Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิท

วิท

Published by ypnschool, 2021-01-06 13:39:16

Description: วิท

Search

Read the Text Version

หลักการพจิ ารณาตวั ทาละลายและตวั ละลาย ตัวทาละลายและตัวละลายอยู่ในสถานะเดยี วกนั ตวั ทาละลายและตัวละลายอยใู่ นสถานะต่างกนั สารทีม่ ปี ริมาณมากกว่าเปน็ ตวั ทาละลาย เมอ่ื ผสมกนั สารละลายมีสถานะเหมอื นสารชนดิ ใด สารน้นั เป็น สว่ นสารท่ีมีปรมิ าณน้อยกวา่ เป็นตวั ละลาย ตัวทาละลาย สว่ นสารท่ีมสี ถานะต่างออกไปเป็นตวั ละลาย เช่น แอลกอฮอล์ล้างแผล (ร้อยละ 70 โดยปรมิ าตร) เช่น นา้ เกลือ เอทลิ แอลกอฮอล์ น้า 30 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร เกลอื (ของแขง็ ) น้า (ของเหลว) 70 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร เป็นตัวละลาย เป็นตวั ละลาย เป็นตัวทาละลาย เป็นตัวทาละลาย

ตัวอย่างสารละลายในสถานะของแขง็ ทองเหลือง เหล็กกล้าไร้สนมิ ตวั ทาละลาย ∶ ทองแดง 60% ตวั ทาละลาย ∶ เหลก็ 74% ตัวละลาย ∶ สังกะสี 40% ตวั ละลาย ∶ โครเมยี ม 18% นกิ เกลิ 8%

ตัวอยา่ งสารละลายในสถานะของเหลว น้าเชอื่ ม น้าส้มสายชู แอลกอฮอลล์ า้ งแผล ตวั ทาละลาย ∶ น้า ตวั ทาละลาย ∶ น้า ตัวทาละลาย ∶ เอทิลแอลกอฮอล์ ตัวละลาย ∶ นา้ ตาลซูโครส ตวั ละลาย ∶ กรดแอซีตกิ 70% (นา้ ตาลทราย) ตัวละลาย ∶ นา้ 30%

ตัวอยา่ งสารละลายในสถานะแกส๊ อากาศ แกส๊ หุงตม้ ตวั ทาละลาย ∶ แกส๊ ไนโตรเจน 78% ตวั ทาละลาย ∶ โพรเพน 70% ตวั ละลาย ตวั ละลาย ∶ บวิ เทน 30% ∶ แกส๊ ออกซิเจน 21% และแกส๊ อนื่ 1%

สภาพละลายไดข้ องสาร ความสามารถในการละลายได้ของตัวละลายในตัวทาละลายจนเป็นสารละลายอม่ิ ตวั ณ อณุ หภมู หิ นึง่ ๆ การละลายของสารบางชนิดที่อุณหภูมิตา่ งๆ ชนดิ ของสาร สภาพละลายไดข้ องสารในหนว่ ยกรัมในนา้ 100 กรัม ณ อุณหภมู ิต่างๆ โซเดยี มคลอไรด์ 0℃ 20℃ 60℃ 100℃ โซเดยี มไนเตรต โพแทสเซียมไนเตรต 35.7 36.0 37.3 39.2 ลิเทยี มคารบ์ อเนต แคลเซียมคลอไรด์ 74.0 87.6 122.0 180.0 13.9 31.9 106.0 245.0 1.5 1.3 1.0 0.70 60.0 76.0 137.5 −

อุณหภมู ิ ชนดิ ของ • ตัวละลายทีเ่ ปน็ ของแขง็ / ของเหลวละลายได้ ปจั จยั ท่ีมผี ล ตัวทาละลาย มากขึ้นเมอ่ื อณุ หภูมสิ งู ข้นึ ตอ่ การละลายของสาร • ตวั ทาละลายแต่ละชนดิ ละลายตัวละลายชนิด • ตวั ละลายที่เป็นแกส๊ ละลายไดน้ อ้ ยลง เดยี วกันไดแ้ ตกตา่ งกนั เมอื่ อุณหภูมิสูงข้ึน การคน การเขยา่ ขนาดของ การป่นั เหวี่ยง ตัวละลาย • ทาให้อนภุ าคเคลอื่ นทเ่ี ร็วขึ้น จงึ เกิดการละลาย • ตัวละลายทีม่ ขี นาดเลก็ ละลายไดเ้ รว็ กว่าตัวละลายทมี่ ี ได้ดีขน้ึ ขนาดใหญ่ เน่ืองจากมีพนื้ ทีผ่ วิ สัมผสั มากกว่า ความดัน • มผี ลตอ่ ตวั ละลายท่เี ปน็ แก๊สเทา่ น้ัน เม่ือความดนั สงู ขึน้ ตวั ละลายละลายในตัวทาละลาย ไดม้ ากข้ึน

ความเขม้ ข้นของสารละลาย คา่ ทแ่ี สดงปริมาณตวั ละลายทลี่ ะลายในตวั ทาละลายหรอื สารละลาย 12 3 รอ้ ยละโดยมวล รอ้ ยละโดยปริมาตร ร้อยละโดยมวลตอ่ ปริมาตร หน่วยความเขม้ ข้นทบ่ี อกถึงปรมิ าณ หน่วยความเขม้ ขน้ ท่ีบอกถงึ ปริมาณ หน่วยความเขม้ ข้น ตัวละลายเปน็ กรมั ตวั ละลายเปน็ ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร ทีบ่ อกถึงปรมิ าณตวั ละลายเปน็ กรมั ทลี่ ะลายในสารละลาย ท่ลี ะลายในสารละลาย ท่ลี ะลายในสารละลาย 100 กรมั 100 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร 100 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร

การใช้สารละลายในชวี ิตประจาวนั น้าสม้ สายชู แอลกอฮอล์ล้างแผล น้ายาลา้ งเลบ็ ทนิ เนอร์ • นา้ เป็นตวั ทาละลาย กรดแอซตี กิ เปน็ • เอทลิ แอลกอฮอล์เปน็ ตวั ทาละลาย • แอซีโตนเปน็ ตวั ทาละลาย นา้ เปน็ • โทลูอีนเป็นตวั ทาละลาย เอสเทอร์ ตวั ละลาย นา้ เปน็ ตวั ละลาย ตัวละลาย คีโตน และแอลกอฮอล์เป็นตวั ละลาย • มีความเขม้ ขน้ ร้อยละ 4-18 โดย • มีความเข้มขน้ รอ้ ยละ 70 โดย • มีความเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 80 โดย • ถกู ใชเ้ ปน็ ตัวทาละลายสารเคมอี นื่ ๆ ปริมาตร ปรมิ าตร ปริมาตร เช่น สีทาบา้ น นา้ หมึก และใช้ทา ความสะอาดคราบสกปรกจากนา้ มนั • มีฤทธ์กิ ัดกรอ่ นทาใหร้ ะคายเคือง • มคี วามเป็นพิษตา่ แต่ทาให้เกดิ และสี เนอ้ื เยื่อตา่ ง ๆ กดั กรอ่ นโลหะและ การระคายเคืองเยื่อบุทางเดินหายใจ พลาสตกิ และดวงตา • เป็นพิษตอ่ ระบบทางเดนิ หายใจ ทางเดินอาหาร ผวิ หนัง และดวงตา

การใชส้ ารละลายในชวี ติ ประจาวัน นา้ เกลอื แก๊สหุงตม้ สารทาความสะอาด สารเคมีกาจดั ศัตรูพืช • น้าเป็นตัวทาละลาย โซเดียมคลอไรด์ • โพรเพนเปน็ ตวั ทาละลาย บิวเทน • มกี รดไฮโดรคลอริกหรอื กรดซัลฟวิ รกิ • ใชน้ ้าเปน็ ตัวทาละลายเพอ่ื ทาให้ เป็นตัวละลาย เป็นตวั ละลาย เป็นตัวละลาย เจือจางก่อนใช้ เน่อื งจากประกอบ ดว้ ยสารเคมอี ันตราย เช่น ดดี ที ี • ใชท้ ี่ความเข้มขน้ รอ้ ยละ 0.9 โดยมวล • มอี ัตราส่วนโพรเพน : บิวเทน • มฤี ทธ์กิ ัดกรอ่ นผวิ หนังและเน้อื เยื่อ ตอ่ ปริมาตร เพือ่ ปรับสมดลุ เกลอื แร่ใน เท่ากับ 70 : 30 จึงใช้ท่ีความเข้มขน้ ต่า • มคี วามเปน็ พษิ ตอ่ สง่ิ มีชีวติ และ ร่างกาย และท่ีความเข้มข้นร้อยละ สงิ่ แวดล้อม 15 โดยมวลต่อปรมิ าตร เพอื่ เป็นยา • ใช้เป็นเชอื้ เพลิงหุงตม้ ในครัวเรอื น ระบายหรอื ยาแก้ท้องผกู โรงงานอุตสาหกรรม และเชือ้ เพลิง ในยานพาหนะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook