โรงเจในฐานะพ้นื ทสี่ งั คม วัฒนธรรม ความเชอื่ และการท�ำความดี โรงเจท่เี ก่าแก่ในจังหวดั สมทุ รสาคร ประกอบดว้ ย โรงเจเซ้งเฮยี งต๊วั ท่าฉลอม, โรงเจฮะน่�ำต๊ัว ต�ำบลสวนหลวง, โรงเจโพธิธรรมฮกเข่ง ต�ำบลกระทุ่มแบน, โรงเจ เซียงซิวตั๊ว ต�ำบลกระทุ่มแบน, โรงเจไท้เอ็กต๊ัว ต�ำบลหนองสองห้อง, โรงเจมูลนิธิ แพร่ศีลธรรมการกุศลสงเคราะห์ ต�ำบลโรงเข้, โรงเจสมาคมสามัคคีธรรมภาวนา ต�ำบลมหาชยั , โรงเจมลู นธิ ิการกศุ ลสมุทรสาคร ตำ� บลมหาชัย โรงเจของชาวจีน นอกจากจะเป็นพ้ืนที่ส�ำหรับการท�ำบุญช่วยเหลือคนยากไร้ แล้วยังเป็นสถานท่ีส�ำหรับการแสดงออกทางความเชื่อทางศาสนาที่ส�ำคัญ เช่นการ ถือศลี กินเจ 10 วนั พิธที ิ้งกระจาดบริจาคข้าวสารอาหารแหง้ ให้คนยากจน การสร้าง โรงทาน การทรงเจ้าเพ่ือรักษาโรคภัยไข้เจ็บ ซ่ึงในโรงเจจะมีต�ำรายาและชื่อสมุนไพร สำ� หรับรกั ษาโรคต่างๆ รปู เคารพเทพเจ้าและส่ิงศกั ดิ์สิทธ์ทิ พ่ี บในศาลเจา้ ประจำ� โรงเจ ได้แก่ พระพทุ ธเจ้า 9 พระองค์ (กว้ิ อ้วงฮกุ โจ้ว) เฮย้ี งเทียงเซ่ยี งต่ี (ผู้เปน็ ใหญใ่ นเทพเจา้ ท้ังมวล) ตี่จ้างอ้วงผ่อสัก (พระกษิติครรภ์มหาโพธิสัตว์) เต้าบ้อง่วงกุง ใต้ฮงโจ้วซือ (เทพแห่งการเก็บศพไร้ญาติ) และเทพเจ้าต่างๆ ในคติพุทธนิกายมหายาน เช่น พระสังกัจจายน์ (กุ้ยฮุกโจ้ว-เทพเจ้าแห่งความม่ังมี) ไท้ส่วยเอี้ย (เทพเจ้าผู้ก�ำหนด ชะตาชีวิต-แก้ปีชง) ใช้ซ้ิงเอ้ีย (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ปักเต้าแชกุน (เทพผู้ก�ำหนดอายุ) น�่ำซ้ิงแชกุน (เทพผู้ก�ำหนดการเกิด) ใต้เส่ียฮุกโจ้ว (เฮงเจีย) เจ้าพ่อจี้กง และบ้อเอ้ียฮุ้ง เซ้ียโจ้ว (พระผู้หย่ังรู้พ้ืนท่ีมงคล) เทพเจ้าส�ำคัญ คือ เต๋าบ้อ หมายถึงพระแม่แห่ง ดวงดาว เป็นผู้ปกครองและศูนย์กลางจักรวาล มีพระพลังและพลานุภาพที่ยิ่งใหญ่ ทำ� ใหเ้ กดิ โลกมนษุ ย์ และสรรพชวี ติ ทงั้ หลาย ตามโรงเจตา่ งๆ นยิ มบชู าเตา๋ บอ้ โดยแขวน ตะเกยี งไวเ้ ป็นสญั ลักษณ์ของความสวา่ งไสวและรศั มขี องเจา้ แม่ 292 3/20/2561 BE 15:08 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 292
โรงเจส�ำคญั ในจังหวดั สมทุ รสาคร โรงเจเซง้ เฮียงตว๊ั ท่าฉลอม โรงเจฮะนำ่� ตวั๊ ต�ำบลสวนหลวง โรงเจโพธธิ รรมฮกเข่ง ตำ� บลกระท่มุ แบน โรงเจเซียงซวิ ต๊ัว ตำ� บลกระทมุ่ แบน โรงเจไทเ้ อก็ ตัว๊ ตำ� บลหนองสองห้อง โรงเจมลู นธิ ิแพรศ่ ีลธรรมการกศุ ลสงเคราะห์ ต�ำบลโรงเข้ โรงเจสมาคมสามัคคีธรรมภาวนา ตำ� บลมหาช2ัย93 โรงเจมูลนิธิการกศุ ลสมุทรสาคร ตำ� บลมหาชยั สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 293 3/20/2561 BE 15:09
ผูด้ ูแลโรงเจเซง๊ เฮียงตว๊ั ท่าฉลอม อธิบายเก่ยี วกบั เทพเจ้าเต๋าบอ้ วา่ “องค์กลางชื่อ เต๋าบ้อ ท�ำจากกระดาษสา เบามาก นอกน้ัน เรยี กวา่ กว๋ิ ฮว้ งฮดุ โจว้ เหมอื นพระโพธสิ ตั ว์ ปหี นง่ึ จะมคี นทำ� ความสะอาด ตอ้ งคอยเอาส�ำลชี ุบน้�ำค่อยๆ เชด็ เปน็ ภาคสำ� เรจ็ นั่งบัว สว่ นอันน้นั คอื องค์ใหญ่ เป็นเง็กเซียนฮอ่ งเต้ อันน้คี อื ดาวนพเคราะหท์ ้งั 9 แลว้ ตะเกียง ดวงนี้ไฟต้องติดตลอดเวลา ห้ามดับ ไม่มีการดับ คนเฝ้าจะคอยดูแล แม้กระทั่งย้ายลงมาท�ำความสะอาดข้างล่างก็ห้ามดับ ต้องสว่างตลอด ถึงเทศกาลกระถางธูปก็จะเปลี่ยน เป็นกระถางธูปดินเผา วันแรกของ เทศกาลกินเจก็จะไปเชิญฮุดโจ้วมา เชิญมาเสร็จก็จะมีกระถางธูปมาต้ัง กระถางธูป 3 ใบเป็นหัวใจส�ำคัญส�ำหรับงานกินเจ 10 วัน เขาก็จะ แต่งธูปเป็นชั้นๆ คนภายนอกเขาจะไม่ให้ปัก จะให้คนดูแลกระถางธูป ปกั เทา่ นน้ั จะหา้ มไมใ่ หผ้ หู้ ญงิ เขา้ ไปในเขตชน้ั ในของศาลเจา้ กระถางธปู 3 ลูก จะอุ้มไปไว้ในเรือ จะมีเรือมังกรเพื่อให้ไฟลุกข้ึนมาเอง ไม่มีการ จุดไม้ขีด ของเราไม่ได้ลอยเรือมังกร สมัยก่อนเขาว่าลอยแล้วมันไปติด บ้านคน มันไม่ดี ก็เลยเปล่ียนใหม่เป็นการเผาเรือท่ีหน้าวัดช่องลม” (สมั ภาษณ์ 16 ธนั วาคม 2558) 294 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 294
โรงเจไท้เอ็กตั๊ว อ�ำเภอบ้านแพ้ว มีเจ้าพ่อส�ำเร็จมีส่ิงศักด์ิสิทธิ์ที่ชาวบ้าน เล่ือมใสศรทั ธา คนดแู ลโรงเจเล่าว่า “สมัยกอ่ นท่านจะมชี ือ่ ว่า เจ้าพอ่ สำ� เร็จสขุ ลา ก็คือ สุข แล้วก็ ลา คือความหมายของท่านก็คือ ลูกหลานมีสุขแล้วก็ต้องลาจาก ทีนี้องค์ที่มาต่อจาก ทา่ นทเี่ ปน็ ลกู ศษิ ยข์ องทา่ นกต็ ดั เอาคำ� วา่ สขุ ลา ออก ก็เหลือแต่เจ้าพ่อส�ำเร็จ พอท่านลงมาใหม่ก็เอา สองค�ำหลังออก เพราะท่านบอกแต่แรกแล้วว่า นามทา่ นไม่เปดิ เผย เตม็ ที่ก็เรยี กได้แค่ องค์ 1 องค์ 2 องค์ 3 องค์ 4 ได้แคน่ ี้ แตใ่ นนามของโรงเจกห็ ลวงพอ่ ส�ำเร็จน่ี กว่าท่านจะมาได้ ท่านไม่รับปาก เพราะท่าน บอกว่าในเมืองมนุษย์มันล�ำบาก แล้วมนุษย์ ปลิ้นปล้อน เทพเลยไม่อยากมาในเมืองมนุษย์ ลูกศิษย์เขามาครั้งแรกก็อยากจะได้เห็นรูปจ�ำลอง ของทา่ น ทนี ที้ า่ นกบ็ อกกบั คนทป่ี น้ั ซงึ่ เปน็ คนจนี โบราณ เปน็ ชา่ งแลว้ กร็ บั จา้ งทำ� สวน สมัยก่อน เม่ือก่อนช่างปั้นยังไม่มี จะเป็นช่างไม้ส่วนใหญ่ แต่ทีน้ีท่านบอกว่าไป น่ังสมาธิในห้องเงียบๆ มืดๆ เด๋ียวจะปรากฏภาพให้เห็นตามนั้นแล้วกัน พอเขา น่ังสมาธิเสร็จ เขาก็บอกท่านว่าเห็นแล้ว จ�ำไว้ ท่านก็ให้เห็นแค่คร้ังเดียว” (สัมภาษณ์ 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2560) “เปา้ หมายของทีน่ ค่ี อื เปน็ โรงทาน มกี ารแจกขา้ วสาร มีแจกพนั ธไ์ุ ม้ เชน่ คนมี คันนาอยู่ โรงเจก็จะไปจัดให้บ้านนี้สัก 20 กิ่ง ปลูกแล้วก็ตอนไปขยายพันธุ์ต่อ กจ็ ะมพี นั ธไ์ุ มห้ ลายพนั ธส์ุ ว่ นใหญเ่ ปน็ ผลไมด้ ๆี คอื โรงเจสรา้ งมาแลว้ ตอ้ งทำ� ประโยชน์ กับสังคม ไม่ใช่สร้างมาแล้วไม่มีประโยชน์ต่อสังคม ท่านก็สั่งมาแบบน้ี” (สัมภาษณ์ 26 ตุลาคม 2559) 295 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 295
โรงเจหลายแหง่ จะมพี ิธีลา้ งป่าชา้ เก็บศพไรญ้ าติทกุ ๆ 10 ปี หรอื 20 ปี ซ่ึงเปน็ ประเพณีทีส่ ืบทอดกนั มายาวนาน และเปน็ การสรา้ งบญุ กุศลเพอ่ื ช่วยเหลือสงเคราะห์ คนท่ียากไร้ ดังน้ัน โรงเจจึงท�ำหน้าที่เป็นท้ังพื้นท่ีทางศาสนาและความเชื่อ และพ้ืนท่ี ของการท�ำงานเพ่ือสังคมในเวลาเดียวกัน ตัวอย่างเช่น การต้ังหน่วยกู้ภัย เจ้าหน้าท่ี มูลนธิ ิการกุศลสมทุ รสาคร ใหข้ อ้ มลู ว่า “หน่วยกู้ภัยตั้งในปี 2549 ดั้งเดิมเป็นเครือข่ายของปอเต็กตึ้ง พอมมี ลู นธิ มิ ศี าลเจา้ กเ็ ลยมาทำ� กภู้ ยั ในจงั หวดั สมทุ รสาคร เปน็ หนว่ ยกภู้ ยั ท่ีแรกของจังหวัด ผลงานมีตลอด มีทุกวัน เฉพาะในจังหวัดสมุทรสาคร เราจะมีเครือข่ายท่ีใส่เสื้อสีน้�ำเงิน มีทุกต�ำบล มีเจ้าหน้าท่ีอาสากู้ภัย ประมาณ 500 กวา่ คน ทุกคนมาชว่ ยดว้ ยจิตอาสา ไมม่ เี งนิ เดือนค่าจ้าง ซ้ือน�้ำมันขับรถส่งคนเจ็บด้วยตัวเอง การมีกู้ภัยมันมีค่าใช้จ่ายเยอะ ไหนจะค่าเก็บศพ ไหนจะผ้าหอ่ ศพ ซ่ึงมนั ตอ้ งใชต้ ังค์ซอื้ ทั้งนั้น เวลาเจอ ศพเนา่ กต็ อ้ งมผี า้ ยาง แลว้ กเ็ รากท็ ำ� งานกภู้ ยั เพอ่ื ชว่ ยเหลอื สงั คม ในชว่ ง 10 วนั น้ี (กินเจ) โรงทานเปิดตลอด 24 ชวั่ โมง ใครอยากกนิ กม็ าได้หมด เพราะเรามีกู้ภัย บางทีกลับมาเขาหิว เพราะเขาก็กินเจด้วย แม่ครัว จะท�ำกับข้าวไว้ แล้วก็มาตักกินตอนเย็นเขาจะท�ำไว้ชุดหนึ่งเพ่ือรอบดึก ส่วนใหญ่เด็กวัยรุ่นทั้งนั้น” (สัมภาษณ์ วนั ที่ 20 ตุลาคม 2558) 296 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 296
โรงเจกบั การท�ำงานเพอ่ื สังคม ในช่วงเทศกาลกนิ เจ โรงเจจะมีการบริจาคข้าวสารอาหารแห้งใหก้ ับคนยากไร้ และเปิดโรงทานให้ประชาชนเข้ามารับประทานอาหารโดยไมต่ อ้ งจ่ายเงิน พธิ ีแห่เจ้าพอ่ ของชาวจนี ในคลองดำ� เนินสะดวก ทกุ ๆ 10 ปี มูลนิธแิ พร่ศลี ธรรมการกศุ ลสงเคราะห์ (เม่งซวงเซย่ี งตั๊ว) จะจัดพธิ ี ล้างป่าชา้ และเกบ็ ศพไร้ญาติ โดยจะมกี ารบวงสรวงเซน่ ไหวเ้ ทพเจ้าโปย๊ เซยี นทง้ั แปด และแหไ่ ปในคลองด�ำเนนิ สะดวก เพ่อื ให้ประชาชนกราบไหว้ เปน็ สิริมงคลแก่ชีวติ 297 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 297
พิธีท้งิ กระจาด พิธีทิ้งกระจาดของโรงเจหลายแห่ง จัดขึ้นในช่วงเทศกาลกินเจ เป็นพิธีกรรม ที่บูชาเทพเจ้าและส่ิงศักดิ์สิทธิ์ และยังเป็นการท�ำบุญบริจาคทานให้กับคนยากจน เปน็ การผสมผสานความเชือ่ ทางศาสนาเขา้ กบั การทำ� งานสงั คมสงเคราะห์ 298 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 298
กรรมการโรงเจของมูลนิธิแพร่ศีลธรรมการกุศลสงเคราะห์ ต�ำบลโรงเข้ อ�ำเภอบ้านแพว้ อธิบายวา่ “การแจกทานเปน็ กจิ วัตรของเราอยแู่ ล้ว ทไี่ หนเกิดอคั คภี ยั ก็ไป ช่วยผู้ยากไร้ที่ไม่มีโลงศพเขาก็มาขอได้ เราก็ช่วยเงินไปหน่อยหน่ึง อยา่ งนกั เรยี นยากจนเรากม็ ที นุ ใหเ้ ขา นสี่ ง่ิ ทตี่ อ้ งทำ� ทกุ ปี กรรมการเขา้ มา ด้วยใจ มีบริจาคเงินบ้าง ซื้อท่ีธนาคารกสิกร เปิดโรงพยาบาลบ้านแพ้ว สาขาหลกั หา้ คอื ซอื้ ตกึ กบั ทดี่ นิ ใหเ้ ขา สรา้ งเพอื่ ใหค้ นทไ่ี มต่ อ้ งเดนิ ทางไกล ทุกวันน้ีที่บ้านแพ้วรับจากด�ำเนินสะดวกมา 20,000 กว่าคน ไม่ต้องเข้า โรงพยาบาลใหญ่ ไม่ต้องเดินทางไกล โรคผู้สงู อายุ ความดนั เบาหวาน เอายาท่ีตรงนี้ เราก็มีหมอประจ�ำทุกวันอยู่แล้ว ผลประโยชน์ตกที่ คนทอ้ งถน่ิ ” (สัมภาษณ์ 26 ตลุ าคม 2559) ปัจจุบัน โรงเจหลายแห่งมีการจัดงานไหว้ฟ้าดิน พิธีสะเดาะเคราะห์ เสริมดวงชะตาและโชคลาภ และพิธีแก้ปีชง ท่ีมีการกราบไหว้เทพเจ้าไท้ส่วยเอี๊ย ซ่ึงได้รับความนิยมจากคนไทยเช้ือสายจีนและคนกลุ่มต่างๆ ที่ต้องการที่พึ่งทางใจ เพอื่ สรา้ งความม่นั ใจในการดำ� เนินชีวิต 299 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 299
เทพเจ้าไท้ส่วยเอยี๊ เทพเจ้าไท้ส่วยเอ๊ีย หรือ องค์ไท้เส่ีย ชาวจีนเชื่อว่าเป็นเทพเจ้าคุ้มครอง ดวงชะตาและชีวติ เหมอื นเปน็ พระประจำ� วนั เกดิ ของคนไทย มีการนบั ถอื มานานกวา่ 3,000 ปี ในรอบ 60 ปี จะมีเทพเจ้าไท้ส่วยประจ�ำอยู่ในแต่ละปีมีชื่อเรียกต่างกัน รวม 60 องค์ แต่ละองค์จะมีอ�ำนาจให้คุณ ให้โทษแก่มวลมนุษย์ ข้ึนกับพระเมตตา ของท่าน โดยเฉพาะคนที่มีเคราะห์ เทพเจ้าไท้ส่วยเอี๊ยจะช่วยปัดเป่าเคราะห์ภัย ท�ำให้เกิดความเป็นสิริมงคล ตามโหราศาสตร์จีนเช่ือว่าดวงชะตาชีวิตของแต่ละคน ก็จะเปล่ียนแปลงไปทุกปี ดวงชะตาของคนเกิดปีนักษัตรต่างๆ ทั้ง 12 นักษัตร จะมีความสัมพันธ์กับนักษัตรในปีนั้นๆ มีท้ัง “ดี” (ฮะ) และ “ไม่ดี” (ชง) ถ้าปีใด ส่งเสริมกัน ก็จะท�ำให้ชีวิตมีความเจริญ แต่ถ้าปีใดเป็นปีปฏิปักษ์ต่อกัน หรือ”ชง” กจ็ ะท�ำใหช้ ีวติ มแี ต่อปุ สรรค ปที ่ไี ม่ถูกโฉลกกนั ได้แก่ ปีชวด ไม่ถูกโฉลก กับปีมะเมีย, ปีฉลู ไม่ถูกโฉลก กับปีมะแม, ปีขาล ไม่ถูกโฉลก กับปีวอก, ปีเถาะ ไม่ถูกโฉลก กับ ปรี ะกา, ปมี ะโรง ไม่ถูกโฉลก กับปีจอ, ปีมะเสง็ ไม่ถูกโฉลก กบั ปีกนุ 300 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 300
การนับถอื เจ้าแมท่ ับทิม ชุมชนไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดสมุทรสาครมีการเคารพบูชาเจ้าแม่ทับทิม อยา่ งแพรห่ ลาย ศาลเจา้ แมท่ บั ทมิ ทสี่ ำ� คญั ไดแ้ ก่ ศาลเจา้ แมจ่ ยุ๋ ปว๋ ยเนย้ี ในเขตทา่ ฉลอม, ศาลเจา้ แมอ่ ามา่ ตำ� บลสวนสม้ , ศาลเจา้ แมเ่ มอื งสมทุ รในวดั ชอ่ งลม, ศาลเจา้ แมอ่ ามา่ ต�ำบลบางหญ้าแพรก, ศาลเจ้าแม่เทียงโหว สมาคมตระกูลลิ้มสมุทรสาคร, ศาลเจ้า อาม้าซากงซี ต�ำบลท่าไม้, ศาลเจ้าแม่อาม้า ต�ำบลท่าเสา, ศาลเจ้าแม่ทับทิม ต�ำบล หนองบัว, และศาลเจ้าแม่ทบั ทิม ตำ� บลโรงเข้ ในชุมชนริมแม่น�้ำท่าจีนบริเวณบ้านแพ้วและกระทุ่มแบน มีเร่ืองเล่าเก่ียวกับ เจ้าแม่ทับทิมที่เป็นพ่ีน้องสองคน คนหนึ่งเป็นเจ้าแม่ท่ีประตูน้�ำบางยาง อีกคนหน่ึง เป็นเจ้าแม่ที่หมู่บ้านซากงซีในเขตกระทุ่มแบน เจ้าแม่ทับทิมท้ังสององค์นี้ได้รับการ เคารพบูชาจากคนไทยเชือ้ สายจนี เป็นอย่างมาก 301 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 301
ผู้ดูแลศาลเจ้าแม่อาม้า บริเวณประตูน�้ำบางยาง ต.สวนส้ม อ.บ้านแพ้ว เล่าถงึ ความศักดิส์ ทิ ธ์ขิ องเจา้ แม่ว่า “ศาลนี่เก่าแก่มาก แต่เดิมเป็นหลังคา มุงจาก มีเรียนอักษรจีนท่ีศาลน้ี แต่ก่อนแถวนี้ คนจีนเยอะ สมัยก่อนตรงปากคลองนี้เรือทุกล�ำ ต้องจุดประทัดหมด ถา้ ไม่จดุ จมเลย มอี ยคู่ รั้งหนง่ึ เขาจะท�ำมูลนิธิ ก็ตั้งโต๊ะรับบริจาคตรงน้ี พอ ตงั้ เสรจ็ ไดเ้ วลาประมาณบา่ ย ลมฝนมาพรวดเดยี ว หายหมดเลย โต๊ะกระจาย หลังจากนั้นเขาเลย ไม่จัดอีกเลย คือถ้าตั้งมูลนิธิน่ีไม่เอาเลย เจ้าแม่ ไม่ต้องการเก็บเงิน มีเท่าไหร่พยายามใช้ออก ใหห้ มด คือได้มากใ็ ช”้ (สัมภาษณ์ 22 พฤศจิกายน 2559) 302 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 302
ชุมชนชาวจีนในบริเวณหมู่ 10 ต�ำบลท่าไม้ อ�ำเภอกระทุ่มแบน เป็นที่ต้ัง หมู่บ้านซากงซี มีการนับถือเจา้ แมอ่ าม้าหรือเจา้ แมท่ บั ทิมองค์ทส่ี อง ชาวบา้ นเล่าวา่ “เมอ่ื กอ่ นตรงนเ้ี ปน็ ศาลไม้ หลงั จากนนั้ ก็มีคนใจบุญท่ีเขาขอพรได้ เขามาสร้างให้ใหม่ เขาบนเอาไว้ ว่าถ้าเขาร�่ำรวยแล้วประมูล เตาเผาศพได้ เขาจะมาท�ำศาลให้อาม้า พอดี เขาได้สมใจ เขาก็มาสร้าง เพิ่งจะเสร็จปีน ี้ เขาขอพร อาม้าศักด์ิสิทธิ์ แล้วแต่ใครจะไป ถูกโฉลกกับอาม้า วาสนาของใครของมัน ตรงทอ้ งนากจ็ ะมศี าลอามา้ เกา่ ตดิ แมน่ ำ้� ทา่ จนี มนั มมี านานแลว้ มมี า 100 กวา่ ปแี ลว้ คนทเ่ี ปน็ ร่างทรงตายไปหลายคนแล้ว มันเป็นศาลเก่า ใครกไ็ มก่ ล้าย้าย ตอนนม้ี ันผหุ มดแล้ว เขาเชิญ อาม้ามาอยทู่ ใ่ี หมแ่ ล้ว ไมม่ ใี ครกล้ารอ้ื กลวั กัน กง๋ เลา่ ใหฟ้ งั วา่ อามา้ มสี ององค์ มากนั สองพนี่ อ้ ง เขาวา่ ลอยนำ้� มา ทป่ี ระตนู ำ้� บางยางมอี ยู่ 1 ศาล แล้วเขาก็มาข้ึนตรงนี้อีกศาล” (สัมภาษณ์ 14 ธนั วาคม 2559) ศาลเจา้ แมอ่ ามา้ ซากงซี หลงั เก่า ศาลเจ้าแม่อาม้าซากงซีหลงั ใหม่ 303 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 303
บริเวณชุมชนชาวจีน ต�ำบลท่าเสาริมแม่น้�ำท่าจีน อ�ำเภอกระทุ่มแบน ก็มีการนับถือเจ้าแม่ทับทิม ซ่ึงชาวบ้านได้น�ำข้ีธูปของเจ้าแม่ทับทิมท่ีอยู่บริเวณ ปากคลองบางยางมาไว้ที่นี่ ท�ำให้ศาลเจ้าแม่ทับทิมที่บ้านท่าเสามีสายสัมพันธ์กับ เจา้ แม่ทับทมิ สองพี่น้อง ผู้ดูแลศาลเจา้ แม่ทบั ทิม บ้านท่าเสา อายุ 74 ปี เลา่ ว่า “ศาลมมี ากอ่ นฉนั เกดิ ปนี น้ั มนั เปน็ โรคหา่ กนั ตายกนั เยอะ ตง้ั แตฉ่ นั ยงั ไมเ่ กดิ แลว้ อากงกไ็ มร่ จู้ ะทำ� อยา่ งไรดี กไ็ ปเอาขธ้ี ปู จากศาลบน (ศาลอามา้ ปากคลองบางยาง) มาละลายใหล้ ูกหลานกิน ลกู หลานกไ็ มเ่ ปน็ อะไร ก็เลยเชิญทา่ นมาตัง้ ทีน่ ่ี” (สัมภาษณ์ วันที่ 15 พฤศจกิ ายน 2559) 304 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 304
การนับถอื เจ้าแมก่ วนอิม ศาลเจ้าแม่กวนอิมท่ีส�ำคัญได้แก่ ศาลเจ้าพระโพธิสัตว์กวนอิม ท่าฉลอม, ศาลเจา้ แมก่ วนอมิ พนั มอื ตำ� บลมหาชยั , ศาลเจา้ กวิ๊ เทยี นเนยี่ เนยี้ ตำ� บลบางหญา้ แพรก, ศาลเจา้ แมก่ วนอมิ พนั มอื ตำ� บลนาด,ี ศาลเจา้ โรงเจฮว้ั เฮยี งฮกุ ตงึ้ , ศาลเจา้ มลู นธิ นิ ำ่� เกก็ , ศาลเจ้าแม่กวนอิม วัดเจษฎาราม, ศาลเจ้าพุทธเทวะมงคลสถาน ต�ำบลบางน�้ำจืด, ศาลเจา้ แมก่ วนอมิ วดั คลองมะเดอื่ , ศาลเจา้ แมก่ วนอมิ วดั ดอนไกด่ ,ี ศาลเจา้ แมอ่ าเนยี้ ว ต�ำบลท่าเสา, ศาลเจ้าแม่กวนอิม วัดท่ากระบือ, ศาลเจ้าแม่กวนอิม วัดท่าไม้, ศาลเจ้าแม่กวนอิม วัดหนองนกไข่, ศาลเจ้าแม่ชือปุยเนี้ยว ต�ำบลหนองสองห้อง, ศาลโรงเจเจ้าแม่กวนอิม ต�ำบลหลักสอง ในพิธีกราบไหวบ้ ูชาเจา้ แมก่ วนอิม ผู้ทม่ี ากราบไหวจ้ ะตอ้ งท่องบทสวด 3 คร้ัง ส�ำหรบั ผทู้ ต่ี อ้ งการใหเ้ กิดความศักดิส์ ทิ ธิ์ จะต้องท่องบทสวด 50 ครัง้ (สวดมหากรุณา ธารณีสูตร ค�ำสวดเป็นภาษาจีน) เม่ือสวดจบ 50 ครั้งให้ท�ำเครื่องหมายทึบในวงกลม ในแผน่ กระดาษทม่ี บี ทสวด จำ� นวน 306 วงกลม เมอ่ื สวดครบตามจำ� นวนแลว้ ใหพ้ มิ พ์ บทสวดจ�ำนวน 1,200 แผ่นและน�ำไปแจกให้กับคนอื่นเพื่อสวดบูชาในแบบเดียวกัน การกระทำ� นเ้ี ช่ือวา่ จะทำ� ให้ผู้สวดได้รบั พรสมปรารถนา ดังคำ� อธิบายต่อไปน้ี “ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระแม่กวนอิม มหาโพธิสัตว์ พระผู้เปี่ยมล้นด้วยพระมหาเมตตา พระมหากรุณา อันยิ่งใหญ่ไพศาล ขอได้โปรดบ�ำบัดทุกข์โศก โรคภัยอันตรายท้ังปวง ข้าพเจ้าขอน้อมถึง พุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ พระแม่กวนอิมมหาโพธิสัตว์ ขอได้โปรดขจดั ปัดเป่าทุกขโ์ ศก โรคภยั ทั้งปวงใหห้ มดสน้ิ ไป ขอความสขุ สมปรารถนาทุกประการจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเทพเจ้าเบ้ืองบน และ เทพเจ้าเบ้ืองล่างท้ังหมดได้โปรดปัดเป่า ให้เวรกรรมและสรรพเคราะห์ ท้ังมวลจนหมดสน้ิ ไป” 305 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 305
เจ้าแมก่ วนอมิ ในศาลเจ้าตกึ 3/20/2561 BE 15:09 อ�ำเภอกระทมุ่ แบน จงั หวดั สมุทรสาคร 306 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 306
ในหมู่บ้านชาวจีนชื่อตงเส้ีย ซึ่งปัจจุบันคือหมู่บ้านท้องคุ้ง ต.ท่าเสา อ.กระทมุ่ แบน เปน็ หมบู่ า้ นชาวประมง มกี ารนบั ถอื เจา้ แมก่ วนอมิ หรอื เจา้ แมอ่ าเนยี้ ว ชาวบา้ นผ้ดู แู ลศาลเจ้าแมอ่ าเน้ยี ว เลา่ ว่า “เมื่อกอ่ นแถวน้เี ป็นป่าจาก ดงป่า ท่นี ี่ตอนแรก เขาท�ำนาแล้วก็เปล่ียนมาท�ำสวน ท�ำสวนมะม่วง สวนกล้วยไม้ สวนมะพร้าว รุ่นผมตอนนั้นยังท�ำนาอยู่ นาด�ำ เลิกนาไปประมาณ 40 ปีแล้ว ที่เลิกเพราะเขา ยกที่ดินสูงหมดเลย ท�ำข้าวล�ำบาก ต้องขุดด้วยจอบ ไมม่ คี วาย แลว้ กไ็ มป้ กั ดำ� กนั ทำ� คนละ 7- 8 ไร่ เกย่ี วขา้ ว แล้วก็ฟาดเอง ท�ำเอาไว้กินไม่ได้ขาย ไว้กินในบ้าน ศาลเจ้าด้ังเดิมอยู่ตรงแม่น�้ำ แล้วก็ย้ายมารอบหนึ่ง แลว้ กย็ า้ ยมาอกี ที รวมเปน็ 3 เทย่ี ว ศาลเดมิ เปน็ ศาลไม้ เล็กๆ แล้วก็มาเป็นตึก สร้างมาต้ังแต่รุ่นปู่ของปู่ เป็นคนจีน มาจากเมืองจีนแล้วก็มาสร้างศาล แต่แรก มีไม้ตะเคียนมันลอยมา แต่ก่อนเขาเข้าทรงเรียกจระเข้ ขึ้นมา แล้วก็เอาไม้ตะเคียนข้ึนมา แล้วก็มาสร้าง ศาลเจ้าให้ แต่ก่อนนี้เขาแจวเรือผีหลอก เรือหาปลา ที่ทากระดานสีขาวๆ เขาเจอจระเข้กัน เขาบอกว่า ตัวใหญ่มาก แล้วตอนหลังก็มีเจ้าแม่กวนอิม หลวงพ่อ วดั บา้ นแหลม แล้วก็ไต่เสย่ี ฮดุ โจว้ แล้วตอนหลงั เขาเลย ตัง้ ช่อื ว่าศาลเจา้ แมก่ วนเน้ียว ชาวบ้านก็นบั ถือเรื่อยมา ส่วนใหญ่เขามาขอกันได้นะ ของหายก็ได้ แม่ผม แตก่ อ่ นไปชอ้ นกงุ้ ในสวน ใสท่ องสองบาทแลว้ ใสก่ ระเปา๋ เอาไวแ้ ลว้ กห็ าย ไมร่ จู้ ะทำ� ยงั ไงกม็ าบนอาเนย้ี ว กลางคนื อาเน้ียวมาเข้าฝันว่าอยู่ตรงนั้นตรงนี้ แล้วก็เจอ” (สมั ภาษณ์ 22 พฤศจิกายน 2559) 307 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 307
308 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 308
การนับถอื เจ้าพอ่ ปุนเถ้ากงและเจ้าพ่อแป๊ะกง ตามความเชื่อของชาวจีนแต้จิ๋ว เจ้าพ่อปุนเถ้ากงคือเทพเจ้าที่ คอยดูแล คุ้มครองคนในบ้านให้อยู่เย็นเป็นสุข ในอดีตสมัยราชวงศ์ซ้อง นักเดินเรือจะนับถือ เจา้ พอ่ ปนุ เถา้ กงมาก ชาวจนี โพน้ ทะเลในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ อ่ี าสยั อยรู่ มิ ชายฝง่ั และริมแม่น�้ำ ก็นับถือเจ้าพ่อปุนเถ้ากง ศาลเจ้าพ่อปุนเถ้ากงที่ส�ำคัญในจังหวัด สมุทรสาคร ได้แก่ ศาลเจ้าปุนเถ้ากงท่าฉลอม ศาลเจ้าปุนเถ้ากงคลองมหาชัย และ ศาลเจา้ ปึงเถา้ กง (ศาลเจ้ากลางคลอง) ตำ� บลทา่ ไม้ 309 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 309 3/20/2561 BE 15:09
ผู้ดูแลศาลเจ้าปุนเถ้ากง ริมคลองมหาชัย อธิบายถึงความศักด์ิสิทธ์ิของ เจา้ พ่อปุนเถ้ากงวา่ “เราต้องการอะไรก็จุดธูปอธิษฐาน แล้วก็จะโยนไม้ 3 ท่อนขึ้น ถ้าสำ� เร็จ เซ้งปวย (คว่�ำ 1 อัน หงาย 1 อัน) แต่ถ้าควำ�่ ทัง้ คู่ คือไมส่ ำ� เรจ็ และถ้าหงายทั้งคู่คือท่านได้ยินสิ่งท่ีเราขอ ท่านรับรู้ แต่ว่าท่านหัวเราะ คอื หมายความวา่ เรารคู้ ำ� ตอบอยแู่ ลว้ ในใจ ไมน้ เี้ ขาเรยี กวา่ ปวย เขากจ็ ะ มาไหว้ จุดธูปเสร็จเขาก็จะมาโยน จะมาขอเรื่องออกเรือ คนท่ีจะท�ำ กจิ กรรมอะไรกแ็ ลว้ แต่ กจ็ ะมาถามวา่ จะสำ� เรจ็ ไหม บางคนสอบหมอได้ ก็ซื้อไก่ต้มมาเลย 9 ตัว บางคนสอบราชการเป็นต�ำรวจ ทหาร เขาก็ มาไหว้ แล้วแตว่ ่าเขาจะเอาอะไรมาไหว้กไ็ ด้ อย่างซาแซ คอื เปด็ 1 ตวั ไก่ 1 ตัว หมู่ต้ม 1 ชิ้น ก็เป็น 3 อย่าง ใส่ถาด เราก็จะมีผลไม้อีกสัก 3-5 อย่าง แล้วก็น�้ำ เราก็มาถวายท่านเมื่อเราส�ำเร็จแล้ว บางคน อย่างคิดจะขายที่ บ้าน เรือ ก็จะมาขอ ถ้าขายได้ก็จะมาไหว้ ตรงนี้ เขาทำ� มาตั้งนานแล้ว” (สัมภาษณ์ 21 มกราคม 2559) 310 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 310
แป๊ะกง หรือ เทพเจ้าท่ี เทพผู้ดูแลคุ้มครองผืนดิน ชาวจีนท่ีตั้งบ้านเรือน อยู่ในที่ต่างๆ จะท�ำกราบไหว้แป๊ะกงเพ่ือความอยู่เย็นเป็นสุข ศาลเจ้าพ่อแป๊ะกง ที่ส�ำคัญในจังหวัดสมุทรสาคร ได้แก่ ศาลเจ้าแป๊ะกง (โรงบน โรงล่าง) ต�ำบลบ้านบ่อ ศาลเจ้ามูลนิธิน�่ำเก็ก ศาลเจ้าแป๊ะกง สุสานสามัคคีธรรมภาวนา ศาลเจ้าตาแป๊ะกง ต�ำบลท่าไม้ เทพเจ้าแป๊ะกง บนหลังเสือ สงิ่ ศักดสิ์ ทิ ธ์ใิ นชุมชนประมง ต�ำบลบา้ นบ่อ อำ� เภอเมือง จงั หวัดสมุทรสาคร 311 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 311 3/20/2561 BE 15:09
ผีประจ�ำตระกลู ของชาวมอญ ในกลุ่มคนมอญที่เป็นคนด้ังเดิมในพ้ืนที่ จะตั้งถิ่นฐานอยู่ริมคลองสุนัขหอน คลองเจด็ รว้ิ คลองอำ� แพง คลองตาขำ� คลองตาปลง่ั คลองเขอ่ื นขนั ธ์ และคลองพากหมอน คนกลุ่มน้ีมีความเชื่อเร่ืองผีหรือเจ้าพ่อเจ้าแม่ประจ�ำหมู่บ้าน และนับถือพุทธศาสนา ในเวลาเดียวกัน องค์ บรรจุน (2550) อธิบายว่า ในพ้ืนที่สมุทรสาคร ชาวมอญเข้ามา ตั้งถ่ินฐานในบริเวณวัดเกาะ ซึ่งก่อสร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2318 (สมัยสมเด็จพระเจ้า กรุงธนบุรี) ลูกหลานชาวมอญวัดเกาะค่อยๆ ขยายตัวออกไปตั้งรกรากในบริเวณ ใกล้เคียง ได้แก่ เขตวัดบางปลา วัดพันธุวงษ์ วัดศิริมงคล วัดคลองครุ วัดเจ็ดริ้ว วัดธรรมเจดียศ์ รพี พิ ัฒน์ วัดราษฎรศ์ รทั ธากะยาราม และวดั อทุ ยาราม ส่วนมอญอีกกลุ่มหน่ึงที่เข้ามาทีหลัง มีในบันทึกสมัยรัชกาลท่ี 3 ซ่ึงกล่าวถึง ชาวมอญเป็นแรงงานขดุ คลองสนุ ัขหอนและสรา้ งป้อมวิเชียรโชฎกึ รัชกาลท่ี 3 โปรดฯ ให้ยกครัวมอญในเจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ) ไปท�ำมาหากินที่จังหวัดสมุทรสาคร เม่ือ พ.ศ. 2371 ท�ำให้พื้นท่ีริมคลองสุนัขหอนกลายเป็นที่ต้ังชุมชนชาวมอญ ซ่ึงมกี ารสรา้ งวดั เรยี งรายตลอดลำ� คลอง ตงั้ แต่วดั บางพลี วดั บางนำ้� วน วัดบางกระเจ้า วัดบางสีคต วดั บางไผเ่ ตย้ี และวดั ชีผา้ ขาว เจดมี อญวัดบางน้�ำวน ต�ำบลบางโทรัด อ�ำเภอเมือง จังหวดั สมุทรสาคร 3/20/2561 BE 15:09 312 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 312
องค์ บรรจุน (2550) อธิบายว่าชุมชนมอญบริเวณวัดเกาะ กับมอญบริเวณ คลองสนุ ขั หอนเปน็ มอญคนละกลมุ่ ทอ่ี พยพเขา้ มาในเวลาทต่ี า่ งกนั เนอ่ื งจากชาวมอญ วัดเกาะมีญาติพี่น้องอยู่ที่บ้านกะมาวัก เมืองมะละแหม่ง ซ่ึงมีวัฒนธรรมร่วมกันคือ การนับถือผีภายในตระกูล และสืบทอดผ่านทางลูกชายคนเล็ก ซ่ึงถือเป็นเอกลักษณ์ ทตี่ า่ งจากมอญในทอี่ น่ื ๆ ซง่ึ สบื ทอดการนบั ถอื ผผี า่ นลกู ชายคนโต ชาวมอญทวี่ ดั เกาะ มีการสืบทอดการนับถือผีตระกูลผ่านลูกชายคนเล็ก ผีประจ�ำตระกูล เช่น ผีเต่า ผีไก่ ผงี ู ผขี า้ วเหนยี ว ผหี มู เปน็ ตน้ สมบตั ปิ ระจำ� ตวั ผปี ระกอบดว้ ย แหวนพลอยสแี ดง 1 วง เสอ้ื 1 ตวั ผ้าแดง 1 ผนื ผ้าโพกหวั 1 ผนื หมอ้ 1 ใบ ลูกชายคนสดุ ท้องตกดแู ลสมบตั ิ เหลา่ นโี้ ดยแขวนสมบตั ผิ ไี วท้ ห่ี วั เสานอน หรอื ใสห่ บี ไมเ้ กบ็ ไวอ้ ยา่ งมดิ ชดิ หา้ มผอู้ น่ื มาดู ถ้าสมบัติช�ำรุดต้องหามาเปลี่ยนใหม่ ถ้าไม่เปล่ียนจะน�ำความเดือดร้อนมาให้กับ คนในครอบครวั (ประเชญิ คนเทศ, 2528: 21) ในบางกรณี ถา้ คนในครอบครวั ลม้ ปว่ ย หรือประสบปัญหาต่างๆ ญาติพ่ีน้องจะเช่ือว่าเป็นเพราะมีการท�ำ “ผิดผี” หรือ ลูกหลานและคนในครอบครัวไม่แสดงความเคารพผีบรรพบุรุษ ผีก็จะไม่พอใจและ ทำ� ใหค้ นในครอบครวั เจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย วธิ กี ารแกไ้ ขกค็ อื จะตอ้ งจดั พธิ เี ซน่ ไหวผ้ ปี ระจำ� ตระกลู ซึ่งรู้จักในนามพิธีร�ำผีมอญ การจัดพิธีร�ำผีมอญ มักจะมีข้ึนในเดือนคู่ ยกเว้นวันพระ และวันเขา้ พรรษา 313 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 313
นายบรรยี อธิบายเร่อื งการนบั ถือผวี า่ “หากว่าลูกหลายคน ผู้ชายคนโต ผู้หญิงคนเล็ก คนโตต้องรับ หากมีลูกชายคนสุดท้อง คนสุดท้องก็ต้องรับ ผู้หญิงไปเป็นสะใภ้ เขาหมดสทิ ธ์ิ เม่ือเราถงึ คราวไหว้กก็ ลบั มาไหวไ้ ด้ แตล่ ูกชายต้องสืบทอด ถ้าตระกูลไหนไม่สืบทอด ความเป็นไปมันก็เกิด คนมอญท่ีบางกระเจ้า เห็นเต่า เลยโยนไป อยู่ๆ ก็ไม่สบาย พอไม่สบายก็ไปหาหลวงพ่อ วัดกลาง แล้วเขาก็ส่งมาผม ดูแล้วก็ผิดผีเรือน ก็ถามว่าหนูนับถือผีอะไร เขาบอกว่าฉันคนมอญ แต่ผัวคนไทย แต่เวลาเต่าเข้าบ้าน ฉันก็โยน ไปตลอด เรากใ็ หไ้ ปปรกึ ษากนั กอ่ น ผชู้ ายเขากร็ บั รบั แลว้ กม็ คี วามสขุ ขน้ึ คนมอญมี ผีไก่ ผีเต่า ผีงู ผีหมู เป็นผีตามตระกูล ใครจะมาเป็นเขย เป็นสะใภ้ต้องอยู่หลังนอก อยู่หลังในไม่ได้ หลังในให้คนในบ้าน คนทเี่ กดิ ในบา้ น เมอ่ื แตง่ งานแลว้ ตอ้ งอยขู่ า้ งหนา้ เขา้ ไปนอนขา้ งในไมไ่ ด้ เสาประจ�ำถิ่นมีสองเสา มีเสาเอก ส่วนการไหว้ ปีหนึ่งไหว้ครั้งหนึ่ง สว่ นมากจะไหวเ้ ดอื นหก ทกุ บา้ นตอ้ งไหว้ ผเี ตา่ กห็ าเตา่ มา ผไี กก่ ห็ าไกม่ า เขาท�ำแบบน้ี อย่างผีเต่า เมื่อเขาอยากจะกินเต่า กลางคืนเขาจะมา บริเวณบ้าน เมื่อเราปล่อยเต่าไป บางคนก็ป่วย ป่วยแล้วไปหาหมอ พอเอาเต่ามาเลี้ยงแล้วก็หาย อย่างผีงู เจองูตีไม่ได้ ตีงูก็เกิดเหตุ ผิดผี อย่างผีไก่ กินไก่แต่ให้คนอ่ืนไม่ได้ ผีข้าวเหนียว น่ึงข้าวเหนียวแจก คนอื่นไม่ได้ แต่ว่ามากินในบ้านได้ เต่าก็ต้องกินในบ้าน ส่ิงท่ีเคารพ อย่างน้ีเขาก็มีบุญฤทธ์ิ เม่ือเราต้องการอะไร ปรารถนาอะไรเราจุดธูป บอกกล่าวเขา ความส�ำเรจ็ กเ็ กิด” (สัมภาษณ์ 16 ธนั วาคม 2558) เคร่ืองเซ่นไหว้ผเี ตา่ ของชาวมอญ ประกอบดว้ ยปลาชอ่ น กล้วย มะพรา้ ว 3/20/2561 BE 15:09 314 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 314
หญิงชาวมอญวัย 60 ปี เล่าเก่ียวกับผีประจ�ำตระกูลและความเช่ือ ของชาวมอญวา่ “ในความเช่อื ของคนมอญ เขามผี ี ผีทีเ่ ขานบั ถอื เป็นส่ิงศกั ดิส์ ทิ ธิ์ อย่างดิฉัน รกรากเขานับถือผีเต่า เราก็ต้องรักษาตามเขามา อย่างดิฉัน เป็นคนมอญแต่สามีเป็นคนไทย แต่ว่าถ้ามีลูกชายก็ต้องสืบเน่ือง คนเล็กก็ต้องรับช่วงต่อไป แต่ถ้าไปได้ภรรยาเป็นไทย แล้วมีลูกออกมา เป็นผู้ชายก็ต้องรับต่อเน่ือง แต่เราก็ต้องอธิบายให้เขาฟังว่าต้องท�ำ อยา่ งนี้ ถา้ เกดิ ไปท�ำอะไรแล้วผิดผี เขากอ็ าจจะลงโทษ ก็ต้องมพี ธิ ีกรรม ก็คือการร�ำผี มีร่างทรง คนมอญเขาเรียก “ปะโหนก” ก็คือพ่อใหญ่ เสาเรือนเสาเอกของคนมอญ เขาจะต้องนับถือ ปีหนึ่งก็จะเอาสิ่งของ ไปไหว้ มีผลไม้ พวงมาลัย ผ้าสามสีของต้องห้ามพวกตุ๊กตาที่มีหู มีตา หา้ มนำ� เขา้ บา้ น ปใู่ หญไ่ มช่ อบ เพราะถา้ ผดิ ไปจะทำ� โทษ ในพธิ กี รรมรำ� ผี ขบั ไลส่ ่ิงไม่ดี เด็กผมจุก คนมเี คราะห์หา้ มเข้า คนทไ่ี มใ่ ช่วงศาคณาญาติ ห้ามเข้า เราเป็นคนมอญ แต่มีสามีเป็นคนไทย เราก็เข้าไปนอน ในเรอื นใหญ่ไมไ่ ด”้ (สมั ภาษณ์ 16 ธันวาคม 2558) 315 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 315
พธิ ีกรรมร�ำผีมอญ การร�ำผีมอญจะจัดพิธีเม่ือมีเหตุการณ์ที่ไม่ดีเกิดข้ึนในครอบครัว เช่น การแสดงพฤติกรรมที่ไม่เคารพบรรพบุรุษ การละเมิดข้อห้ามต่าง ๆ ท�ำให้สมาชิก ในตระกูลเกิดการเจบ็ ป่วยโดยหาสาเหตุไมพ่ บ จึงจดั พิธกี รรมรำ� ผขี นึ้ เพ่อื ขอขมาต่อผี 316 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 316
นอกจากชาวมอญจะนับถือผีประจ�ำตระกูลที่อยู่ในเสาเอกของบ้านแล้ว แต่ละชุมชนยังมีสิ่งศักด์ิสิทธ์ิหรือผีประจ�ำหมู่บ้าน (ปะโหนก) ซึ่งท�ำหน้าท่ีปกป้อง คุ้มครองคนในชุมชน เป็นศูนย์รวมใจของคนในชุมชน เจ้าอาวาสวัดบางกระเจ้า อธิบายเก่ยี วกบั ผปี ระจ�ำชมุ ชนมอญวา่ “พอมาอยู่เป็นกลุ่ม ก็จะมีผีปกปักษ์รักษาในชุมชน ก็ตั้งเป็น ศาลพอ่ ปู่ ศาลพ่อปเู่ รียกตามคนไทย ของมอญเรยี กว่า “ปะโหนก” กค็ ือ บรรพบุรุษที่ใหญ่ท่ีสุด แล้วก็ตามบ้านก็คือบรรพบุรุษของพ่อของแม่ ปู่ย่าตายายแบบน้ัน แล้วพอถึงเทศกาลที่ท�ำกันก็คือสงกรานต์ ปีใหม่ ก็ต้องมาไหว้ผี ร�ำผี ก็จะเล่นกัน พอถึงวันสุดท้าย เขาจะเอากระดูก บรรพบุรุษท่ีอยู่ที่บ้านหรือท่ีฝากที่วัดก็แล้วแต่ หรือท่ีบรรจุไปแล้ว เขาก็จะเข้าศาลาการเปรียญ เอากระดูกพวกน้ีไปต้ัง ใครไม่มีกระดูก ก็ใช้เขียนหนังสือเอา คือบังสกุล ปีละคร้ัง คือท�ำท้ังหมู่บ้าน มารวมกัน ทวี่ ัด” (สัมภาษณ์ 18 ธนั วาคม 2558) ชุมชนมอญในสมุทรสาครจะสร้างศาลผีหรือศาลเจ้าพ่อประจ�ำหมู่บ้าน และ ในช่วงหลังสงกรานต์จะประกอบพิธีเซ่นไหว้ผี คนในชุมชนจะน�ำเคร่ืองเซ่นมาถวาย ท่ีศาลและมีการเข้าทรง ผู้ชายชาวมอญทุกคนท่ีจะบวชจะต้องมาท�ำพิธีกราบไหว้ อ�ำลาเจา้ พอ่ ทศ่ี าลประจ�ำหมบู่ า้ น ศาลเจา้ พอ่ ทส่ี ำ� คญั ของชาวมอญในสมทุ รสาคร ไดแ้ ก่ ศาลเจา้ พอ่ หลวงชา้ งพนั และศาลเจ้าพ่อจ�ำปี จ�ำปา ในชุมชนมอญบางสีคต ศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์ ศาลเจ้าแม่ หม่อมจันทร์ ในชุมชนมอญบางกระเจ้า ศาลเจ้าพ่อหนู ในชุมชนมอญบางพลี ศาลเจ้าแม่ทับทิมทอง ศาลเปี้ยะจุตะละทาน ศาลปู่ธารา ในชุมชนมอญบางน้�ำวน ศาลเจ้าเจ้าพอ่ เพชร ศาลเจา้ พอ่ สรวง ในชุมชนมอญบางไผเ่ ต้ยี ศาลเจ้าพอ่ จำ� ปจี ำ� ปา ในชมุ ชนมอญชผี า้ ขาว ศาลเจา้ พอ่ ปากคลอง ในชมุ ชนมอญบา้ นกำ� พรา้ ศาลเจา้ พอ่ โต ในชมุ ชนมอญศริ มิ งคล ศาลเจา้ ปคู่ มุ้ สวี่ า ในชมุ ชนมอญพนั ธวุ งษ์ ศาลเจา้ แมห่ วั ตะพาน และศาลเจา้ แมจ่ ากมดั ในชมุ ชนมอญวดั เกาะ ศาลเจา้ พอ่ ลอ่ งหน ศาลพอ่ เอย่ี มพอ่ ทงุ่ ศาลพอ่ อน้ พ่อจนั ทรพ์ ่อจกุ ศาลพ่ออุ่นในชุมชนมอญเจด็ เร็ว 317 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 317
ศาลเจ้าพอ่ หลวงชา้ งพนั ศาลเก่าแก่ของชาวมอญต�ำบลบางกระเจา้ อำ� เภอเมือง จงั หวดั สมุทรสาคร 318 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 318
เร่ืองเลา่ ขานเก่ยี วกบั เจ้าพ่อในชมุ ชนของชาวมอญ ตัวอย่างเร่ืองเล่าเกี่ยวกับเจ้าพ่อของชาวมอญ ได้แก่ ประวัติของเจ้าพ่อโต 3 ศาล ได้แก่ ศาลหลวงปู่ช้างพัน ศาลหลวงปู่ใหญ่ และศาลหลวงปู่การัณต์ ซึ่งตั้งอยู่ ริมคลองอ้อมโรงหีบ หมู่ที่ 6 ต�ำบลบ้านเกาะ ตามความเชื่อของชาวมอญในพื้นที่นี้ เล่าสืบทอดกันมาว่ามีพ่ีน้องสองคน พี่ช่ือโต น้องชื่อช้างพัน พ่ีชายเป็นแม่ทัพ เมืองหงสาวดี น้องชายเป็นควาญช้าง เป็นแม่ทัพกองช้าง ดูแลช้าง 1,000 เชือก เมื่อมอญท�ำสงครามกับพม่า พ่ีน้องสองคนได้เสียชีวิตในสงคราม ชาวมอญที่ แพ้สงครามก็อพยพย้ายถ่ินเข้ามาในสยามและอาศัยอยู่ตามเมืองต่างๆ ซ่ึงได้มีการ สรา้ งศาลและเชญิ วญิ ญาณพนี่ อ้ งสองคนใหม้ าสงิ สถติ ยอ์ ยใู่ นศาลเพอื่ เปน็ สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ที่ชว่ ยปกป้องคมุ้ ครองชาวมอญ เป็นทยี่ ึดเหน่ยี วจิตใจของชาวมอญ ในเรือ่ งอิทธิฤทธ์ิ ของเจา้ พอ่ มเี รอ่ื งเลา่ วา่ ตอนกลางคนื จะมชี า้ งและเสอื โครง่ ออกมาเดนิ รอบศาลเจา้ พอ่ มจี ระเขเ้ ปน็ พาหนะ ซง่ึ เคยพบจระเขน้ อนตายทหี่ นา้ ศาล 1 ตวั หวั จระเขท้ ตี่ ายยงั เกบ็ ไว้ ในศาลเจ้าพ่อการัณต์ นอกจากนั้นในสมัยก่อน ชาวนาท่ีเลี้ยงควายจะต้อนควาย ขา้ มคลองบรเิ วณหนา้ ศาล ถา้ ไมจ่ ดุ ธปู บอกกลา่ ว ควายจะจมนำ�้ ตาย เดก็ ทเ่ี คยมาเลน่ นำ�้ หน้าศาล เคยจมน�้ำ แต่ลอยขึ้นมาได้ เด็กเล่าว่ามีจ้ิกจกตัวใหญ่ช่วยข้ึนมา ชาวบ้าน เชื่อว่าเป็นจระเข้ของเจ้าพ่อท่ีช่วยให้เด็กรอดชีวิตนี่คือตัวอย่างความศักด์ิสิทธ์ิของ เจ้าพ่อโต เจา้ พอ่ โต 3 ศาล ได้แก่ ศาลหลวงปชู่ ้างพัน ศาลหลวงป่ใู หญ่ และศาลหลวงป่กู ารัณต์ 319 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 319 3/20/2561 BE 15:09
ส่วนศาลหลวงปู่การัณต์ ซึ่งเป็นศาลที่ 3 สร้างในปี พ.ศ. 2535 เน่ืองจาก ในปีน้ัน ขณะก�ำลังประทับทรงเจ้าพ่อโต มีชายคนหน่ึงเกิดอาการด้ินอยู่หน้าศาล ร่างทรงเจ้าพ่อโตจึงเข้ามาถามว่าเป็นใคร ชายคนน้ันตอบว่าเป็นน้องชายคนเล็ก ชื่อการัณต์ หลังจากน้ันจึงได้สร้างศาลให้เจ้าพ่อการัณต์เป็นหลังท่ีสาม เพื่อท�ำให้ วิญญาณของพี่น้องสามคนมาอยู่ด้วยกัน ชาวมอญจะจัดงานประจ�ำปีเพื่อเซ่นไหว้ เจ้าพ่อโตในวันท่ี 15 เมษายน มีการท�ำบุญตักบาตรเลี้ยงพระ การแสดงมหรสพ การแก้บน นอกจากน้ัน ถ้าลูกชายบ้านไหนจะบวชจะต้องมาท�ำพิธีลาเจ้าพ่อท่ีศาล ถ้าคลอดลูกเป็นผู้ชาย พ่อแม่จะต้องมาท�ำพิธี “ชักอะโลน” (พิธีต่องาน) ที่ศาล โดยใช้น�้ำมะพร้าวน�้ำหอม 1 ลูก กล้วย 1 หวี พลู 1 จีบ เหรียญสลึงหรือเหรียญบาท 1 เหรียญ ผ้าสีแดง 1 ผืน พร้อมดอกไม้ธูปเทียน น�ำไปถวายให้ศาลแต่ละศาล เหมือนๆ กัน พิธีไหว้ศาลของผู้ชายชาวมอญที่จะบวชเป็นพระ 320 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 320
ชาวมอญเจด็ รวิ้ อำ� เภอบา้ นแพ้ว เลา่ ถงึ ความศกั ดิ์สิทธิ์ของเจ้าพอ่ ประจ�ำหมู่บ้านว่า “เขาเล่าให้ฟังว่า พวกท่ีชอบลองของ พวกโจรท่ีชอบไปปล้นก็จะ มาหลบที่ศาลพ่อ ก็หาไม่เจอ แล้วเขาก็เล่าว่า สมัยก่อนท่ีนี่เป็นไม้แล้วก็มา หยิบเอาของไป ไม่บอกไม่กล่าว พอเหยียบลงไปในน�้ำ ก็ไปเจอกับหลังของ พอ่ เขาพอดี (จระเข)้ จนปจั จบุ นั นค้ี นๆ นน้ั กไ็ มล่ งนำ�้ คลองอกี เลย ชว่ งสงกรานต ์ แถวนคี้ นจะเตม็ ไปหมด เปน็ งานปขี องเขา ลกู ศษิ ยเ์ ขากจ็ ะมา พอเลยี้ งเพลเสรจ็ ร่างทรงเขาก็จะลง ก็จะเห็นท้ัง พ่อวันทอง พ่อล่องหน พ่อเอ่ียม พ่อทุ่ง พอ่ จนั ทร์ มาหมดทกุ พอ่ พอ่ วนั ทองกค็ อื เรอื ของเขา (จระเข)้ พอ่ ลอ่ งหนจะใหญ่ ส่วนพ่อเอ่ียม พ่อจันทร์ พ่ออ้น ก็จะเป็นลูกศิษย์เขา เขาก็จะมีกลองยาว แตรวง ช่วงสงกรานต์เจ้าพ่อก็จะร�ำ ก็จะมีการท�ำพิธีสะเดาะเคราะห์ปัดเป่า ลกู ศษิ ย์กจ็ ะมาท�ำโรงทานแจกอาหารใหก้ ินฟรี” (สมั ภาษณ์ 8 ธันวาคม 2559) ภาพภายในศาลเจา้ พ่อล่องหน ตำ� บลเจด็ ร้ิว 321 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 321 3/20/2561 BE 15:09
พิธีเซ่นไหว้เจ้าพอ่ เจ้าแมป่ ระจำ� หม่บู ้านของชาวมอญ ในช่วงสงกรานต์และหลังสงกรานต์ ถือเป็นช่วงเวลาส�ำคัญท่ีชาวมอญจะ ประกอบพธิ เี ซน่ ไหวบ้ ชู าเจา้ พอ่ เจา้ แมป่ ระจำ� หมบู่ า้ น ใครทขี่ อใหเ้ จา้ พอ่ เจา้ แมช่ ว่ ยเหลอื และสมปรารถนา กจ็ ะมาทำ� การแกบ้ น และมาขอคำ� ปรกึ ษาในปญั หาตา่ งๆ จากรา่ งทรง ของเจ้าพ่อเจ้าแม่ การประกอบพิธีเซ่นไหว้จะเริ่มต้นจากเจ้าพ่อเจ้าแม่ท่ีใหญ่ที่สุด ในหมู่บ้าน ส่วนเจ้าพ่อเจ้าแม่องค์รองลงไปก็จะจัดพิธีหลังจากนั้น ในเขตชุมชนมอญ บางกระเจ้า เจ้าพ่อที่ใหญ่ที่สุดคือเจ้าพ่อหลวงช้างพัน ในเขตชุมชนมอญบ้านเกาะ เจา้ พอ่ ทใ่ี หญ่ทสี่ ดุ คือเจา้ พอ่ โต 3 พ่นี ้อง คือหลวงปชู่ ้างพนั หลวงปใู่ หญ่ และหลวงปู่ การณั ต์ ในเขตชุมชนมอญเจ็ดร้วิ เจ้าพอ่ ทใี่ หญท่ ส่ี ดุ คอื เจ้าพอ่ ลอ่ งหน เจา้ อาวาสวดั บางกระเจา้ อธบิ ายพธิ เี ซน่ ไหวเ้ จา้ พอ่ เจา้ แมข่ องชาวมอญวา่ “ร่างทรงจะนุ่งผ้าแดง โพกผ้าแดง ถ้าผีผู้ชายเข้า ก็จะเรียกผ้า คาดเอว ผ้าคาดหัวแต่ต้องเป็นสีแดง เรียกเอาดาบมีด ผีมีท้ังผู้ชาย ผู้หญิง เจ้าแม่ก็มี เจ้าพ่อก็มี พอเข้าได้คนหนึ่งเขาก็จะยืนมอง บางที กจ็ ะมาดู “เอะ๊ ทำ� ไมมาชา้ ” กว็ า่ อยา่ งนี้ เขากจ็ ะขน้ึ บา้ น ขน้ึ บา้ นไปบอก เจา้ พอ่ ปใู่ หญท่ ส่ี ดุ บอกใหไ้ ปเรยี กมา วา่ ทำ� ไมชา้ เดยี๋ วจะมดื คำ�่ พอขนึ้ ไป กไ็ ปไหวพ้ อ่ ปู่ ไหวเ้ สรจ็ กจ็ ะนง่ั อยหู่ นา้ บนั ได แลว้ กบ็ อกวา่ “เฮย้ มงึ มาน”่ี พอชค้ี นนนั้ คนนนั้ กจ็ ะเขา้ ทนั ทเี ลย วงิ่ เขา้ มาปบุ๊ กจ็ ะถามวา่ มาจากไหน อยู่ท่ีไหน เขาก็จะคุยกัน คุยกันเสร็จก็จะเวียนกันไปไหว้พ่อปู่ ไหว้เสร็จ ก็ลงมา ก็จะมีคนนุ่งผ้าให้ เขาก็จะเต้น จะกระโดด เขาจะมีใบไม้สองก�ำ บางทกี ก็ า้ นมะยม เพอื่ จะใชพ้ รมนำ�้ มนต์ กจ็ ะมกี ารทกั ทาย ถามแลว้ บางที เขา้ แลว้ กบ็ อกวา่ เขาอยไู่ มน่ าน เพราะเขาตอ้ งไปอกี ทห่ี นง่ึ เขาโดนเชญิ ไป ทน่ี น่ั ทนี่ ่ี มาสกั พกั แลว้ กไ็ ป ถา้ เขาชอบรำ� เขากจ็ ะบอกวา่ ใหป้ พ่ี าทยต์ ตี าม จังหวะเขา คนนี้รำ� ไปเพลงสองเพลง คนน้ีกเ็ อามัง่ ตจี ังหวะไม่เหมอื นกัน ผหู้ ญงิ ทเี่ ขา้ ทรง เอาเหลา้ ขาวใหด้ ม่ื เอาบหุ รใ่ี หส้ บู ทงั้ ทไี่ มเ่ คยดมื่ ไมเ่ คยสบู เรากถ็ ามวา่ “กนิ ไดเ้ หรอ” เขากบ็ อกวา่ “มนั กนิ ไมไ่ ดก้ ต็ อ้ งกนิ เหมอื นเขา บงั คบั ใหก้ นิ ” ถามตอ่ วา่ “แลว้ ไมเ่ มาเหรอ” เขากว็ า่ “เมาสิ มนั มนึ ” บางคน เวลาเจ้าออกแล้ว พับเลย เหนื่อย อายด้วย สลบไปก็มี เดินไม่ไหว การเขา้ ทรง เขา้ หลายชว่ั โมง บางทกี เ็ ยน็ คำ่� ถา้ เจา้ พอ่ เขา้ กต็ อ้ งรำ� รำ� นานเลย ชาวบา้ นก็ชว่ ยร�ำกนั แล้วเวลาเขาจะจบจะเลิก สง่ เจ้าพอ่ กลบั กจ็ ะร�ำกนั ท้ังหมูบ่ ้านเลย” (สัมภาษณ์ 18 ธนั วาคม 2558) 322 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0321.indd 322 3/21/2561 BE 10:10
“ชาวบ้านมาดู ก็เหมือนให้ก�ำลังใจ ปีหน่ึงคร้ังหน่ึง มาขอพร ให้พรมน้�ำมนต์ ให้เป่าหัว แล้วก็จะมีการเส่ียงทาย ก็จะถามว่าปีนี้จะ เป็นอย่างไร จะให้ท�ำอย่างไรบ้าง แก้เคล็ดอย่างไรบ้าง ของเซ่นไหว้ มีขนมต้มขาวต้มแดง มีมะพรา้ ว กลว้ ย ไข่ เหลา้ ยา กล้วย และมะพร้าว เอาไวล้ อ่ ชา้ ง ถา้ ใครบนกม็ าใหเ้ ขาวนั นน้ั เลน่ กนั สนกุ คนรำ� มกี ลองยาว สมยั กอ่ นเขามที ะแยมอญ มาเลน่ ตอนเยน็ หนา้ ศาล บางทตี รงกบั วนั เสาร์ วันพระ เขาก็ไม่เล่น เล่นไม่ได้ คนมอญเขาถือมาตั้งแต่ดั้งเดิม วันจม อกี วันนงึ เดือนหน่ึงจะมี 4 วนั ” (สัมภาษณ์ 18 ธันวาคม 2558) พิธเี ซน่ ไหว้เจ้าพ่อหลวงช้างพัน 323 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 323 3/20/2561 BE 15:09
คตพิ ุทธและสิง่ ศักดิ์สทิ ธ์ิในวัดของชาวมอญ วดั ในพทุ ธศาสนาถอื เป็นพ้ืนทท่ี างสงั คมและวัฒนธรรมที่สำ� คญั ของชาวมอญ ในวันส�ำคัญทางศาสนา ชาวมอญจะไปท�ำบุญตักบาตร ถือศีล ฟังเทศน์ฟังธรรม ในช่วงออกพรรษาจะมปี ระเพณีตักบาตรดอกไม้และล้างเทา้ พระ พระมอญรูปหน่ึง อธิบายความส�ำคัญ ของประเพณีออกพรรษาและการล้าง เท้าพระของชาวมอญวา่ “วนั ออกพรรษาเปน็ วนั อรยิ วนิ ยั ก็คือ ผู้น้อยสามารถแนะน�ำผู้ใหญ่ได้ ลา้ งเทา้ เขาถอื วา่ ตำ่� ใหป้ ระชาชนลดทฐิ ิ ลดความรคู้ วามสามารถตวั เอง ลดอตั ตา ของตัวเอง ท่ีจะล้างเท้า กเ็ อาเปน็ พระ เป็นบุคลาธิษฐานได้ดีที่สุด คือวันนั้น คุณถอดหัวโขน จะได้คลายทิฐิ ส่วน ตักบาตรดอกไม้เพ่ืออะไร พระพุทธ ศาสนาถือว่าดอกไม้เป็นตัวแทนของ พระสงฆ์ที่มีชีวิต” (สัมภาษณ์ วันที่ 12 ตุลาคม 2559) 324 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 324
นอกจากน้ัน พระสงฆ์ชาวมอญก็มีบทบาทส�ำคัญในการสร้างศูนย์รวมจิตใจ และพลงั ศรทั ธาทางศาสนา พระสงฆท์ ช่ี าวมอญนบั ถอื ไดแ้ ก่ หลวงปเู่ ฒา่ เกา้ ยอด (นตุ ) และหลวงปแู่ ขก แหง่ วดั บางปลา หลวงปรู่ อดแหง่ วดั บางนำ�้ วน พระครอู ทุ ยั ธรรมสาคร หรือ หลวงพ่อมาลัย แห่งวัดบางหญ้าแพรก หลวงปู่หงษ์ แห่งวัดบางพลี หลวงพ่อ มณอี มโร แห่งวัดศรสี ุทธาราม (วดั ก�ำพร้า) หลวงพ่อปน่ิ แห่งวดั คลองครุ หลวงพอ่ สาย แห่งวัดเจริญสุขาราม (วัดบางไผ่เต้ีย) หลวงปู่โน้ต และหลวงปู่แงแห่งวัดศิริมงคล หลวงปตู่ ว่ นแหง่ วดั นว่ มกานนท์ หลวงพอ่ เปลยี่ นแหง่ วดั ชยั มงคล พระพทุ ธรปู ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ของชาวมอญ ไดแ้ ก่ หลวงพอ่ เกาะเพชร แหง่ วดั เกาะ หลวงปใู่ หญ่ แหง่ วดั บางหญา้ แพรก หลวงพอ่ ทองเหลอื แหง่ วดั ศรบี รู ณาวาส (วดั โคก) และหลวงพอ่ หายแหง่ วดั นว่ มกานนท์ ผเี ฮอื นในชมุ ชนลาวโซ่ง ในกลมุ่ คนลาวโซง่ ตง้ั ถน่ิ ฐานอยบู่ รเิ วณตำ� บลหนองสองหอ้ ง และคลองบางกก คลองวัดศรีเพชร ในต�ำบลโรงเข้ อ�ำเภอบ้านแพว้ ลาวโซง่ กลุม่ นอ้ี พยพมาจากเพชรบรุ ี การอพยพออกจากเพชรบุรีของลาวโซ่งเป็นผลมาจากการผ่อนคลายการควบคุมไพร่ ให้อยู่กับถ่ินอาศัยในช่วงรัชกาลที่ 5 ท�ำให้ไพร่ชาวลาวโซ่งมีโอกาสเดินทางออกจาก เพชรบุรี (สุมิตร ปิติพัฒน์ และเสมอชัย พูลสุวรรณ, 2540: 30) ระหว่างท่ีลาวโซ่ง เดินทางอพยพมาถึงบริเวณอ�ำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ได้พบว่าบริเวณนี้ มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การต้ังถ่ินฐานท�ำมาหากิน กลุ่มลาวโซ่งจึงสร้างถิ่น ทอี่ ยอู่ าศยั ทนี่ ี้ โดยมบี รรพบรุ ษุ ทร่ี ว่ มกอ่ ตง้ั ชมุ ชน 9 ตระกลู คอื บตุ รเพชร มลู ดาเพชร ซดั เพชร รอเพชร เพชรรอ โลหนิ เพชร มนิ เพชร บญุ เพชร และทองเพชร ความเช่ือของลาวโซ่งผูกโยงกับการบูชาเซ่นไหว้ผี ลาวโซ่งเช่ือว่าท่ีอยู่อาศัย หรือ เรอื น มีผบี รรพบุรุษสงิ สถิตย์ ตามความเชื่อของลาวโซง่ ญาติพีน่ ้องที่เสียชีวิตไป แล้วจะกลายเป็นวิญญาณ หลังพิธีเผาศพแล้ว ลูกหลานจะต้องท�ำพิธีเรียกวิญญาณ คนตายกลับมาอยู่บ้าน หรือ พิธีเอาผีขึ้นเรือน (ม.ศรีบุษรา, 2530: 181) ในบ้านของ ลาวโซง่ จะมีห้องขนาดเลก็ เรยี กว่า “กะล้อห่อง” หรือ “กะล่อหอง” เพื่อเป็นทีอ่ ยูข่ องผี จะอยู่ดา้ นในสุดของเรอื นอาศยั (เรณู เหมือนจันทรเ์ ชย, 2542: 38 และมนู อุดมเวช, 2547: 205) 325 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 325 3/20/2561 BE 15:09
ภายในกะล้อห่องจะมีถ้วยใส่น้�ำและถ้วยใส่เหล้าให้ผีกิน ถ้าเป็นลาวโซ่งท่ีมี ฐานะสูงก็สร้างที่อยู่ให้ผีอยู่ด้านข้างของเรือนเรียกว่า “กว้านผีเรือน” ในห้องนี้จะมี หิ้งบูชาผี และหนังสือบันทึกช่ือคนตายเรียกว่า “ปับผีเฮือน” คนที่จะเข้าห้องนี้ได้ จะต้องเป็นลูกหลานและคนในครอบครัวเท่านั้น ผู้อยู่อาศัยในบ้านเรือนจะต้อง ท�ำพิธีเซ่นไหว้ผีเรือน หรือ เสนเรือน พิธีนี้จะจัดขึ้นในกะล้อห่อง ผู้ท�ำพิธีเรียกว่า หมอเสนเรอื น เสมอื นเปน็ หมอผปี ระจำ� หมบู่ า้ น เปน็ การแสดงความเคารพดวงวญิ ญาณ ของปูย่ า่ ตายาย เพ่ือใหว้ ิญญาณผบี รรพบรุ ษุ ช่วยคุม้ ครองคนในบ้าน ของเซ่นผี ไดแ้ ก่ เหล้า 1 ขวด ไก่ต้ม 1 ตัว ขนมและผลไม้ ดังนั้น ชาวลาวโซ่งแต่ละบ้านจะต้องจัดพิธี เซ่นผีเรือนเป็นประจ�ำปีละคร้ัง หรือสามปีคร้ัง แล้วแต่ฐานะของครอบครัว ถ้าไม่ท�ำ พิธีเซน่ ผีเรือนจะท�ำให้คนในครอบครัวประสบปัญหาในชีวติ ชาวลาวโซง่ มีการสืบสกุล ผเี รอื น โดยลกู ชายคนสดุ ทอ้ งจะทำ� หนา้ ทส่ี บื สกลุ และเปน็ เจา้ ของเรอื นของบดิ ามารดา (ม.ศรีบุษรา, 2530: 182) ในกรณีที่ครอบครัวไม่มีลูกชาย อาจให้ลูกสาวสืบผีแทน หรือต้องรอให้มีหลานชายคอยสืบทอด หรือให้ลูกเขยท�ำหน้าที่สืบทอดแทน (เรณู เหมือนจันทรเ์ ชย, 2542: 39) การทำ� ผิดผีและการขอขมาผี ชาวบา้ นเล่าว่า “ต้องหาหมอผี ใส่เสื้อฮีเข้าไป เหล้าขวดนึง หมากพลู ก็ต้อง ใช้หมอ ไปบอกเองไม่ได้ ไปวานให้เขามาบอกให้ที ก็วานเสนมาบอก ผีเรือนที่กะล้อฮ่อง ท�ำอะไรต้องบอกเขา อย่างคุณจะมาค้างบ้านยาย เย็นมายายต้องบอก แล้วในห้อง เอาหมากพลูไป อย่ารบกวนเขา ถ้าไม่บอกไม่ได้นอนเลยนะ จนสว่างก็ไม่ได้นอน นอนไม่ได้เลย ถ้าไป กลางวันธรรมดาแบบนี้ไม่เป็นไร แต่ถ้าค้างไม่ได้ บ้านผู้ใหญ่ที่ติดกัน ลูกเขาเรียนกรุงเทพฯ แล้วเสาร์-อาทิตย์ส้ินเดือนเขาก็พาเพ่ือนมาค้าง ต้องบอก ไม่บอกคือนอนไม่ได้เลย แล้วเสาผีเรือนก็จะมีไม้ล้อมไว้ เด็กจะไปจับไปเล่นไม่แลยนะ ผิดเลย คนใหญ่ก็เหมือนกัน จะเอาอะไร ไปพิงกไ็ มไ่ ดเ้ สาตน้ นนั้ ถ้าหากผีไม่ดเุ ขากไ็ มท่ ำ� แตถ่ า้ หากผีดๆุ เขากท็ �ำ ถ้าปู่ย่าตายายเป็นคนดุก็โดน เขาเรียกว่า “จางไฮ้” แปลว่าจู้จี้จุกจิก เล็กๆ นอ้ ยๆ ไม่ได้ เขาก็จะดุ เพราะถอื ว่าไม่นบั ถือเขา ถ้าหากวา่ เขารกั เดก็ ๆ เขากจ็ ะไม่ทำ� ทกุ 10 วันจะเลี้ยงผี เวลาเล้ียงก็มขี า้ ว มขี นม มกี บั เหมือนแบบท่ีเรากิน แต่ต้องเปล่ียนน�้ำ มีหมากพลู ยาสูบ เข้าไปก็จะ ไปเรยี ก ถา้ ผีใหญก่ จ็ ะ 5 วนั ” (สัมภาษณ์ 23 ธันวาคม 2559) 326 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 326 3/20/2561 BE 15:09
ความเช่อื เก่ียวกบั ความตายในวัฒนธรรมลาวโซง่ ชาวบา้ นเล่าวา่ “สมยั นไ้ี มเ่ หมอื นสมยั กอ่ น สมยั กอ่ นตำ� ขา้ วใชค้ รกกระเดอื่ งเหยยี บ พอรู้ว่าคนนั้นตายแล้วต้องคดเลยนะ ต้องไม่ต�ำ ไว้ทุกข์ คดขึ้นมา เก็บไว้ก่อน ไม่ต�ำต่อ เพราะเม่ือก่อนเขาไม่เอาศพเก็บไว้เหมือนเดี๋ยวน้ี อย่างมากก็สองคืน สามคืนนี่คือเยอะแล้ว เขาเอาไว้ท่ีบ้าน แล้วเวลา จะเผา แต่ละคนก็จะหยิบไม้มากัน ไม้เป็นท่อนๆ เอามาเป็นฟืนในการ ใช้เผา กเ็ อามาช่วยกัน เอามาที่วัด หรอื บางทีกเ็ ผากลางนา ถ้าคนแก่ๆ กจ็ ะเผาท่นี าของเขาเอง แลว้ กไ็ ม่มโี ลงแบบปัจจบุ ันหรอก เขาจะใชไ้ ม้ไผ่ ตัดให้มันยาว แล้วก็สับ แล้วก็ห่อ แล้วเอามาข้ึนในกองฝืน ไฟสุมขอน แล้วเขาก็เอาฟืนใหญ่ๆ ทับอีกทีนึง ใช้ขี้ไต้ ไม่มีน้�ำมันแบบปัจจุบัน ก็เผาตรงคันนา หรือไม่ก็ป่าช้าท่ีวัด บางคนไม่เผาก็เก็บเอาไว้ในโกดัง โกดังเมื่อก่อนก็เป็นกระท่อมน้อยๆ แต่ส่วนมากเขาจะเผาเลยไม่ค่อย เก็บไว้ แล้วบางทีเผาแล้วไม่เอาไม้ใหญ่ทับ ศพมันก็กระดกขึ้นมาเลย ขนึ้ มานั่งเลย ตามคันนา หัวนาทจ่ี ะมศี าล น่ันแหละเขาจะท�ำใหเ้ จา้ ท่อี ยู่ คนที่ถูกเผาแล้วจะอยู่ ตรงน้ันก็คือที่เผาผี เผาแล้วก็ต้องท�ำพิธีเชิญผี ข้นึ เรือน ก็เชญิ หมอเสนไปเรยี กข้นึ ” (สมั ภาษณ์ 23 ธนั วาคม 2559) เจดียบ์ รรจุกระดกู ของคนตาย ในบรเิ วณบ้านของลาวโซง่ 3/20/2561 BE 15:09 327 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 327
นอกจากผเี รอื นแลว้ ชาวลาวโซง่ ยงั นบั ถอื ผปี ระจำ� หมบู่ า้ น ซงึ่ เปน็ ผที คี่ มุ้ ครอง ดแู ลคนในชุมชนใหอ้ ยูเ่ ย็นเป็นสขุ โดยจะสรา้ งศาลผีบา้ นไว้กลางชมุ ชน บางทเี รยี กวา่ ศาลเสอ้ื บา้ น ศาลผบี า้ น ศาลเจา้ พอ่ ศาลตาปู่ หรอื ศาลพอ่ ปู่ (พฒั นปกรณ์ ลลี าพฤทธ,์ิ 2555: 50 และเรณู เหมอื นจนั ทรเ์ ชย, 2542: 99) เชอ่ื กนั วา่ ผบี า้ นคอื คนรนุ่ แรกทก่ี อ่ ตงั้ ชุมชน แต่ละชุมชนจะต้องท�ำพิธีเซ่นไหว้ผีบ้าน หรือ ท�ำพิธีเสนบ้านเป็นประจ�ำทุกปี ชาวลาวโซ่งในตำ� บลหนองสองห้อง อ.บ้านแพว้ มศี าลพ่อปูป่ ระจ�ำหมบู่ ้าน 3 แห่ง คอื ศาลพ่อปู่วรรณา ศาลพ่อปู่กัณฑ์ยา ศาลพ่อปู่นาคา (ปัจจุบันเรียกว่าพ่อปู่ถมยา) ท้ัง 3 ศาลมีอายุเกิน 100 ปี ชาวบ้านเชื่อว่าพ่อปู่ทั้งสามคนเป็นพ่ีน้องกัน และเป็น คนรุ่นแรกที่มาก่อต้ังหมู่บ้าน เม่ือเสียชีวิตลงก็ได้สร้างศาลไว้ ส่วนในเขตต�ำบลโรงเข้ ศาลประจำ� หมู่บ้านของลาวโซง่ มี 2 ศาล คือ ศาลพอ่ ปโู่ คกหลวง และศาลปมู่ นั่ ปคู่ ง 328 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 328
ศาลประจำ� หมู่บ้านของลาวโซ่ง ลาวโซ่งในตำ� บลหนองสองห้องเล่าวา่ “มสี ามศาล สามหมูบ่ ้าน สามพ่นี อ้ ง มีบา้ นกลางหมู่ 5 ชอื่ วรรณาเปน็ พใี่ หญ่ แล้วก็มากัณฑ์ยาหมู่บ้านดอน แล้วก็มาถมยา เป็นน้องคนเล็ก เป็นผู้ชายทั้งหมด คนลาวโซ่งสมยั กอ่ นจะเส่ียงทายคว่�ำหงายวา่ ใครจะเอาชอ่ื อะไร ก็เลยไดช้ ื่อน้มี าต้งั แต่ แรกเริ่ม แล้วก็จะเป็นศาลเล็กๆ อยู่กันคนละท่ี แล้วตอนหลังก็ปรับปรุงให้ดีขึ้น น่ีป้ากค็ อยกวาดถู วันพระที ของไหว้ก็จะเต็มเลย” (สมั ภาษณ์วันท่ี 18 ตุลาคม 2559) ศาลปวู่ รรณา ศาลปู่กัณฑ์ยา ศาลปู่กณั ฑย์ า ศาลปู่ถมยา 329 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 329 3/20/2561 BE 15:09
ในชว่ งเดือนเมษายน จะมปี ระเพณีไหวพ้ อ่ ปู่ ชาวบา้ นเล่าวา่ “ศาลพอ่ ปนู่ ม้ี มี าตง้ั แตส่ มยั โบราณ ศาลเดมิ เปน็ ศาลเตย้ี ๆ เลก็ ๆ เป็นสังกะสี เมื่อก่อนที่ตรงน้ีมันเป็นแอ่ง ต่อมาท�ำถนนให้สูง ชาวบ้าน ก็มาช่วยกันสร้าง สมทบทุน สร้างเป็นหลังนี้ขึ้นมา ยกข้ึนให้สูงแบบน ้ี รูปปั้นพ่อปู่ก็ท�ำกันมา สมัยก่อนไม่มีรูปปั้น คนส่วนมากเขาจะนับถือ แมค่ า้ มขี ายตลาดนดั เชา้ กจ็ ะเอาพวงมาลยั มาถวาย สว่ นงานปจี ะมเี ลย้ี ง จัดเป็นส�ำรับกับข้าว ศาลปู่วรรณาจัดงานวันที่ 13 เมษายน ศาลพ่อปู่ กณั ฑย์ าและพอ่ ปถู่ มยาจดั วนั ที่ 14 เมษายน เชา้ จะไหวแ้ ลว้ กส็ รงนำ�้ พอ่ ปู่ ไม่มีอะไรมาก มีขนมต้มแดง ต้มขาว มะพร้าวอ่อน ไก่ เหล้า ก็จะมา เซ่นไหว้ พอเลี้ยงเสร็จแล้วก็จะมีหัวหน้าพาจุดธูปบอก ไม่มีร่างทรง” (สัมภาษณ์วันที่ 18 ตลุ าคม 2559) พระสงฆ์ที่ลาวโซ่งในหนองสองห้องนับถือและเลื่อมใส คือ หลวงพ่อสาย เจ้าอาวาสวดั หนองสองหอ้ ง อธบิ ายวา่ “ท่านใช้ชีวิตแบบสมบูรณ์แบบ สมบูรณ์แบบในท่ีนี้หมายถึง บวชเป็นเณร ก็มีความส�ำคัญในการแปลภาษามคธเป็นภาษาไทย มีความเชี่ยวชาญทางน้ี ส่วนทางหน้าท่ีเกี่ยวกับบุพการี ท่านบวช แล้วก็สึกออกมาประะมาณ 1-2 ปี แล้วก็มาบวชต่อ ตอนท่านบวช คร้ังสุดท้าย เรียกได้ว่าท่านสละชีวิตเพื่อศาสนา เพ่ือชุมชนแถวนี้ โดยเฉพาะ เมื่อก่อนต้องยอมรับว่าแถวน้ีการพยาบาลหายาก ก็ต้อง พงึ่ พระ พระผปู้ ฏบิ ตั จิ รงิ ๆ ถงึ จะมสี มาธิ แลว้ กม็ สี ตปิ ญั ญาทจ่ี ะแกป้ ญั หา ใหก้ ับบุคคลอ่นื ได้” (สัมภาษณ์ 26 มกราคม 2560) 330 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 330
พุทธกบั ผี ในชุมชนไทย ในเขตต�ำบลบ้านบ่อ ซึ่งเป็นชุมชนไทย ต้ังอยู่ริมคลองสุนัขหอน และมี วัดใหญ่บ้านบ่อเป็นศูนย์กลางของชุมชน สร้างในปี พ.ศ. 2269 สมัยสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ สันนิษฐานว่าชุมชนไทยบริเวณอพยพมาจากราชบุรีและ เพชรบุรี ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ส�ำคัญของชุมชนคือ หลวงพ่อป่าเลไลย์ ชาวบ้านบ่อเช่ือว่า เป็นพระแห่งความส�ำเร็จ ขอสิ่งใดจะได้สมความปรารถนา ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ จะมีการจัดงานนมัสการหลวงพอ่ ปา่ เลไลย์ หลวงพอ่ ปา่ เลไลยก์ วัดใหญบ่ ้านบอ่ 3/20/2561 BE 15:09 อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สมุทรสาคร 331 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 331
นอกจากน้ัน ชาวบ้านในชุมชนบ้านบ่อยังนับถือเจ้าพ่อคุณโขน ซึ่งชาวบ้าน เลา่ สบื ตอ่ กนั มาวา่ ในสมยั รชั กาลที่ 2 คณะโขนหลวงเดนิ ทางผา่ นมาในคลองสนุ ขั หอน เพ่ือที่จะไปอมั พวา แตเ่ ม่ือมาถงึ หน้าวดั ใหญ่บา้ นบอ่ ขบวนเรือได้ล่ม และมผี ้เู สยี ชวี ติ ศพของพี่น้องลอยมาติดท่ีชายฝั่ง ศพผู้พี่กอดหัวทศกัณฑ์ ชาวบ้านจึงสร้างศาลข้ึน บรเิ วณทพี่ บศพ ซง่ึ ศาลของผพู้ สี่ รา้ งบรเิ วณรมิ ตลงิ่ ตรงขา้ มวดั ใหญบ่ า้ นบอ่ เรยี กเจา้ พอ่ ขนุ โขนหรือคณุ โขน ศาลของศพผู้น้องสร้างรมิ ตลิง่ บรเิ วณบ้านล่างเรียกวา่ เจา้ พอ่ น้อย ทง้ั สองศาลแต่เดมิ เป็นศาลเลก็ ๆ ตอ่ มาปรบั ปรงุ สรา้ งใหม่เปน็ ศาลาทรงไทย เมือ่ ศาล เจ้าพ่อคุณโขนเริ่มช�ำรุดก็พัฒนาปรับปรุงเป็นอาคารสองชั้น ชั้นบนเป็นไม้ทรงไทย ชนั้ ลา่ งเปน็ ตกึ สรา้ งเสรจ็ ในปี พ.ศ. 2540 ภายในศาลเจา้ พอ่ คณุ โขนมแี ผน่ ไมแ้ กะสลกั เปน็ รปู เทวดาสงู ประมาณ 1 เมตรครงึ่ เปน็ สญั ลกั ษณข์ องเจา้ พอ่ และมหี วั โขนหลายคน วางเรียงราย รวมท้ังหัวกะโหลกจระเข้ ส่วนศาลเจ้าพ่อน้อยเป็นอาคารไม้ทรงไทย ยกพนื้ มใี ต้ถนุ เจา้ พ่อคุณโขนและเจา้ พอ่ นอ้ ยเป็นสงิ่ ศกั ดิส์ ทิ ธ์ทิ ี่ชาวบา้ นจะมาบนบาน ศาลกลา่ วขอให้ชว่ ยเหลือและใหม้ ีโชคลาภ ในช่วงวันข้ึน 12-14 ค�่ำ เดือนหก ชาวบ้านจะจัดงานประจ�ำปี มีพิธีเซ่นไหว้ และแห่เจ้าพ่อคุณโขนและเจ้าพ่อน้อย ชาวบ้านจะน�ำขนมกงและข้าวตอกมาเซ่นไหว้ เจ้าพ่อตามประเพณี ขบวนแห่เริ่มจากศาลเจ้าพ่อคุณโขนบริเวณริมคลองสุนัขหอน และเดินเข้าไปในหมู่บ้านจนถึงศาลเจ้าพ่อน้อย น�ำขบวนโดยนักเรียนที่ถือมีดดาบ ขบวนเชดิ สงิ โต ขบวนกระตว้ั แทงเสอื ตามดว้ ยกลองยาวและนางรำ� ปดิ ทา้ ยขบวนดว้ ย กลุ่มผู้อันเชิญรูปเจ้าพ่อคุณโขน เป็นแผ่นไม้รูปเทวดาแกะสลักปิดทอง เม่ือถึงศาล เจ้าพ่อน้อยแล้วก็อัญเชิญเจ้าพ่อคุณโขนไปตั้งคู่กัน จากนั้นจะมีการโปรยทานให้กับ ชาวบ้าน ซ่ึงชาวบ้านท่ีตามขบวนจะส่งเสียงร้อง ”เฮงๆๆ รวยๆๆ” จากน้ันก็อัญเชิญ รูปเจ้าพ่อคุณโขนและเจ้าพ่อน้อยกลับไปท่ีศาลใหญ่ตามเส้นทางเดิม ระหว่างทางท่ี ขบวนแห่ผ่าน ชาวบ้านจะน�ำน�้ำเย็นเครื่องดื่มมาแจกให้ผู้ร่วมขบวน บางบ้านมีการ จดุ ประทัดต้อนรบั เจ้าพอ่ สว่ นนักแสดงกระต้ัวแทงเสอื และเชิดสงิ โตจะหยดุ เปน็ ชว่ งๆ เพื่อแสดงให้ชาวบ้านชม เม่ือขบวนแห่กลับมาถึงศาลใหญ่แล้ว จะมีการแห่ข้าม สะพานคลองสนุ ขั หอน ไปถงึ หนา้ วดั ใหญบ่ า้ นบอ่ แลว้ ยอ้ นกลบั มาทศี่ าลเจา้ พอ่ คณุ โขน เมื่อเจ้าพ่อมาถึงศาลจะมีการแห่เวียนรอบศาลสามรอบแล้วท�ำรูปเจ้าพ่อทั้งสององค์ ไปวางคู่กัน ระหว่างน้ันชาวบ้านจะเข้าไปปิดทองเพื่อความเป็นสิริมงคล หลังจากน้ัน จะเป็นพิธีร�ำถวายมือเจ้าพ่อ ผู้ท่ีมาไหว้เจ้าพ่อจะแจ้งความประสงค์ให้กรรมการศาล 332 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 332
ทราบวา่ ตนเองจะใหน้ างรำ� รำ� ถวายเจา้ พอ่ กรี่ อบ นางรำ� กจ็ ะรำ� ตามทโี่ ฆษกประกาศชอ่ื ของผแู้ สดงความประสงคจ์ นครบตามจำ� นวนทแ่ี จง้ มา ประเพณนี สี้ บื ทอดกนั มาในอดตี ชาวบา้ นนบั ถือเจา้ พ่อทงั้ สอง เชอ่ื วา่ มคี วามศกั ดส์ิ ิทธิ์ ขอสิ่งใดไดส้ มความปรารถนา พธิ แี หเ่ จา้ พอ่ คุณโขน ตำ� บลบ้านบ่อ อำ� เภอเมอื ง จังหวดั สมทุ รสาคร 3/20/2561 BE 15:09 333 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 333
ในชว่ งรชั กาลที่ 1 ถงึ รชั กาลท่ี 5 มกี ารสรา้ งวดั 12 แหง่ ชมุ ชนชาวนาขยายตวั ไปตามล�ำคลองและมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ท่ีมีอายุเก่าแก่ที่คนไทยให้การเคารพบูชา ประกอบด้วย หลวงพ่อโตวดั โสภณาราม หลวงพอ่ โตวดั เจษฎาราม หลวงพ่อปูท่ องคำ� วดั บางป้ิง หลวงพ่อศรีรตั นมนุ วี ดั บางขุด และหลวงพ่อสัมฤทธ์วิ ัดนาโคก (พระพทุ ธรูป ประทับยืน ปางห้ามสมุทร ทรงเทริด) ตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี 6 เป็นต้นมา เป็นช่วงท่ี สมุทรสาครเร่ิมมีคนอาศัยอยู่หนาแน่นพร้อมกับการขยายตัวของการท�ำสวน การท�ำประมง และการท�ำนาเกลือ ช่วงรัชกาลท่ี 6 ถึงรัชกาลที่ 8 มีการสร้างวัดอีก 4 วัด คอื วดั โพธแ์ิ จ้ วัดปจั จันตาราม วดั บัณฑรู สงิ ห์ และวดั กระซา้ ขาว นาเกลอื จังหวดั สมุทรสาคร ในชว่ งเกบ็ เกลอื เขา้ ยงุ้ เกษตรกรจะประกอบพธิ ที ำ� ขวญั นาเกลอื เพอ่ื ตอบแทน บุญคุณพระแม่ธรณีและเจ้าท่ีที่ช่วยให้ท�ำนาเกลือได้ประสบผลส�ำเร็จ โดยจะมีการ ตงั้ แทน่ บชู าพรอ้ มเครอื่ งเซน่ ไหว้ ไดแ้ ก่ หวั หมู เปด็ ไก่ ทองหยบิ ทองหยอด ขนมถว้ ยฟู เหล้า บหุ ร่ี หมากพลู ดอกไม้ บายศรี กระดาษเงนิ กระดาษทอง 334 3/20/2561 BE 15:09 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 334
พระสงฆ์เกจิอาจารย์ที่ชาวบ้านเคารพนับถือ ได้แก่ หลวงปู่อุ่น (พระครู ศรสี มุทรเขตร) วัดบางขดุ มวี ชิ าอาคมด้านแคลว้ คลาด เมตตามหานิยม หลวงพอ่ เชย (พระครูมหาชัยบริรักษ์) แห่งวัดเจษฎาราม หลวงปู่กรับ (พระครูธรรมาสาคร) วัดโกรกกราก หลวงพ่อเฮง อินทโชโต วัดโสภาณาราม เป็นพระชาวเขมรที่เคร่งครัด พระธรรมวินัย ชาวเรือประมงมักจะน�ำเรือไปให้หลวงพ่อเฮงเจิมก่อนออกเรือเพ่ือให้ มีโชคดี ในชว่ งสงครามโลกครั้งทส่ี อง ชาวบา้ นท่ีต้องไปเป็นทหารในสงคราม จะมาขอ ผ้ายันต์และเส้ือยันต์ของหลวงพ่อเฮงไปเป็นเคร่ืองรางคุ้มครองป้องกันอันตราย เชื่อว่าจะช่วยให้อยู่ยงคงกระพัน หลวงปู่สุด (พระครูสมุห์ธรรมสุนทร) วัดกาหลง เป็นอาจารย์ของตี๋ใหญ่ เคร่ืองรางของขลังท่ีท่านสร้างได้รับความนิยมจากชาวบ้าน โดยเฉพาะผ้ายันต์ตะกร้อและเสือเผ่น ซึ่งช่วยให้อยู่ยงคงกระพัน หลวงปู่แก้ว (พระเทพสาครมุนี) แห่งวัดสุทธิวาตวราราม ท่านได้ชื่อว่าเป็นพระนักพัฒนาและ สร้างความเจริญให้กับชาวท่าฉลอม หลวงปู่ชิต (พระครูวิชิตสังฆภาร) วัดบางปิ้ง เป็นพระที่มีวิชาอาคมด้านการสักยันต์และการรักษาโรค ชาวบ้านท่ีเจ็บไข้ได้ป่วย จะมาหาหลวงปู่เพ่ือขอยาไปรับประทาน หลวงพ่อทองอยู่วัดหนองพะอง มีฉายา อีกอย่างว่า “หลวงพ่อดับดาวเดือน” เพราะมีคาถาอาคมและมีพลังจิตสูง เม่ือช้ีไป ที่ดาว แสงดาวก็จะหายไปทันที พระไพโรจน์วุฒาจารย์ หรือหลวงพ่อรุ่ง ติสสโร แห่งวัดท่ากระบือ ชาวบ้านจะให้ฉายาว่า “เทพเจ้าแห่งลุ่มแม่น�้ำท่าจีน” มีช่ือเสียง ในการสรา้ งเครื่องรางของขลัง โดยเฉพาะตะกรดุ รปู ปนั้ หลวงพอ่ รุ่ง ตสิ สโร วัดทา่ กระบอื 3/20/2561 BE 15:09 อำ� เภอกระทุ่มแบน จงั หวัดสมุทรสาคร 335 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 335
หลวงปู่สุด วัดกาหลง หลวงปู่สุด วดั กาหลง หรือ พระครูสมุห์ ธรรมสนุ ทร เปน็ ชาวอ�ำเภอพนมไพร จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด เกดิ เมือ่ วันที่ 7 พฤษภาคม 2445 ในสมยั รชั กาลท่ี 5 บวชบรรพชา เป็นสามเณร ณ วัดกลางพนมไพร อ�ำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด เม่ืออายุ 16 ปี ในปี พ.ศ. 2481 สอบได้นักธรรมเอก ส�ำนักเรียนวัดกาหลง ในปี พ.ศ. 2478 เป็นเจา้ อาวาสวัดกาหลง ท่านมรณภาพเมือ่ วันท่ี 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2526 รวมอายไุ ด้ 81 ปี เครอ่ื งรางของขลงั ทท่ี า่ นสร้างและเป็นทนี่ ยิ มคือผ้ายันต์ตระกรอ้ และตะกรุด 336 3/20/2561 BE 15:10 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 336
พระบรมธาตเุ กตุมวดยี ์ ท่านพ่อบัณฑูรสิงห์ (เจิม คุณาบุตร) เป็นผู้สร้างส�ำนักสงฆ์และบูรณะ “พุทธเจดีย์กลางทุ่ง” ในต�ำบลบางโทรัด และต่อมาเรียกว่าพระบรมธาตุเกตุมวดีย์ ในสมัยพระครูภาวนาวรคุณ (หลวงพ่อพยนต์) หลานชายของท่านพ่อบัณฑูรสิงห์ ได้พัฒนาส�ำนักสงฆ์จนกลายเป็นวัดเกตุมดีศรีวราราม ปัจจุบันมีการระดมทุน เพอ่ื สร้างเจดยี ์รุน่ ที่ 5 เพ่อื ครอบพระบรมธาตุเกตุมวดยี ์องค์เก่า 337 3/20/2561 BE 15:10 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 337
การผสมผสานความเชอื่ แบบพทุ ธและผี เหน็ ไดจ้ ากการบชู าเจา้ พอ่ ตน้ กระทมุ่ ของชาวบ้านในตำ� บลโรงเข้ อำ� เภอบ้านแพ้ว ชาวบ้านเล่าว่า “เมื่อก่อนตั้งแต่สมัยปู่ย่า แกบอกว่าเกิดมาก็เห็นต้นกระทุ่ม มาแบบน้ีแล้ว ต่อมาก็มีคนมาบน มากราบไหว้อยู่ตลอด แล้วก็มี คนมาบนแล้วเขาถูกหวยเยอะ เขาก็ปลูกศาลหลังนั้น แต่ก่อนนั้น ไม่มีศาล มีแตต่ ้นไมอ้ ยู่โล้นๆ อย่างเดียว สมยั ก่อนเป็นทอ้ งนา พวกรุน่ เก่าๆ สมัยก่อนเขาก็จะเลี้ยงวัวเล้ียงควายกันเยอะ เขาก็จะมาปล่อย มาเลี้ยงใต้ต้นกระทุ่ม คนรุ่นเก่าๆ บอกว่าเจ้าพ่อเขานุ่งขาวห่มขาว ไว้ผมมวย หนวดยาว เขาเคยเห็นกัน แล้วพวกที่เขาเกณฑ์ทหารก็จะมา บนบานกนั ประทัดจะมีเกือบทุกวันเลยนะ มาแก้บนกนั แล้วกข็ องหาย ก็หาเจอ ใครมาบนได้หมด แล้วเวลาตรุษจีน สารทจีน คนจะมาไหว้ เต็มเลย ศาลนี้สร้างขึ้นมาประมาณ 20 ปีได้แล้ว คนที่สร้างเขาเป็น คนนอกพื้นที่ แต่ว่างานปีผมท�ำกันมาตั้งแต่สมัยก่อน น่าจะประมาณ 30 ปีแล้ว ก็มีท�ำบุญ มีหนังตะลุง เพราะแกชอบหนังตะลุง นอกน้ัน ชาวบ้านก็จะเป็นคนจัดถวายต่อ บางคร้ังก็ 7-8 คืนก็มี แต่ตอนหลังๆ มลี เิ ก มหี นงั มดี นตรี หนงั ตะลงุ มาจากราชบรุ ี เจา้ พอ่ ชอบมากหนงั ตะลงุ ถงึ งานปกี ส็ วดมนตเ์ ยน็ เสรจ็ นมิ นตพ์ ระมาจากวดั ประสาทสทิ ธ์ิ นมิ นตม์ า 9 รูป ทุกปี เม่ือก่อนไม่มีศาลาก็จะหาไม้มาท�ำโรงให้พระ พระบอกว่า เราเป็นคนท�ำมาหากิน เป็นชาวเกษตร ก็ให้เอาวันพรุ่งน้ีเช้าเป็นวัน แรกนาขวัญ ก็จะเป็นอยู่อย่างนี้ทุกปี ส่วนพวกละครชาตรี คนอ่ืนจะ เอามาแกบ้ นกนั ทงั้ นน้ั ” (สัมภาษณ์ 20 ธันวาคม 2559) 338 3/20/2561 BE 15:10 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 338
ศาลเจ้าพอ่ ต้นกระทุม่ คนไทยท้องถิ่นเชื่อในความศักดิ์สิทธ์ิของพระพุทธรูป ซ่ึงมิได้เป็นเพียง สัญลักษณ์ของพระพุทธเจ้าและธรรมะเท่านั้น แต่ยังเป็นพลังวิเศษและอ�ำนาจ เหนือธรรมชาติที่ช่วยให้ได้ในสิ่งท่ีต้องการ ตัวอย่างเช่น หลวงพ่อพุทธศักด์ิสิทธ์ิและ หลวงพอ่ ด�ำ แหง่ วัดหนองพะอง อำ� เภอกระทมุ่ แบน 339 3/20/2561 BE 15:10 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 339
พระวดั หนองพะองเลา่ วา่ “แต่ก่อนน้ันไม่มีชื่อ เป็นพระเก่า แล้วหายไป ขโมยมาเอาไป มันงัดวิหาร แล้วก็ตามคืนมาได้ เขาก็เลยพูดกันว่าหลวงพ่อนี่ท่าน ศกั ดสิ์ ทิ ธจิ์ งั เลยเนอะ กเ็ ลยเปน็ ทมี่ าของชอ่ื ชอ่ื เรยี กมาประมาณปี 2530 แตก่ อ่ นไมม่ ชี อื่ สว่ นหลวงพอ่ ดำ� สรา้ งโดยหลวงพอ่ ทองอยู่ สรา้ งดว้ ยเงนิ 80 บาทเอง ท่านเป็นคนหล่อเอง ชาวบ้านย่านนี้จะมาบนหลวงพ่อด�ำ กันหมด หลวงพ่อด�ำจะศักด์ิสิทธิ์กว่าหลวงพ่อศักด์ิสิทธิ์ ชาวบ้านจะ เชอ่ื วา่ หลวงพอ่ ดำ� ช่วยให้ไมต่ ้องเปน็ ทหาร ขอให้จับใบด�ำได้ ส่วนงานปี ทน่ี จ่ี ะจดั ขน้ึ 8 คำ่� เดอื น 3 ทกุ ปี แตก่ อ่ นจดั 5 วนั แตเ่ ดย๋ี วนเ้ี หลอื 3 วนั แลว้ ก็ชาวบา้ นกจ็ ะมาปิดทองกนั ” (สมั ภาษณ์ 15 พฤศจกิ ายน 2559) 340 3/20/2561 BE 15:10 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 340
ส่งิ ศักดส์ิ ิทธิ์กับการรักษาโรค ในอดีต ชมุ ชนทอ้ งถ่ินของสมทุ รสาครเปน็ ชมุ ชนทีอ่ ยู่หา่ งไกลจากความเจรญิ เมื่อคนในครอบครัวเกิดเจ็บป่วย ก็จ�ำเป็นต้องพ่ึงยาสมุนไพรพ้ืนบ้าน ซ่ึงส่วนใหญ่ จะไปขอสูตรยาจากหมอกลางบ้าน พระสงฆ์ หรือร่างทรงท่ีสามารถติดต่อกับ สง่ิ ศกั ดิ์สิทธ์ิ หลวงพอ่ สาย แห่งวดั กระโจมทอง เปน็ ตัวอย่างของพระสงฆ์ที่ชาวบา้ นจะมา ขอใหร้ ักษาโรค พระวัดกระโจมทองในปจั จบุ ัน เล่าวา่ “สมยั ทหี่ ลวงพอ่ อยู่ ทา่ นเปน็ ทกุ อยา่ งใหก้ บั ญาตโิ ยม คนป่วยมา หลวงพ่อสายก็ใช้มีดอีโต้ แล้วถือไม้ท่อนนึง แล้วก็ใช้มีดอีโต้นั่งถากไม้โดยท่ีไม่ต้องไปถูกเน้ือต้องตัว คนปว่ ยนะ คนปว่ ยกน็ งั่ อยขู่ า้ งหนา้ ถากเสรจ็ พอบอกวา่ หาย ก็คือหาย พอถามคนรุ่นใหม่ว่าเชื่อไหมแบบน้ี ไม่มีใครเชื่อ สมัยหลวงพ่อสายมีชีวิตอยู่ คือ ชาวบ้านแถวน้ีเขาเช่ือ หลวงพอ่ สาย เพราะเขาเหน็ เป็นเรื่องปกติ แล้วโรงพยาบาล บ้านแพ้วเป็นแค่อนามัยเล็กๆ ยังไม่ใช่โรงพยาบาล แล้ววิธี ในการเดนิ ทางไปถงึ อนามยั รถมนั ไมม่ ี เรอื กวา่ จะออกไปถงึ คลองด�ำเนินไดม้ ันไมใ่ ช่เร่ืองง่าย เพราะฉะนนั้ เวลาชาวบา้ น ปว่ ยไขม้ า เขากจ็ ะมาหาหลวงพอ่ ไมว่ า่ จะเปน็ อะไรกแ็ ลว้ แต่ ถ้าเป็นหนักๆ หลวงพ่อท่านก็ต้มยา แล้วถามเราว่าต้มยา ท�ำได้ไหม เราก็ท�ำไม่ได้ เพราะแต่ละรายมาหาหลวงพ่อ ทา่ นกร็ กั ษาไมเ่ หมอื นกนั บางรายหลวงพอ่ กเ็ ดด็ ยอดจากมา เดนิ ไปเดด็ ยอดไมม้ า ไปเอาขเ้ี ถา้ ในเตาไฟมา แลว้ กเ็ อามาตม้ ต้มเสรจ็ ก็เหลือถ้วยสองถ้วย กเ็ อาใหก้ นิ แตม่ ันหาย เคยคยุ กับเจ้าอาวาสปัจจุบัน ท่านบอกว่า เห็นหลวงพ่อสายรักษา หรอื วา่ ตอ้ นรบั ญาตโิ ยมทเี่ ดนิ ทางมาถงึ เหน็ แลว้ ทา่ นสงสาร 341 3/20/2561 BE 15:10 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 341
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402