง กย็ ดึ ชมุ ชนอยู ยดึ พอ แมยดึ บา นไวไ ดพอแมก ส็ ง ตอ ไปยงั โรงเรียน แลวโรงเรยี นก็มารวมมือกบั วดั ในการท่ีจะเออ้ืธรรมะ เออ้ื ศลี ธรรม เออ้ื ความดีความงาม เอ้อื การศึกษาการเรียนรูอ ะไรตางๆ แกประชาชนในชมุ ชนนั้น ถา พระมีคณุ ภาพขึ้นมา ก็สามารถจะรวมมอื กบั ครูอาจารยในวงการศกึ ษาได ถา พระไมม ีคณุ ภาพ ก็ไมร จู ะไปรว มมือกับครูไดอ ยา งไร เพราะฉะนน้ั เวลานเี้ ราตอ งการสวนใดสวนหน่ึง หรือองคใ ดองคห นึง่ของชมุ ชนชนบท ใหม คี ณุ ภาพ มีกาํ ลงั เขมแข็ง แตครูปจ จุบนั น้กี ็ไมเ ปน หลกั ไดเ ทาไร นอกจากปญ หาเร่ืองความเสือ่ มสถานะทางสงั คมแลว สังคมกไ็ มคอ ยเอาใจใสครู เคยพูดฝากไวก ับหลายทานวา เวลาน้ี นักการเมืองมักไมใ หเ กยี รติแกครู ตองขออภัยนะ ทานอาจจะไมรูตัว บางทีนักการเมืองเอาครูเปนคนรับใช ซง่ึ ไมนา จะทํา ในชนบทเด๋ียวน้ี ครกู ลายเปน คนรบั ใชของนักการเมืองไป ถา จะทาํใหถูกตอ ง ครไู มว าจะอยใู นระดบั ไหนกแ็ ลว แต ตอ งถือเปนครูหมด เมอ่ืเปนครแู ลว ในสงั คมไทยถือเปน บคุ คลทีค่ วรไดร ับการเคารพบชู า อยา งนอ ย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๘๓ก็ตอ งใหเกียรติ เพราะฉะนนั้ นกั การเมืองควรทาํ เปนตวั อยาง ไปถงึ ชนบท ถาเหน็ครตู อ งใหเกยี รติทันที โดยแสดงออกใหประชาชนเหน็ แลว ครูจะรสู กึ ภูมิใจในตัวเองขนึ้ มา พรอ มกันนนั้ ประชาชนก็จะเหน็ ความสําคัญของครู ครพู ูดอะไรก็จะมีความหมายข้ึน และครจู ะไดระวังตัวขน้ึ ดว ย เพราะคนเรานัน้ ถา ตวั เองไมม ีใครเหน็ คณุ คา ไมมีความหมาย ไมม เี กียรติ ก็จะรูสึกวา ทาํ อะไรก็ได แตเมอ่ืไดรบั เกยี รติแลว ก็จะทําใหต ระหนกั ระวังตวั เองข้นึ มา เพราะฉะน้ัน จะตองใหเ กียรตคิ รู นกั การเมอื งตองแสดงเปน ตวั อยา งเมื่อเหน็ ครูตองใหเกยี รตเิ ปน พิเศษ อยา งนี้เรยี กวา สงั คมรว มมือกนั กม็ ีทางท่จี ะเจริญกา วหนา ขน้ึ มา แตเ วลานี้ครอู ยใู นฐานะลําบากอยา งที่วา นอกจากนนั้ ครกู ไ็ มไดอยูแนน อนในชุมชนนนั้ แตพ ระอยเู ปน หลกัเลย เจาอาวาสกอ็ ยตู ลอด ฉะนั้น ถาเราพฒั นาพระใหมีคณุ ภาพดๆี พระก็จะเปน ศนู ยกลางและเปน ศูนยรวม ซ่ึงก็เปน มากอนแลว แตโ บราณ ศนู ยรวมนีก้ ็จะทาํ ใหบา น วัด