Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบกลุ่มหาดประเทศไทย

Description: ระบบกลุ่มหาดประเทศไทย

Search

Read the Text Version

ก คาํ นาํ ในชวงหลายทศวรรษท่ีผานมาประเทศไทยประสบปญหาการกัดเซาะชายฝงมาโดยตลอดเปนระยะ ทางการกัดเซาะชายฝงไมนอยกวา 704 กิโลเมตร ซ่ึงในจํานวนระยะทางดังกลาวน้ีมีการแกไขปญหาการกัด เซาะชายฝง แลว ไมนอยกวา 559 กิโลเมตร และยงั ไมม กี ารแกไขปญ หาการกัดเซาะชายฝงเปนระยะทางไมนอย กวา 145 กิโลเมตร แตในการดาํ เนนิ การแกไขปญหาการกดั เซาะชายฝงทีผ่ านมามีการดาํ เนินการโดยหนวยงาน ตาง ๆ ไมวาจะเปนท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาชน ไดดําเนินการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง ใน พ้ืนที่ตามขอบเขตอํานาจหนาท่ี และตามพื้นท่ีท่ีตนเองไดรับผิดชอบ โดยขาดการมองการแกไขปญหาใน ภาพรวมของชายฝง ทําใหการดําเนินการแกไขปญหาโดยวิธีตาง ๆ ในหลายพื้นที่สงผลใหเกิดการกัดเซาะ ชายฝง อยา งตอ เนอื่ ง หรือ การแกไขปญ หาในจดุ หนง่ึ เกดิ ผลกระทบกับพนื้ ที่อ่ืน หรอื พ้นื ทข่ี า งเคียง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดเล็งเห็นความสําคัญในการแกไขปญหาดังกลาวจึงไดยก ประเด็นการกําหนดขอบเขตในการจัดการพื้นที่ชายฝงเพื่อใชบริหารจัดการพ้ืนท่ีชายฝงอยางเปนระบบ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงจึงไดหารือรวมกับผูเชีย่ วชาญ และหนวยงานท่ีเกี่ยวของบูรณาการกําหนด ขอบเขตระบบกลุมหาดประเทศไทยสําหรับใชในการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงและการบริหารจัดการ พ้ืนที่ชายฝงอยางเปนระบบเพื่อใหหนวยงานท่ีเกี่ยวของสามารถนําไปใชในการจัดทําแผนงาน/โครงการและ งบประมาณปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงการวางแผนการ จดั การพ้ืนท่ชี ายฝงเชน แผนแมบทหรอื แผนยุทธศาสตรช าตใิ นการแกไ ขปญหาการกัดเซาะชายฝง ทั้งน้ี หวังเปนอยางยิ่งวาการจัดแบงระบบกลุมหาดประเทศไทยและสมุดแผนที่ระบบกลุมหาด ประเทศไทยจะมีประโยชนในการวางแผนการจัดทําแผนงาน/โครงการและงบประมาณปองกันการกัดเซาะ ชายฝง และมปี ระโยชนในการวางแผนการจดั การพ้นื ทชี่ ายฝง เพือ่ ใหเกดิ ความย่งั ยืนของชายฝงตอไป อธิบดีกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง มกราคม 2563

ข กติ ตกิ รรมประกาศ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ขอขอบคุณ ทานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอม (นายจตุพร บุรุษพัฒน) ประธานอนุกรรมการดานการกัดเซาะชายฝงทะเล (นายอดิศักด์ิ ทองไขมุกต) คณะอนุกรรมการดานการกัดเซาะชายฝงทะเล กรมทรัพยากรธรณี ผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญ และนักวิชาการที่เก่ียวของ ที่ไดเสียสละเวลาอันมีคา รวมกันพิจารณาและเสนอแนะความเห็นเพิ่มเติม อันกอใหเกิดประโยชนอยางยิ่งในการจัดแบงและจัดทํารายงาน “ระบบกลุมหาดในประเทศไทย” โดยองคค วามรูและประสบการณท่ีทุกทานไดมีการแลกเปลี่ยนกันในระหวา งการทํางาน จะเปน ประโยชนอยาง ยง่ิ ตอ ประเทศในการคุมครอง อนรุ กั ษ และฟน ฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ที่มีคาย่ิง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารรายงาน “ระบบกลุมหาดในประเทศ ไทย” และเอกสาร “สมุดแผนท่รี ะบบกลุมหาดประเทศไทย” จะทาํ ใหผูท ่ีมีสวนเกยี่ วของทุกภาคสวน สามารถ นําไปใชในการบริหารจัดการเพื่อปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลของประเทศไทยอยางมี ประสทิ ธภิ าพตอไป

ค คณะที่ปรึกษา ปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม ประธานอนุกรรมการดานการกดั เซาะชายฝง ทะเล 1. นายจตุพร บุรุษพฒั น รองอธบิ ดกี รมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง 2. นายอดศิ ักด์ิ ทองไขม กุ ต ผูทรงคุณวฒุ ิ คณะอนกุ รรมการบรู ณาการดานการจัดการการ 3. นายปน สกั ก สุรัสวดี กดั เซาะชายฝง ทะเล 4. นายวรวุฒิ ตันตวิ นิช ผทู รงคณุ วุฒคิ ณะอนุกรรมการบรู ณาการดา นการจัดการการ 5. ผศ.ดร.สมปรารถนา ฤทธ์ิพริ้ง กัดเซาะชายฝงทะเล 6. นายศศนิ เฉลิมลาภ ท่ีปรึกษากรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 7. ศ.ดร.มนตรี ชวู งษ รองหวั หนา ภาควชิ าธรณวี ิทยาคณะวิทยาศาสตร 8. ผศ.ดร.สมฤทัย ทะสดวก จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย 9. นายอนุกูล วงศใ หญ ภาควชิ าวิศวกรรมทรพั ยากรนํ้า คณะวิศวกรรมศาสตร 10. นายสุวิทย เสรีตระกูล มหาวิทยาเกษตรศาสตร 11. นายวิเชยี ร อินตะ เสน ผอู ํานวยการกองเทคโนโลยีธรณี กรมทรพั ยากรธรณี 12. นายอภชิ ยั กาญจนพนั ธุ กองเทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี 13. นายศักดา ขนุ ดี กองเทคโนโลยธี รณี กรมทรพั ยากรธรณี กองเทคโนโลยธี รณี กรมทรัพยากรธรณี กองธรณวี ิทยาสิง่ แวดลอ ม กรมทรพั ยากรธรณี คณะทํางาน 1. นายปรานต ดลิ กคณุ ากลุ ผอู าํ นวยการกองอนุรักษทรัพยากรชายฝง 2. นางสาวแสงจันทร วายทกุ ข นักวชิ าการปาไมช าํ นาญการพเิ ศษ 3. นางสาวชตุ มิ า บุญฤทธ์ศิ รีพงษ ผอู ํานวยการสวนวิจัยและสาํ รวจพ้ืนทชี่ ายฝง 4. นางสาวณัฐกานต จรสั รัตนวงศ ผูอาํ นวยการสวนบรหิ ารทวั่ ไป 5. นางสาวพรพรรณ ชมุ ภเู ทพ นกั ธรณีวิทยาปฏบิ ัติการ 6. นายศภุ ใจ เกตุแกว นกั ธรณวี ทิ ยาปฏิบตั ิการ 7. นางสาวณฐมน ตมิ นั นกั ธรณวี ทิ ยาปฏิบตั ิการ 8. นางสาวสุชาดา ทองเงนิ นักธรณวี ิทยาปฏิบัติการ 9. นายอนุชิต คนแคลว นกั วชิ าการส่ิงแวดลอ มปฏิบัตกิ าร 10. นางสาวรัชดาภรณ พัฒนาโภครัตนา นักวชิ าการสง่ิ แวดลอ มปฏิบัตกิ าร 11. นางสาวฉัตรนภา บุญยืน วิศวกรโยธาปฏิบัตกิ าร 12. นางสาวนวพร สญุ าณเศรษฐกร นกั วชิ าการปา ไมปฏิบัตกิ าร 13. นางสาวอรธรี า ศรีสวัสดิ์ นกั ธรณีวทิ ยา 14. นางสาวปวีณา พรอมมงคล นักวิชาการภมู สิ ารสนเทศ 15. นายพิสทิ ฐพล ศรีนวล นกั วชิ าการภมู ิสารสนเทศ

สารบญั ค คํานาํ หนา กติ ิกรรมประกาศ ก คณะท่ปี รึกษา ข คณะทาํ งาน ค สารบัญ ค 1-1 1.1 ความเปนมา 1-3 1.2 วตั ถุประสงค 1-3 1.3 การนําไปใชประโยชน 2-1 บทท่ี 2 แนวคิดและทฤษฎีในการจดั แบง ระบบกลุมหาด 2-1 2.1. แนวคดิ และทฤษฎใี นการจัดแบง ระบบกลุมหาดของตางประเทศ 2-2 2-3 2.1.1 การแบง ระบบกลมุ หาดบรเิ วณชายฝง แคลฟิ อรเนยี 2-4 2.1.2 การแบง ระบบกลุมหาดบริเวณชายฝง ประเทศอังกฤษและเวลส 2-4 2.1.3 การแบงระบบกลมุ หาดบรเิ วณ Emilia-Romagna สาธารณรฐั อติ าลี 2-5 2.1.4 การแบง ระบบกลุมหาดบริเวณ Cape Naturaliste and Moore River 2-5 เครอื รัฐออสเตรเลีย 2-5 2.2 แนวคิดและทฤษฎใี นการจัดแบงระบบกลมุ หาดประเทศไทย 2-10 2.3 ขอมลู ประกอบการจัดแบงระบบกลมุ หาดประเทศไทย 2-13 2.3.1 สมทุ รศาสตรฝ ง อา วไทยและอันดามนั 2-13 2-14 2.3.1.1 สมุทรศาสตรช ายฝง อาวไทย 2-15 2.3.1.2 สมุทรศาสตรชายฝง อันดามัน 2-17 2.3.2 คลนื่ -ลม และทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอน 2-30 2.3.2.1 คลนื่ ท่ีเกดิ ตามชวงมรสุมในประเทศไทย 2-32 2.3.2.2 ลมมรสมุ 2-32 2.3.2.3 การเคลื่อนตวั ของตะกอนชายฝง 2-33 2-34 2.3.2.3.1 ฝง ทะเลอาวไทย 2-41 2.3.2.3.2 ฝง ทะเลอันดามนั 2-43 2.3.3 ธรณสี ัณฐานชายฝง 2-47 2.3.3.1 ลักษณะการเกิดชายฝง 2.3.3.2 การเกิดธรณสี ัณฐานชายฝง ประเทศไทย 2.3.3.3 ธรณสี ณั ฐานชายฝง 2.3.4 ตะกอนบรเิ วณชายฝง และนอกชายฝง 2.3.4.1 ตะกอนบริเวณชายฝง 2.3.4.2 ตะกอนนอกชายฝง /ตะกอนพนื้ ทอ งทะเล

สารบัญ ง บทท่ี 3 การวเิ คราะหข อมูลเพอื่ การจดั แบง ระบบกลุมหาด หนา 3.1 การกําหนดหลักเกณฑก ารจดั แบง ระบบกลมุ หาด 3-2 3.1.1 หลักเกณฑการแบงระบบกลุมหาดหลัก (Major littoral cell) 3-3 3.1.2 หลกั เกณฑการแบงระบบกลมุ หาดรอง (Littoral cell) 3-4 3.1.3 หลักเกณฑการแบงระบบหาด (Beach cell) 3-5 3.2 การนําเขา ขอ มลู การสรางและจัดเก็บขอมูล และการซอนทับขอมูล 3-6 3.2.1 การนําเขาขอ มูล 3-6 3.2.2 การสรา งและจดั เก็บขอมูล 3-7 3.2.3 การซอนทับขอมูล 3-9 3.3 การพิจารณาจดั แบงระบบกลมุ หาด 3-11 3.3.1 การพิจารณาจดั แบง ระบบหาด 3-12 3.3.2 การพิจารณาจัดแบงระบบกลมุ หาดรอง 3-13 3.3.3 การพิจารณาจัดแบง ระบบกลมุ หาดหลกั 3-15 4-1 บทท่ี 4 ระบบกลุมหาดประเทศไทย 4-1 4.1 ผลการจดั แบงระบบกลมุ หาดประเทศไทย 4-1 4.1.1 ผลการจดั แบง ระบบกลุมหาดหลัก 4-1 4.1.2 ผลการจดั แบง ระบบกลมุ หาด 4-7 4.1.3 ผลการจดั แบง หาดหลกั 4-7 4.2 ชอ่ื และรหัสของระบบกลุมหาดประเทศไทย 4-7 4.2.1 ชื่อของระบบกลุมหาดจากตางประเทศ 4-7 4.2.1.1 ช่อื ของระบบกลมุ หาดของแคลฟิ อรเ นีย ประเทศสหรัฐอเมริกา 4-7 4.2.1.2 ชอื่ ของระบบกลุมหาดของประเทศองั กฤษและเวลส 4-9 4.2.1.3 ชอ่ื ของระบบกลมุ หาดของ Emilia-Romagna ประเทศอติ าลี 4-14 4.2.1. ชื่อของระบบกลมุ หาดบรเิ วณ Cape Naturaliste and Moore 4-14 เครอื ออสเตรเลยี 4-16 4.2.2 ช่ือและรหสั ระบบกลุม หาดหลัก 4-18 4.2.2.1 ช่อื ระบบกลุมหาดหลกั 4-18 4.2.2.2 รหัสระบบกลมุ หาดหลกั 4-18 4.2.3 ชอื่ และรหสั ระบบกลมุ หาด 4-30 4.2.3.1 ชอ่ื ระบบกลมุ หาด 4-30 4.2.3.2 รหัสระบบกลุม หาด 4-30 4.2.4 ชอ่ื และรหัสระบบหาด 4.2.4.1 ชอ่ื ระบบกหาด 4.2.4.2 รหัสระบบหาด

สารบัญ จ บทที่ 5 บทสรปุ หนา 5.1 บทสรปุ 5-1 5.2 ปญ หาอุปสรรคและขอเสนอแนะ 5-4 ฎ เอกสารอางอิง

สารบัญรปู ฉ รูปท่ี หนา 1-1 แผนทีส่ ถานภาพชายฝงทะเลประเทศไทยประจําป พ.ศ. 2561 1-2 2-1 ระบบกลุมหาดบริเวณชายฝง แคลฟิ อรเนยี จดั แบง แตล ะเซลลแยกออกจากกนั ได 2-2 โดยอาศยั หวั แหลมหรอื หวั หาดท่ีเปนหาดหนิ 2-2 ระบบกลุม หาดบรเิ วณชายฝง ประเทศอังกฤษและเวลส 2-3 2-3 คาเฉลี่ยของการไหลเวียนกระแสน้ําท่ีผิวหนาในพื้นท่ีอาวไทยตะวันออก อาวไทย 2-8 ตอนกลาง และอาวไทยตอนลา ง ในแตละฤดูมรสมุ และชว งเปลยี่ นมรสมุ 2-4 กระแสนํ้าบริเวณอาวไทยตอนบนที่ใชขอมูลลมจาก ECMWF ชวงฤดูมรสุมและชวง 2-10 เปลย่ี นฤดูมรสมุ 2-5 นํา้ ขนึ้ น้าํ ลง ในภาพรวมของประเทศไทย 2-11 2-6 การไหลเวียนของกระแสนํ้า (surface current) ในทะเลอันดามัน ที่เกิดจากกระแส 2-12 น้ําขน้ึ -น้าํ ลง ลมและการถายเทความรอ น 2-15 ก) มรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ข) มรสุมตะวันตกเฉยี งใต 2-16 2-7 ผังเแสดงความสงู และทิศทางของคลน่ื ท่ีไดจากการคาํ นวณดว ยแบบจาํ ลองคล่ืน WAM- 2-17 TMD 2-18 2-8 การเกิดกระแสนํา้ ชายฝง (Longshore current) หลังจากคล่นื แตกตัว 2-18 2-9 การเคลื่อนตัวของมวลทรายออกนอกฝง (Offshore sediment transport) 2-10 ปรมิ าณตะกอนทรายเคล่ือนทสี่ ทุ ธพิ ื้นทีท่ า เรืออเนกประสงคค ลองใหญ จังหวัดตราด 2-20 2-11 สรปุ ปรมิ าณมวลทรายชายฝงเคลือ่ นท่ตี ลอดทั้งปใ นพื้นที่ 4 จงั หวดั ภาคตะวันออก (ตราด จันทบุรี ระยอง และชลบรุ ี) 2-20 2-12 ผลการศกึ ษาสมดุลตะกอนในพืน้ ที่ชายฝง จงั หวดั เพชรบุรี (ปลายแหลมผักเบ้ีย) – 2-20 บรเิ วณเขาตะเกียบ อําเภอหัวหนิ จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ 2-22 2-13 สมดุลตะกอนในกลุมหาดยอ ย S1-6 (เขาตะเกยี บ-เขาเตาตอนเหนือ) 2-14 สมดุลตะกอนในกลมุ หาดยอ ย S1-7 (หาดทรายนอ ย) และ S1-8 (หาดทรายใหญ) 2-22 2-15 สมดลุ ตะกอนในกลมุ หาดยอ ย S1-9 (เขาเตาตอนใต- ปากแมนํ้าปราณบรุ )ี และ S1-10 (ปากแมนาํ้ ปราณบุร-ี เขากะโหลก) 2-23 2-16 สมดุลตะกอนในกลุมหาดยอย S1-11 (เขากะโหลก-เขาลูกกลาง) และ S1-12 (เขาลูก 2-23 กลาง-เขาฉลักฉลาม) 2-25 2-17 สมดุลตะกอนในกลมุ หาดยอย S1-13 (เขาฉลักฉลาม-คลองยมโดย) 2-18 สมดลุ ตะกอนในกลมุ หาดยอ ย S1-14 (คลองยมโดย-เขาคอกะพงั ) 2-19 ภาพแสดงผลการสรปุ การเคลอ่ื นที่ของตะกอนชายฝงตลอดปในพืน้ ท่ปี ากแมน้ําปราณ บรุ ี จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ ถึงแหลมตะลมุ พุก จงั หวดั นครศรธี รรมราช

สารบัญรปู ช รูปท่ี หนา 2-20 การเคลื่อนตัวของตะกอนในพ้ืนที่บานหนาโกฎิ อําเภอปากพนัง ถึงบานหนาสตน 2-27 อาํ เภอหัวไทร นครศรธี รรมราช 2-21 ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนบริเวณแหลมตะลุมพุก อําเภอปากพนัง จังหวัด 2-28 นครศรีธรรมราช ถึงปากน้ําทะเลสาบสงขลา อําเภอสงิ หนคร จังหวัดสงขลา 2-22 สรุปทิศทางการเคลื่อนท่ีของตะกอนชายฝงบริเวณเข่ือนกันคล่ืนรองนํ้าปะนาเระและ 2-29 รองนา้ํ อา วบางมะรวด 2-23 ปรมิ าณการเคลื่อนตัวของมวลทรายขนานชายฝงสุทธิในภาพรวมของชายฝง ประเทศ 2-31 ไทย 2-24 แผนที่แสดงพื้นท่ีทน่ี ํา้ ทะเลรุกลํ้าเขาไปในแผนดินในสมยั โฮโลซนี เมอ่ื ประมาณ 6,000 ป 2-33 ทีผ่ านมา 2-25 แผนท่ีแสดงบริเวณไหลทวีปชุนดา (Sunda Shelf) ซ่ึงมีสภาพแวดลอมแบบแผนดิน 2-35 (terrestital environment) ในสมยั ไพลสโตซนี ตอนปลายชวงสุดทาย ประมาณ 10,000 ป กอ น ปจ จุบัน เมอื่ น้ําทะเลลดลงต่ําสดุ มากกวา 80 เมตร จากระดบั ปจ จบุ นั 2-36 2-26 แผนท่ีแสดงธรณสี ณั ฐานชายฝงทะเลประเทศไทย 2-37 2-38 2-27 ชายฝง หินประเทศไทย เขาแหลมหญา 2-38 2-28 หาดทรายใหมหรอื หาดทรายปจจบุ นั 2-38 2-29 ลากนู เดมิ 2-39 2-30 ลากูนปจ จบุ นั 2-40 2-31 ท่ีราบนา้ํ ขน้ึ ถึงเดิม 2-40 2-32 ท่ีราบนํา้ ข้นึ ถงึ ปจจุบนั 2-41 2-33 เนนิ ทรายชายฝง ทะเล 2-42 2-34 การเคลื่อนท่ีของตะกอนทรายโดยกระบวนการชายฝง 2-35 กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพทอ งทะเลของชายฝง ท่ีมีตะกอนเลนภายใตอทิ ธิพลของ 2-45 คลน่ื 2-36 แผนภาพการจําแนกประเภทตะกอน (Sediment Classification) ดัดแปลงจาก Folk 2-46 (1954) 2-48 2-37 แผนทแ่ี สดงประเภทตะกอนบรเิ วณชายฝง/ประเภทหาด 3-2 2-38 แผนท่แี สดงประเภทตะกอนพืน้ ทองทะเล 3-1 ผังแสดงขั้นตอนการดาเนินงานและการพจิ ารณาขอมูลการจัดแบงระบบกลมุ หาด 3-5 ประเทศไทย 3-2 การลากเสน แบง Sub-cell จะใชแนวสันปนนาํ้ แบงตะกอนจากการพดั พาของนํา้ ลงสอง ฝง ระบบหาด

สารบัญรูป ซ รปู ที่ หนา 3-3 ตัวอยา งการแบง ระบบหาดท่ีหัวแหลมมลี กั ษณะคดโคงมาก และมีลกั ษณะยนื่ กดี ขวาง 3-6 การเคลอ่ื นที่ของกระแสนาเลียบชายฝง และกดี ขวางการพัดพาตะกอนของแตละหาด เชน บรเิ วณหวั แหลมท่แี หลมสิงห ใชก ารประมาณการกึ่งกลางระหวา งระบบหาดยอยสองระบบคือ 3-7 หาดแหลมสงิ ห และอาวเกาะหมู 3-8 3-4 ขั้นตอนการนาํ เขาขอมลู โดยใชโ ปรแกรม ARCMap 10.1 และผลการนาํ เขา ขอมูล 3-10 3-5 ขัน้ ตอนการจัดเก็บขอมูลในโปรแกรม ARCMap 10.1 3-10 3-6 ขน้ั ตอนการนาขอมูลมาซอนทบั กนั และการปรบั ขอมลู เพ่อื การซอนทับกนั 3-7 การซอนทับขอมูลประเภทตะกอนบริเวณชายฝง ทิศทางการเคล่ือนที่ของตะกอนและ 3-11 แผนที่ภูมิประเทศ จะเห็นไดวาพ้ืนที่ใดมีทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนที่เปลี่ยนทิศและ 3-12 บริเวณใดมีการเปล่ียนแปลงตะกอนบริเวณชายฝงบาง ทําใหสามารถจัดแบงระบบกลุมหาด 3-12 รองในบริเวณนนั้ ได 3-13 3-8 ทิศทางการไหลเวยี นของกระแสนํา้ ในพืน้ ที่อา วไทย (ไมรวมอา วไทยตอนบน) 3-9 ทศิ ทางการไหลเวยี นกระแสนํ้าในทะเลอา วไทยตอนบน 3-14 3-10 ทศิ ทางการไหลเวียนกระแสน้าํ ในทะเลอนั ดามนั 3-11 การแบงระบบกลุมหาดโดยการนําเอาระบบหาดมาพิจารณารวมกับขอมูลทิศทางการ 3-14 เคลือ่ นท่ขี องตะกอนในระดับพื้นท่ี หากพ้นื ที่ใดมีทิศทางการเคล่ือนของตะกอนแตกตางกันจะ 3-15 ทําการจดั แบงพนื้ ท่ีออกจากกนั 3-12 การแบงระบบกลุมหาดท่ีมีทิศทางการเคล่ือนท่ีของตะกอนในระดับพื้นที่เปนไปใน 3-15 ทิศทางเดียวกัน แตมีประเภทตะกอนบริเวณชายฝง/ตะกอนพื้นทองทะเล แตกตางกันจะทํา การจัดแบงพื้นท่ีออกจากกันโดยใชธรณีสัณฐานชายฝงตัวแบงพ้ืนท่ี โดยการใชสัณฐานชายฝง และแหลงท่ีมาของตะกอน 3-13 การแบงระบบกลุมหาดที่มีลกั ษณะทางธรณีสณั ฐานชายฝง/สัณฐานชายฝง ขวางก้ันการ เคลอื่ นท่ขี องตะกอนอยางชดั เจน เชน เกาะ/หมูเกาะทอ่ี ยูใกลแ ผน ดิน 3-14 การแบง ระบบกลมุ หาดใชป ากแมน าํ้ เปนตวั แบงระบบกลุม หาดไดภ ายใตเงื่อนไขท่ีวา การพจิ ารณาภายใตการแบงตามหลักเกณฑแบงปากแมน ํ้านี้ ทง้ั สองดา นของปากแมน ํา้ จะตองมกี ารแบงสมดลุ ตะกอนท่แี นน อน 3-15 การแบงระบบหาดโดยการใชส ัณฐานชายฝง /ลักษณะภูมปิ ระเทศบริเวณชายฝง (หวั แหลม หัวหาด หาดหิน กองหินโผล)

สารบัญรปู ฌ รปู ท่ี หนา 3-16 การแบงระบบหาดโดยการใชสัณฐานชายฝงและแหลงที่มาของตะกอน (บริเวณปาก 3-16 แมนํ้า) 4-1 แบงระบบกลมุ หาดหลักจากทิศทางการไหลเวียนของกระแสนํา้ ในพน้ื ท่ีอาวไทย 4-2 ตอนกลาง อา วไทยตอนลางและดา นอาวไทยดา นตะวนั ออก 4-2 แบง ระบบกลมุ หาดหลักจากทิศทางการไหลเวียนกระแสนาํ้ บรเิ วณอาวไทยตอนบน 4-3 4-3 แบง ระบบกลมุ หาดหลกั จากทิศทางการไหลเวียนของกระแสน้ําบริเวณทะเลอนั ดามัน 4-3 4-4 ตัวอยา งการแบง ระบบกลุม หาดโดยการใชท ิศทางการเคล่ือนที่ของตะกอนเปนหลักเกณฑ 4-4 การแบง 4-5 ตัวอยา งการแบงระบบกลมุ หาดโดยใชป ระเภทตะกอนชายฝงเปน หลักเกณฑใ นการแบง 4-5 4-6 ตวั อยางการแบงระบบหาด 4-6 4-7 ตัวอยา งช่ือและแผนทรี่ ะบบกลมุ หาดในรัฐแคลิฟอรเ นีย ประเทศสหรฐั อเมรกิ า 4-8 4-8 แผนทร่ี ะบบกลุมหาดประเทศและชือ่ ระบบกลุมหาดประเทศอังกฤษและเวลส 4-8 4-9 ตวั อยางชอื่ และแผนที่ระบบกลุมหาดของ Emilia-Romagna ประเทศอติ าลี 4-9 4-10 ตัวอยางช่ือระบบกลุมหาดทั้ง 4 ระดับ บริเวณ Cape Naturaliste and Moore River 4-10 เครอื รัฐออสเตรเลยี 4-11 แผนที่แสดงระบบกลุมหาดและแสดงรหัสหรืออักษรยอของระบบกลุมหาดระดับ 4-11 ภมู ภิ าคและระดับเซลลปฐมภูมขิ องพื้นที่ Vlamingh Region 4-12 แผนท่ีแสดงระบบกลุมหาดและแสดงรหัสหรืออักษรยอของระบบกลุมหาดระดับเซลล 4-12 ทตุ ยิ ภมู แิ ละเซลลต ตยิ ภูมิของพน้ื ที่ Vlamingh Region 4-13 แผนท่ีแสดงระบบกลุมหาดและรหัสหรอื อกั ษรยอของระบบกลมุ หาดระดับเซลลท ุตยิ ภมู ิ 4-13 และเซลลต ติยภูมิบนเกาะ Garden Island พนื้ ที่ Vlamingh Region 4-14 ตัวอยางแผนท่รี ะบบกลุมหาดหลกั ประเทศไทย 4-15 4-16 การซอนทบั ทศิ แบบไทย 8 ทิศ กับแผนท่รี ะบบกลม หาดหลกั 4-16 4-17

สารบัญตาราง ญ ตารางที่ หนา 2-1 ระบบกลมุ หาดจํานวน 64 กลุมหาด ในประเทศไทย 2-6 2–2 ตารางแสดงแหลง กําเนดิ และแหลง สะสมตวั ของตะกอนบรเิ วณชายฝง 2-42 2-3 ประเภทตะกอนบรเิ วณชายฝง และระยะทางตามแนวชายฝง 2-45 2-4 ตารางแสดงปริมาณพื้นที่ทีพ่ บตะกอนพ้นื ทองทะเลประเภทตา ง ๆ 2-41 4-1 รายชอ่ื รหสั ระบบกลมุ หาดหลัก และหลักเกณฑตามขอมูลที่ใชกําหนด 4-17 4-2 รายช่ือระบบกลุม หาดและหลกั เกณฑต ามขอมูลที่ใชใ นการแบง 4-19 4-3 รายชื่อระบบกลมุ หาดและหลักเกณฑต ามขอมูลท่ีใชในการแบงระบบหาด 4-31

บทท่ี 1 บทนำ



1-1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมา การเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ชายฝั่ง หรือ เปลี่ยนรูปลักษณ์ของพื้นที่ชายฝั่งจากเดิมที่เคยปรากฎให้เห็น การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลเป็น สิ่งที่เกิดขึ้น ตลอดเวลา เน่ืองจากพืน้ ทีช่ ายฝงั่ ทะเลมลี ักษณะเป็นพลวัตร มีความอ่อนไหวต่อการเปล่ียนแปลงมากทีส่ ุด และ เป็นปัญหาท่ีกำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน การกัดเซาะชายฝั่งทะเลเป็นการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งที่ทำให้ แนวชายฝั่งถอยร่นเข้าไปในแนวแผ่นดิน ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งอาจมากจากกระบวนการ คล่ืน ลม กระแสนำ้ น้ำขน้ึ น้ำลง การเคล่ือนที่ของตะกอนบริเวณชายฝงั่ การสะสมตวั ของตะกอนบรเิ วณชายฝั่ง (ตะกอนจากท่หี นง่ึ ไปตกทับถมในอีกบรเิ วณหน่ึง) ทำใหแ้ นวชายฝง่ั เดมิ มีการเปล่ียนแปลงไป บริเวณท่ีมีปริมาณ ตะกอนเคลื่อนที่เข้าน้อยกว่าปริมาณตะกอนเคลื่อนที่ออกส่งผลให้บริเวณดังกล่าวเกิดการกัดเซาะชายฝั่งข้ึน การกัดเซาะชายฝั่ง ไทยเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของทั้งภาครั ฐและภาประชาชน กอ่ ให้เกิดความเสียหายก่อแหล่งท่องเทย่ี ว แหล่งที่อยู่อาศยั ที่ดินทำ และความสมบูรณ์ทางระบบนิเวศ มีความ สูญเสยี ทางเศรษฐกจิ ในภาพรวมของประเทศอย่างมหาศาล ปัจจุบันแนวชายฝั่งทะเลทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามันมีระยะทางความยาวตามแนวชายฝั่งประมาณ 3,151.13 กิโลเมตร คิดเป็นระยะทางแนวชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะ 704.44 กิโลเมตร มีการดำเนินการแก้ไขปัญหา แล้ว 558.71 กิโลเมตร ยังไม่มีการดำเนินการแก้ไขปัญหา 145.73 กิโลเมตร และเป็นพื้นที่ที่ไม่ประสบปัญหา กัดเซาะ 2,446.69 กิโลเมตร ดังรปู ท่ี 1-1 ปญั หาการกัดเซาะชายฝ่ังในช่วงระยะเวลาท่ผี ่านมามีการดำเนินการ โดยหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาชน ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาการกัด เซาะชายฝั่งในพื้นที่ตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ และตามพื้นที่ที่ตนเองได้รับผิดชอบ โดยขาดการมองการแก้ไข ปัญหาในภาพรวมของชายฝั่ง ทำให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยวิธีต่าง ๆ ในหลายพื้นที่ส่งผลให้เกิดการกัด เซาะชายฝ่ังอย่างต่อเนื่อง หรือ การแก้ไขปัญหาในจุดหนึ่งเกิดผลกระทบกับพื้นท่ีอ่ืน หรือพื้นท่ีข้างเคียง ทั้งนี้ก็ เน่อื งมาจากทศิ ทางการเคลื่อนของตะกอนชายฝ่ังถูกรบกวน ทำให้การดำเนนิ การแก้ไขปญั หานี้ไมส่ ามารถแก้ไข ปัญหาการกัดเซาะชายฝงั่ ใหป้ ระสบผลสำเร็จในเชงิ ปฏบิ ัติได้ เมื่อปี พ.ศ. 2557 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้ดำเนินการเสนอแนวคิดการแก้ไขปัญหาการ กดั เซาะชายฝง่ั โดยใชก้ ารแบง่ ระบบกล่มุ หาด ซง่ึ เป็นแนวคดิ ตามหลักสากลและเป็นท่ยี อมรับโดยใช้หลักเกณฑ์ และนำองคค์ วามรู้พ้นื ฐานทางด้านสมทุ รศาสตรเ์ ก่ยี วกับกระบวนการชายฝัง่ เขา้ มากำหนดขอบเขตพื้นท่ีชายฝ่ัง จากหลักเกณฑ์ดังกล่าวทำให้กำหนดขอบเขตพื้นที่ได้เป็น 64 ระบบกลุ่มหาด ไม่รวมเกาะ (ยกเว้นเกาะภูเก็ต) ซึ่งจากการบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่งที่ผ่านมาพบว่าระบบหาดที่มีอยู่ แต่ละระบบมีขนาดใหญ่ ทำให้กำหนด แนวทางมาตรการต่าง ๆ คอ่ นข้างยาก ทปี่ ระชุมคณะอนุกรรมการบรู ณาการด้านการจดั การการกดั เซาะชายฝ่ัง ทะเล (ภายใต้คณะกรรมการนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งแห่งชาติ) จึงมีมติ ใหก้ รมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังพจิ ารณาปรับปรุงระบบกลุ่มหาดร่วมกับหน่วยงาน ทีเ่ ก่ียวข้อง โดยใช้ข้อมูล ทางวิชาการด้านต่าง ๆ (สมุทรศาสตร์ ธรณีวิทยา อุทกศาสตร์ สัณฐานวิทยา) เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการ บริหารจดั การพนื้ ทช่ี ายฝ่ังและดำเนนิ งานป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลของประเทศไทยต่อไป ร่างรายงานระบบกลมุ่ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั

1-2 รปู ที่ 1-1 แผนทีส่ ถานภาพชายฝั่งทะเลประเทศไทยประจำปี พ.ศ. 2561 ท่ีมา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั , 2561 รา่ งรายงานระบบกลมุ่ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั

1-3 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพื่อศึกษาและกำหนดหลกั เกณฑ์ในการจัดระบบกลมุ่ หาดประเทศไทย 2) เพื่อปรับปรุงระบบการจัดการความรู้ รวบรวมและจัดทำระบบฐานข้อมูลการกัดเซาะให้มี ประสทิ ธิภาพเหมาะสมกบั สภาพธรณีสัณฐานและลกั ษณะทางกายภาพ 3) เพื่อจัดทำข้อมูลระบบกลุ่มหาดประเทศไทย รวมถึงจัดทำแผนที่พื้นฐานที่จะใช้ในการบริหาร จัดการพน้ื ทชี่ ายฝ่ัง โดยคำนงึ ถึงขอ้ มูลพืน้ ฐานทางดา้ นธรณวี ทิ ยา ธรณสี ัณฐาน และสมุทรศาสตร์แตล่ ะพน้ื ที่ 4) เพื่อนำข้อมูลระบบกลุ่มหาดประเทศไทยเป็นแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่งอย่าง เป็นระบบ สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ในการจัดทำแผน โครงการและงบประมาณป้องกันและแก้ไข ปัญหาการกดั เซาะชายฝงั่ ทง้ั ในระยะสนั้ และระยะยาว 1.3 การนำไปใช้ประโยชน์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำแผนที่พื้นฐาน และข้อมูลระบบกลุ่มหาดประเทศไทยไปใช้เป็น แนวทางในการบรหิ ารจัดการพืน้ ทชี่ ายฝงั่ อย่างเป็นระบบ สำหรบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องนำไปใช้ในการจดั ทำแผน โครงการและงบประมาณปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาการกดั เซาะชายฝงั่ ทั้งในระยะส้ันและระยะยาว รา่ งรายงานระบบกลมุ่ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่

บทที่ 2 แนวคดิ และทฤษฎใี นการจัดแบง ระบบกลมุ หาด



2-1 บทท่ี 2 แนวคดิ และทฤษฎีในการจัดแบง ระบบกลุมหาด การกดั เซาะชายฝง หรือการที่ชายฝง ทะเลถกู กัดเซาะทำใหแนวชายฝง ถอยรนเขาไปในแนวแผน ดินน้ัน แนวชายฝงที่มีการกัดเซาะมักเปนพื้นที่ที่มีปริมาณตะกอนชายฝงถูกพัดพาออกไปในทะเลมากกวาพัดพา กลับมาสะสมตัวบริเวณชายฝง ทำใหพื้นที่ชายฝงหดหายไป ความกวางของชายหาดลดนอยลง ปจจัยที่ทำ ใหเกิดการกัดเซาะชายฝงประกอบดวย พลังงานของคลื่น ลม น้ำขึ้นน้ำลง การเคลื่อนที่ของตะกอนบริเวณ ชายฝง ลกั ษณะทางกายภาพของพื้นท่ี (สัณฐานชายฝง และธรณสี ณั ฐานชายฝง) โดยเฉพาะการเคลื่อนท่ีของ ตะกอนบริเวณชายฝงเปนตัวการสำคญั ท่ีทำใหเกดิ การกัดเซาะชายฝง ดังนั้นการนำความรูดานตาง ๆ ไมวา จะเปนพื้นฐานดานสมุทรศาสตรซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการชายฝงประกอบดวย คลื่น ลม กระแสน้ำ น้ำขึ้นน้ำลง ความลึกของทองน้ำ ความลาดชันของพื้นทองทะเล รวมถึงพื้นฐานดานธรณีวิทยา อันไดแก ลักษณะธรณี สัณฐานชายฝง และลักษณะตะกอนหรือประเภทตะกอนบริเวณชายฝง พ้ืนฐานเหลา นล้ี ว นแลวแตเปนปจจยั ที่มีอิทธิพลตอการเคลื่อนที่ของตะกอน ดังนั้น เพื่อใหสามารถจัดการพื้นที่ชายฝงไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยสิ่งสำคัญในการพิจารณา คือ เราจะตองเขาใจในกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในบริเวณชายฝง ซึ่งเปน พื้นที่ที่คอนขางซับซอน จึงไดนำแนวความคิดเรื่องการแบงชายฝงออกเปนหนวยยอย ซึ่งเรียกวา การแบง ระบบกลุมหาด มาใชในการจดั การชายฝง ซ่งึ เร่ิมขน้ึ มาเปน ครงั้ แรกในป พ.ศ.2508 ท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา ในบริเวณชายฝงแคลิฟอรเนีย (California Coast) เพื่อศึกษาระบบสมดุล และการเคลื่อนที่ของตะกอนใน แตละกลุมหาด ซึ่งสามารถนำมาใชในการวิเคราะห คาดการณการเปลี่ยนแปลงเสนแนวชายฝง (Inman & Frautschy, 1965) ในหลายๆ ประเทศ เชน สหรฐั อเมรกิ า อังกฤษ ออสเตรเลยี ยโุ รป อนิ เดยี ไดนำแนวคิด การแบงระบบกลุมหาดมาใชในการบริหารจัดการปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงอยางเปน รูปธรรม และยั่งยืนเปนระยะเวลาหลายสบิ ปแ ลว 2.1. แนวคดิ และทฤษฎใี นการจัดแบงระบบกลมุ หาดของตางประเทศ 2.1.1 การแบง ระบบกลุมหาดบริเวณชายฝงแคลิฟอรเ นยี การจัดแบงระบบกลุมหาดบริเวณชายฝงแคลิฟอรเนีย (Inman & Frautschy, 1965)ได ทำการศึกษาปริมาณตะกอนทรายที่ถูกกัดเซาะและทับถม (Sediment Budget) บริเวณชายฝง แคลิฟอรเนียตอนใต พบวาอนุภาคตะกอนทรายที่เคลื่อนที่ไปตามเขตชายฝง (Littoral Zone) จะมีการ นำเขา และถูกพดั พาออกไปจากฝงโดยกระบวนการชายฝง และเม่อื แบงชายฝง ออกเปนสว นๆ หรือเปนเซลล โดยพิจารณาจากขอบเขตของชายฝงหิน (Rocky Coast) ซึ่งในที่นี้ คือ การแบงระบบกลุมหาด (Littoral Sedimentation Cell or Littoral Cell) สามารถแบงชายฝงแคลิฟอรเนียตอนใตออกเปน 5 พื้นที่หรือ เซลล ซึ่งองคประกอบแตละเซลลประกอบดวยวัฏจักรของตะกอน (Sediment Cycle) ดังรูปที่ 2-1 โดย ตะกอนถูกพัดพาเขาสูระบบโดยแมน้ำ จากนั้นคลื่นและกระแสน้ำพัดพาตะกอนไปตามแนวชายฝง โดย ตะกอนจะถูกดึงออกจากระบบโดยรองน้ำลึก (Submarine Canyon) ซึ่งการเคลื่อนที่ของตะกอนจะ เคลื่อนทอ่ี ยใู นแตล ะระบบกลุม หาด ไมม ีการเคล่ือนยายหรอื แลกเปล่ยี นตะกอนระหวางเซลลข า งเคียง ตอมาในป ค.ศ. 2006 ไดมีการศึกษาระบบกลุมหาด แหลงทรายสำรอง และหาดทรายในพื้นท่ี ชายฝงแคลิฟอรเนีย (Patsch & Griggs, 2006) จากการศึกษาในครั้งไดแบงชายหาดแคลิฟอรเนียออกเปน สวนๆ หรือระบบกลุมหาด โดยอาศัยองคประกอบของชายหาดแตละสวนหรือแตละเซลลซึงจะมี แหลง กำเนดิ ตะกอนของตวั เอง (Sediment Source) เชน แมน้ำ หนาผา สนั ทราย ตะกอนทรายนอกชายฝง รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-2 ที่ถูกพัดพามาโดยกระแสน้ำจนเขา สูเซลลนัน้ ๆ หรือการเติมทรายชายหาด (Beach Nourishment) เปนตน ตะกอนทรายเหลานี้จะถูกพัดพาไปตามชายฝง (Littoral Drift) แตสวนใหญจะตกสะสมที่พื้นทะเลชายฝง กลายเปนสันดอนที่ทอดตัวเปนแนวยาวขนานไปกับชายฝงซึ่งจะสังเกตไดจากบริเวณที่คลื่นเริ่มแตกนอก ชายฝงหรือในชวงที่น้ำลงต่ำสุดก็จะสามารถลงไปเดินบนสันดอนนั้นได และในเซลลนั้นจะมีแหลงที่ทำให ตะกอนทรายท่ีถกู พัดพามาหายไปจากระบบ (Sediment Sink) เชน หุบเขาใตทะเล (Submarine Canyon) จากการศึกษาการแบงพื้นที่ชายฝงแคลิฟอรเนีย สามารถสรุปไดวา การแบงระบบกลุมหาด บริเวณชายฝงแคลิฟอรเนีย จัดแบงโดยใชขอมูลวัฏจักรตะกอน (Sediment Cycle) ซึ่งประกอบดวย แหลงกำเนิดตะกอน ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอน และแหลงทับถมตะกอนทราย โดยใชชายหาดหิน (Rocky Coast) เปน ตัวแบง ขอบเขตของแตละเซลล รปู ท่ี 2-1 ระบบกลุมหาดบริเวณชายฝงแคลิฟอรเนยี จัดแบงแตล ะเซลลแยกออกจากกนั ได โดยอาศัยหวั แหลมหรอื หัวหาดท่ีเปน หาดหนิ ทม่ี า: coastalchange.ucsd.edu/st3_basics/littoralcell.html 2.1.2 การแบงระบบกลมุ หาดบรเิ วณชายฝงประเทศอังกฤษและเวลส การแบงระบบกลุมหาดบริเวณชายฝงประเทศอังกฤษและเวลส (Motyka & Brampton, 1993) ไดเสนอแนวคิดในการปองกันชายฝงตองคำนึงถึงการเคลื่อนที่ของตะกอนทรายหรือกรวดตามแนวชายฝง รวมทั้งลักษณะพื้นทะเลบริเวณดานหนาชายฝง ซึ่งนำไปสูหลักการการแบงชายฝงออกเปนระบบกลุมหาด (Coastal Cells) บริเวณชายฝงประเทศองั กฤษและเวลส ดังรปู ท่ี 2-2 ตามขอบเขตของการเคลอื่ นท่ีตะกอน (Littoral Drift Cell) โดยหลักในการพิจารณาขอบเขตเซลล คือ ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนจะตอง เปนไปในทางเดียวกัน และการเคลื่อนที่ของตะกอนทรายหรือกรวดในเซลลหนึ่งๆ จะตองไมมีผลตอเซลล ขางเคียง รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในแตละเซลล ไมวาจะเปนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาหรือทาง นิเวศวิทยาจะตองไมเ กดิ ผลกระทบตอ เซลลขางเคียงเชน เดยี วกนั ดังน้นั ลกั ษณะทเ่ี หมาะสมในการใชเ ปนตัว รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-3 แบงการเคลื่อนที่ของตะกอน คือ โขดหิน (Rocky Headland) เนื่องจากเปนจุดที่ควบคุมตะกอนไมใหเกิด การถายเทระหวางเซลล และบริเวณปากแมน้ำ (Estuary) เนื่องจากเปนจุดที่ดึงตะกอนออกจากระบบ จากการศึกษาสามารถแบงระบบกลุมหาดบริเวณชายฝงประเทศอังกฤษและเวลสเพื่อการจัดการปองกัน และแกไขปญหาการกัดเซาะไดทั้งหมด 11 เซลล โดยเซลลที่เล็กที่สุดมีความยาวชายฝงประมาณ 20 กิโลเมตร แตกลับพบวาในแตละเซลลจะมีหนวยงานระดับทองถิ่นที่เกี่ยวของกับการแกไขปญหาหลาย หนวยงาน ดังนั้น จึงมีการแบงชายฝงออกเปนหนวยที่ยอยลงกวาเดิม เรียกวา ระบบกลุมหาดยอย (Sub-cell) เพอื่ การจัดการชายฝง ท่ีมีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน รปู ที่ 2-2 ระบบกลมุ หาดบริเวณชายฝงประเทศองั กฤษและเวลส ทมี่ า: http://somegeographyannalikes.blogspot.com/2013/04/sediment-cells.html 2.1.3 การแบงระบบกลุมหาดบรเิ วณ Emilia-Romagna สาธารณรัฐอติ าลี พื้นที่ชายฝงบริเวณ Emilia-Romagna สาธารณรัฐอิตาลี (Montanari & Marasmi, 2011) ไดมี การเสนอยุทธศาสตรในการแกไขปญหาและการจัดการชายฝงอยางยั่งยืนในบริเวณชายฝง Emilia - Romagna ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี โดยมีหลักการ คือ การใชวิธีมาตรการแบบออน (Soft รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-4 Solution) ในการแกป ญ หา ไดแก การเตมิ ทรายชายหาด ซง่ึ จะตองใชตะกอนทรายจากภายนอกระบบ เชน ตะกอนทรายใตทะเล และทรายจากภายในระบบเอง เชน ตะกอนทรายที่เกิดการทับถมบริเวณทาเรือหรือ โครงสรา งปองกันทางวศิ วกรรมตาง ๆ และแหลงทรายท่ีสำคญั จากแมนำ้ รวมท้ังการพยายามลดการสูญเสีย ตะกอนออกไปจากระบบซึ่งเกิดจากการกระทำของมนุษยและธรรมชาติ จากหลักการดังกลาวจึงตองมีการ ฟนฟูเสนทางการขนสงตะกอนจากแมน้ำและบรรเทาการสูญเสียตะกอนไปจากระบบ และเพื่อใหไดผลจรงิ ในเชิงปฏิบัติจึงมีการจัดทำฐานขอมูลในการจัดการชายฝง โดยแบงพื้นที่ชายฝงเปนสวนๆ หรือหนวยยอย หรือระบบกลุมหาด (Littoral Cell) ภายใตโครงการการจัดการระบบกลุมหาด (The Littoral Cell Management System: SICELL) ซึ่งถือเปนเครื่องมือใหมที่ใชจัดการชายฝงไดอยางมีประสิทธิภาพและ ยั่งยืน โดยหลักในการแบงระบบกลุมหาดขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการนำไปใช ซึ่งทางโครงการ SICELL แบงระบบกลุมหาดเพื่อใชในการจัดทำแผนแกไขปญหาพื้นที่ชายฝงได 7 เซลลหลัก และ 118 เซลลยอย (Sub-cell) โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยา ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอน และ โครงสรางแข็งทางวิศวกรรม เชน เขื่อนกันคลื่น แตละเซลลจะมีความยาวประมาณ 10 ถึง 20 กิโลเมตร และที่สำคัญคือแตละเซลลจะตองมีสมดุลตะกอนของตัวเอง นอกจากนั้นยังแบงชายฝงเปนระบบกลุมหาด เพิ่มเติมเพื่อใชในการจัดการชายฝงได 3 เซลลหลัก โดยพิจารณาจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาและ ธรณวี ิทยา ลกั ษณะทางกายภาพของชายฝง และกจิ กรรมการใชประโยชนใ นพืน้ ที่ชายฝง (Land-use) 2.1.4 การแบง ระบบกลมุ หาดบริเวณ Cape Naturaliste and Moore River เครือรัฐออสเตรเลีย ระบบบกลุมหาดบริเวณ Cape Naturaliste and Moore River (Stul, Eliot, & Eliot, 2015) การแบงระบบกลุมหาดในพ้ืนทีน่ ้ีมีกรอบการดำเนินการการจดั การชายฝงระหวา ง Cape Naturaliste and Moore River ซึ่งตั้งอยูทางตะวันตกของออสเตรเลีย โดยการแบงพื้นที่สำหรบั การจัดการชายฝงเปนสวนๆ (Coastal Sediment Cell) ซึ่งแตละเซลลจะมีสมดุลตะกอนของตัวเอง ไดแก แหลงกำเนิดตะกอน แหลงเก็บสะสมตะกอน และทิศทางการขนสงตะกอนโดยหลักในการแบงพจิ ารณาจากแตละพื้นที่จะตองไม มีการแลกเปลีย่ นตะกอนระหวา งกัน จากการศึกษาการจัดแบงระบบกลุมหาดในตางประเทศ สามารถสรุปไดวา ระบบกลุมหาด (Littoral cell) คือ การแบงขอบเขตชายฝงออกเปนเซลล ภายใตกรอบแนวคิดเรื่องสมดุลตะกอน (Sediment Budget) โดยในแตละเซลลจะตองมีสมดุลตะกอนของตัวเอง ไมมีการเคลื่อนยายจากเซลล หนึ่งไปสูอีกเซลลหนึ่ง ซึ่งจะมีชื่อเรยี กแตกตางกันออกไปในแตละประเทศเชน “Littoral Cell”, “Coastal Cell”, “Sediment Cell”, “Coastal Compartment”, “Coastal Segment”, Beach Compartment” and “Coastal Management Unit” 2.2 แนวคดิ และทฤษฎใี นการจดั แบงระบบกลุม หาดประเทศไทย การจัดแบงระบบกลุมหาดประเทศไทยเริ่มตนขึ้นในป พ.ศ. 2557 โดยกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง ไดเ ร่ิมนำแนวคิดเรื่องการจัดแบงระบบกลุมหาดมาใชใ นการจัดแบง ชายฝง ของประเทศไทย เพ่ือการ บรหิ ารจัดการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง ซึ่งในขณะน้ันหลักเกณฑที่นำมาใชในการแบงระบบกลุมหาด พิจารณาจากลักษณะทางธรณีสัณฐาน ไดแก หัวแหลม (Headland) ชายฝงหิน (Rocky Coast) และปาก แมน้ำ โดยพิจารณาภายใตเงื่อนไขที่วาทั้งสองดานของปากแมน้ำจะตองมีสมดุลตะกอนที่แนนอน ไมเกิดการเคลื่อนที่ของตะกอนไปมาแตหากมีการแลกเปลี่ยนตะกอนระหวางเซลล จะไมสามารถใชปาก แมน้ำบริเวณนั้นเปนตัวแบงระบบกลุมหาดได (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2557) แตละระบบ รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-5 กลุมหาด หรือ เซลลหลัก ถือวาเปนระบบปด กลาวคือไมมีการเคลื่อนยายหรือแลกเปลีย่ นตะกอนระหวาง ระบบกลมุ หาดหลัก การแบง ระบบกลุม หาดสามารถนำมาใชในการประเมินการเปล่ยี นแปลงชายฝงจากการ ดำเนนิ กิจกรรมตาง ๆ ในพ้นื ทีช่ ายฝง จากหลกั เกณฑด งั กลา วขางตน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงได แบง ขายฝงทะเล 23 จังหวัด ออกเปน 4 โซน รวมท้ังสน้ิ 64 กลมุ หาด (Littoral Cells) ดงั ตารางท่ี 2-1 2.3 ขอมูลประกอบการจดั แบงระบบกลุมหาดประเทศไทย ในป พ.ศ. 2560 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงรวมกับผูเชี่ยวชาญ และหนวยงานที่เกี่ยวของ ได รวมกันกำหนดขอมูลและหลักเกณฑที่ใชในการจัดแบงระบบกลุมหาด โดยนำแนวคิดและทฤษฎีในการจัดแบง ระบบกลมุ หาดของตางประเทศซึ่งอาศยั ทิศทางการเคลื่อนของตะกอนเปน สำคัญ รวมถึงแนวคิดและทฤษฎี ในการจัดแบงระบบกลุมหาดประเทศไทยท่ีอาศัยลกั ษณะทางธรณีสัณฐานเปน สำคัญ ซึ่งเปนการนำพ้ืนฐาน ดานสมุทรศาสตรท ี่เก่ียวกับกระบวนการชายฝงประกอบดว ย คลื่น ลม กระแสนำ้ น้ำขนึ้ นำ้ ลง ความลึกของ ทองน้ำ ความลาดชนั ของพื้นทองทะเล รวมถึงพ้ืนฐานดานธรณีวิทยา อันไดแ ก ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝง และลักษณะตะกอนหรือประเภทตะกอนบรเิ วณชายฝง พื้นฐานเหลา นี้ลวนแลวแตเปนปจ จัยที่มีอิทธพิ ลตอ การเคลอ่ื นทีข่ องตะกอน โดยขอ มลู ทีใ่ ชในการจดั แบงระบบกลมุ หาดประเทศไทยครงั้ นีป้ ระกอบดวย 1) สมุทรศาสตรฝงอา วไทยและอนั ดามนั 2) คลืน่ -ลม และทศิ ทางการเคลอ่ื นท่ีของตะกอน 3) ลักษณะทางธรณสี ณั ฐานชายฝง 4) ตะกอนบรเิ วณชายฝง 2.3.1 สมทุ รศาสตรฝงอา วไทยและอันดามนั กระบวนการชายฝง (coastal processes) มักมีการเกิดและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา กระบวนการ ชายฝงดานอาวไทยและดานอันดามันจะมีกระบวนการชายฝงที่แตกตางกัน เนื่องจากอิทธิพลหลักน้ัน แตกตางกัน อิทธิพลดังกลาวประกอบดวย กระแสลม คลื่น น้ำขึ้นน้ำลง กระแสน้ำ เมื่อกระบวนการชายฝง แตกตางกนั จะสง ผลใหสภาพแวดลอ มชายฝง ประเทศไทยแตกตา งกนั ออกไป 2.3.1.1 สมทุ รศาสตรช ายฝงอา วไทย สมุทรศาสตรชายฝงอาวไทย (โรงเรียนนายเรือ, 2550) กลาวถึงลักษณะชายฝงอาวไทย ดังนี้ ชายฝง อาวไทยมลี ักษณะเปนเอสทรู ีแ่ บบแมน ้ำในหุบเขาทีจ่ มน้ำ (drowned river valley) กน ทะเลเคยเปน ที่ราบที่เคยโผลพนน้ำมากอน บนกนทะเลจะมีรองน้ำโบราณที่ตอกับแมน้ำในปจจุบัน เชน แมน้ำแมกลอง แมน้ำบางปะกง แมน้ำจันทบุรี รองน้ำชุมพรรองน้ำหลังสวน รองน้ำสงขลา ที่กนอาวมีแมน้ำสำคัญ 4 สาย ไหลลงสูอาว คือ แมกลอง ทาจีน เจาพระยา และบางปะกง ตามลำดับ นอกจากนี้ฝงซายและขวาของ อา วไทยยังมแี มนำ้ สายสัน้ ๆ ที่ไหลลงสูอาวอกี หลายสาย อาวไทยเปน แองรองรบั ตะกอนจากแมน้ำท่ีไหลลงสู อาว จากการสำรวจพื้นทองทะเลของกรมอุทกศาสตรพบวาทองทะเลกลางอาวเปนโคลนปนทราย หรือ โคลน สวนทองทะเลอาวไทยฝงตะวันตกจะเปนโคลนปน-ทราย โคลนปนทรายขี้เปด ทรายปนโคลนและ ทราย เปนแหง ๆ ไป รายละเอียดขอ มลู สมทุ รศาสตรชายฝง อา วไทย มีดังนี้ รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-6 ตารางที่ 2-1 ระบบกลมุ หาดจำนวน 64 กลุมหาด ในประเทศไทย โซน Eastern Coast Upper Gulf Southern Gulf Andaman Sea of Thailand of Thailand A11 A28 E1 U S1 A1 โคกกลอย หาดไมข าว- เมอื งตราด-หาดเล็ก อา ว ก. ไก แหลมผกั เบ้ยี -ปราณบรุ ี แมน ำ้ กระบุรี หาดในยาง A12 E2 S2 A2 คลองเคียน A29 แหลมงอบ กยุ บุรี หงาว ในทอง-บางเทา E2 S3 A3 A13 แหลมงอบ อา วประจวบ มวงกลวง อาวพงั งา A30 E4 S4 A4 กมลา ทา ใหม- เพ คลองวาฬ-ทับสะแก กะเปอร A14 A31 E5 S5 A5 อา วลึก ปาตอง ระยอง-บานฉาง บางสะพาน-ชมุ พร สขุ สำราญ A15 A32 E6 S6 A6 ทา เลน กะรน สตั หีบ สวี-ทุงตะโก ครุ ะบรุ -ี น้ำเคม็ A16 A33 E7 S7 A7 อา วนาง พรหมเทพ จอมเทียน หลงั สวน-ทาชนะ บางสกั A17 A34 E8 S8 A8 ปากนา กระบี่ อาวฉลอง ช่ือระบบก ุลมหาด บางละมุง อา วตาป คกึ คกั A18 A35 E9 S9 A9 คลองทอ ม อาวภูเกต็ ศรรี าชา-บางแสน ขนอม-ทาศาลา เขาหลัก A19 A36 S10 A10 คลองพน เขาสเิ หร อา วปากพนงั ทายเหมอื ง A20 A37 S11 ปากน้ำสเิ กา สะป� แหลมตะลุมพกุ A21 A38 S12 ปากเมง ปา คลอก เทพา A22 A39 S13 อา วกันตัง อา วกงุ ปต ตาน-ี นราธวิ าส A23 A40 หมายเหตุ : ช่อื เรียกของแตล ะระบบกลมุ หาดเปนการนำช่ือสถานท่ีสำคัญหรอื สถานที่ อาวปะเหลียน อา วทา มะพรา ว ที่เปน ท่ีรจู กั มาต้งั ชื่อ เพ่ือใหทราบวา แตละระบบกลุมหาดอยูบ รเิ วณใด A24 A41 บุโบย-บอ เจด็ ลูก ทา ฉัตรชยั A25 ปากบารา A26 ทาแพ A27 ปากน้ำสตลู ทม่ี า: ดัดแปลงจากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2557 รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-7 • ความลึกของพื้นผิวทะเล มีทองทะเลคลายแองกระทะ สวนที่ลึกที่สุดของอาวไทย มีความลึกประมาณ 80 เมตร บริเวณรองน้ำลึกกลางอาว มีความลึกมากกวา 50 เมตร และยาวเขาไป จนถึงแนวระหวางเกาะชาง จังหวัดตราด กับ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ สวนกนอาว คือ อาวไทยตอนบนหรืออาวไทยรูปตัว “ก” มีรูปรางสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดประมาณ 100x100 ตาราง กโิ ลเมตร อาวไทยตอนบนมีความลกึ สูงสุดประมาณ 40 เมตร ทางฝงขวาของอาว สวนฝง ซายจะต้ืนเขินกวา ความลกึ เฉล่ียในอา วไทยตอนบนประมาณ 15 เมตร โดยอา วไทยถกู กั้นออกจากทะเลจีนใตดว ยสนั -เขาใตน้ำ 2 แนวทางฝงซายและขวาของอาวสันเขาใตน้ำฝงซายมีความลึกประมาณ 50 เมตร เปนแนวยาวจาก โกตา-บารู (รองน้ำโกลก) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 160 กิโลเมตร ทางฝงขวามีความลึก ประมาณ 25 เมตร เปน แนวยาวจากแหลมคาเมาไปทางทศิ ตะวันตกเฉียงใตประมาณ 100 กิโลเมตร และใน บริเวณรองน้ำลึกมชี ั้นแนวตั้งของเปลือกโลก (sill) ณ ทค่ี วามลึกประมาณ 67 เมตร ก้นั อยูซึ่งจะเปนเสมือน ตัวควบคุมการไหลของนำ้ ระดบั ลา งในอาวไทย • กระแสน้ำ กระแสน้ำเนื่องจากลมเหนือผิวน้ำ ลมหรือแรงเฉือน เนื่องจากลมทำใหเกิดชั้น มวลน้ำผิวหนาที่เคลื่อนที่เนื่องจากลม เรียกชั้นน้ำนี้วา Ekman layer (ประมาณ 50 เมตรในมหาสมุทร ใน อาวไทยอาจจะประมาณ 30-40 เมตร) การเคล่อื นทขี่ องมวลน้ำเรยี กวา Ekman transport ตามทฤษฎีแลว ลมจะทำใหนำ้ ผวิ หนา เคล่ือนทเ่ี บย่ี งไป 45 องศาทางขวาของทศิ ทางลมในซีกโลกเหนือ ใตผิวน้ำลงมาทิศทาง กระแสน้ำจะเบี่ยงมากกวา 45 องศา ขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงเบื้องลางของชั้นน้ำ Ekman layer ทิศทางของ กระแสน้ำจะตรงกันขามกับกระแสน้ำผิวหนา การเคลื่อนที่ของมวลน้ำสุทธิอยูในทิศ 90 องศา ทางขวามือ ของทิศทางลม สวนกระแสน้ำเนื่องจากน้ำทา ทำใหเกิดการไหลเวียนของน้ำแบบ Gravitational circulation กลาวคอื น้ำทา จะไหลออกสูทะเลทางชั้นบนขณะที่เหนีย่ วนำใหน ้ำทะเลไหลเขาแมน้ำทางดาน ลา ง นำ้ ทา จะมีความหนาแนนต่ำกวาน้ำทะเลจงึ ลอยตวั อยูเ หนือนำ้ ทะเลจนกวา จะมีกระแสนำ้ คลน่ื ชวยเรง การผสมผสานน้ำทากับน้ำทะเลดานลางเกิดเปนน้ำชายฝงซึ่งมีความเค็มต่ำกวาน้ำทะเล น้ำทาจะมีผลตอ ความเคม็ ของน้ำในอาวคอนขา งมาก และมผี ลตอการไหลเวียนของน้ำในอาวคอนขา งนอย เนือ่ งจากปริมาณ น้ำทาที่ไหลลงอาวไทยตอปนอยกวาปริมาณน้ำในอาวคอนขางมาก (นอยกวา 50-100 เทา) กระแสน้ำ เนอื่ งจากความแตกตางของความหนาแนน นำ้ ความหนาแนนน้ำที่แตกตางกันทำใหเ กดิ การไหลเวียนของน้ำ ทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ผลการศึกษาขอมูลทางฟสิกสของมหาสุมทรตามรายงาน The Oceans Their Physics, Chemistry, and General Biology (Sverdrup, Johnson, & Fleming, 1942) พบวาในกระแสน้ำ ในมหาสมุทรในซีกโลกเหนือจะไหลตั้งฉากกบั เสนความเอียง (slope) ของความหนาแนนของมวลน้ำผิวหนาใน ลักษณะที่มวลน้ำที่มีความหนาแนนนอยกวาจะอยูทางขวามือของผูสังเกตเมื่อหันหนาไปทางแนวทางการ เคลอื่ นท่ีของกระแสน้ำ จากการศึกษาการวิเคราะหการเปล่ียนแปลงของกระแสน้ำบริเวณพืน้ ผิวตามฤดูกาลใน พื้นที่อาวไทยตะวันออก ตอนกลาง และอาวไทยตอนลาง (SOJISUPORN, MORIMOTO, & YANAGI, 2010 ) ดังรูปที่ 2-3 พบวา พื้นที่อาวไทยตะวันออก อาวไทยตอนกลาง และอาวไทยตอนลาง แบงการไหลเวียนของ กระแสนำ้ ทผี่ วิ หนาตามชว งเวลาไดดังนี้ - ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeast monsoon: พฤศจิกายน - กุมภาพันธ) การไหลของกระแสน้ำที่ผิวหนา มีทิศทางไหลตามเข็มนาิกา กระแสน้ำในบริเวณอาวไทยตอนลางอาจ ไดรับอิทธิพลของน้ำจากทะเลจีนใตมากกวาบริเวณอาวไทยตอนบน ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมวลน้ำ ในอาวไทยไดรับอิทธิพลของน้ำจากทะเลจีนใตที่ไหลเขาสูอาวไทยและน้ำทาจากแมน้ำโขงที่ไหลเขาสูอาว ไทยตามทศิ ทางของลมมรสุมทำใหร ะดบั น้ำในอาวสงู ขน้ึ ทำใหการเกดิ นำ้ ผุดลดลง และเกดิ นำ้ ทะเลหนุนเขา ไปยงั บริเวณกนอา วไทยตอนใน รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-8 - ชวงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต (Southwest monsoon: พฤษภาคม - กันยายน) ทศิ ทางการไหลของกระแสน้ำมีทิศทวนเข็มนาิกา กระแสน้ำชัน้ บนไหลออกจากอาวไทยทำใหระดับน้ำทะเล ในอาวลดต่ำลง มวลชั้นลางที่เค็มกวา 33 psu และอุณหภูมิต่ำจะผุดขึ้นมาแทนที่ในบริเวณชายฝงตะวันตก ของอาวไทย และบริเวณในสุดของอาวไทยตอนลาง มวลน้ำชั้นลางนี้ไหลเขามาจากทะเลจีนใตทางปากอาว ไทยฝง ตะวนั ออกและไหลวนออกทะเลจีนใตท างฝง ตะวันตกของปากอาว - ชวงเปลี่ยนมรสุมในเดือนตุลาคม ความเร็วลมลดลง ทำใหการเกิดน้ำผุดลดนอยลง มวลของน้ำจะถูกพัดพาเขาสูอาวไทยบริเวณกึ่งกลางของอาวไทยจนถึงแนวชายฝงตะวันออก กอนที่จะเริ่ม เคลือ่ นท่แี บบทวนเข็มนากิ าท่บี ริเวณดานทศิ ตะวนั ตก และตอนลางอา วไทย - ชวงเปลี่ยนมรสุมในเดือนมีนาคม-เมษายน มีทิศทางการไหลเขาสูอาวไทย การ ไหลเวียนของน้ำในอาวไทยมีลักษณะคลา ยกับในชวงฤดูมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือ รูปท่ี 2-3 คา เฉลยี่ ของการไหลเวยี นกระแสน้ำท่ผี วิ หนา ในพ้นื ทีอาวไทยตะวันออก อา วไทยตอนกลาง และอาวไทยตอนลา ง ในแตละฤดมู รสุมและชว งเปลีย่ นฤดูมรสุม ทีม่ า: SOJISUPORN, MORIMOTO, & YANAGI, 2010 รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-9 รปู แบบการไหลเวยี นของกระแสน้ำในบริเวณอาวไทยตอนบนโดยใชแบบจำลองกระแสน้ำ (Buranapratheprat, Yanagi, & Sawangwong, 2002) ซึ่งใชขอมูลลมเฉลี่ยรายเดือนจาก ECMWF (European Center of Medium Range Weather Forecast) ในป พ.ศ. 2533 ถึงป พ.ศ. 2541 ประกอบกับ น้ำขึน้ -น้ำลง ซ่งึ คำนวณจากระดับน้ำท่ีทางฝงตะวนั ออก (สัตหีบ) และระดับน้ำทางฝงตะวันตก (หวั หิน) โดยใช เทคนิคการวิเคราะหแบบฮารโมนิก ผลการศึกษา พบวาการไหลเวียนกระแสน้ำในบริเวณอาวไทยตอนบนแบง ออกเปนชว ง ๆ แสดงในรูปที่ 2-4 มรี ายละเอียดในแตละชว งดงั นี้ - ชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ) ในชวงเวลาดังกลาว ถาปริมาณน้ำทาไหลเขามาชากวาปกติและมวลน้ำที่ลมพัดเขามามีความแรงและเร็วจะทำใหเกิดน้ำผุด (up welling) ลดลง และรูปแบบการไหลเวียนกระแสน้ำในบริเวณอาวไทยตอนบนชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ กระแสน้ำไหลเขาทางดานลางฝงทิศตะวันออกของอาวไทยตอนบนไหลเลียบขึ้นและเบนออกทางซายของ อาวไทย และไหลออกทางฝงตะวันตกของอาว ในภาพรวมกระแสน้ำมีทิศทางการไหลเบนไปทางซาย (ทาง ตะวันตก) ของอา วและไหลออกทางฝงตะวันตกของอา ว (ทิศทางการไหลแบบทวนเขม็ นาิกา) - ชวงเปลี่ยนฤดูมรสุมจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเปนมรสุมตะวันตกเฉียงใต (มีนาคม-เมษายน) กระแสน้ำในชวงเวลานี้มีลักษณะไมแนนอน เนื่องจากเปนชวงเปลี่ยนฤดูมรสุม และ กระแสนำ้ จะไหลชากวาในชวงฤดมู รสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือ - ชวงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต (พฤษภาคม-กันยายน) มวลน้ำไหลแยกออกเปน 2 สว น คอื มวลนำ้ มกี ารไหลเลยี บขึ้นทางฝง ตะวนั ตกของอา วไทยตอนบนและไหลแบบวงวนในทิศทางตามเข็ม นาิกาและไหลเบนไปทางขวา (ฝงตะวันออก) ของอาวและไหลออกทางชายฝงตะวันออกของอาวไทย ตอนบน สวนในตอนลางของอาวไทยตอนบนพบวาน้ำจะไหลขึ้นไปบริเวณตอนกลางของอาวไทยตอนบน และไหลออกทางฝงตะวันออก ลักษณะการไหลแยกตัวออกจากันระหวางตอนบนของอาวไทยและตอนลาง ของอาวไทยจะทำใหเกิดกระแสน้ำผุดในบริเวณตอนกลาวไทยตอนบน รูปแบบการไหลเวียนของมวลน้ำท่ี เปนวงวนในรูปแบบตามเข็มนาิกานี้เปนผลเนื่องมาจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่ดันน้ำขึ้น ทางดานบนแลว เบนไปทางขวาตามหลักของ Ekman Transport - ชวงเปลี่ยนฤดูมรสุมจากมรสุมตะวันตกเฉียงใตเปนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ตุลาคม) ลักษณะการไหลเวียนของกระแสน้ำในชวงเดือนกันยายน - ตุลาคม กระแสน้ำมีทั้งไหลออกจาก ทางตอนบนของฝงตะวันออกและทางฝงตะวันตก เสมือนกับไหลออกจากปากอาวไทยตอนบน เนื่องจาก เปนชวงฤดูนำ้ หลากมวลน้ำทางฝงตะวันตกและฝงตะวันออกของอาวไทยตอนบนจะมีระดบั น้ำท่ีสูงกวามวล น้ำทางดานลางของอาวตอนบนที่มีระดับน้ำสูงกวาผลักดันมวลน้ำไหลลงสูดานลางของอาว ซึ่งมีมวลน้ำท่ี ระดบั ตำ่ กวา • การขึ้นลงของน้ำทะเล การขึ้นลงของน้ำทะเลบริเวณชายฝงทะเลอาวไทย เปนแบบน้ำ เดี่ยว (diurnal) คือเกิดน้ำขน้ึ 1 คร้ัง และ น้ำลง 1 ครง้ั ตอ วัน เนือ่ งจากอาวไทยเปนอาวต้ืน มีกน อา วขรุขระ ไมราบเรียบ การเดินทางของคลื่นน้ำขึ้น-น้ำลง จึงไมสม่ำเสมอกัน เมื่อคลื่นน้ำขึ้นเดินทางเขามาในอาวแลว กจ็ ะสะทอ นกลับทำใหเ กดิ แรงหักลางกนั และเปนผลใหม นี ำ้ ขน้ึ นำ้ ลงเหลือเพยี งวันละหน่งึ คร้ัง และการขึ้นลง ของน้ำทะเลบริเวณชายฝงทะเลอาวไทยยังมลี ักษณะเปน แบบนำ้ ผสม (mixed tide) คอื มีการขนึ้ -ลงของน้ำ ทะเลสองครั้งตอวัน แตระดับน้ำทะเลที่ขึ้นลงสองครั้งมีขนาดไมเทากันอีกดวย ระดับการขึ้นลงของน้ำ ณ สถานีตรวจวดั ของกรมอุทกศาสตรกองทัพเรอื ทีเ่ กาะปราบ จังหวัดสุราษฎรธานี มีระดับนำ้ ขึ้นสงู สุดและนำ้ ลงต่ำสุด เทากับ 2.93 และ 0.32 เมตร ตามลำดับ ชวงความแตกตางของน้ำทะเล (tidal range) เทากับ 2.61 เมตร (กรมอุทกศาตร, 2556) ดงั รปู ที่ 2-5 รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-10 รปู ที่ 2-4 กระแสน้ำบริเวณอาวไทยตอนบนท่ีใชขอมูลลมจาก ECMWF ชวงฤดูมรสุมและชว งเปลยี่ นฤดูมรสุม ที่มา: Buranapratheprat, Yanagi, & Sawangwong, 2002 • คลื่นและลมมรสุม มีคลื่นเกิดตามชวงมรสุม โดยมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะทำ ใหเกิดคลื่นขนาดใหญกวาปกติในบริเวณอาวไทยดานตะวันตก สวนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะทำใหเกิด คลนื่ ขนาดใหญกวา ปกติในบริเวณอา วไทยดานตะวนั ออก สำหรับอา วไทยตอนบนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ที่พัดผานจะมีกำลังออนและเกิดชวงสั้นๆ จึงทำใหคลื่นในบริเวณนี้มีขนาดไมใหญมากนัก โดยปกติคลื่นใน อาวไทยจะมขี นาดเล็กความสูงประมาณ 1-2 เมตร สวนคลืน่ ทมี่ ผี ลกระทบตอ ชายฝง จะตองพิจารณาถึงคาบ ของคล่นื (wave period) ดว ย เชน คล่นื ขนาดเล็กท่มี ีคาบของคลน่ื ยาวจะกอใหเ กิดผลกระทบมากกวาคลื่น ขนาดใหญแ ตค าบคล่ืนส้นั (กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง, 2562) 2.3.1.2 สมุทรศาสตรชายฝง อนั ดามนั ลักษณะชายฝงทะเลของพื้นที่กลมุ จังหวดั ภาคใตฝ งอันดามัน มีลกั ษณะเปนชายฝงทะเลยุบตัวลง หรือจมตัว ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะสัณฐานชายฝงครั้งใหญ เมื่อประมาณ 65 ลานปมาแลว ในยุคเทอรเชียรร ี่ การจมตัวของชายฝงทำใหชายฝงทะเลของพื้นที่มีความลาดชนั และเกิดเปน แนวไมราบเรียบ เวาแหวง มีอาวและเกาะแกงมากมาย ทเ่ี ห็นไดชัดเจน คอื บรเิ วณปากแมน้ำกระบุรี จังหวดั ระนอง เกาะสำคัญ ไดแก เกาะภูเก็ต เกาะตะรุเตา เกาะลันตา เกาะลิบง เกาะพระทอง และเกาะยาวใหญ บริเวณชายฝงทะเลบาง แหง น้ำทะเลทวมถึง มีปาชายเลนขึ้นอยู ตั้งแตอาวพังงาลงไปถึงจังหวัดตรัง และพบรองรอยการกัดเซาะแนว ชายฝง ตามอาวตาง ๆ บา ง เชน บรเิ วณอาวฉลอง อา วภเู ก็ต อา วราไวย และอา วมะพราว เปนตน รายละเอียด ขอมูลสมุทรศาสตรชายฝงทะเลอันดามัน (สำนักบริหารยุทธศาสตรกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน, 2555) มดี ังนี้ รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-11 รปู ที่ 2-5 น้ำข้นึ นำ้ ลง ในภาพรวมของประเทศไทย ทีม่ า: ระบบฐานขอมลู กลางและมาตรฐานขอมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2562 • ความลึกของพื้นผิวทะเล บริเวณชายฝงทะเลของพื้นที่กลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน แบงได 2 พ้นื ท่ตี ามเสน ชัน้ ความลึกของน้ำทะเล ซงึ่ กอ ใหเ กิดความหลากหลายของแนวปะการังท้ังชนิดและ ปริมาณ คือ ผิวพื้นทะเลบริเวณชายฝงทะเลจังหวัดระนอง พังงาฝงตะวันตกและภูเก็ตฝงตะวันตก ทรวดทรงของพื้นทะเลมีความลาดชนั สงู มีความลกึ นำ้ เฉล่ียประมาณ 1,000 เมตร โดยเฉพาะบรเิ วณแองอัน ดามันซึ่งเปนบริเวณที่ทะเลไทยมีความลึกมากที่สุด ประมาณ 3,000 เมตร ลักษณะพื้นทะเลเปนทรายและ ทรายปนโคลน ในขณะที่พน้ื ผวิ ทะเลบริเวณชายฝง ทะเลบริเวณจังหวัดพงั งาฝงใต ภเู กต็ ฝงตะวันออก กระบ่ี รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-12 และตรัง มีความลาดเทนอย สวนของไหลทวีปมีความลึกไมเกิน 300 เมตร (กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง , 2562) • กระแสน้ำ กระแสน้ำในทะเลอันดามันตามขอมูลฐานขอมูลความรูทางทะเล (กรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝง, 2562) กลาววา กระแสน้ำในทะเลอันดามันในชวงมรสุมมีความแรงต่ำกวาในชว งเปลีย่ น มรสุม ในชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกระแสน้ำในทะเลอันดามันมที ิศจากใตไปทางเหนือและตะวันตกเฉียง เหนือ เนื่องจากมี North equatorial Current ที่มีความเร็ว 0.3 เมตร/วินาที ไหลจากชองแคบมะละกา ผานทะเลอนั ดามนั ไปยงั ศรีลงั กา สวนในชว งมรสุมตะวันตกเฉยี งใตโดยเฉพาะในชวงเดือนกรกฎาคมถึงเดือน กันยายนกระแสน้ำ norther Indian Ocean (ความเร็ว 0.7 เมตร/วินาที) ไหลจากอาวเบงกอลเขาสูทะเล อันดามัน ชวงเปล่ียนมรสุมทั้งสองชว งมกี ระแสน้ำ Indian Equatorial current ที่มีความเร็ว 1.0-1.3 เมตร/ วินาที ไหลจากทิศตะวันออกเขาสูทะเลอันดามัน (Brown, 2007 เชนเดียวกับการศึกษาของ Rizal, et al., 2012) ที่ใชแ บบจำลองที่รวมถึงอิทธิพลของกระแสน้ำขึ้น-น้ำลง ลม และการแลกเปลี่ยนความรอน เพื่อศึกษา การกระแสน้ำที่ผิวในทะเลอันดามันและไดผลสอดคลองกับการศึกษาในอดีต กระแสน้ำในทะเลอันดามัน บริเวณพื้นที่กลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุม กอใหเกิดการไหลเวียนของน้ำใน ทิศทางตาง ๆ ซึ่งอาจแบงได 2 ลักษณะ คือ กระแสน้ำที่มีทิศทางไมแนนอน (turbulence) บริเวณชายฝง ทะเลดานใตจังหวัดระนอง และภูเก็ตฝงตะวันตก และกระแสน้ำที่มีทิศทางแนนอน พบบริเวณชายฝงทะเล ดา นเหนอื ของจงั หวดั ระนอง ดานใตและดา นตะวันออกของจังหวดั ภเู ก็ตดงั รูปที่ 2-6 และสามารถสรุปไดด งั น้ี - กระแสน้ำบรเิ วณชายฝงทะเลดา นใตจังหวัดระนอง และภูเกต็ ฝง ตะวันตก มีลักษณะ ทิศทางไหลไมแนนอน รูปแบบจะเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา อาจเนื่องมาจากลักษณะชายฝง สภาพภูมิประเทศ หรือเกิดจากการผสมผสานของลักษณะการเกิดของกระแสน้ำแตละประเภท ที่ไมมีประเภทหนึ่งประเภทใดแสดงลักษณะเดนมาเปนอิทธิพลตอกัน โดยปกติแลวถาเปนทะเลเปด กระแสนำ้ มักจะมีรปู แบบเปน turbulence มากกวาทะเลปด - กระแสน้ำบริเวณชายฝงทะเลดานเหนือของจังหวัดระนอง ดานใตและดาน ตะวันออกของจงั หวดั ภูเกต็ มลี ักษณะแบบ tidal current เปนไปตามรปู แบบอิทธิพลน้ำข้ึนน้ำลง โดยชวง นำ้ ขน้ึ กระแสน้ำจะไหลจากดานใตข องเกาะแมทธิวไปยังดานตะวันออกสูป ากนำ้ ระนอง และไหลจากดานใต ของเกาะภเู ก็ตไปยงั ดา นตะวนั ออกของเกาะบริเวณอา วพังงาและไหลในทศิ ทางตรงกันขา มในชว งนำ้ ลง (ก) (ข) รูปที่ 2-6 การไหลเวียนของกระแสน้ำ (surface current) ในทะเลอนั ดามัน ท่ีเกิดจากกระแสน้ำข้นึ - น้ำลง ลมและการถายเทความรอน ก) มรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ ข) มรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต ทีม่ า: Syamsul Rizal et al., 2012 รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-13 กระแสน้ำลักษณะตาง ๆ เหลานี้จะสงผลกระทบตอสภาพสิ่งแวดลอมหลายประการ เชน ความขุนของน้ำ ทอ่ี ยอู าศัยของสตั วน้ำ เปน ตน และยงั เกิดอทิ ธพิ ลตาง ๆ ในแตล ะฝง ของของพื้นที่กลมุ จังหวัด ภาคใตฝงอันดามันไมเหมือนกัน นอกจากนั้น รูปแบบของกระแสน้ำบริเวณจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดระนอง ดังกลา ว สง ผลใหบ รเิ วณดานใตแ ละดา นตะวันออกของเกาะภูเกต็ และบรเิ วณปากแมน ำ้ ระนอง ซึง่ กระแสน้ำมี ทิศทางแนนอนเปนบางชวง ทำใหการตกตะกอนและการพัดพาตะกอนคอนขางดีกวา เอื้ออำนวยตอการ เกิดขึ้นและดำรงอยูของปาชายเลนในดานนี้ดีกวาดานตะวันตก ซึ่งมีกระแสน้ำที่ไมแนนอนจะทำใหการ ตกตะกอนลาชาและชวยในการพดั พาตะกอนนอย • การขึ้นลงของน้ำทะเล บริเวณชายฝงทะเลของพื้นที่กลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน มี ลักษณะเปนแบบน้ำคหู รอื น้ำขนึ้ ลงวนั ละ 2 คร้งั (semidiurnal tide) โดยมีระดับการข้ึนลงของนำ้ ณ สถานี ตรวจวดั ของกรมอุทกศาสตรก องทัพเรือท่เี กาะตะเภานอย จงั หวัดภูเก็ต มีระดบั น้ำขึน้ สงู สุดและน้ำลงต่ำสุด เทากับ 3.60 และ 0.38 เมตร ตามลำดับ ชวงความแตกตางของน้ำทะเล (tidal range) เทากับ 3.22 เมตร (กรมอุทกศาสตร, 2556) • คลื่นและลมมรสุม บริเวณชายฝงทะเลของพื้นที่กลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามันดานทิศ ตะวันตก จะพบคลื่นผิวน้ำ ในระยะเวลานาน คือ ในรอบ 1 ป จะมีระยะเวลาถึง 6 เดือน ที่มีลมและคลื่น เคลื่อนเขาสูชายฝงทะเลดานทศิ ตะวันตกของพื้นที่ โดยมีความเร็วปานกลางเฉลี่ยประมาณ 7.20 กิโลเมตร ตอชั่วโมงและความเร็วสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 69 กิโลเมตรตอชั่วโมง และกอใหเกิดคลื่นสูง 0.43 เมตร และ 4.15 เมตร ตามลำดับ ซึ่งมักจะเปนคลื่นที่มีอิทธิพลตอการกัดเซาะพังทลายของชายฝงได สวนบริเวณ ชายฝงดานตะวันออกของจังหวัดภูเก็ต จะพบวา คลื่นมีอิทธิพลตอบริเวณนี้นอยมาก ซึ่งทำใหบริเวณสวน ใหญ โดยเฉพาะบริเวณอาวภูเก็ตจะมีอัตราการตกตะกอนคอนขางสูง อันจะเห็นไดจากตะกอนเลนบริเวณ สะพานหนิ ทข่ี ยายออกไปจากชายฝงจนทำใหพ้นื ทองทะเลบริเวณนมี้ ลี กั ษณะตน้ื เขนิ 2.3.2 คล่ืน-ลม และทศิ ทางการเคล่ือนที่ของตะกอน 2.3.2.1 คลืน่ ทเ่ี กดิ ตามชวงมรสุมในประเทศไทย ชายฝงทะเลประเทศไทยทะเลอาวไทยและทะเลอันดามันไดรับอิทธิพลของคลื่นจากลมมรสมุ หลัก 2 ทิศทางดวยกัน คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ชายฝงดานทะเล อา วไทยและทะเลอันดามนั จะไดรับผลกระทบคล่นื ทแี่ ตกตา งกนั จากลมมรสมุ ท้งั 2 ทศิ ทาง ดงั นี้ • ฝง ทะเลอาวไทย คลื่นเกดิ ตามชวงมรสมุ โดยมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื จะทำใหเ กิดคลื่น ขนาดใหญกวาปกติในบริเวณอาวไทยดานตะวันตก สวนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะทำใหเกิดคลื่นขนาด ใหญกวาปกติในบริเวณอาวไทยดานตะวันออก สำหรับอาวไทยตอนบนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดผาน จะมกี ำลงั ออนและเกิดชวงสั้นๆ จึงทำใหคลน่ื ในบรเิ วณน้ีมขี นาดไมใหญมากนัก โดยปกติคล่ืนในอาวไทยจะ มีขนาดเล็กความสูงประมาณ 1-2 เมตร สวนคลื่นที่มีผลกระทบตอชายฝงจะตองพิจารณาถึงคาบของคลื่น (wave period) ดวย เชน คลื่นขนาดเล็กที่มีคาบของคลื่นยาวจะกอใหเกิดผลกระทบมากกวาคลื่นขนาด ใหญแตคาบคลืน่ ส้นั (กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง, 2562) • ฝงทะเลอันดามัน คลื่นจะเกิดจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต มีขนาดใหญและเคลื่อนที่ เขาหาฝง โดยทิศทางของคลื่นจะเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะภูมิประเทศและความลึกของทองทะเล ฝง ทะเลอาวไทย คล่นื เกดิ ตามชว งมรสุม โดยมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะทำใหเกิดคลน่ื ขนาดใหญก วาปกติใน บริเวณอาวไทยดานตะวันตก สวนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะทำใหเกิดคลื่นขนาดใหญกวาปกติในบริเวณ อาวไทยดานตะวันออก สำหรับอาวไทยตอนบนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดผานจะมีกำลังออนและเกิด รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-14 ชวงสั้นๆ จึงทำใหคลื่นในบริเวณนี้มีขนาดไมใหญมากนัก โดยปกติคลื่นในอาวไทยจะมีขนาดเล็กความสูง ประมาณ 1-2 เมตร สวนคล่นื ท่มี ผี ลกระทบตอชายฝงจะตอ งพจิ ารณาถึงคาบของคลนื่ (wave period) ดวย เชน คลื่นขนาดเล็กที่มีคาบของคลื่นยาวจะกอใหเกิดผลกระทบมากกวาคลื่นขนาดใหญแตคาบคลื่นส้ัน (กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง, 2562) 2.3.2.2 ลมมรสุม พื้นที่ชายฝงทะเลของประเทศไทยมีลมมรสุมหลัก 2 มรสุม ไดแก มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2562) • ฝงทะเลอา วไทย ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือในชวงกลางเดือน ตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ ซึ่งจะทำใหเกิดคลื่นลมแรงและฝนตกในอาวไทยดานตะวันตก (ภาคใต) สวนลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใตจ ะอยูในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ซ่ึงจะพัดพาความชุมชื้นจากอาว ไทยเขา ฝง ทำใหฝนตก คลน่ื ลมแรงบรเิ วณชายฝง อาวไทยตอนบนและฝงตะวันออก และชวงลมมรสมุ เปลี่ยน ทิศในชว งเดอื นมนี าคมและเมษายนคลน่ื ลมในอาวไทยจะคอ นขางสงบ • ฝงทะเลอันดามัน ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตในชวงกลางเดือน พฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เปนลมที่มีความช้ืนสงู และทำใหเกิดฝนตกชุก ลมจะมีกำลังแรงมากในชวง เดือนสิงหาคมและกันยายน สวนลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะพัดผานในชวงกลางเดือนตุลาคมถึง กุมภาพันธ จะไมม ฝี นตกและเปนชวงทองเท่ียว การศกึ ษาขอมลู คล่ืน-ลม เปน การศกึ ษาเพ่ือนำขอมูลมาวิเคราะหแจกแจงความถี่ทางสถิติ เพื่อหาขนาดและทิศทางของคลื่นที่เคลื่อนที่เขา สูชายฝงของประเทศไทย คลื่นที่เคลือ่ นที่เขาสูชายฝง จะ แตกตางกันไปตามฤดูกาลและตำแหนงที่ตั้งของชายฝง บริเวณที่มีคลื่นสูงก็มีแนวโนมที่จะเกิดการกัดเซาะ ชายฝงมากกวาบริเวณอื่น ทิศทางของคลื่นสามารถใชวิเคราะหทิศทางของตะกอนหรือมวลทรายชายฝงที่ เคลือ่ นทีไ่ ด ดังนั้นการวเิ คราะหขอ มูลคลื่นจึงมคี วามสำคญั ขนั้ พ้นื ฐาน โดยสว นมากในการวิเคราะหขอมูล คลื่นจะใชวิธีการวเิ คราะหของศูนยวิจัยวิศวกรรมชายฝงของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ซึ่งขอมูลคลื่นที่จะใช ในการคำนวณนั้นตองไดรับการปรับเทียบ/ปรับแกกับขอมูลที่วดั ไดจากภาคสนามกอน ทั้งนี้ก็เพื่อใหขอมลู คลื่นมีความถูกตอง ผลการคำนวณจะไดขอมูลคลื่นในระยะยาวและนำมาใชในการวิเคราะหทางสถิติตอไป การวิเคราะหคาทางสถิติของคลื่นจะทำการวิเคราะหการกระจายขนาดและทิศทางของคลื่นที่ไดจากการ ตรวจวัดในภาคสนามหรือจากทุนสำรวจ โดยจะทำการวิเคราะหคารายเดือน รายป และรายฤดูกาล เพื่อศึกษาลักษณะของคลื่นที่เกิดขึ้น โดยสวนมากผลการวิเคราะหขอมูลคลื่นจะแสดงในลักษณะผังคล่ืน (Wave Rose) รายป และรายฤดูกาล (ดังตัวอยางรูปที่ 2-7) ซึ่งจะแสดงการกระจายขนาดและทิศทางของ คล่นื ทำใหสามารถมองเห็นแนวโนมของทิศทางและขนาดคล่ืนที่จะมผี ลกระทบตอพน้ื ที่ จากน้ันจะนำขอมูล คล่นื รายปและขอ มลู คลนื่ แตละฤดูกาลไปใชในการคำนวณปริมาณการเคลื่อนตัวของมวลทรายชายฝง ตอไป รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-15 รปู ท่ี 2-7 ผังแสดงความสูง และทิศทางของคลืน่ ที่ไดจ าก การคำนวณดว ยแบบจำลองคล่ืน WAM-TMD ท่ีมา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2561 2.3.2.3 การเคล่อื นตัวของตะกอนชายฝง การเคลื่อนตัวของมวลทรายชายฝงนั้นเกิดจากการที่คลืน่ จากบริเวณน้ำลึกเคลื่อนที่เขาสูบ รเิ วณ น้ำตื้นกอใหเกิดการแตกตัวของคลื่น เปนผลใหมวลทรายลอยตัวขึ้นมาจากทองน้ำและเกิดการฟุงกระจาย มวลทรายท่ีฟุงกระจายจะถูกพัดพาไปกับกระแสน้ำชายฝง (Longshore Current) กระแสน้ำชายฝงจะเกิดเมื่อ คล่นื แตกตวั จะผลักดนั ใหมีทิศทากงการเคล่ือนที่ขนานกบั ชายฝง โดยกระแสน้ำชายฝงจะมีความเร็วไมมากนัก แตจะคอยๆ พัดทรายใหเคลื่อนที่ไปในทิศทากงที่ขนานกับชายฝง การวเิ คราะหก ารเคล่ือนท่ีของมวลทราย/การ วิเคราะหการเคลื่อนตัวของตะกอนชายฝง วิธีที่ใชในการวิเคราะหปริมาณการเคลื่อนตัวของมวลทรายขนาน ชายฝง และไดรับการยอมรับอยางแพรหลายไดแก วิธีของของศูนยวิจัยวิศวกรรมชายฝงของสหรัฐอเมริกา (Coastal Engineering Research Center, CERC) โดยมีแนวคิดหล ักคือ ป ร ิ ม า ณ ม ว ล ท ร า ย มีความสัมพันธเปนปฏิภาคตรงกับพลังงานคลื่นในแนวขนานชายฝง (USACE, 1984) การเคลื่อนที่ของ มวลทรายชายฝงนั้นจะเปลี่ยนแปลงตามมุมของคลื่นที่กระทำกับแนวชายฝง คาบการเกิดคลื่น และความสูง คล่ืน (กรมโยธาธิการและผังเมือง, 2552) ปรมิ าณตะกอนทรายที่เคลื่อนตวั หรือถูกพัดพาไปพรอมกับกระแสน้ำ ชายฝง ดังรูปที่ 2-8 ปริมาณตะกอนเหลานี้เรียกวา ปริมาณตะกอนที่เคลื่อนที่ขนานชายฝง (Longshore sediment transport) การเคลื่อนตัวของมวลทรายชายฝงเหลานี้ ทั้งปริมาณและทิศทางจะเปลี่ยนไปตาม ลักษณะของคลนื่ แตล ะฤดูกาล รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-16 รปู ท่ี 2-8 การเกิดกระแสนำ้ ชายฝง (Longshore current) หลงั จากคล่นื แตกตัว ที่มา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2561 ในการจัดแบงระบบกลุมหาดประเทศไทยครั้งนี้ จะใช “ปริมาณตะกอนที่เคลื่อนที่ขนาน ชายฝงสุทธิ (Longshore sediment transport)” หรือการเคลื่อนตัวของตะกอนชายฝงสุทธิ เปนหลักเกณฑสำคัญที่ใชแบงแตละระบบออกจากกัน ซึ่งการเคลื่อนตัวของตะกอนชายฝงสุทธิคือ ปริมาณตะกอนที่เคลือ่ นทีไ่ ปทั้งทางซายและขวา ซึ่งมีทิศทางตรงขามกัน หลังจากหักลบกันแลวก็จะไดเปน ทศิ ทางสุทธขิ องการเคลอ่ื นทข่ี องตะกอนของพน้ื ทีน่ ้นั ในแตล ะป ตะกอนทีเ่ คล่อื นท่ีขนานกับชายฝง หรือมวล ทรายทเ่ี คลอื่ นท่ีขนานกับชายฝง มีทิศทางการเคลื่อนทจี่ ะสงั เกตเห็นไดบริเวณปากแมน ้ำหรือคลองที่ระบาย ลงสูทะเลตาง ๆ ที่มสี ันทรายมาปด และทศิ ทางการงอกเงยของสันทราย (Sand spit) จะเปนตัวช้ีใหเห็นถึง ทิศทางการเคลื่อนที่ของมวลทรายชายฝงในภาพรวมหรือในระยะยาว ในแตละพื้นที่ของประเทศไทย การเคลอื่ นท่ีของมวลทรายชายฝงจะเปนระยะทางสั้นๆ และแคบ มรี ะยะทางต้งั แตชายฝง ไปจนถึงตำแหนง ที่คลื่นแตกตัว เชน มีระยะทางประมาณ 100-300 เมตร เทานั้น เมื่อหางออกจากระยะทางที่คลื่นแตกตัว กระแสน้ำชายฝงก็จะนอยลง มวลทรายก็จะเคลื่อนที่ไดนอยลงเชนกัน การเคลื่อนตัวของมวลทรายหรือ ตะกอนลักษณะที่ 2 เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เขาสูชายฝง คลื่นที่มีความรุนแรงหรือมีความสูงมาก เชน คลื่นจาก พายุ สามารถพัดพาตะกอนทรายในชายฝงออกนอกชายฝงไป ดังแสดงในรูปที่ 2-9 ปริมาณมวลทราย เหลานี้ก็จะถูกพัดพาออกไป และตกตะกอนทับถมกัน เรียกวาสันทราย (Sand bar) ซึ่งจะอยูไมไกลจาก ชายฝงมากนกั รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-17 รปู ที่ 2-9 การเคล่ือนตวั ของมวลทรายออกนอกฝง (Offshore sediment transport) ทม่ี า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2561 2.3.2.3.1 ฝง ทะเลอาวไทย จากการรวบรวมขอมูลการเคลื่อนตัวของตะกอนชายฝงสุทธิบริเวณฝงทะเลอาวไทย สามารถสรุปไดดงั น้ี • จังหวัดตราด – จังหวดั จันทบุรี ในป พ.ศ. 2548 กรมเจาทาไดดำเนินการศึกษาสำรวจออกแบบเพื่อกอสรางทา เรือ อเนกประสงคบริเวณพื้นที่อำเภอคลองใหญ ผลจากการศึกษาพบวา การเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงใน บริเวณดังกลาวมี 2 ทิศทาง คือ ตะกอนชายฝงเคลื่อนที่ไปยังทิศเหนือปริมาณรวมเฉลี่ย 36,860 ลูกบาศก เมตรตอป และตะกอนชายฝงท่ีเคลื่อนที่ลงไปทศิ ใตปริมาณรวมเฉลี่ย 6,695 ลูกบาศกเมตรตอป โดยตลอด ทงั้ ปการเคลอ่ื นตวั ของตะกอนชายฝง สุทธมิ ีทิศทางการเคลื่อนที่ข้ึนทางเหนือปล ะ 23,469 ลกู บาศกเ มตรตอป (กรมเจาทา, 2548) ดังรูปที่ 2-10 และในป พ.ศ. 2552 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษา การเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงในพื้นที่ภาคตะวันออกภายใตโครงการศึกษาวางผังแมบทการแกไขปญหา การกัดเซาะชายฝงและวางผังทาเรือเพื่อรองรับการขยายพื้นที่อุตสาหกรรมชายฝงดานตะวันออก ผล การศกึ ษาการเคลื่อนตวั ของตะกอนชายฝง สุทธิของโครงการดังกลาวสอดคลองกบั ผลการศึกษาของกรมเจา ทาในป พ.ศ. 2548 คือ การเคลื่อนตัวของตะกอนชายฝงสุทธิในจังหวัดตราดมีทิศทางการเคลื่อนที่สุทธิไป ทางทิศเหนือ มีปริมาณตะกอนเคลื่อนประมาณ 28,204 ลูกบาศกเมตรตอป ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี ผล การศึกษาบงชี้วาพื้นที่โดยรวมพบทิศทางการเคลื่อนตัวของตะกอนชายฝง 2 ทิศทาง คือ เคลื่อนไปยังทิศ เหนือรวมเฉลี่ย 105,498 ลูกบาศกเมตรตอป และเคลื่อนที่ไปทิศใตรวมเฉลี่ย 66,332 ลูกบาศกเมตรตอป โดยรวมตลอดทัง้ ปการเคลือ่ นตวั ของตะกอนชายฝง สุทธิมีทิศทางการเคลื่อนไปทางเหนือ 39,166 ลูกบาศก เมตรตอป (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2552) ดังรปู ที่ 2-11 รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-18 รปู ที่ 2-10 ปริมาณตะกอนทรายเคล่ือนทส่ี ทุ ธิพ้ืนทีท่ าเรอื อเนกประสงคคลองใหญ จังหวดั ตราด ทมี่ า: กรมเจาทา, 2548 รูปท่ี 2-11 สรปุ ปริมาณมวลทรายชายฝง เคลือ่ นทต่ี ลอดทงั้ ปในพืน้ ที่ 4 จงั หวัดภาคตะวนั ออก (ตราด จนั ทบรุ ี ระยอง และชลบุร)ี ทม่ี า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2552 รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-19 • จงั หวดั ระยอง ในป พ.ศ. 2542 กรมเจาทาไดทำการศึกษาการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงภายใต โครงการศึกษาความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ วิศวกรรมและสิ่งแวดลอมและสำรวจออกแบบเพื่อกอสราง เขื่อนกันทรายและคลื่น ที่รองน้ำอาวมะขามปอม ตำบลกร่ำ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ผลการวิเคราะห การเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงพบวา ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนในพื้นที่รองน้ำอาวมะขามปอมมี 2 ทิศทาง คือ เคลื่อนท่ีไปทางทิศตะวันออก (227,932 ลูกบาศกเมตรตอป) และเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตก (9,725 ลูกบาศกเมตรตอป) แตโดยรวมการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงสุทธิบริเวณรองน้ำอาวมะขามปอม มีการเคลื่อนไปทางทิศตะวันออกมีปริมาณตะกอนสุทธิ 218,207 ลูกบาศกเมตรตอป (กรมเจาทา, 2542) ตอมาในป พ.ศ. 2552 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดทำการศึกษาการเคลื่อนท่ขี องตะกอนชายฝงใน ภาคตะวันออก ภายใตโ ครงการศึกษาวางผังแมบทการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงและวางผังทาเรือเพื่อ รองรับการขยายพื้นที่อุตสาหกรรมชายฝงดา นตะวันออกซึ่งผลการศึกษาพบวาพื้นที่ชายฝงจังหวัดระยองมี ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงมี 2 ทิศทาง คือ เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกรวมเฉลี่ย 218,151 ลูกบาศกเ มตรตอป และเคลอื่ นที่ไปทางทิศตะวันตกรวมเฉลย่ี 29,503 ลูกบาศกเมตรตอป และโดยรวมการ เคลอื่ นทีข่ องตะกอนชายฝง สทุ ธใิ นพน้ื ท่จี ังหวดั ระยองมีการเคลื่อนท่ีไปทางทศิ ตะวันออกรวมเฉลี่ย 188,648 ลูกบาศกเมตรตอป (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2552) ดังรูปที่ 2-11 ผลการศึกษาการเคลื่อนท่ี ของตะกอนชายฝงสุทธิทั้งของกรมเจา ทาและกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงพบวาทิศทางการเคลื่อนที่ ของตะกอนสุทธมิ ีความสอดคลอ งกันและเปน ไปในทศิ ทางเดยี วกนั คือเคลื่อนท่ีไปทางทิศตะวนั ออก • จงั หวดั ชลบรุ ี ในป พ.ศ. 2552 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษาการเคลื่อนท่ี ของตะกอนชายฝงในพื้นที่ภาคตะวันออกในภายใตการดำเนินงานโครงการศึกษาวางผังแมบทการแกไขปญหา การกดั เซาะชายฝงและวางผังทาเรือเพ่ือรองรบั การขยายพื้นที่อุตสาหกรรมชายฝง ดานตะวนั ออก (กรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝง, 2552) ผลการศึกษาการเคลื่อนที่ของตะกอนสุทธิบงชี้วาพื้นท่ีจังหวัดชลบุรีโดยรวมแลวมี ทิศทางการเคลื่อนของตะกอน 2 ทิศทาง คือ เคลื่อนไปยังทิศเหนือรวมเฉลี่ย 15,381 ลูกบาศกเมตรตอป และ เคลือ่ นท่ีไปทิศใตรวมเฉลี่ย 977 ลูกบาศกเมตรตอป ปรมิ าณการเคล่ือนท่ีของตะกอนโดยรวมตลอดท้ังป พบการ เคลื่อนทข่ี องตะกอนสุทธิมที ิศทางการเคลื่อนไปทางเหนือ 14,404 ลูกบาศกเ มตรตอป ดงั รปู ท่ี 2-11 • จงั หวัดเพชรบรุ ี – บริเวณเขาตะเกยี บ อำเภอหัวหิน จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ ในป พ.ศ. 2561 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษาการเคลื่อนท่ี ของตะกอนภายใตการดำเนินงานโครงการดำเนินงานศกึ ษาวิจัยระบบหาดและแนวทางแกไ ขปญหาการกดั เซาะชายฝง (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2561) ซง่ึ การดำเนินงานโครงการดังกลา วไดท ำการศึกษา ในพน้ื ที่ชายฝง จงั หวดั เพชรบุรี – พนื้ ที่เขาตะเกยี บ อำเภอหัวหนิ จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ ผลการศึกษาพบวา พื้นที่ชายฝงจังหวัดเพชรบุรี (เริ่มตั้งแตปลายแหลมผักเบี้ย) ถึง บริเวณเขาตะเกียบ อำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ มีทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนสุทธิโดยรวมไปทางทิศเหนือ มีปริมาณตะกอนทรายท่ี เคลื่อนท่จี รงิ ในแตล ะบริเวณเริม่ ต้งั แต 4,000 – 10,000 ลกู บาศกเมตรตอป ดงั รูปท่ี 2-12 • บรเิ วณเขาตะเกยี บ – บริเวณเขาเตา ตอนเหนอื อำเภอหัวหิน จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ ในป พ.ศ. 2561 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษาการเคลื่อนที่ ของตะกอนภายใตโครงการดำเนินงานศึกษาวิจัยระบบหาดและแนวทางแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2561) ซึ่งไดทำการศึกษาในพื้นที่ชายฝงบรเิ วณเขาตะเกียบ - เขาเตา ตอนเหนอื อำเภอหัวหนิ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ ผลการศึกษาพบวา ทศิ ทางการเคล่ือนที่ของตะกอนบริเวณ รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-20 ดังกลาวมีทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนทั้งขึ้นเหนือและลงใต โดยทางทิศใตมีการเคลื่อนที่ของตะกอน ขนานชายฝงสุทธิขึ้นทิศเหนือเทากับ 15,839 ลูกบาศกเมตรตอป และฝงดานเหนือมีการเคลื่อนที่ของ ตะกอนขนานชายฝงสทุ ธิลงทิศใตเ ทากับ 4,075 ลกู บาศกเ มตรตอ ป ดงั รูปท่ี 2-13 รปู ที่ 2-12 ผลการศกึ ษาสมดลุ ตะกอนในพ้ืนที่ชายฝงจงั หวดั เพชรบุรี (ปลายเแหลมผักเบ้ีย) – บริเวณเขาตะเกียบ อำเภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ ที่มา: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง , 2561 รปู ที่ 2-13 สมดลุ ตะกอนในกลมุ หาดยอย S1-6 (เขาตะเกียบ-เขาเตาตอนเหนือ) ทีม่ า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2561 รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-21 • บริเวณหาดทรายนอย - หาดทรายใหญ อำเภอหวั หนิ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ ในป พ.ศ. 2561 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษาการเคลื่อนท่ี ของตะกอนภายใตโครงการดำเนินงานศึกษาวิจัยระบบหาดและแนวทางแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2561) ซึ่งไดทำการศึกษาในพื้นที่ชายฝงบริเวณหาดทรายนอย - หาดทรายใหญ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ผลการศึกษาพบวา บริเวณหาดทรายนอยการ เคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงมีทิศทางการเคลื่อนที่สุทธิขึ้นเหนือเทากับ 13,718 ลูกบาศกเมตรตอป และ บริเวณหาดทรายใหญการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงมีทิศทางการเคลื่อนที่สุทธิขึ้นเหนือเทากับ 15,839 ลูกบาศกเมตรตอป จากผลการศกึ ษาดังกลา วทำใหส ามารถสรุปทิศทางการเคล่ือนท่ีของตะกอนบริเวณหาด ทรายนอ ยและหาดทรายใหญไดวา มที ิศทางการเคล่อื นที่ของตะกอนไปทางทศิ เหนือ ดงั รูปที่ 2-14 รปู ท่ี 2-14 สมดลุ ตะกอนในกลมุ หาดยอ ย S1-7 (หาดทรายนอย) และ S1-8 (หาดทรายใหญ) ทม่ี า: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง, 2561 • บรเิ วณเขาเตา ตอนใต – เขากะโหลก อำเภอปราณบรุ ี จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ ในป พ.