Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มะขามเปรี้ยวศรีสะเกษ 109

Description: มะขามเปรี้ยวศรีสะเกษ 109

Search

Read the Text Version

เรียบเรียง/ภาพ : ชศู กั ด์ิ สัจจพงษ ศูนยวิจัยพืชสวนศรีสะเกษ กรมวิชาการเกษตร เผยแพรโดย กองเกษตรสมั พนั ธ กรมสงเสริมการเกษตร มะขามเปรี้ยว มะขามเปร้ยี วเปน พืชท่ปี ลกู ไดงา ย สามารถขน้ึ ได สารบญั ดีในดนิ แทบทกุ ชนดิ ระกอบกบั เปนพืช ทม่ี คี วามสาํ คญั มะขามเปรย้ี ว ทางเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง ซง่ึ สามารถสง เปน สนิ คา ออก ลักษณะประจําพนั ธุ ทํารายไดเ ขา ประเทศปล ะหลายลา นบาท และเนอ่ื งจาก ลักษณะดีเดน ยงั ไมม มี ะขามเปรย้ี วพนั ธดุ ี สาํ หรบั แนะนําใหเกษตรกร สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม ปลูกเปนการคา สถาบันวิจัยพืชสวนโดยศูนยวิจัยพืช สวน ศรสี ะเกษ จึงไดทาํ การรวบรวมตน แมพ นั ธมุ ะขาม การปฎบิ ตั ดิ แู ลรกั ษา เปร้ียว ท่ีมีลักษณะการใหผลผลิตสูงและคุณภาพดี จากแหลง ปลกู ตา งๆ ที่สําคญั ของประเทศโดยในป พ.ศ. 2537 ไดน ํายอดพนั ธขุ องตน แมพ นั ธเุ หลา นน้ั มาเสยี บ กับตนตอในแปลงรวบรวมพนั ธมุ ะขามเปรย้ี ว ซง่ึ ปลกู ไว เม่ือป พ.ศ. 2526 จากนั้นทาํ การบนั ทกึ ขอ มลู ตา งๆ เพอ่ื ใชใ นการคดั เลอื กใหไ ดต น แมพ นั ธุ มะขามเปรี้ยวพันธุดีโดยกําหนดหลักเกณฑที่สําคัญ ในการเลือกพันธุมะขามเปร้ียวไวดังน้ี กลา วคอื ลักษณะทรงพมุ เปน ทรงกระบอกหรอื ทรงกลม มกี ารเจรญิ เตบิ โตดใี หผ ลผลติ สงู สม่ําเสมอ ฝกมีขนาดใหญและตรงยาวไมนอยกวา 10 เซนตเิ มตรเปลอื กหนาฝก ไมแ ตกงา ย มเี นอ้ื มากไม นอยกวา 45 % ขน้ึ ไป มเี มลด็ 33.9 % เปลอื กกบั รก 11.1 % เนอ้ื สอี ําพัน เปอรเ ซน็ ต กรด ทารทาริค (ความเปรย้ี ว) สงู มากกวา 12 % ปรากฏวา จากการบนั ทกึ ขอ มลู ประมาณ 8 ป (ถงึ พ.ศ. 2536) สามารถคดั เลอื กตน แม พันธมะขามเปรี้ยวพันธุดี ที่ใหผลผลิตสูง และคุณภาพดตี รงตามหลักเกณฑ การคดั เลอื กพนั ธุ เปนทน่ี า พอใจ จงึ ตง้ั ชอ่ื วา \"มะขามเปรย้ี วศรสี ะเกษ\" (ศก.019) ป 2537 กรมวิชาการเกษตรไดประกาศให มะขามเปรย้ี ว ศก.019 เปน พนั ธแุ นะนํา เพ่ือใหเกษตรกรไดม น่ั ใจในลกั ษณะทด่ี ตี า งๆของมะขามเปรย้ี วน้ี

มะขามเปรย้ี วศรสี ะเกษ 109 2 ลักษณะประจําพนั ธุ ! ตน -เปนพุม รปู ทรงกลม ! ใบ -มสี เี ขียว มีจาํ นวนใบยอ ยประมาณ 12 - 16 คู ! ดอก -มีสีเหลืองร้ิวแดง เรม่ิ ออกดอกรนุ แรกประมาณ กลางเดือนเมษายนถึงตนเดือนพฤษภาคม ระยะจากการ ออกดอกถงึ ดอกบานใชเ วลาประมาณ 17 วัน จากดอกบนถงึ ดอกติดฝกใชเวลาประมาณ 10 วัน หลงั จากนน้ั อกี ประมาณ 238 - 258 วัน ฝกก็จะแก สามารถเกบ็ เกย่ี วได ! ฝก -ลักษณะฝกตรง ฝกใหญ มีขนาดกวางประมาณ 1.95-2.6 เซนติเมตร ยาวประมาณ 10.8-18 เซนตเิ มตร และหนาประมาณ 1.35-1.67เซนตเิ มตร มเี ปอรเ ซน็ ต เน้ือประมาณ 44-50 % ลักษณะดีเดน 1. ใหผ ลผลิตสูง ประมาณ 9.13 กโิ ลกรมั ตอ ตน ตอ ป (คาเฉลย่ี ของผลผลติ 6 ป เมอ่ื อายุ 3 -8 ป) เมอ่ื เปรยี บ เทียบกับมะขามเปรี้ยวพันธุทั่วๆ ไป มะขามเปรย้ี วศรสี ะเกษ จะใหผ ลผลติ สงู กวา 41.18 % 2. อตั ราสว นของเนอ้ื ตอ เปลอื ก เมลด็ และรก ประมาณ 1 : 1.12 4. ฝก มีลักษระตรง ทําใหส ะดวกในการเกบ็ เกย่ี วและแกะเอาเปลอื กและเมลด็ ออก 5. มเี ปอรเ ซ็นตกรดทารทาริคสูงประมาณ 14 - 19 % สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม โดยท่ัวไปมะขามเปรย้ี วสามารถขน้ึ ไดด ใี นดนิ แทบทกุ ชนดิ เปน ตน วา ดนิ ทราย ดนิ เหนยี ว ดินลูกรัง แตด นิ ทเ่ี หมาะสมทส่ี ดุ คอื ดนิ รว นปนทราย และควรมกี ารระบายนา้ํ ท่ดี ดี ว ย มะขาม เปร้ียวเปน พชื ทนแลง ไดด ี สามารถขน้ึ ไดใ นทค่ี อ นขา งแหง แลง ! การปลูก ควรมีการไถพรวนกําจัดวัชพืชในแปลงปลูกเสียกอน ตอจากน้ันกําหนดหลุมปลูกใน แปลงโดยใชระยะปลูก 8 * 8 เมตร (ระยะหางระหวางแถว 8 เมตร ระยะหางระหวางตน 8 เมตร) ซึ่งจะปลกู ได 25 ตน ตอ ไร ควรมกี ารเตรยี มหลมุ ปลกู ขนาดกวา ง*ยาว*ลกึ เทากับ หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

มะขามเปรย้ี วศรสี ะเกษ 109 3 60*60*60เซนตเิ มตร ดนิ ทข่ี ดุ จากหลมุ ปลกู ใหแ ยกเปน สองกอง คอื ดนิ ชน้ั บนและดนิ ชน้ั ลา ง ตากดินท่ีขุดขน้ึ มาทง้ิ ไวป ระมาณ 2-3 สัปดาห แลว ผสมดนิ ทง้ั สองกองดว ยปุย คอกประมาณ 1-2 บุงกี๋ตอหลุม จากนน้ั จงึ กลบดนิ ลงไปในหลมุ ตามเดมิ โดยเอาดนิ ชน้ั บนลงไวก น หลมุ กอ น แลวจึงกลบทบั ดว ยดนิ ชน้ั ลา ง การเตรยี มตน พนั ธทุ จ่ี ะปลกู การปลูกมะขามเปร้ียวพันธุดีอาจใชว ธิ ปี ลกู มะขามตน ตอลงในแปลงกอ น เมอ่ื ตน ตออายุ ไดป ระมาณ 1-1 1/2 ป หรือขนาดลาํ ตน เทา แทง ดนิ สอ จึงทาํ การเสยี บกง่ิ โดยใชย อดมะขาม เปร้ียวพนั ธดุ มี าเสยี บใชว ธิ กี ารเสยี บขา ง อีกวิธีการหนึ่งคือการทาบก่ิง โดยการเตรยี มตน ตอมะขามไวใ นแปลงเพาะกลา เมอ่ื ตน ตอ มีอายุประมาณ 8 เดอื น กข็ ดุ นําตน ตอมาหมุ ดว ยขุยมะพรา วบรรจถุ งุ พลาสตกิ แลวนะไปทาบ กับมะขามเปรี้ยวพันธุที่ตองการ หลังจากทาบแลว 45 วัน สงั เกตรากตน ตอจะเดนิ จงึ ตดั มา ปกชําในถงุ พลาสตกิ บรรจดุ นิ จนเจรญิ เตบิ โตแลว นาํ ลงปลกู ในแปลง สําหรับฤดูปลกู ควรจะปลกู ตน ฤดฝู น เพราะเมอ่ื ปลกู เสรจ็ แลว ตน มะขามเปรย้ี วทย่ี งั เลก็ อยู จะไดรับนํ้าฝน สามารถตง้ั ตวั ไดด กี อ นจะเขา ถงึ ฤดแู ลง ตน มะขามเปรย้ี วทป่ี ลกู ใหมค วรจะยดึ กบั หลักเพื่อใหตนมะขามเปร้ียวขึ้นตรงไมโคนลมเนื่องจากลมแรง หากปลูกดวยก่ิงทาบหลังปลูก แลวจําเปนตองแกะเอาเชือกฟาง หรือผาพลาสติกตรงรอยตอออกเพราะถาไมไดตนมะขาม เปรี้ยวแคระแกร็นหรืออาจจะตายได ! การขยายพันธุ วิธีการขยายพันธุมะขามเปร้ียวมีหลายวิธีดวยกัน เชน การเพาะเมล็ด การทาบก่ิง การติดตา และการตอ กง่ิ แตวิธีที่นิยมและไดผลดีที่สุด มี 2 วิธี คอื การทาบกิ่ง และการตอ กง่ิ ซ่ึงจะไมอ ธบิ ายรายละเอยี ดในทน่ี ้ี การปฏิบัติดูแลรักษา 1.การใหนา้ํ ในระยะปลูกใหม หากฝนไมตก จาํ เปน ตอ งรดนา้ํ ทุก 1-2 วัน ประมาณ 1 สัปดาห จนกวาจะตง้ั ตวั ได จากนน้ั จงึ เวน ชว งเวลาการรดน้าํ ใหหา งกวาเดิมอาจจะเปน 3 หรือ 7 วนั ตอ คร้ังเฉพาะในชว งฤดูแลง ของปแ รก 2.การกําจดั วชั พชื ในระยะท่ีตนยังเล็กอยูจําเปนตองกําจัดวัชพืชเปนระยะไป อยาใหวัชพืชแยงนํ้า และอาหารได การทําความสะอาดรอบโคนตน นอกจะเปนการกําจัดวัชพืชแลวยังสามารถ ทําลายแหลง อาศยั ของ โรคแมลงไดด ว ย 3.การใสปุย สําหรบั มะขามตน เลก็ ยงั ไมอ อกผล อายุ 1-3 ป ควรใหปุยสูตร 12-24-12 อตั รา 450 กรัมตอ ตน (ประมาณ 1 กระปอ งนม) ในปแ รกแบง ใส 3 ครง้ั (4 เดอื นตอ ครง้ั ) จาํ นวน 100,150,200 กรัม ตามละดบั สาํ หรบั ปตอ ๆไป ใหเ พม่ิ ปยุ มากขน้ึ ตามจํานวนอายทุ ม่ี ากขน้ึ หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ

มะขามเปรย้ี วศรสี ะเกษ 109 4 เม่ือมะขามตกผลแลว ควรใสป ยุ สตู ร 13-13-21 โดยแบงใส 2 ครง้ั คอื ชว งตน ฝนและปลาย ฝน ซ่ึงจะชว ยใหม กี ารตดิ ผลมากขน้ึ อตั ราทใ่ี สค ํานวณจากสตู รดงั น้ี เชน ตน มะขามอายุ 2 ป ตอ งใสป ยุ สตู ร 13-13-21 จาํ นวน 2/2 = 1 กก. โดยแบงใส ตน ฝน 1/2 กก. และปลายฝนอีก 1/2 กก. รวมเปน 1กก. ! การเก็บเกี่ยว มะขามเปรี้ยวจะแกและสามารถเก็บเกี่ยวไดใชชวงเดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ ของปถัดไป ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู บั แหลง ปลกู และสภาพดนิ ฟา อากาศดว ย การเก็บเกี่ยวควรใชกรรไกร ตัดแตงก่ิง ตัดที่ขั้วให หลดุ ออกจากก่งิ ถา มะขามตน โตใหใ ชบ นั ไดขน้ึ เกบ็ เกย่ี วฝก ทอ่ี ยสู งู หลังจากเก็บเกี่ยวแลวนําฝกมะขามเปร้ียวมาแกะเอาเปลือกและเมล็ดออกจากนั้นนําเน้ือ มะขาม ที่แกะไดเรียกวา มะขามเปย ก บรรจลุ งในภาชนะตา งๆ เชน ถงุ พลาสตกิ หรือ เขง เพอื่ จาํ หนา ยตอ ไป สําหรับวิธีการเก็บรักษามะขามเปยกไวนานๆ เพ่ือจะนํามาจําหนายในชวงที่มีราคาสูง โดยทเ่ี นอ้ื มะขาม ไมเ ปลย่ี นเปน สคี ลา้ํ ทาํ ไดโ ดยการนาํ มะขามเปย กทบ่ี รรจใุ นภาชนะ ไปเก็บไว ในหอ งเยน็ ทอ่ี ณุ หภมู ติ ่ํา คอื 5 อาศาเซลเซยี ส ซง่ึ สามารถชะลอการเกดิ สดี าํ ของเนอ้ื มะขามได ประมาณ 10 เดอื น ! การดูแลรักษาตนมะขามหลังการเก็บเกี่ยว หลังเสร็จสิ้นการเก็บเกี่ยวแลว ใหทําการตัดแตงกิ่งมะขามเปรี้ยว โดยตัดแตงก่ิงท่ีไม สมบูรณ กง่ิ ทเ่ี ปน โรคหรอื มแี มลงทาํ ลายหรอื กง่ิ ทถ่ี กู ตดั ออก และใหใ ชสนี ้ําพลาสตกิ หรอื ยาปา ย กันราทาที่รอยแผล เพอ่ื ปอ งกนั ราทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ภายหลงั สําหรบั กง่ิ ทถ่ี กู ตดั ออก ควรรบี นาํ ออก จากแปลงมะขามเปรย้ี วไปทง้ิ หรือทาํ ลายทอ่ี น่ื โดยเฉพาะกิ่งที่เปนโรค หรือแมลง ควรรบี ทําลายโดยการนําไปเผาทิ้ง เพอ่ื ปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคหรอื แมลง .............. หนากอนนี้ หนาถัดไป สารบัญ