โรงเรียน มาประสานกัน เปน ขมุ กาํ ลังของชุมชนนั้น และจะพัฒนาชุมชนใหไ ปสคู วามเจรญิ งอกงามไดอ ยา งแทจ รงิ งานบา นเมืองดานอ่ืนๆ น้นั เขามักถนัดดานในเมืองในกรงุ และเขาก็เนนกนั อยูทน่ี ่นั มาก แตง านพระศาสนาโยงสนิทกบั ชุมชนชนบท และศาสน-บุคคล คอื พระสงฆ กถ็ นดั ดา นนน้ั ฉะนัน้ ตอ งเนน ชมุ ชนชนบทยง่ิ กวา ในเมอื ง วา จะตอ งฟน ฟคู ณุ ภาพของพระและบทบาทของพระ ใหพ ระทาํ หนา ทท่ี ีถ่ กู ตอ ง ตอ ชาวบา นและตอชมุ ชน แลวเอาวถิ ที ถ่ี ูกทางของชนบทมาชวยเมือง และชวยทั้งประเทศ อันน้ีเปน เร่อื งใหญ เพราะเมือ่ พูดในทางลบ ก็เหมือนกบั วาแขงกนัคอื ความเส่อื มกําลงั แขง กบั งานของเรา โดยเฉพาะเวลาน้ีเรือ่ งพฤตกิ รรม

๘๔ ชวี ิตท่ีสรางสรรค สดใสและสขุ สันตนอกลูนอกทางกข็ ยายมากข้ึนทุกที- สมัยกอ น เณรมาก หลวงตาไมคอ ยมี สมยั นี้ เณรหมด มแี ตห ลวงตา นอกจากขาดพระทีม่ คี ณุ ภาพแลว บางทีขาดพระทีเ่ ปนตัวบุคคล คอืไมม พี ระอยวู ัด แลว ก็ขาดศาสนทายาทรุนใหมท ีจ่ ะมาสบื ตอ คอื ขาดสามเณร เปน อนั วา ขาดหมด ขาดทงั้ พระที่จะทาํ หนาทีใ่ นปจ จบุ ัน ขาดท้งั ผูทจี่ ะมาสืบตอ เบอ้ื งหนา เมอ่ื เปน อยา งนี้ กเ็ ปน สภาพทท่ี ั้งเออ้ื และเรยี กรอ งใหม ีบุคคลอนื่แทรกเขา มา อยางนอ ยก็มารกั ษาวดั ไวก อ น ก็จงึ มผี ทู บี่ วชเขามาในลกั ษณะตา งๆ โดยเฉพาะผบู วชในวัยที่สูงอายเุ ยอะ จนกระท่งั เวลานีม้ ีการลอ กันในวงการพระสงฆวา เกิดวัดหลวงชนดิ ใหม โยมคงไดยนิ แลว คนกจ็ ะถามวา วัดหลวงอะไร เอ ไมเ คยไดยนิ วดั หลวงก็มอี ยเู ทา เดิมนแี่ หละ ไมมปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาหรืออะไรสักนดิ หน่ึงวา มีวัดหลวงชนิดใหม ไปๆ มาๆ กต็ อบวา วดั หลวงตา นี่ไง วัดหลวงตากาํ ลังเกิดมากข้นึ วัดหลวงชนิดใหมนี้ ในแงห นึ่งก็เปน อนั ตราย เพราะแสดงถงึ ความเสื่อม เพราะไมมพี ระท่ีจะอยูดแู ลวดั ไดแคม ผี ูที่บวชเขา มาเมอ่ื แก ถึงแมทา นจะมีเจตนาดี ทา นก็ไมมีกาํ ลงั ที่จะทําอะไร แตผทู ่ีเจตนาไมดีกม็ ี เชนหมดทางไปจึงเขามาบวชก็มี ไดแ ตอ าศัยผา เหลืองเลีย้ งชีพ แตเ ราตอ งมองในแงดีดว ย เพราะมผี ทู ตี่ ง้ั ใจดี อยา งนอ ยก็คดิ วา ในวัยน้ีเลิกทาํ งานแลว อยากมาหาความสงบ ซ่งึ เปน เจตนาดี แตทา นกไ็ มมีกําลังทจี่ ะเลาเรียนอะไรไดมาก

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๘๕อันน้เี ปน สภาพความเปน จริง คอื มหี ลวงตามากมาย เปนสภาพทมี่ ีมา ๑๐–๒๐ ปแ ลว อาตมภาพไปเจอพระตามวดั ในชนบท เหน็ ทานอายุ๖๐,๗๐ ป ลองถามดู องคหนึ่งบอกวาอายุ ๗๐ ป แตถ ามพรรษา ไดความวาบวชมา ๒-๓ ป สวนอีกองคหนึง่ อายุ ๖๐ ป บวชมาไดพรรษาเดียวญาตโิ ยมแยกไมเ ปน กไ็ มรวู า พระเหลา น้ีเปนอยา งไร เห็นพระอายุมาก นกึ วา เปนหลวงพอ หลวงปแู ลว นค่ี ือเขา ใจผดิ หมด ทจี่ ริงทานไมรเู ร่ืองอะไรเลย มีแตจะพาเขวไปดวยกนั เพราะฝา ยพระก็ไมรูห ลกั พระศาสนาเมื่อญาตโิ ยมไปขอโนนขอน่ี ทา นกส็ นองความตองการไปตามท่ีเคยเหน็ นึกได บทบาทท่ไี มถูกตอง ทเ่ี ขวไป ก็เกดิ ข้นึ มา แลว แพรหลายกนั ใหญฉะนน้ั จงึ เคยเสนอวา เมอื่ สภาพความจริงเปน อยางนี้แลว กจ็ ะตอ งเอาใจใสเร่อื งหลวงตา เพราะเปน ความจรงิ ทเ่ี กดิ ข้นึ แลว และเผชิญหนา อยูถงึ แมไ มปรารถนา เราไมอยากใหม หี ลวงตามาก แตเ ราตอ งคิดวา เมื่อมีหลวงตามาก เราจะทําอยางไรกบั หลวงตา จะมีไดไ หม? การจัดกิจกรรมอะไรกต็ าม ท่ีเปน การฝก อบรมหรอืการพฒั นาหลวงตา ดว ยวิธกี ารใดวธิ ีหนงึ่ อยา งนอยใหท า นทาํ ประโยชนไ ดในระดบั หนึง่ หรือรักษาบทบาทในระดับหนง่ึ ใหแ กว ัดใหแ กพระศาสนาหรอืตอชุมชน อันนเ้ี ปนเรอ่ื งทีต่ องคิดแลว ระยะยาว ก็คอื ทาํ อยางไรจะใหม ีคนมาเปนศาสนทายาทสืบตอพระศาสนา เร่ืองการทจ่ี ะมเี ด็กมาบวชสามเณร เปนศาสนทายาท สบื ตอพระศาสนา เปน เรือ่ งหลกั ใหญเรื่องหน่ึงตอนทแ่ี ลว มา รัฐบาลไดปรับระบบการศึกษา ใหเ ดก็ อยูในโรงเรยี นถงึ๑๒ ป ตอนนน้ั ก็เปน หวงกันวา น่จี ะเปนการดึงใหเด็กไมส ามารถมาบวชเด็กสมยั กอ นน้ี พอจบประถมปท ี่ ๔ เมอื่ การศกึ ษาไมม ีโอกาสเสมอ

๘๖ ชวี ติ ที่สรางสรรค สดใสและสขุ สันตภาคจริง ในชนบทการศึกษามวลชนยังเปน เพยี งอุดมคติ เปน จดุ หมายทย่ี ังไปไมถงึ เด็กจบประถมปท ่ี ๔ แลว มาบวชเปนสามเณรกันมาก ฉะนนั้ กําลังในพระศาสนาจึงเหมอื นกับวา ไดมาจากผูท ีไ่ มม ีทางไป ถาไมม ที างไปในทางเศรษฐกจิ กล็ ําบาก เปนทางเส่ือมมากกวา ดี แตถาไมมที างไปในทางการศกึ ษาน่ีกลับดี ขอใหเขาอยากศึกษาเปน ใชได เมื่อเดก็ เหลานั้นไมมีทางไปในทางศกึ ษากม็ าบวช ยังเปน ทางเจริญงอกงามได เพราะฉะนนั้ ในสมยั กอน วัดในชนบทเปนท่รี ับเด็กทจ่ี บประถมปท ่ี ๔ที่ไมสามารถไปเรียนในโรงเรียนรฐั บาล ซงึ่ มาบวชกันเยอะแยะ ตอ มารฐั ขยายระดบั การศกึ ษาขึน้ สปู ระถมปท ่ี ๖ แลว ตอ มาประถมปท ่ี ๗ แลวกลบั ลงมาประถม ๖ อกี พอดเี รมิ่ เขา ยุคมีแรงงานเด็ก ตอนนัน้ เรมิ่ เกดิ ปญหา เด็กหมดวัด ไมมาบวชเปนสามเณร เพราะเขามาเปน แรงงานในกรงุ เทพฯ เสยี หมด นนั่ คือเรอ่ื งเกา พอถึงตอนนก้ี เ็ กรงวา เม่อื มีการศึกษา ๑๒ ป เดก็ตองอยูใ นโรงเรยี นนานข้นึ โตข้นึ แลว เลยไมบ วช แตต อนนี้ทราบจากโยมทางภาคอสี านบางจังหวัดเปนนมิ ิตดวี า เดก็มาบวชมาเรียนกันในเพศเปน สามเณรน่ี กลับเพ่ิมขน้ึ บา งเปน บางถิ่น ที่วา เปน นมิ ติ ดมี สี ามเณรบวชมาก คือจะมศี าสนทายาท เราจะตองเอาใจใสเอาใจชวยวา จะทําอยา งไรใหสามเณรเหลานม้ี ีการศกึ ษาท่ีดี นเี่ ปนเรอื่ งของการสรางศาสนทายาท แมว าการจะมเี ด็กมาบวชสามเณรเปน ศาสนทายาท เปน เร่อื งยาวทตี่ อ งทาํ กันอีกนาน แตม ีเรือ่ งช่ัวคราวอนั หนึ่งทม่ี าชวยผอน คอื เด็กทีอ่ ยใู นโรงเรียนตา งๆซงึ่ ทางพระไปเอื้อไดค อื การบวชสามเณรภาคฤดูรอน ซ่ึงขณะนี้กําลงัแพรห ลายขยายมาก บางวดั ไดส ามเณรทีบ่ วชภาคฤดูรอนน่แี หละมาเปนศาสนทายาท เชน

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๘๗วัดพยคั ฆาราม จังหวัดสุพรรณบุรี จัดบวชสามเณรภาคฤดรู อ นทกุ ป ญาติโยมประชาชนกห็ นุนเตม็ ที่ บวชเรียนกันเปน เดือน สามเณรหลายองคไ มส ึกก็เรยี นตอ ปรากฏวาจบประโยค ๙ หลายองคแ ลว นเี่ ปนวถิ ที างหน่ึงทีช่ ว ยสรางศาสนทายาท แมจ ะสกึ ไปกไ็ มเปน ไรทางพระศาสนาก็ไดเอ้อื ตอ สังคม ชวยใหเดก็ ไดเ รยี นรธู รรมะ มีศลี ธรรม มีคณุ ความดี อยใู นทางท่ีถกู ตอ ง อนั นี้เปน เร่อื งทเ่ี ก่ยี วโยงกนั ไปหมด แตท้งั นกี้ เ็ ปนเรื่องของการเนนชมุ ชนชนบทน่นั เอง ซ่งึ ก็คือชมุ ชนท้ังหลายท่ัวไปของประเทศไทยถาบอกวาไทยเปนเมืองพทุ ธกต็ องเลกิ เปน ทาสของความไมร ู- หลกั งายๆ กไ็ มป ระสีประสาพฒั นาคนใหมตี นทพ่ี ่ึงได ไมใ ชม วั รอผลดลบนั ดาล นอกจากนี้ กม็ ีเรอื่ งทว่ี า ทําอยา งไรจะใหประชาชนแยกไดว า อะไรเปน พุทธศาสนา อะไรไมใชพุทธศาสนาเรอ่ื งนก้ี ็เห็นกนั อยูแ ลว วา ประชาชนสวนใหญไมร ไู มเขา ใจพระพุทธศาสนา อะไรเปน พทุ ธ อะไรไมใชพ ุทธ คนทวั่ ไปมกั เขว หรอื ไมก ็เลื่อนลอย แลวก็ไมม อี ะไรเหน่ยี วรั้ง และเพราะความออ นแอ และการขาดโอกาส กเ็ ลยออกไปสูวถิ ีทางของการพึ่งพาอาํ นาจภายนอก กลายเปนทาสของลัทธิหวังผลดลบันดาลกันมากดังจะเหน็ วา พอมอี ะไรแปลกประหลาดนิดหนอ ย เชน สัตวเกิดมาพิการรูปรา งแปลกประหลาด กไ็ ปขอหวย ตนไมแ ปลกประหลาด ก็ไปขูดหา

๘๘ ชีวิตทีส่ รางสรรค สดใสและสขุ สนั ตเลขหวยกนั อะไรทํานองนี้ อนั นีจ้ ะตองชดั วา อะไรเปน พุทธ-อะไรไมใ ชพทุ ธ ถึงแมชาวบานจะยังไปทําอยู ก็ตองใหรูวาอยางนั้นไมใชพุทธ ตองชัดอยา งนี้ ไมใ ชวาจะตองไมทําพรอ มกบั รู ตอนแรกตอ งรูกอ นแลว ตอ ไปไมท าํ อันนี้เปนเร่ืองท่ีเสียหายแกพระศาสนามาก แสดงถึงความไมรูเรื่องรูราว แสดงวา ชาวพทุ ธไมประสีประสากบั เร่ืองของพระพทุ ธศาสนา เคยเห็นในหนังสอื พมิ พลงขา ว คร้ังหนึง่ มเี รอ่ื งตน ไมประหลาดอะไรทาํ นองนี้ อยูในถนิ่ ทีค่ นสวนมากเปน มสุ ลิม ผสู ือ่ ขาวหนงั สือพิมพเ ขา ไปหาคนมุสลมิ ใหข า ววา ทน่ี ่นั แถบนนั้ มคี นเขามาเยอะเหมอื นกนั มาขูดเลขขอหวย อะไรทาํ นองนี้ แตไมใ ชช าวมุสลิมหรอก เพราะชาวมสุ ลมิ ไมมีการทาํอยา งนน้ั มองความหมายไปไดท าํ นองวา คนพทุ ธจงึ จะทําอยา งนี้ นีแ่ หละไมไ หวแลว ชาวพุทธไมร ูวา อะไรเปน พุทธ แลว ทําใหผูอ ่นื เขากลา ววา พวกพุทธเปนอยา งน้ี คอื ไปขดู เลขหวยกนั เปน ชาวพุทธ เพราะฉะนน้ั อยา งนอยกใ็ หแ ยกไดวาอะไรเปน พทุ ธ-อะไรไมเ ปนพุทธ และเราจะตองชัดวา จะเอาอยางไรกบั เรอื่ งการบนบานศาลกลาว ลทั ธิหวงั ผลดลบนั ดาล การพึ่งพาอาํ นาจภายนอก การไมเพียรพยายามทาํ ใหสําเรจ็ ดวยเร่ยี วแรงกําลังของตน ตามหลกั ของพระศาสนาทีจ่ ะนาํ ไปสกู ารพง่ึตนได การทีจ่ ะมีเร่ยี วแรงกําลงั ของตนได ก็ตองพฒั นาคน ถาคนตองการพึ่งตนเอง หรือตองการมเี ร่ียวแรงกาํ ลงั ที่จะทําไดเ อง มนั กจ็ ะเรียกรอ งเองใหตอ งพัฒนาตน แตน ่ีคนของเราไมมีแนวคดิ ไมมีเปา หมาย ไมมีทิศทาง อยูกนัเควง ควา งเลือ่ นลอย อันนีเ้ ปน เรอื่ งใหญ ทเี่ รยี กวา งานหลกั ของพระศาสนา แกนของเร่ืองกค็ อื วา ในเรอื่ งตวั การศึกษาแทๆ จะเอาอยางไร จะ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๘๙หนุนกนั อยา งไร ใหก ารศกึ ษาของพระดาํ เนินไปไดด ว ยดี ทั้งในแบบและนอกแบบ หรือทงั้ ทางการและไมเ ปนทางการ- อยรู ว มกนั โดยมีเมตตา แตต อ งแกปญ หาโดยใชป ญ ญา เรื่องตอ ไปท่มี คี วามสาํ คญั ไมน อยคือ ทาทแี ละความสมั พนั ธกบั ตา งศาสนา เพราะวา เวลานี้ความสมั พนั ธก บั ตา งศาสนาจะตองมากข้นึ ซึง่ กาวไกลไปถึงระดับระหวา งประเทศดว ย ทว่ี าโลกไรพรมแดน ในทางพระพุทธศาสนา หลกั การบอกวา จะตอ งมี ๒ อยา งไปพรอ มกนั คอื ปญ ญา กบั เมตตา เร่อื งนถ้ี า เราแยกไมอ อกกจ็ ะสับสน ปญญา คอื เรื่องการรเู ขา ใจความจรงิ ความรตู อ งเปน ความรู ตอ งใหคนมคี วามรู แตพรอมกนั นน้ั เรามีเจตนาท่ีดีเปนเมตตา การท่ีพดู ใหค วามรกู ัน กด็ ว ยความหวังดี ไมใ ชเพอ่ื จะมาขัดแยง จะแคน เคอื ง หรอื จะทํารา ยกัน เราตองใหความรูเ พื่อแกปญ หา ดว ยเจตนาที่ดมี ีเมตตา คอื ปรารถนาดี จะแกปญหาดว ยการสรางสรรค ใหเกิดความสงบสุขรม เยน็ อยกู นัดว ยดี แตเรอื่ งรกู ็ตองรู ไมใชวา ปลอ ยไมใ หรู แลว บอกวา พดู ไมไ ด ถาพูดไปจะเสีย กลายเปนแสดงวามคี วามขัดแยงอะไรตางๆ ซึง่ เปนความต่นื กลัวไปเอง ตองแยกใหไดร ะหวา งความรู กบั ความรสู ึก เพราะฉะนนั้ ตอ งทาํ ทง้ั ๒ อยาง เพียงแตตองทําดว ยทา ทที ่ถี กู ตอง คือทาทีแหง เมตตา โดยมเี จตนาทเ่ี ปนเมตตา หมายความวา ความมงุ หมายเปนเมตตา คอื ปรารถนาความดีงาม ความอยรู ว มกนั ดว ยไมตรี มสี ันติสขุ แตต อ งทาํ การดว ยปญญา ตองทําตองดาํ เนินงานดว ยความรู เรอ่ื งที่

๙๐ ชีวติ ที่สรางสรรค สดใสและสุขสันตเปน ความรู ตองรู เพราะเปน เรอ่ื งของปญญา ถา ไมม ีปญญา ก็แกไขปญ หาไมไ ด คนทม่ี เี มตตาอยางเดียว ก็อาจจะตายอยางเดยี ว คือถึงจะมเี มตตาแตถ าโง ก็เปน โมหะ คนมีเมตตา แตโ ง ก็ไปไมร อด สง่ิ ท่ีจะทําใหดาํ เนนิ การไดสําเร็จ คือ ปญญา ฉะนั้น เพ่อื สนองจดุ หมายของเมตตา ก็ตอ งมปี ญ ญาที่จะดําเนนิ การ ตอ งรตู อ งเขาใจ เชน วาเรอื่ งน้ๆี มภี มู หิ ลังเปน มาอยางไร อยา งเรอื่ งประวตั ิศาสตรน่ี เราไมไดเ ลาเพอ่ื ใหแ คน เคอื งหรือขดั แยงกัน แตเ ปน เรอื่ งทีต่ องรู เพราะความจรงิ ก็เปน ความจริง ท้งั ท่ปี ระวตั ศิ าสตรเปนมาอยางน้นั ถามคนไทยสว นมากไมรเู ร่อื ง วาระหวางศาสนามีความเปนมาอยา งไรในอดตี ถาพดู ตามหลักพุทธคณุ กว็ า ปญญา กบั กรุณา ตองใหค รบคู ถาไมมีปญ ญา กก็ รณุ าไมไ ดจ รงิ และกรณุ าไมสาํ เร็จ ฉะนนั้ ตองต้ังหลกั ไวก อ นเลยวา เราตองมีทา ทที ี่ชัดเจนในเร่อื งนี้ จะไดวางแนวในการสัมพันธไดถูกตอง เพราะวา - ความใจกวา ง ไมใ ชการเอาใจกนั แตค วามใจกวา ง คอื อยกู นั ดว ยเมตตา โดยสามารถยอมรับความจรงิ คนใจแคบ คอื คนทจ่ี ะเอาตามความตองการ โดยไมยอมรบั ความจริงหรอื หลักการ ตอ งเอาทั้งปญญาและเมตตา เมตตาก็คือใจเรารกั แตปญ ญาตองรู และตอ งรใู หช ดั ทส่ี ุด คนทไี่ มร ูชัด แกปญ หาไมได ทัง้ หมดทวี่ ามาน้ีจะเกดิ เปนผลข้ึนมาได ตองมกี ารพัฒนาคนดว ยการศกึ ษาแททถ่ี ูกตอง ท่ีคนถอื เอาการพฒั นาตนเปนสาระสาํ คญั แหงการมีชวี ติ ของเขา และอนั นแ้ี หละคอื ชวี ติ และงานทีแ่ ทข องพระสงฆ แลวก็เปน เนือ้

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๙๑แทข องการสบื และสื่อพระพทุ ธศาสนา เพือ่ ประโยชนสุขแกป ระชาชน และแกโลก จึงจาํ เปนตองรูจักระบบวิธีในการพัฒนาคน-พัฒนาตน ท่ีเรียกวาไตรสิกขางานพระพุทธศาสนาทง้ั หมดเปนองคร วม เพื่อจุดหมายหนึง่ เดียว- จดั การปกครองขึน้ มา เพ่ือใหการศกึ ษาไดผ ล ในพระพทุ ธศาสนา และในวดั วาอารามทง้ั หลายน้ี การที่เราจัดกจิ กรรมอะไรตา งๆ ตลอดจนแมแตสรางวตั ถขุ ้ึนมามากมายน้นั ความจริงสาระสําคญั กร็ วมเปน อนั หนึง่ อันเดยี ว เขา หลกั ที่จะตองมองใหเ ห็นระบบสัมพนั ธว า งานพระศาสนาทั้งหมดน้ี ที่แทเ ปน เรือ่ งเดียว ถา เรามองดวู ดั จะมองท่ีพระกอ นกไ็ ด พระเปนตวั บคุ คลท่อี ยูในวัดบางทีเรียกวา ศาสนบคุ คล ทีเ่ ปนแกนของพทุ ธบรษิ ัท พระที่อยูในวัด ถาวา โดยสาระทแ่ี ทแลวมี ๒ คอื ผสู อน กับ ผเู รียนบางทา นอาจจะบอกวา มี ผปู กครอง เชน เจา อาวาส แตทจี่ ริงผปู กครองเปนเพียงผมู าชวยจดั สรรดแู ลหรอื จัดการเพอ่ื ใหการศกึ ษาดําเนินไปไดด ีเทานนั้ เอง ในทางพระศาสนานั้น พระพทุ ธเจาทรงตั้งสงั ฆะขน้ึ มา กเ็ พ่อื เปนชมุ ชนท่คี นจะไดม าพัฒนาตนดว ยการศึกษาทีค่ รบเปนไตรสิกขา จงึ มาอยูกันในวดั การตงั้ วดั ขึ้นนนั้ ก็เพือ่ จดั ใหมีสภาพแวดลอม บรรยากาศ ระบบความสัมพันธ ทเ่ี อ้ือตอ การทแ่ี ตละทานแตละบุคคล จะไดพัฒนาตนข้ึนมาดวยการศึกษา ท่ีเรียกวา ไตรสกิ ขา คือ ศลี -สมาธ-ิ ปญ ญา เทา นน้ั เอง เมื่อศกึ ษาไปโดยถูกตอ งตามหลกั ไตรสกิ ขา กเ็ ปนการปฏิบตั ิทท่ี าํ ให

๙๒ ชีวิตท่สี รางสรรค สดใสและสขุ สนั ตกาวไปจนไดเปน พระอรยิ บคุ คล คือเปน พระเสขะ จนกระท่ังเปน พระอรหันตกจ็ ึงเปนอเสขะจบการศึกษา ถายังไมไ ดเปนพระอรหันต ก็ถือวายังตองศึกษาทั้งน้นั ถงึ จะเปน พระอายุ ๑๐๐ ป มพี รรษา ๘๐ หรือแมม ากกวา น้ัน ก็ตองศึกษา ชีวติ พระเปนชวี ิตของการศึกษาแทๆ ตอ งฝก ฝนพัฒนาตนเรอื่ ยไป การทมี่ ีการปกครอง เร่ิมตนตั้งแตบวชเขามา พระอปุ ช ฌาย ก็คือผูทม่ี าทําหนาที่ดแู ลใหก ารศกึ ษาอยางใกลชดิ การปกครองกค็ ือการมาจดั สรรเอ้ืออํานวย ตะลอมใหผูเรียนผูศึกษาน้ัน มุงแนวไปในการศึกษา เรียกวาจัดสภาพเอื้อตอ การท่ีจะศกึ ษาเทา นน้ั เอง ทีนี้เมือ่ มกี ิจกรรมการศึกษา กม็ ีผูสอนและผูเรยี น ทัง้ ที่ตวั ผสู อนเองก็เปนผูเรยี นดว ย จนกวาจะเปนพระอรหนั ตจึงจะจบ โดยมีพระพทุ ธเจาองคบ รมครเู ปน ศูนยกลาง (พระรูปใดยังไมเปน พระอรหนั ต แตไมศ ึกษา ก็คือไมท าํ หนา ทข่ี องพระ!) เม่อื สอนเมือ่ เรียนกนั ไป ก็เกดิ ความจาํ เปน ตอ งมีที่อยทู อี่ าศัย กฏุ ิก็เกดิ ขึน้ เพ่อื เปนทอี่ ยขู องผเู รียน และผูสอน นั่นเอง- ญาติโยมทาํ บญุ ตอ งใหสมตามพุทธพจนว า “ศึกษาบญุ ” อกี ดา นหนงึ่ ทม่ี ชี าวบา นญาติโยมมา จดุ หมายท่แี ทกเ็ พ่อื รบั ฟง ธรรมคาํสอน การทําบญุ และกิจกรรมตางๆ กเ็ ปนเร่ืองของการที่จะพัฒนาคน โดยจดั เปนรปู แบบ และวิธีการตา งๆ ทีข่ ยายออกไปมากมาย แตเพื่อสาระเดยี วกันกค็ อื เพ่อื พฒั นาคนใหเจรญิ ขน้ึ ในการศึกษา ซงึ่ ในขั้นนี้อาจจะแยกใหง ายหนอยเปน ทาน ศลี ภาวนา ก็ได ซึ่งทานเรียกวา เปนการศกึ ษาบุญ ตามคาถาทพี่ ระพุทธเจาตรัสวา ปุ ฺ เมว โส สิกเฺ ขยยฺ แปลวา พงึ ศกึ ษาบุญ (ทง้ั สามอยาง) นั่นแหละ (ข.ุ อิติ.๒๕/๒๓๘/๒๗๐) หมายความวา ฝกฝน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook