Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พิษภัยยาเสพติด

พิษภัยยาเสพติด

Published by classicboyz20, 2022-08-24 05:22:09

Description: พิษภัยยาเสพติด

Search

Read the Text Version

ยาเสพติด

คำนำ หนังสือเล่มนี้ ผู้จัดทำมีจุดประสงค์ให้ความรู้ ในเรื่องยาเสพติดและพิษภัยจากยาเสพติดโดย หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ ต้องการศึกษาเรื่องยาเสพติด ผู้จัดทำ ด.ช.ณปพณ มณีกุล ม.2/2

สารบัญ หน้าที่ 4 ยาเสพติดคืออะไร 5 วิธีการเสพยาเสพติด 6 หลังการเสพยาเสพติด 7 ประเภทของยาเสพติด 16 พิษภัยของยาเสพติด 17 อ้างอิง

ยาเสพติดคืออะไร ยาเสพติด หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ หรือจากการสังเคราะห์ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ ร่างกายไม่ว่าจะโดย การกิน ดม สูบ ฉีด หรือ ด้วย ประการใด ๆ แล้วจะทำให้เกิดผล ต่อร่างกายและจิตใจ

วิธีการเสพยาเสพติด สอดใต้ สูบ ดม หนังตา รับ อมไว้ใต้ลิ้น ฉีดเข้า ประทาน เหงือก ฉีดเข้า ฉีดเข้า เหน็บทาง เส้นเลือด กล้ามเนื้อ ทวานหนัก

หลังการเสพยาเสพติดเกิดอะไรขึ้น ต้องเพิ่มขึ้นขนเรืา่อดยกๆารเสพ มีอากขาราอดยยาากยาเมื่อ เราจะมีอาการต่างๆ เช่น ร่มราุีนงคกแวราายงมแแต้ลลอะะงตจกิ่ตอาเใรนจืเ่สออพงย่าทัง้ง สุขจภะาทพรุโดดโยททัร่วมไลปง

การแบ่งประเภทของยาเสพติดทีหลายรูปแบบ เช่น 1. แบ่งตามแหล่งที่เกิด 2. แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ 3. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท 4. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก

แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ 1.ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่ น กระท่อม กัญชา เป็นต้น 2.ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เป็นต้น

ยาเสพติดธรรมชาติ ฝิ่ น กัญชา กระท่อม ยาเสพติดสังเคราะห์ เฮโรอีน แอมเฟตามีน

แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ แบ่งออกเป็น ๕ ประเภท คือ ประเภทที่ ๑ ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ ประเภทที่ ๒ นำมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ใน กรณีที่จำเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟีน โคเคน โคเคอีน เมทาโดน ประเภทที่ ๓ มีประโยชน์ทางการแพทย์ ห้ามใช้เพื่อเสพ ได้แก่ ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ยาฉีด ระงับปวดต่างๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน ที่มีฝิ่ นผสมอยู่ ประเภทที่ ๔ สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติด ได้แก่ น้ำยาอะเซติคแอนไฮไดรย์ อะเซติลคลอไรด์ สารคลอซูไดอีเฟครีน ประเภทที่ ๕ ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพ ติดประเภทที่ ๑ ถึง ๔ ได้แก่ ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืช กระท่อม เห็ดขี้ควาย

ประเภทที่ ๑ เฮโรอีน ประเภทที่ ๒ ฝิ่ น ประเภทที่ ๓ มอร์ฟีน ประเภทที่ ๔ อะเซติลคลอไรด์ ประเภทที่ ๕ กัญชา

แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งแบ่ง ออกเป็น ๔ ประเภท คือ 1.ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท 2.ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอีน 3.ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย 4.ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาท ได้พร้อม ๆ กัน ตัวอย่างเช่น กัญชา

กดประสาท เฮโรอีน กระตุ้นประสาท กระท่อม หลอนประสาท เห็ดขี้ควาย ออกฤทธิ์ผสมผสาน กัญชา

แบ่งตามองค์การอนามัยโลก ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 9 ประเภท คือ 1.ประเภทฝิ่ น หรือ มอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้าย มอร์ฟีน เช่น ฝิ่ น มอร์ฟีน เฮโรอีน เพทิดีน 2.ประเภทยาปิทูเรท รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทำนองเดียวกัน เช่น เซโคบาร์ปิตาล เมโปรบาเมท ไดอาซีแพม 3.ประเภทแอลกอฮอล ได้แก่ เหล้า เบียร์ วิสกี้ 4.ประเภทแอมเฟตามีน ได้แก่ แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน 5.ประเภทโคเคน ได้แก่ โคเคน ใบโคคา 6.ประเภทกัญชา ได้แก่ ใบกัญชา ยางกัญชา 7.ประเภทใบกระท่อม 8.ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี เมล็ดมอนิ่งกลอรี่ ต้นลำโพง เห็ดเมาบางชนิด 9.ประเภทอื่นๆ เช่น สารระเหยต่างเช่น ทินเนอร์ เบนซิน น้ำยาล้างเล็บ ยาแก้ปวด และบุหรี่ๆ

ประเภทฝิ่ น ฝิ่ น ประเภทยาปิทูเรท ไดอาซีแพม ประเภทแอลกอฮอล ประเภทแอมเฟตามีน เหล้า แอมเฟตามีน ประเภทโคเคน ประเภทกัญชา โคเคน ประเภทใบกระท่อม กัญชา ประเภทหลอนประสาท กระท่อม ต้นลำโพง ประเภทอื่นๆ บุหรี่

พิษภัยของยาเสพติด การใช้ยาเสพติด มีโทษและพิษภัยรอบ ตัว นอกจากจะส่งผลกระทบในทางไม่ดี โดยตรงต่อตัวผู้เสพแล้ว ทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ยังส่งผลกระทบทางอ้อมไปยัง ครอบครัวผู้เสพ ต ลอดจนเศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติอีกด้วย

อ้างอิง https:// webportal .bangkok.go.th/la b/page/main/2162/0/1/info/60062 /%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9 %80%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0 %B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94 http://www.tamnop.go.th/news /detail/23756/data.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook