Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวข้อสอบ ตำแหน่ง บุคลากร - นักทรัพยากรบุคคล (ชุดที่ 1 จำนวน 111 ข้อ) (1)

แนวข้อสอบ ตำแหน่ง บุคลากร - นักทรัพยากรบุคคล (ชุดที่ 1 จำนวน 111 ข้อ) (1)

Published by มะเหมี่ยว ชลดา, 2022-06-24 06:36:34

Description: แนวข้อสอบ ตำแหน่ง บุคลากร - นักทรัพยากรบุคคล (ชุดที่ 1 จำนวน 111 ข้อ) (1)

Search

Read the Text Version

แนวข้อสอบ ตำแหน่ง บุคลำกร / นกั ทรัพยำกรบคุ คล (ชุดที่ 1 จำนวน 111 ข้อ)

แนวขอสอบ ตําแหนงบคุ ลากร / นักทรัพยากรบคุ คล (แจกฟรี ไมม่ ีลขิ สิทธ์)ิ (ชุดท่ี 1 จาํ นวน 111 ขอ) โดยประพนั ธ เวารัมย *************************************************** 1. การใหผูมีความรูสูงกวาผูเขารับการอบรมและผูอบรมมีความรูนอย ผูสอนถายทอดความรูใหแกผูรับการ อบรมทางเดยี ว หมายถึง ก. การประชุมซนิ ดิเคต (Syndicate) ข. การนาํ อภิปราย (Leading Discussion) ค. การประชมุ ระดบั ผูนาํ หวั หนา (Convention) ง. การบรรยายหรอื การสอน (Lecture) ************************************************************* 2. การเลือกคนที่มีความสามารถที่สุดเขามาทํางานในตําแหนงท่ีเหมาะท่ีสุด และความสามารถจะสัมพันธกับ คาตอบแทนเสมอ คอื หลักการใดในการบริหารทรพั ยากรมนุษย ก. หลักความเสมอภาคในโอกาส (Equality) ข. หลกั ความมน่ั คงในอาชพี การงาน (Security) ค. หลกั ความเปนกลาง (Political Neutrality) ง. หลกั ความสามารถ (Competency) ************************************************************* 3. การกาํ หนดนโยบายบริหารทรัพยากรมนุษย ปจ จยั ทีอ่ าจจะมีผลกระทบตอ ธุรกจิ แบง เปนกปี่ ระเภท ก. 2 ปจจัย คอื 1.ปจ จยั ภายนอกองคก าร 2. ปจจยั ภายในองคก าร ข. 3 ปจ จยั คอื 1. ปจ จยั การเมือง 2. ปจจยั เศรษฐกจิ 3.ปจ จยั สงั คม ค. 4 ปจ จยั คือ 1. ปจ จยั การเมอื ง 2. ปจ จัยเศรษฐกิจ 3.ปจจยั สังคม 4. ปจ จัยสง่ิ แวดลอ ม ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอ ง ************************************************************* 4. หลักการทั่วไปของทุกองคกรคาดหวังเสมอวา สามารถจางคนมาทํางานใหอยางคุมคา องคการไมควรจะ ขาดทุนดานแรงงาน อันเกิดจากการจางคนผิดใหมาทํางาน หรือสรางปญหาใหกับองคกรแทนที่จะสรางสรรค สงิ่ ที่ตองการ เปนภารกิจและการพ้นื ฐานใด ของการบริหารทรพั ยากรมนุษย ก. การรกั ษาพนักงาน (Retention) ข. การสรรหา (Recruitment) ค. การพฒั นา (Development) ง. การใชป ระโยชน (Utilization) ************************************************************* 5. ขอใดกลาวถูกตอ งเกยี่ ว Quality of Work Life : QWL ก. คุณภาพสงั คม ข. คณุ ภาพชวี ิตการทํางาน ค. คุณภาพการทํางานของพนกั งาน รวบรวมเผยแพรโดย ประพนั ธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 1

ง. คณุ ภาพชีวติ ของพนักงาน (แจกฟรี ไม่มลี ิขสทิ ธ์)ิ ************************************************************* 6. ตัวชวี้ ัด Quality of Work Life : QWL ตามเปา หมายองคการ ขอ ใดกลา วไมถกู ตอง ก. การเพิ่มคณุ คา ใหก บั งาน (Job Enrichment) ข. การมีสวนรว มของผทู ํางาน (Employee Involvement) ค. ส่ิงท่ที าํ ใหเ กดิ ความพอใจ (Well - Satisfied) ง. การดแู ลตรวจตราแบบประชาธิปไตย (Democratic Supervision) ************************************************************* 7. ดัชนีวัดคณุ ภาพชวี ติ และเกณฑม าตรฐาน (Criterion) เปนแนวคิดของใคร ก. Charles Darvin ข. Peter Drucker ค. Philip kotles ง. Richard E. Walton ************************************************************* 8. ขอใดเปน ทรัพยากรการบริหาร ก. วสั ดุอปุ กรณ ข. เงิน ค. คน และการจัดการ ง. ถูกทกุ ขอ ************************************************************* 9. ทรพั ยากรใดถือวา เปนทรพั ยากรท่สี ําคัญทีส่ ุด ก. คน ข. การจดั การ ค. เงนิ ง. วสั ดุอปุ กรณ ************************************************************* 10. POSDCORB ความหมายขอ ใดกลาวถกู ตอง ก. กระบวนการทผ่ี ูบรหิ ารจะตอ งปฎิบตั ิ ข. ชอ่ื ของปราชญทางดานการบรหิ าร ค. คํายอของการจดั องคก ารและประสานงาน ง. วิธีการจดั การตามแนวทางของโจเซพคงิ สเบอร่ี ************************************************************* 11. นอกจากคําวา “Personnel Administration” ซ่ึงหมายถึงการบริหารบุคคลแลว ยังมีการใชคําอ่ืนๆ ใน ความหมายเดียวกนั อกี คอื ก. Industrial Relations รวบรวมเผยแพรโดย ประพนั ธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 2

ข. Labor Relations (แจกฟรี ไม่มีลิขสทิ ธ์)ิ ค. Manpower Management ง. ถูกทุกขอ ************************************************************* 12. นอกจากคาํ วา “Personnel Administration” ซึ่งหมายถงึ การบริหารบุคคลแลว ยังมีการใชคําอื่นๆ ใน ความหมายเดียวกันอกี คือ ก. Industrial Relations ข. Labor Relations ค. Manpower Management ง. ถูกทุกขอ ************************************************************* 13. เปาหมายสาํ คัญของการบริหารงานบุคคลคืออะไร ก. สรรหาและธาํ รงรักษา และพฒั นาบคุ คลผูม ีความสามารถ มคี วามรูเปน คนดีใหแ กห นว ยงาน ข. เสาะหาบคุ คลผูมคี วามรคู วามสามารถใหแ กองคการท่วั ไป ค. แสวงหาบุคคลผูมีความรคู วามสามารถสําหรับองคก าร ง. ขอ ก. และขอ ข. กลาวถกู ตอ ง ************************************************************* 14. เม่ือผูบริหารปฏิบัติหนาท่ีตามกระบวนการ POSDCORB นั้นผูบริหารควรเนนขอใดในขณะท่ีเขา บรหิ ารงาน ก. ระบบ ข. สายการบงั คับบญั ชา ค. เงิน ง. คน ************************************************************* 15. ผูใ ดกลาววา “การบริหารงานบุคคลเม่ือพิจารณาในทุกแงทุกมุมแลว ก็พบวาคนเปนสวนสําคัญที่สุดของ การบริหาร” ก. ฟล ิซ ไนไกร ข. โจเซฟ คงิ สเ บอร ค. ลนิ เรน็ ซ แอปปลี ง. สกุ ิจ จลุ ละนนั ทน ************************************************************* 16. องคประกอบท่ีสาํ คัญขององคการคืออะไร ก. งานและคน ข. ทรพั ยากรการบริหาร ค. งาน รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 3

ง. ปจ จัยบคุ คล (แจกฟรี ไม่มีลขิ สิทธ์)ิ ************************************************************* 17. การจัดการองคการหมายถงึ ขอ ใด ก. การเปล่ียนแปลง ปรบั ปรุง หนว ยธุรกจิ หรือเอกชนใหมคี วามรัดกมุ และปฏบิ ัติงานไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ ข. การกําหนดโครงสรางอาํ นาจหนา ที่การแบงสวนคนและการจัดสายงานเพอื่ ใหบ รรลุเปา หมาย ค. การจดั แบง สถานทีร่ าชการหรือเอกชนใหอยใู นหมวดหมอู ยา งเปนระเบียบไมส ับสน ง. การกําหนดสถานท่ี อปุ กรณ และตวั อาคารใหมีระเบยี บพรอ มที่ จะดําเนนิ งานตามเปา หมายได ************************************************************* 18. การบรหิ ารงานบุคคลเกดิ ขึ้นในประเทศใด เปนประเทศแรก ก. จีน ข. อยี ิปต ค. อาหรับ ง. สหรัฐอเมริกา ************************************************************* 19. หลักฐานเกย่ี วกับการบรหิ ารงานบคุ คลท่ีชดั เจนตอจากสมยั โบราณนัน้ คน พบในชว งเวลาใด ก. ชวงการนําเครือ่ งจกั รมาใช ข. ชว งมีการปฎวิ ัตเิ กษตรกรรม ค. ชว งมกี ารปฎิวตั ิอุตสาหกรรม ง. ชว งหลังปฎิวตั อิ ุตสาหกรรม ************************************************************* 20. การปฎวิ ตั อิ ุตสาหกรรมกอ ใหเกดิ การเปลี่ยนแปลงความสมั พันธข องผใู ด ก. ลกู จา งกับนายจา ง ข. ลกู จางกบั ชา งฝกหดั ค. ลกู จา งกับลกู จา ง ง. ชา งฝมอื กบั ชา งฝมือ ************************************************************* 21. ความสัมพันธท ีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอันเนือ่ งมาจากการปฎวิ ัตอิ ุตสาหกรรมเปน ไปทางใด ก. ทําใหคน ซึ่งเคยมีความรูสึกกับเจาของงานฉันทพี่นองตองออกไปทํางานในสถานที่ของโรงงาน อตุ สาหกรรมหา งไกลออกไปเกดิ ความวาเหว ข. ไมดีนัก คอื ผูประกอบการรวยขนึ้ สวนผูใ ชฝม อื จนลง ค. ทางลบคอื หางเหินกนั และเปน ท่มี าของการต้ังสหภาพ ง. ทางบวกคือสนิทสนมกันมากข้ึน ************************************************************* 22. ลักษณะของการบรหิ ารงานบุคคลใด อดีตแยกออกไดเปนกล่ี ักษณะ ก. 2 ลักษณะ รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 4

ข. 3 ลักษณะ (แจกฟรี ไม่มีลิขสทิ ธ์)ิ ค. 4 ลักษณะ ง. อาจมเี พิ่มเตมิ ไดม ากกวาน้ี ตามธรรมชาตขิ องสังคมศาสตร ************************************************************* 23. ขอใดคอื ลกั ษณะของการบริหารงานบุคคลทเี่ นน อํานาจนยิ ม ก. ผูบริหารเชือ่ วา อาํ นาจยอ มมาจาก ขนบธรรมเนียมประเพณี ข. ผูบ ริหารไมคํานงึ ถึงการลงทุนดา นเคร่ืองจักรแตลงทุนดานคน ค. ผูบรหิ ารคํานึงถึงความสาํ คัญของมนุษยใ นระดบั ตํ่า ง. ผบู รหิ ารคํานงึ ถึงความสําคญั ของทรัพยากรบุคคลในระดบั สงู ************************************************************* 24. ประเทศญีป่ นุ ใชการบรหิ ารงานบุคคลแบบใด ก. แบบเนน ระบบราชการ ข. แบบเนน ความเปนวิชาชพี ค. แบบบิดาปกครองบุตร ง. แบบอํานาจนยิ ม ************************************************************* 25. การบริหารบคุ คลในระบบราชการฝายพลเรอื นมจี ดุ เรมิ่ ตน ท่ีชดั เจนเมือ่ ใด ก. เม่ือประกาศใช พ.ร.บ. ขาราชการพลเรือนจดั ตง้ั ก.ร.พ. ข. สมัยรชั กาลที่ 6 ค. เม่ือประกาศใช พ.ร.บ.ขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2471 ง. เม่อื ประกาศใช พ.ร.บ. ขา ราชการพลเรอื น พ.ศ. 2500 ************************************************************* 26. ขอใดเปนปจจยั ภายในองคการที่มคี วามสําคัญตอ การบรหิ ารงานบคุ คล ก. ลกั ษณะของการจดั การ และสายการบงั คับบัญชา ข. เทคนคิ วทิ ยาการและเทคโนโลยี ค. การจงู ใจในรูปของทรพั ย ง. ถกู ทกุ ขอ ************************************************************* 27. ขอใดเปน ปจจยั ภายนอกองคก ารทม่ี คี วามสําคญั ตอการบริหารงานบคุ คล ก. สภาพของตลาด ข. กฎหมายและระเบยี บขอบังคับของรัฐบาล ค. แรงกดดันจากสหภาพแรงงาน ง. ถกู ทกุ ขอ ************************************************************* 28. เปาประสงคข องการบริหาร คืออะไร รวบรวมเผยแพรโ ดย ประพนั ธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 5

ก. การบรรลวุ ัตถปุ ระสงครวมกนั (แจกฟรี ไมม่ ลี ขิ สิทธ์)ิ ข. การประสานความพยายามของคนเพื่อบรรลุเปา หมาย ค. การประสานความหมายของงาน ง. การประสานความพยายามของคน ************************************************************* 29. ภารกจิ หลักของการบรหิ ารงานบุคคล คืออะไร ก. การธํารงรกั ษา พัฒนาและบรกิ าร ข. กําหนดความตองการดา นบุคลากรของหนว ยงาน ค. การตอบสนองความตองการของหนวยงาน ง. ถูกทุกขอ ************************************************************* 30. การบริหารงานบุคคลซึ่งมีความสําคัญมากตอการบริหาร ถูกจัดอยูในกระบวนการบริหารตามความนิยม ในลําดับใด ก. อนั ดบั แรก ข. อนั ดบั สอง ค. อนั ดับสาม ง. อับดบั สดุ ทา ย ************************************************************* 31. การสรรหาตา งจาการเลือกสรรอยางไร ก. กระบวนการสรรหามจี ุดสน้ิ สุดท่กี ารบรรจุ สวนกระบวนเลอื กสรรมจี ดุ สิ้นสุดท่กี ารกรอกใบสมัครงาน ข. การเลอื กสรรเปนกระบวนการคัดเลือกและบรรจุคนเขาทํางานตางกับการสรรหาที่เปนกระบวนการดึงให ผสู นใจในงานมากรอกใบสมคั ร ค. การสรรหาเปน กระบวนการคัดเลือกตางกับการเลือกสรรเปนกระบวนการดึงใหผูสนใจมากกรอกใบสมัคร งาน ง. ไมม ขี อใดกลาวถูกตอง ************************************************************* 32. การกําหนดความตองการดานบุคลากรตอ งพจิ ารณาอะไรบาง ก. ปรมิ าณ ข. โครงสรางคา ตอบแทน ค. คณุ ภาพ ง. ถกู ทุกขอ ************************************************************* 33. การตอบสนองความตองการดานบุคลากรตองทาํ อะไรบา ง ก. การเตรยี มบุคลากรใหม ข. กาเลือกสรร รวบรวมเผยแพรโ ดย ประพันธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 6

ค. การสรรหา (แจกฟรี ไม่มีลิขสทิ ธ์)ิ ง. ถูกทุกขอ ************************************************************* 34. การธาํ รงรักษา พัฒนาและบรกิ ารบุคลากรตอ งทาํ อะไรบา ง ก. การจัดสวสั ดกิ าร ข. การประเมนิ การปฏิบัติงาน ค. การพัฒนาและฝกอบรมบุคลากร ง. ถูกทกุ ขอ ************************************************************* 35. การเตรยี มบุคลากรใหมสาํ หรบั หนวยงานตองดาํ เนนิ การอะไรบาง ก. การนเิ ทศงาน ข. การมอบหมายงาน ค. การปฐมนิเทศ ง. ถกู ทกุ ขอ ************************************************************* 36. แหลง กาํ เนดิ ระบบอุปถมั ภ คือขอ ใด ก. เอเชยี ข. จีน ค. ยุโรป ง. เอเชยี ************************************************************* 37. ไดมกี ารยอมรับวา หนว ยงานท่ที ําหนา ท่ีดานการบรหิ ารงานบคุ คลมสี ิทธอิ าํ นาจ (Authority) ในแงใด ก. เปนหนวยงานฝายปฏิบตั ิ ข. ใหคําปรกึ ษาแนะนาํ เร่ืองบุคคล ค. ตดั สินใจสง่ั การในการบรหิ ารทวั่ ไป ง. ไมม ีขอ ใดกลาวถูกตอ ง ************************************************************* 38. การมอบหมายอํานาจตามหนาที่ (Function Authority) โดยผูบริหารสูงสุดตอหนวยงาน ท่ีปรึกษามี ขอ ดีอยางไร ก. งานบรรลุผลเพราะผปู ฎิบัตเิ ปน ตัดผูคิดและผูท าํ ข. มีเอกภาพในการบงั คับบญั ชา ค. งานคลอ งตัวรวดเร็ว ง. ไมม ขี อ ใดกลา วถูกตอ ง ************************************************************* 39. ผูบรหิ ารบุคคลมีความจาํ เปน ทต่ี อ งแสดงบทบาททสี่ ําคัญในจดุ ประสงคขององคการคอื รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 7

ก. งาน (แจกฟรี ไมม่ ลี ขิ สทิ ธ์)ิ ข. งานและเงนิ ค. คนและเงนิ ง. งานและคน ************************************************************* 40. การบริหารงานบคุ คลในฝายราชการพลเรือนของไทยมวี วิ ฒั นาการต้งั แตส มยั ใด ก. อาณาจักรเม็งราย ข. อาณาจกั รสโุ ขทยั ค. อาณาจักรสวุ รรณภมู ิ ง. อาณาจักรลา นนา ************************************************************* 41. การใชวิธีเล่ือนข้ันเล่ือนตําแหนงโดยคํานึงถึงความพอใจของผูบังคับบัญชาเปนวิธีการที่อยูในระบบการ บรหิ ารงานบุคคลระบบใด ก. ระบบคณุ ธรรม ข. ระบบชนชน้ั ค. ระบบสายเลอื ด ง. ระบบอุปถัมภ ************************************************************* 42. แนวทางในการวางแผนบคุ ลากร วิธีจากบนลงลางจะบงบอกถงึ อะไร ก. นโยบายมคี วามสาํ คัญ ข. ความรคู วามสามารถ และขีดความสามารถของบุคลากร ค. หนวยงาน และบุคลากรมคี วามสาํ คัญ ง. มกี ารเช่อื มโยงแผนงานบคุ ลากรใหเขา กับหนวยงาน ************************************************************* 43. การบริหารงานบคุ คลแผนใหมน าํ แนวคิดในการบริหารงานอะไรเพม่ิ เตมิ จากการใชร ะบบคณุ ธรรม ก. นําวิทยากรบริหารตา งๆ มาประยกุ ตใชใ หเกดิ ผลดี ข. เพ่ิมพูนสมรรถภาพและประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ านของคน ค. มุง พัฒนาฝกอบรมตวั บุคคล ง. ถูกทกุ ขอ ************************************************************* 44. หลกั การบรหิ ารงานบคุ คลโดยทั่วไปยึดระบบอะไร ก. ระบบคุณธรรม ข. ระบบอปุ ถัมภ ค. ระบบสายเลือด ง. ขอ ก. และขอ ข. รวบรวมเผยแพรโ ดย ประพนั ธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 8

************************************************************* (แจกฟรี ไมม่ ีลขิ สิทธ์)ิ 45. หลักการบริหารงานบุคคลโดยทั่วไปยึดระบบอะไร ก. ระบบคุณธรรม ข. ระบบอุปถัมภ ค. ระบบสายเลือด ง. ขอ ก. และขอ ข. ************************************************************* 46. การจดั องคการบริหารงานบุคคล น้ันมักจะมีหลายฝายประกอบกันเปนหนวยรับผิดชอบงานแตละสวน ซ่ึง มีพนักงานสัมพันธการจัดหาบุคคลเขาทํางานการพัฒนาการบริหารการวางแผนบุคลากรสุขภาพและความ ปลอดภัยการพัฒนาบุคลากรทะเบียน ประวัติยังขาดสวนงานอีกสวนหน่ึงซึ่งมีความสําคัญมากท่ีสุด คือสวน งานใด ก. คา ตอบแทน ข. สวัสดกิ าร ค. การบริการ ง. การฝกอบรม ************************************************************* 47. ระบบเลี้ยง ระบบเลน พวก ระบบชอบพอเปน พิเศษจดั วาอยใู นระบบใด ก. ระบบสายเลอื ด ข. ระบบคุณธรรม ค. ระบบคณุ ถมั ภ ง. ถูกทกุ ขอ ************************************************************* 48. กฎหมายทว่ี างรากฐานการบรหิ ารงานบุคคลสําหรบั ขาราชการฝายพลเรอื น โดยยดึ ระบบคุณธรรม ก. Affirmative Action Act ข. Civil Service Article ค. Pendleton Act ง. Tennessee Valley Authority ************************************************************* 49. การบรหิ ารงานบคุ คลตามระบบคณุ ธรรมยึดหลักขอใด ก. หลักความมน่ั คงและหลกั ความเปนกลางทางการเมือง ข. หลักความสามารถ ค. หลกั ความเสมอภาค ง. ถกู ทุกขอ ************************************************************* 50. เทคนคิ การคาดคะเนความตอ งการ ดา นแรงงานทเ่ี รยี กวา การคาดคะเนโดยผูเชีย่ วชาญแสดงใหเหน็ ถงึ รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 9

ก. กจิ รรมตา งๆ รวมทัง้ กิจกรรมทางดานบคุ ลากรในรอบป (แจกฟรี ไมม่ ีลขิ สทิ ธ์)ิ ข. ความสัมพนั ธของอดตี กับปจ จัยทีเ่ กยี่ วของโดยตรงกับการจางแรงงาน ค. ความรู และประสบการณข องกลมุ บุคคล ง. ความสัมพนั ธของปจจยั หลายๆอยา งกบั การจา งงาน ************************************************************* 51. อะไรเปน ความสาํ คญั ของการวางแผนบุคลากร ก. บคุ คลมีความพอใจในการทาํ งาน ข. บุคคลหาไดงา ย และใชเ วลานอยกวา วัตถุ ค. ความสอดคลอ งกบั เปา หมายขององคการ ง. ความสอดคลอ งกับกฎหมายแรงงาน ************************************************************* 52. การวางแผนการเล่อื นตําแหนง ฝายบริหารขององคการจะตอ งพิจารณาเร่อื งใด ก. ความทะเยอทะยานของบคุ ลากรท่มี ีเหมือนกนั ข. สถานท่ีตง้ั ของงาน ค. การโอนยายบุคลากร ง. โอกาสของการเล่อื นตาํ แหนง ************************************************************* 53. การพรรณนาลกั ษณะงาน (Job Description) หมายถงึ ก. ขอความท่แี สดงคณุ สมบัตอิ ยา งตํ่าของบคุ คลทจี่ ะทํางานนั้น ข. ขอความที่แสดงวา ผูป ฏิบัตงิ านทํางานอะไรทําอยา งไรและทําไมจึงทาํ อยางนั้น ค. กระบวนการรวบรวมขอ มลู ทเี่ กีย่ วกับงานกิจกรรม วธิ ปี ฏิบตั ิงาน คณุ สมบัติของผปู ฏบิ ัติงาน ง. กระบวนการทจี่ ดั ทําขนึ้ เพอื่ เปรยี บเทยี บคา ของงานตา งๆในองคก าร ************************************************************* 54. คาํ วา ตําแหนง (Position) หมายถึง ก. หนา ทอ่ี ยา งหนงึ่ หรือหลายๆอยา งท่ีบคุ คลจะตอ งกระทาํ ในองคการ ข. จาํ นวนแรงงานเฉพาะอยา ง ค. กจิ กรรมของงานแตละอยา งที่จะทาํ งานนน้ั ๆ สําเร็จลุลวงไป ง. กลมุ งานทีเ่ หมือนกันๆ กันไมว างานนนั้ จะอยทู ี่ใดในองคการ ************************************************************* 55. การวดั ประสิทธิภาพของระบบขอมลู จะตอง ก. ใหผ ูใชและผูบ รหิ ารระดับสงู ยอมรบั ข. ใหผบู รหิ ารระดับสงู ใชเก็บขอ มูล ค. จัดใหมีขอมูลซ่ึงนําไปใชเมื่อถึงเวลาท่ีฝา ยบรหิ ารตอ งการ ง. ใหร ะบบนั้นไมม ีการเปลีย่ นแปลงบอ ยๆ ************************************************************* รวบรวมเผยแพรโดย ประพนั ธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 10

56. การพัฒนาบุคลากร ใหสามารถใชแรงงานไดหลายหนาที่เทาท่ีจะกระทําไดในกรณีท่ีงานบา(งแจสกวฟนรี ลไมด่มนีลขิอสยทิ ธ์)ิ ลงกใ็ หยา ยบคุ ลากรไปทาํ หนาที่ในสวนงานอ่นื วธิ ดี ังกลา วนีเ้ ปน ก. การเพม่ิ จาํ นวนบุคลากร ข. การลดจาํ นวนบุคลากร ค. การรกั ษาจาํ นวนบคุ ลากร ง. การวางแผนการเลอื่ นตาํ แหนง ************************************************************* 57. ขอ ใดเปน ปจ จยั ทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอการวางแผนบุคลกรและการคาดคะเนความตองการดา นแรงงาน ก. อัตราการหมุนเวียนของแรงงานการขาดงาน และการสูญเสยี ดา นแรงงานขององคก าร ข. วตั ถปุ ระสงคท งั้ ระยะสัน้ และระยะยาวขององคก าร ค. ปจจัยทางดา นเศรษฐกจิ เทคโนโลยแี ละทรพั ยากรขององคการ ง. แผนงานประจาํ ปขององคก าร ************************************************************* 58. การสมั ภาษณห มายถึงขอ ใด ก. กระบวนการที่บคุ คลแลกเปลีย่ นขา วสารขอ มูลกัน ข. การพบปะพดู คยุ กนั ของบคุ คลสองคนโดยมีการนดั หมายกนั ไว ค. การสนทนาท่ีมีเปาหมายหรอื วัตถุประสงค ง. ถกู ทกุ ขอ ************************************************************* 59. สมมติวาเม่ือ 3 ปที่แลวยอดขายสินคาขององคการแหงปแรกขายได 6,000 หนวย ใชพนักงานขาย 10 คน ปที่ 2 ขายได 9,000 หนวย ใชพนักงานขาย 15 คน และปที่ 3 ขายได 12,000 หนวย ใชพนักงานขาย 20 คน ปหนา คาดวายอดขายจะมจี ํานวน 14,400 หนวย ดงั น้นั จึงจะใชพ นักงานขาย 24 คน วธิ ีการคาดคะเน ความตอ งการจาํ นวนพนกั งานขายดงั กลาวเรียกวา ก. การวางแผนโดยงบประมาณ ข. การคาดคะเนโดยใชง านเปน มาตรฐาน ค. การคาดคะเนโดยการใชแ นวโนม ง. การคาดคะเนโดยใชปจ จัยสาํ คัญ ************************************************************* 60. ทานคิดวา หลักของการตงั้ คําถามทใ่ี ชใ นการสมั ภาษณท ี่ดคี วรมีลักษณะเชนไร ก. ควรต้งั คําถามไวห ลายคาํ ถามทีม่ คี วามแตกตางกัน ข. ควรต้งั ถามในรปู ของการสนทนา ค. คําถามท่ีตั้งควรมีลักษณะยาวพอประมาณ ง. ถูกทกุ ขอ ************************************************************* 61. ระหวา งบคุ ลากรใหมร อการบรรจุถาวรองคก ารควรดาํ เนนิ การอยา งไร รวบรวมเผยแพรโดย ประพนั ธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 11

ก. จัดใหท ดลองงาน (แจกฟรี ไมม่ ีลขิ สทิ ธ์)ิ ข. จัดใหห มุนเวยี นงาน ค. จดั ใหม กี ารปฐมนเิ ทศ ง. ถูกเฉพาะขอ ก และขอ ค. ************************************************************* 62. ระยะเวลาในการทดลองงานมักจะใชร ะยะเวลานานเทาใด ก. 1 - 12 เดือน ข. 1 - 18 เดือน ค. 1 - 24 เดอื น ง. 1 - 30 เดอื น ************************************************************* 63. ลกั ษณะของแบบทดสอบทม่ี คี วามเช่ือถือไดค อื ขอใด ก. แบบทดสอบท่สี ามารถประมาณสถานภาพหรือความสําเรจ็ ในอนาคตได ข. แบบทดสอบที่สามารถใหค ะแนนคงท่แี นน อนแมว า จะทดสอบกค่ี ร้ังก็ตาม ค. แบบทดสอบทคี่ ิดไดตรงตามเน้ือหาที่ตองการจะวัด ง. แบบทดสอบทท่ี าํ ใหทกุ คนมีโอกาสทจี่ ะตอบถูกถามคี วามรูในเรื่องทีจ่ ะออกขอสอบน้นั ๆ ************************************************************* 64. สําหรับองคก ารท่ีมโี ครงการวาจา งท่สี มบรู ณกระบวนการคัดเลือกมกั จะเริม่ และสน้ิ สุดลงเชน ไร ก. เริ่มดว ยการสมั ภาษณข ั้นตนสิน้ สดุ ดวยการสัมภาษณเพอ่ื บรรจุ ข. เริ่มดว ยการตอ นรับใบสมัครส้ินสดุ ดวยการตรวจสอบประวัติ ค. เรมิ่ ดวยการกรอกใบสมคั รส้ินสุดดวยการตรวจสุขภาพ ง. เร่มิ ดว ยการสอบคัดเลือกส้นิ สดุ ดวยการบรรจุ ************************************************************* 65. การทดสอบแบบใดตอ ไปน้ี ทีอ่ อกแบบมาเพอ่ื วดั ทกั ษะเกย่ี วกับอาชีพ ก. การทดสอบเชาวน ข. การทดสอบความสนใจเก่ยี วกบั อาชพี ค. การทดสอบความชํานิชํานาญ ง. การทดสอบความถนัดทางธรรมชาติ ************************************************************* 66. การทดสอบแบบใดตอไปนี้ ท่ีออกแบบมาเพอื่ วดั ทกั ษะเก่ียวกับอาชีพ ก. การทดสอบเชาวน ข. การทดสอบความสนใจเกย่ี วกบั อาชีพ ค. การทดสอบความชํานิชาํ นาญ ง. การทดสอบความถนดั ทางธรรมชาติ ************************************************************* รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 12

67. ผทู ี่รบั ผิดชอบในการปฐมนิเทศโดยทั่วไปคอื ใคร (แจกฟรี ไม่มลี ิขสทิ ธ์)ิ ก. การทดสอบเชาวน ข. การทดสอบความสนใจเก่ียวกบั อาชพี ค. การทดสอบความชาํ นิชาํ นาญ ง. การทดสอบความถนดั ทางธรรมชาติ ************************************************************* 68. จดุ มุงหมายในการปฐมนเิ ทศ คอื อะไร ก. เพอื่ ใหผูเขามาใหมมีความรแู ละความเขาใจในนโยบายและหนา ที่ของหนวยงานในองคการ ข. เพ่ือใหผเู ขาใหมม ีความรูแ ละความเขาใจเก่ยี วกบั ประโยชนและบริการตางๆท่ีองคการจดั ให ค. เพื่อสรา งขวญั และสรา งความคุนเคยตอ สภาพแวดลอ มในการทาํ งาน ง. ถกู ทุกขอ ************************************************************* 69. การสัมภาษณแบบลึก คืออะไร ก. การสัมภาษณผทู ท่ี ําการสมั ภาษณม งุ จะไดขอเท็จจริงจากผทู ่ีถูกสัมภาษณ ข. การสมั ภาษณท ีไ่ ดมกี ารตระเตรียมคําถามทจี่ ะใชใ นการสมั ภาษณไวลวงหนา ค. การสมั ภาษณท ต่ี องการทราบพฤตกิ รรมของผูท ีถ่ ูกสัมภาษณ ง. ถกู ทกุ ขอ ************************************************************* 70. ขอ ใดตอไปนี้ เปนขอ ทค่ี วรระวังเกี่ยวกับการประเมนิ การสมั ภาษณ ก. อยา ประเมินผล การสัมภาษณจากความรูส ึกผิวเผนิ แลวทําการตดั สนิ ใจ ข. อยา งประเมินผเู ขารับการสัมภาษณจ ากขาวสารขอ มลู ท่ีไดจ ากการสัมภาษณต ามลาํ พัง ค. อยาใชค วามลาํ เอยี ง ความชอบ ไมชอบในการตดั สินใจเปน ผลใหก ารประเมินไกลจากความเปน จริง ง. ไมม ขี อ ใดถูก ************************************************************* 71. การจดั หาบคุ คลโดยทว่ั ไปเปน หนาทข่ี องใคร ก. ผบู รหิ ารระดบั สงู ของหนวยงานชวยอํานวยการ ข. ผูบริหารระดบั สูงของหนว ยงานหลกั ค. ผจู ดั การการวาจา ง ง. ผูบรหิ ารทุกๆคน ************************************************************* 72. การสอบคัดเลือกจําแนกได 2 ประเภทคือ การจําแนกตามวิธีการจัดการ และการจําแนกตามจุดมุงหมาย ทานคิดวา การทดสอบขอ ใดตอไปน้ีเปน การทดสอบที่จําแนกตามจุดมุงหมาย ก. การทดสอบเชาวน ข. การทดสอบสมั ฤทธผิ ล ค. การทดสอบความถนดั ทางธรรมชาติ รวบรวมเผยแพรโ ดย ประพันธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 13

ง. ถกู ทกุ ขอ (แจกฟรี ไม่มลี ขิ สทิ ธ์)ิ ************************************************************* 73. วธิ ีมั่นใจวิธีหนึ่งท่ีจะบงบอกวา ผูสมัครที่ไมไดรับการฝกฝนมากอน จะทํางานไดเปนท่ีพึงพอใจโดยวิธีการ ดงั กลาวสามารถแกป ญหาเวลา และคาใชจ า ยไดด วยวธิ กี ารน้นั คอื ขอ ใด ก. การกรอกใบสมัคร การสัมภาษณ และการสอบคดั เลือก ข. การสัมภาษณ การตรวจสอบใบสมัคร และการตรวจสขุ ภาพ ค. การสอบคดั เลอื ก การตรวจสขุ ภาพ การบรรจุ ง. การสมั ภาษณ การสอบคัดเลอื ก และการตรวจสอบประวตั ิ ************************************************************* 74. ขอใดตอไปน้ีคอื ลักษณะของการสัมภาษณแ บบ Stress Interview ก. การกาํ หนดคาํ ถามหรือหัวขอ ทจี่ ะใชใ นการสัมภาษณไวกอน ข. การสัมภาษณท ไี่ มม ีเกณฑมาตรฐานตายตัว ค. การท่ีพยายามทําใหผทู ี่ถกู สมั ภาษณโกรธ ง. ถูกทุกขอ ************************************************************* 75. โดยท่ัวไปวตั ถปุ ระสงคข องการสัมภาษณม กั จะมงุ ไปในเรื่องอะไร ก. หาขอ เทจ็ จรงิ จากผทู ีถ่ กู สัมภาษณ ข. ใหข อ เทจ็ จรงิ แกผ ทู ีถ่ กู สัมภาษณ ค. เปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมของผทู ี่ถูกสมั ภาษณ ง. ถูกทกุ ขอ ************************************************************* 76. วิธกี ารทใี่ ชใ นการคัดผูส มคั รขัน้ ตน ท่นี ิยมกนั คอื ขอ ใด ก. การสัมภาษณข้ันตน ข. การกรอกใบสมคั รในการคัดขัน้ ตน ค. การใชการสมั ภาษณในการคัดขน้ั ตน ง. ถกู ทุกขอ ************************************************************* 77. วิธีการสรรหาบุคลากรภายนอกองคการโดยเฉพาะระดับบริหารวิธีใด เปนวิธีนิยมกันมากในกรณีของ ประเทศทีพ่ ฒั นา ก. การตดิ ตอระหวางบคุ คล ข. การใชบรษิ ัทโดยการรับจา งทีป่ รกึ ษาทางบริหาร ค. การสงเจาหนา ท่ขี ององคการแสวงหาแหลงตา งๆ ง. การตดิ ตอ กับสถาบันการศึกษา ************************************************************* 78. โดยปกตเิ มอ่ื องคก ารมีนโยบายจะสรรหาบคุ คลภายนอกองคการจะตอ งดําเนนิ การ อยา งไร รวบรวมเผยแพรโดย ประพนั ธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 14

ก. จัดใหมตี ัวแทนขององคการอยูใ นตลาดแรงงาน (แจกฟรี ไม่มีลขิ สทิ ธ์)ิ ข. ทําการคดั ผูสมคั รขัน้ ตน ในชว งกระบวนการสรรหา ค. วิเคราะหแหลง จัดหาแรงงานในที่ตางๆ ง. ถูกทุกขอ ************************************************************* 79. วัตถปุ ระสงคของการวางแผนทางดานกําลงั คนโดยทั่วไป คอื อะไร ก. เพ่อื จะไดค นทม่ี คี วามรคู วามสามารถทีเ่ หมาะสม ข. เพอ่ื ปองกันท่จี ะไมใหค นในองคการมากเกินไป ค. เพือ่ ปองกันหรือหลีกเลย่ี งท่จี ะไมใ หมกี ารขาดแคลนคนทจ่ี ะมาทํางาน ง. ถูกทกุ ขอ ************************************************************* 80. ลักษณะสําคัญของการฝก อบรมปฐมนิเทศขน้ั ตน คอื ขอใด ก. กระทําในระยะเร่ิมตนทอี่ อกจากงานใหมๆ ข. กระทําเปน รายบคุ คล ค. กระทําเปน กลมุ บคุ คลจาํ นวนไมมากนัก ง. มลี ักษณะเปน ทางการอยา งมาก ************************************************************* 81. ขน้ั ตอนสุดทายของกระบวนการจัดการฝกอบรมโดยท่ัวไป คือขอ ใด ก. ขน้ั การวิเคราะหค วามตอ งการ ข. ขน้ั การเปรยี บเทยี บผล ค. ข้ันการประเมิลผล ง. ขน้ั การตดิ ตาม ************************************************************* 82. หลกั การจดั การพฒั นาบคุ ลากรมอี ยูม ากมายหลายประการ ยกเวน ขอใด ก. หลกั การเสรมิ สรา งความเชื่อถอื ศรัทธา ข. หลกั การรักษาความสนใจใหอยูในระดบั สงู เสมอ ค. หลักการรักษาเวลาใหเ ท่ยี งตรงเสมอ ง. หลักการเสรมิ สรา งภาวะสมอง ************************************************************* 83. ขอใด ท่เี ปนลักษณะของตาํ แหนง นักบรหิ าร ก. จาํ นวนนอยกวา บุคลากรในตําแหนงอนื่ ๆ ข. มรี ะดับความรับผดิ ชอบเฉพาะงานในหนาที่ของตน ค. ทําหนา ท่ีตดั สนิ ใจเลอื กแนวทางปฏิบัตเิ พื่อใหบ รรลุถึงนโยบายที่กาํ หนดไว ง. ปฏบิ ัติงานตามคําสัง่ ของตนเองและของผูอื่น ************************************************************* รวบรวมเผยแพรโ ดย ประพันธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 15

84. ขอ บกพรอ งท่ีสาํ คัญของการใชว ธิ ีการสาธิตในการฝก อบรม คอื ขอ ใด (แจกฟรี ไมม่ ลี ขิ สทิ ธ์)ิ ก. ใชเ วลาในการดาํ เนนิ งานมากและไมค ุมคา ข. ไมเ ปดโอกาสใหผูเขารบั การฝกอบรมไดซ ักถามปญหา ค. ใชไดเ ฉพาะบางลกั ษณะงานบางตาํ แหนงเทาน้นั ง. คอนขา งเสย่ี งตอ ความลมเหลวไดงาย ************************************************************* 85. การพฒั นาบุคลากรมีความหมายแตกตางกบั การฝก อบรมในลักษณะใด ก. ใชจา ยเงนิ มากนอ ยแตกตา งกนั ข. มวี ิธดี าํ เนินงานทีแ่ ตกตางกนั ค. บคุ ลากรท่เี ขา รับการพฒั นามีระดบั ตําแหนง ท่ีแตกตางกนั ง. เจา หนาท่ที ่ดี าํ เนินงานแตกตา งกนั ************************************************************* 86. การฝก อบรมวธิ ีใดตอ ไปนี้ ทม่ี ีลักษณะคลายคลงึ กับวธิ ีการประชุมอภปิ รายมากทสี่ ดุ ก. การสัมมนา ข. การระดมความคดิ ค. การสรา งสถานการณจาํ ลอง ง. การประชุมแบบซินดเิ คท ************************************************************* 87. ขอใดตอ ไปน้ี เปนวธิ ีการหนงึ่ ของการพฒั นานกั บรหิ าร ก. การศกึ ษากรณีตัวอยาง ข. การสาธติ ค. การแสดงบทบาทสมมติ ง. การหมนุ เวียนงาน ************************************************************* 88. การท่ีองคการหน่ึงจัดใหมี การฝกอบรมบุคลากรของตนน้ันยอมมีวัตถุประสงคอยูหลายประการ ยกเวน ขอใด ก. เพ่ือสอนและแนะนําวธิ กี ารทํางานทีถ่ กู ตอง ข. เพื่อจัดวางระบบและมาตรฐานในการทาํ งานของบุคลากร ค. เพอื่ ปรบั ปรุงสภาพการทํางานของตนใหด แี ละเหมาะสมย่ิงขนึ้ ง. เพอ่ื ฝกอบรมบคุ ลากรเตรียมไวเพื่อขยายตวั ขององคก าร ************************************************************* 89. ขอ ดีประการหน่งึ ของวิธีการฝก อบรมโดยการศึกษาดว ยตนเองคือ ขอใด ก. เหมาะสาํ หรับการฝก อบรมเพื่อผลติ วิทยากรฝก อบรม ข. เหมาะสาํ หรับผทู ีเ่ ขา ใจงานในหนา ทข่ี องตนดีอยูแลว ค. ผเู ขา รบั การฝกอบรมสามารถพบปะกับวิทยากรไดทุกเวลา รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 16

ง. ใชเ วลาในการดาํ เนนิ การนอยกวาวธิ ีอืน่ (แจกฟรี ไมม่ ีลขิ สทิ ธ์)ิ ************************************************************* 90. องคการ ควรใชว ธิ ใี ดในการพฒั นานกั บริหาร ก. การสาธิต ข. การหมนุ เวียนงาน ค. การแสดงบทบาทสมมติ ง. การศึกษา ************************************************************* 91. การพฒั นาบคุ ลากรมคี วามแตกตา งกับฝก อบรมในลกั ษณะใด ก. เจาหนา ที่ท่ีดําเนนิ งานแตกตา งกนั ข. ใชจายเงินมากกนอยแตกตางกัน ค. บุคลากรที่เขา รับการพฒั นามรี ะดับตําแหนงทแี่ ตกตา งกนั ง. มีวธิ ีดําเนินงานทแ่ี ตกตา งกัน ************************************************************* 92. องคการจะใชว ธิ ีการฝกอบรมโดยการศกึ ษาดวยตนเอง มีผลดอี ยางไร ก. เหมาะสําหรับผูท่เี ขา ใจงานในหนา ทข่ี องตนดีอยูแลว ข. ผูเขา รบั การฝกอบรมสามารถพบปะกับวทิ ยากรไดทุกเวลา ค. ใชเ วลาในการดาํ เนนิ การนอ ยกวา วิธีอน่ื ง. เหมาะสําหรบั การฝก อบรมเพื่อผลติ วทิ ยากรฝก อบรม ************************************************************* 93. ขอบกพรอ งทีส่ าํ คญั ของการใชวิธกี ารสาธิตในการฝก อบรม คือขอ ใด ก. ใชไดเฉพาะบางลกั ษณะงานบางตาํ แหนงเทานน้ั ข. คอ นขางเสย่ี งตอความลม เหลวไดง าย ค. ไมเ ปดโอกาสใหผูเ ขารับการฝก อบรมไดซักถามปญ หา ง. ใชเวลาในการดําเนนิ งานมากและไมค มุ คา ************************************************************* 94. ในกระบวนการของการประเมินการปฏบิ ตั ิงานน้นั ขั้นตอนขน้ั แรกคอื ขอ ใด ก. กําหนดนโยบายของการประเมิน ข. กาํ หนดเกณฑที่จะใชว ดั ค. กาํ หนดวิธี ง. กาํ หนดผทู ีจ่ ะทาํ การประเมิน ************************************************************* 95. Halo Effect ในความหมายของการประเมนิ การปฏบิ ัติงาน คอื ขอ ใด ก. การมีมาตรฐานที่ไมชัดเจน ข. การมผี ูประเมนิ มแี นวโนม ทจ่ี ะประเมนิ เขาศนู ยก ลาง รวบรวมเผยแพรโดย ประพนั ธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 17

ค. การใชอ ุปทานหรือความยึดม่ันในสงิ่ ใดสงิ่ หน่งึ เปนหลกั (แจกฟรี ไมม่ ลี ิขสทิ ธ์)ิ ง. ถกู เฉพาะขอ ข.และขอ ค. ************************************************************* 96. ในวิธีการประเมนิ ตอ ไปน้ี วิธใี ดสน้ิ เปลืองเวลามากทส่ี ุด ก. แบบเนน พฤติกรรมท่สี ําคญั ข. แบบเขยี นคาํ บรรยาย ค. ตรวจสอบเพมิ่ เตมิ ง. ศนู ยการประเมนิ ************************************************************* 97. วัตถุประสงคของการอภิปรายผลการประเมินการปฏิบัติงานคือขอ ใด ก. เปนแนวทางในการเล่ือนตําแหนงเล่ือนเงนิ เดือน ข. เปนแนวทางในการใหคาํ ปรกึ ษาแกผ ถู กู ประเมิน ค. เปนใหขอ มูลยอ นกลับแกผูถ กู ประเมิน ง. ถูกเฉพาะขอ ข.และขอ ค. ************************************************************* 98. ในวิธีการประเมินแบบบังคับเลือก โดยทั่วไปจะประกอบดวยกลุมขอความ แตละกลุมขอความจะ ประกอบดวยประโยคก่ีประโยค ก. 1 ประโยค ข. 2 ประโยค ค. 3 ประโยค ง. 4 ประโยค ************************************************************* 99. เกยี่ วกบั การประเมนิ แบบเนน เหตกุ ารณวิกฤติ ขอ กลา วถกู ตอง ก. ไดหลักฐานท่เี ปนเท็จเก่ียวกบั พฤติกรรมของผถู ูกประเมนิ ข. หลีกเล่ียงการวจิ ารณทค่ี ณุ ลักษณะสว นตวั ของผถู กู ประเมนิ ค. ไดหลักฐานทเ่ี ปนจริงเก่ยี วกบั พฤตกิ รรมของผถู ูกประเมิน ง. ถูกเฉพาะขอ ข. และขอ ค. ************************************************************* 100. ขอ ใดจัดอยูใ นวิธีการประเมินแบบตรวจรายการ ก. วธิ ีการประเมินแบบบงั คบั เลอื ก ข. วธิ กี ารประเมินแบบเนน เหตกุ ารณว กิ ฤติ ค. วธิ กี ารประเมินแบบถวงนา้ํ หนกั รายการ ง. ถูกเฉพาะขอ ก. และขอ ค. ************************************************************* 101. ขอ ใดไมใชปจ จัยที่ตองพึงระวังในการประเมนิ การปฏบิ ตั ิงาน รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 18

ก. ความเช่อื ถอื ได (แจกฟรี ไม่มลี ิขสิทธ์)ิ ข. อทิ ธพิ ลของลักษณะงาน ค. ความแตกตางของตวั ผูทําการประเมนิ ง. การขาดหลกั ฐานอยางเพยี งพอ ************************************************************* 102. วัตถปุ ระสงคของการประเมนิ การปฏิบตั ิงานคือขอใด ก. เพอ่ื สรางความเปนมาตรฐานในการทํางาน ข. เพอ่ื เปน การระบุตัวบคุ คลทคี่ วรจะไดร บั การเลื่อนขนั้ ค. เพอ่ื ชว ยใหผ ปู ฏิบตั งิ านทาํ งานไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ ง. ขอ ข.และขอ ค. ถูกตอ ง ************************************************************* 103. วธิ กี ารประเมินการปฏิบัติงานทีม่ งุ ประเมนิ ศักยภาพของบคุ คล คอื ขอใด ก. วธิ ีการประเมินแบบเขียนคาํ บรรยาย ข. วิธีการประเมนิ แบบจบั คเู ปรยี บเทียบ ค. วิธีการประเมนิ แบบถวงนา้ํ หนักรายการ ง. วิธีการประเมนิ แบบศนู ยก ารประเมิน ************************************************************* 104. ในยุคสมัยแหงการเปล่ียนแปลงและการแขงขันอยางเอาเปนเอาตายในปจจุบัน ปจจัยสําคัญที่ฐานพลัง ในการแขงขนั คือ ก. การรือ้ ปรับระบบ (Re-engineering) ข. การบรหิ ารการเปล่ียนแปลง (Change Management) ค. การจัดการความรู (Knowledge Management) ง. การพฒั นาองคก ร (Organization Development) ************************************************************* 105. Road mapping ไดเขามาชวยผูบ ริหารในเรื่องใด ก. ทาํ ใหเกดิ การวิเคราะห การออกแบบ และการจดั ทําแผนดําเนินงาน เปน รปู ธรรมชดั เจน ข. ทําใหเ ขาใจองคกรอยางแทจริง ลึกซ้ึง เขาใจโลกท่ีกําลังเปลี่ยนแปลงและสามารถกําหนดยุทธศาสตรและ แนวทางปฏิบัติสูเปา หมายอยางถูกตอง ค. ทาํ ใหองคกรมีศกั ยภาพในการแขงขนั มีสถานะใหมต ามท่ตี อ งการ และยั่งยนื ง. ทาํ ใหสามารถกาํ หนดแนวทางยุทธศาสตรและแผนปฏิบตั เิ พอื่ พาองคก รสเู ปาหมายอยางเปน ระบบ ************************************************************* 106. job Rotation หมายถึงขอใด ก. วิธปี ระสบเหตุการณ ข. การแสดงละครส้นั ค. กระบวนกลุมสัมพันธ รวบรวมเผยแพรโ ดย ประพันธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 19

ง. การโยกยายสบั เปลี่ยนหมนุ เวียนงาน (แจกฟรี ไมม่ ีลขิ สทิ ธ์)ิ ************************************************************* 107. การฝกใหทํางานรับผิดชอบเรื่องตางๆ หนวยงานตางๆ แผนกตางๆ เพ่ือเรียนรูงานเขาใจงานไดลึกซ้ึง เมอ่ื เปนผบู ริหารระดบั สงู จะไดม องงาน สงั่ งานในภาพรวมไดดีย่งิ ขนึ้ หมายถึงขอ ใด ก. เกมการรบรหิ าร (Management Games) ข. การพฒั นาบุคคลดานสมั ผัสความรูส กึ (Sensitivity Training) ค. การบริหารในเวลาจํากดั (In Basket Training) ง. การโยกยา ยสับเปล่ยี นหมนุ เวยี นงาน (Job Rotation) ************************************************************* 108. การฝกใหทํางานรับผิดชอบเร่ืองตางๆ หนวยงานตางๆ แผนกตางๆ เพ่ือเรียนรูงานเขาใจงานไดลึกซึ้ง เมอื่ เปน ผูบริหารระดับสูงจะไดม องงาน สงั่ งานในภาพรวมไดดีย่ิงขึ้น หมายถึงขอใด ก. เกมการบริหาร (Management Games) ข. การพัฒนาบุคคลดา นสัมผสั ความรสู ึก (Sensitivity Training) ค. การบรหิ ารในเวลาจํากัด (In Basket Training) ง. การโยกยา ยสับเปลีย่ นหมนุ เวยี นงาน (Job Rotation) ************************************************************* 109. ขอใด คอื กจิ กรรมที่ฝายบรหิ ารควรเริ่มตน เพอ่ื นาํ องคก ารไปสูสาํ เรจ็ ก. Staffing ข. Controlling ค. Leading ง. Planning ************************************************************* 110. การวางแผนมีความเก่ยี วขอ งกับขอขอใด ก. การคาดการณเ หตกุ ารณในอนาคต ข. การตดั สินใจ ค. การเลอื กแนวทางปฏบิ ัตทิ ีด่ ีทีส่ ุด ง. ถูกทกุ ขอ ************************************************************* 111. ขอจํากัดท่สี าํ คญั ทส่ี ดุ ในการวางแผนขององคก ารคอื อะไร ก. พฤติกรรมของมนุษย ข. งบประมาณ ค. วทิ ยาการกา วหนา ง. ระยะเวลา ************************************************************* รวบรวมเผยแพรโ ดย ประพนั ธ เวารมั ย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 20

เฉลยแนวขอสอบ ตําแหนง บุคลากร/นกั ทรพั ยากรบคุ คล (แจกฟรี ไมม่ ีลขิ สทิ ธ์)ิ ชดุ ท่ี 1 โดยประพนั ธ เวารมั ย ********************* ขอ 1 ง. ขอ 31 ข. ขอ 61 ง. ขอ 91 ค. ขอ 2 ง. ขอ 92 ง. ขอ 3 ก. ขอ 32 ง. ขอ 62 ก. ขอ 93 ก. ขอ 4 ง. ขอ 94 ก. ขอ 5 ข. ขอ 33 ง. ขอ 63 ข. ขอ 95 ค. ขอ 6 ค. ขอ 96 ก. ขอ 7 ง. ขอ 34 ง. ขอ 64 ก. ขอ 97 ง. ขอ 8 ง. ขอ 98 ง. ขอ 9 ก. ขอ 35 ง. ขอ 65 ค. ขอ 99 ง. ขอ 10 ก. ขอ 100 ง. ขอ 11 ง. ขอ 36 ข. ขอ 66 ค. ขอ 101 ก. ขอ 12 ง. ขอ 102 ง. ขอ 13 ก. ขอ 37 ข. ขอ 67 ค. ขอ 103 ง. ขอ 14 ค. ขอ 104 ค. ขอ 15 ก. ขอ 38 ค. ขอ 68 ง. ขอ 105 ข. ขอ 16 ก. ขอ 106 ง. ขอ 17 ง. ขอ 39 ง. ขอ 69 ก. ขอ 107 ง. ขอ 18 ก. ขอ 108 ง. ขอ 19 ง. ขอ 40 ข. ขอ 70 ก. ขอ 109 ง. ขอ 20 ก. ขอ 110 ง. ขอ 21 ค. ขอ 41 ง. ขอ 71 ค. ขอ 111 ก. ขอ 22 ง. ขอ 23 ค. ขอ 42 ก. ขอ 72 ง. ขอ 24 ค. ขอ 25 ก. ขอ 43 ง. ขอ 73 ก. ขอ 26 ง. ขอ 27 ง. ขอ 44 ง. ขอ 74 ค. ขอ 28 ข. ขอ 29 ง. ขอ 45 ง. ขอ 75 ง. ขอ 30 ค. ขอ 46 ก. ขอ 76 ง. ขอ 47 ค. ขอ 77 ข. ขอ 48 ค. ขอ 78 ง. ขอ 49 ง. ขอ 79 ง. ขอ 50 ค. ขอ 80 ข. ขอ 51 ก. ขอ 81 ง. ขอ 52 ง. ขอ 82 ค. ขอ 53 ข. ขอ 83 ก. ขอ 54 ก. ขอ 84 ค. ขอ 55 ก. ขอ 85 ค. ขอ 56 ค. ขอ 86 ก. ขอ 57 ก. ขอ 87 ง. ขอ 58 ง. ขอ 88 ค. ขอ 59 ค. ขอ 89 ก. ขอ 60 ข. ขอ 90 ข. แนวขอสอบชดุ นี้อาจเปนประโยชนไ มมากกน็ อย ขอเปน สวนหนึ่งในการแบง ปน (แจกฟร)ี ขอใหโ ชคดใี นการสอบทุกคน จากเวบ็ ไซต http://pun2013.bth.cc รวบรวมเผยแพรโดย ประพนั ธ เวารัมย http://pun2013.bth.cc http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 21