ศ. 2561 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษาการเคลื่อนที่ ของตะกอนภายใตโครงการดำเนินงานศึกษาวิจัยระบบหาดและแนวทางแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2561) ซง่ึ ไดท ำการศึกษาในพ้นื ทชี่ ายฝงเขาเตา ตอนใต – เขากะโหลก อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวาบริเวณเขาเตาตอนใต – ปากแมน้ำปราณบุรี หากพิจารณา การเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงพบวา ฝงใตมีการเคลื่อนที่ของตะกอนขนานชายฝงสุทธิขึ้นทิศเหนือสุทธิ เทา กับ 33,296 ลกู บาศกเ มตรตอป และฝงเหนือมีการเคล่ือนท่ีของตะกอนขนานชายฝงสุทธิทางทิศใตสุทธิ เทากับ 30,535 ลูกบาศกเมตรตอป บริเวณปากแมน้ำปราณบุรี – เขากะโหลก บริเวณเขื่อนกันทราย กันคลื่นปากรองแมน้ำปราณบุรีฝงทิศใต ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอนขนานชายฝงสุทธิขึ้นทิศเหนือ เทากับ 5,303 ลูกบาศกเมตรตอป และฝงเหนือ มีการเคลื่อนที่ของตะกอนขนานชายฝงสุทธิทางทิศใต เทากับ 5,090 ลูกบาศกเมตรตอป จากผลการศึกษาทำใหเห็นไดวา ทิศทางการเคลื่อนทีใ่ นบริเวณดังกลา วมี การเคลอ่ื นทีท่ ้งั แบบข้นึ เหนือและลงใต ดงั รปู ที่ 2-15 • บรเิ วณเขากะโหลก อำเภอปราณบรุ ี – เขาฉลักฉลาม อำเภอสามรอยยอด จงั หวัด ประจวบคีรีขันธ ในป พ.ศ. 2561 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษาการเคลื่อนที่ ของตะกอนภายใตโครงการดำเนินงานศึกษาวิจัยระบบหาดและแนวทางแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2561) ซึ่งไดทำการศึกษาในพื้นที่ชายฝงเขากะโหลก อำเภอปราณบุรี – เขาฉลักฉลาม อำเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวามีทิศทางการเคลื่อนของตะกอนสุทธิมี ทิศทางการเคลื่อนลงไปทางทิศใต โดยแบงผลการศึกษาออกเปน 2 บริเวณคือ บริเวณเขากะโหลก-เขาลูก รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-22 กลาง ในภาพรวมมีการเคลอื่ นที่ของตะกอนขนานชายฝง เคลื่อนทสี่ ุทธไิ ปทางทศิ ใตเ ทา กับ 20,735 ลูกบาศก เมตรตอป และบริเวณเขาลูกกลาง-เขาฉลักฉลาม ในภาพรวมมีการเคลื่อนที่ของตะกอนสุทธิไปทางทิศใต เทา กบั 12,336 ลกู บาศกเมตรตอป ดังรปู ท่ี 2-16 รูปที่ 2-15 สมดลุ ตะกอนในกลมุ หาดยอย S1-9 (เขาเตาตอนใต- ปากแมน ำ้ ปราณบุรี) และ S1-10 (ปากแมนำ้ ปราณบรุ ี-เขากะโหลก) ทม่ี า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2561 รูปที่ 2-16 สมดุลตะกอนในกลุมหาดยอย S1-11 (เขากะโหลก-เขาลูกกลาง) และ S1-12 (เขาลูกกลาง-เขาฉลักฉลาม) ท่มี า: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง, 2561 • บริเวณเขาฉลกั ฉลาม – คลองยมโดย อำเภอสามรอ ยยอด จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ ในป พ.ศ. 2561 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษาการเคลื่อนที่ ของตะกอนภายใตโครงการดำเนินงานศึกษาวิจัยระบบหาดและแนวทางแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2561) บริเวณพื้นที่นี้มีเกาะนมสาวที่ดานใตทำหนาที่ปองกันตะกอน และบงั คับใหตะกอนไหลเวียนในอาวเปน หลัก ดา นใตม กี ารเคล่ือนที่ของตะกอนสุทธิข้ึนทางทิศเหนือเทากับ 11,344 ลูกบาศกเมตรตอป และที่ดานเหนือมีการเคลื่อนที่ของตะกอนลงสูทิศใตสุทธิเทากับ 2,805 ลูกบาศกเมตรตอป ซึ่งมีปริมาณนอยมาก สรุปไดวาการเคลื่อนที่ของตะกอนสุทธิในพื้นที่นี้เคลื่อนที่ไปทาง ทิศเหนอื ดังรปู ท่ี 2-17 • บริเวณคลองยมโดย – เขาคอกระพงั อำเภอสามรอ ยยอด จังหวัดประจวบคีรขี ันธ ในป พ.ศ. 2561 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดทำการศึกษาการเคลื่อนที่ ของตะกอนภายใตโครงการดำเนินงานศึกษาวิจัยระบบหาดและแนวทางแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง บริเวณพื้นที่นี้เปนพื้นที่ที่มีความสมดุลในตัวเองเนื่องจากมีเกาะสองเกาะที่ดานเหนือและดานใตทำหนาท่ี บังคับใหตะกอนไหลเวียนในอาวโดยธรรมชาติ สังเกตไดจากปริมาณตะกอนเคลื่อนที่ทางทิศใตเทากับ 62,131 ลกู บาศกเ มตรตอป เปรยี บเทียบกบั ตะกอนเคล่ือนท่ีทางทศิ เหนือเทากับ 60,840 ลกู บาศกเมตรตอ ป ทำใหต ะกอนเคลื่อนท่ีสุทธทิ างทศิ ใตเ ทากบั 1,291 ลูกบาศกเ มตรตอป ดังรปู ท่ี 2-18 รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-23 รปู ท่ี 2-17 สมดลุ ตะกอนในกลมุ หาดยอย S1-13 (เขาฉลักฉลาม-คลองยมโดย) ที่มา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2561 รูปที่ 2-18 สมดลุ ตะกอนในกลุม หาดยอ ย S1-14 (คลองยมโดย-เขาคอกะพัง) ทีม่ า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2561 • บริเวณเขาคอกระพัง อำเภอสามรอยยอด – เขาแมรำพึง อำเภอบางสะพาน จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ ในป พ.ศ. 2556 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดทำการศึกษาดานวิศวกรรม วิเคราะหการเคลื่อนที่สุทธิของมวลทรายชายฝงในพื้นที่ปากแมน้ำปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ถึง แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใตโครงการจัดทำแผนหลักและแผนปฏิบัติการปองกันและ แกไ ขปญหาการกัดเซาะชายฝง ต้งั แตป ากแมน้ำปราณบรุ ี จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ ถงึ แหลมตะลมุ พุก จังหวัด นครศรีธรรมราช (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2552) โดยผลการศึกษาการเคลื่อนที่ของตะกอนใน ครั้งนี้สามารถคำนวณไดดวยสมการของศูนยวิจัยวิศวกรรมชายฝงของสหรัฐอเมริกา (Shore Protection Manual, SPM (1984)) จากการศึกษาครั้งนี้ผลการวิเคราะหการเคลื่อนที่มวลทรายชายฝงในพื้นที่จังหวัด ประจวบครี ีขันธ พบวา เฉลยี่ รายปหน่ึงๆ พ้ืนท่จี ังหวดั ประจวบครี ีขันธม ีปริมาณมวลทรายเคล่ือนท่ีขึ้นดานทิศ เหนือเฉลี่ยปละ 25,258 ลูกบาศกเมตร และเคลื่อนที่ลงดานทิศใต 19,347 ลูกบาศกเมตรตอป ปริมาณสุทธิ ของมวลทรายเคลื่อนที่ขึ้นเหนือดวยปริมาณ 5,911 ลูกบาศกเมตรตอป โดยมีตำแหนงการเปลี่ยนแปลงการ เคลื่อนที่ของมวลทรายสุทธิคือบริเวณเขาแมรำพึง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยพื้นที่ที่อยู ดานทิศเหนือของบริเวณดังกลาวจะมีการเคลื่อนที่ของมวลทรายชายฝงสุทธิขึ้นไปทางทิศเหนือ สวนพื้นที่ บริเวณจังหวัดชุมพรลงทางทิศใตมีการเคลื่อนที่ของมวลทรายชายฝงสุทธิลงไปทางทิศใต ดังรูปที่ 2-19 และ ในป พ.ศ. 2560 กรมเจาทาไดทำการวิเคราะหการเคลื่อนที่ของตะกอนทรายชายฝงบริเวณทาเทียบเรือ รองน้ำบานกรูด อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ตามรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอ ม รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-24 โครงการเขื่อนกันทรายและคลน่ื และทาเทียบเรือรองนำ้ บานกรูด อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ (ภายใตโครงการศึกษาความเหมาะสมและสำรวจออกแบบเขื่อนกันทรายและคลื่น และทาเทียบเรือรองน้ำ บานกรูด อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ) (กรมเจาทา, 2560) ซึ่งเปนพื้นที่ดานทิศเหนือของเขา แมรำพึง ผลการวิเคราะหพบวาปริมาณการเคลื่อนที่สุทธิของมวลทรายชายฝงของพื้นที่โครงการสามารถ สรุปไดว า พ้ืนท่ีโครงการท้ังปม ีมวลทรายเคล่ือนที่ตามแนวชายฝง 42,664 ลกู บาศกเ มตรตอป โดยเคลื่อนท่ี ไปทางทิศเหนือและทิศใต 21,534 และ 21,310 ลูกบาศกเมตรตอป ตามลำดับ ปริมาณสุทธิของตะกอน ทรายชายฝงคือเคล่ือนที่ไปทางทศิ เหนือ 44 ลูกบาศกเมตรตอ ป จะเห็นไดวา การวิเคราะหก ารเคลื่อนที่ของ ตะกอนทรายชายฝงของกรมเจาทาบริเวณดานทิศเหนือของเขาแมรำพึง (รองน้ำบานกรูด) และการศึกษา การเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงบริเวณชายฝงจังหวัด ประจวบคีรีขันธที่มีตำแหนงการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของมวลทรายสุทธิคือบริเวณเขาแมรำพึง มีทิศ ทางการเคลื่อนท่ีของตะกอนมีความสอดคลองกัน จึงทำใหสรปุ ไดว าการเคลื่อนท่ีของตะกอนบริเวณชายฝง ดานทิศเหนือเขาแมรำพึงมีการเคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือ และดานทิศใตของเขาแมรำพึงมีทิศการเคลื่อนที่ ของตะกอนลงทศิ ใต • บริเวณเขาแมรำพึง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ – ปลายแหลม โพธิ์ อำเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธานี ในป พ.ศ. 2534 กรมเจาทา ไดทำการศึกษาการเคลื่อนที่ของตะกอนเนื่องจากคล่ืน ภายใตการศึกษาความเหมาะสมทางเศรษฐกิจและวิศวกรรมเพื่อการกอสรางเขื่อนกันทรายและคลื่นรองน้ำ หลังสวนจังหวัดชุมพร (กรมเจาทา, 2534) พบวา การเคลื่อนที่ของตะกอนสุทธิพบวาในรอบ 9 ป ปริมาณ ตะกอนเฉลี่ยมีทิศทางเคลื่อนที่จากทิศเหนือลงสูทิศใตเปนปริมาณ 34,668 ลูกบาศกเมตรตอป ในป พ.ศ. 2531 มีปริมาณตะกอนสุทธิมากที่สุดคือ 75,972 ลูกบาศกเมตรตอป ในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมี ปริมาณตะกอนสุทธิมากทส่ี ุดคือ 26,844 ลูกบาศกเมตรตอป รองลงมาคือ ฤดูมรสุมเปลีย่ นแปลงคือ 9,014 ลูกบาศกเมตรตอป และฤดูมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใตค ือ 88 ลกู บาศกเ มตรตอป กลา วโดยสรปุ คือ บริเวณพื้นที่ ศึกษาปริมาณตะกอนสุทธิตอปมีคาประมาณ 34,666 ลูกบาศกเมตรตอป มีทิศทางเคลื่อนที่จากเหนือลงสู ทิศใต และตอมาในป พ.ศ. 2556 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดวิเคราะหการเคลื่อนที่สุทธิของมวล ทรายชายฝงในพื้นที่จังหวัดชุมพร ภายใตการศึกษาโครงการจัดทำแผนหลักและแผนปฏิบัติการปองกันและ แกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง ตั้งแตปากแมน้ำปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรขี ันธ ถึง แหลมตะลุมพุก จังหวัด นครศรีธรรมราช (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2552) ผลการศึกษาการเคลื่อนที่ของตะกอนในครั้งน้ี พบวา เฉลยี่ รายปหนึ่งๆ พ้ืนทจี่ งั หวัดชุมพรมีปริมาณมวลทรายเคลื่อนที่ลงทิศใตเ ฉลี่ยปละ 22,767 ลูกบาศก เมตร และเคลื่อนที่ไปทางทิศเหนอื 6,555 ลูกบาศกเมตรตอป ปริมาณสุทธิของมวลทรายเคลื่อนท่ีลงทิศใต ดวยปริมาณ 16,212 ลูกบาศกเมตรตอป ดังรูปที่ 2-19 ทำใหเ ห็นไดว าผลวิเคราะหการเคลื่อนที่ของตะกอน ของทั้งกรมเจาทาและกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงมีผลการวิเคราะหที่สอดคลองกันทิศทางการ เคล่อื นท่ขี องตะกอนไปในทางเดียวกนั คือ บรเิ วณจังหวัดชมุ พรมที ิศทางการเคล่ือนของตะกอนขนานชายฝง สทุ ธไิ ปทางทิศใต รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-25 รปู ที่ 2-19 ภาพแสดงผลการสรปุ การเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝง ตลอดป ในพ้นื ที่ปากแมนำ้ ปราณบรุ ี จังหวัดประจวบคีรขี ันธ ถึงแหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรธี รรมราช ทีม่ า: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง, 2556 รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-26 สรุ าษฎรธานี • บริเวณปลายแหลมโพธิ์ อำเภอไชยา – ตำบลดอนสัก อำเภอดอนสัก จังหวัด ในป พ.ศ. 2556 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดวิเคราะหการเคลื่อนที่สุทธิ ของมวลทรายชายฝง ในพืน้ ท่ีจังหวัดสรุ าษฎรธานี ภายใตการศึกษาโครงการจัดทำแผนหลักและแผนปฏิบัติการ ปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง ตั้งแตปากแมน้ำปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ถึง แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2552) โดยผลการศึกษาการ เคลื่อนท่ีของตะกอน พบวา เฉล่ยี รายปหนึ่ง ๆ พ้นื ท่ีจังหวัดสุราษฎรธานี มปี ริมาณมวลทรายเคล่ือนท่ีลงทิศใต เฉลี่ยปละ 16,897 ลูกบาศกเมตร และเคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือ 8,212 ลกู บาศกเมตร คิดเปนปริมาณสุทธิของ มวลทรายเคลื่อนที่ลงทิศใตดวยปริมาณ 8,685 ลูกบาศกเมตรตอป ดังรูปที่ 2-19 ซึ่งในพื้นที่จังหวัด สุราษฎรธานี พบวา มีตำแหนงที่พบการเปลี่ยนแปลงของคลื่นที่เปนจุดรวมการเคลื่อนที่ของตะกอนลงใตกับ ตะกอนขึ้นเหนือโดยประมาณจากการวิเคราะหคือ บริเวณตำบลดอนสัก อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี โดยบริเวณจังหวัดสุราษฎรธานีจะมีลักษณะมวลทรายเคลื่อนที่ลงใต สวนบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราชมวล ทรายจะเคล่อื นท่ีข้นึ เหนือ • บริเวณ ตำบลดอนสัก อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี – ปลายแหลม ตะลุมพุก อำเภอปากพนัง จงั หวดั นครศรีธรรมราช ในป พ.ศ. 2556 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดวิเคราะหการเคลื่อนที่สุทธิ ของมวลทรายชายฝงในพื้นท่ีอำเภอขนอม – แหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ภายใต การศึกษาโครงการจัดทำแผนหลักและแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝง ตั้งแตปาก แมน้ำปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ถึง แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช (กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง, 2552) ผลการศึกษาการเคลื่อนท่ีของตะกอน พบวา เฉลยี่ รายปหน่ึง ๆ พน้ื ทบ่ี รเิ วณตำบลดอนสัก อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี – ปลายแหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีการ เคลื่อนที่ของตะกอนเฉลี่ยรายปหนึ่ง ๆ มีปริมาณมวลทรายเคลื่อนที่ขึ้นทางดานทิศเหนือเฉลี่ยปละ 46,468 ลูกบาศกเมตร และเคลื่อนทีล่ งดานทิศใต 10,906 ลกู บาศกเมตรปริมาณสุทธิของมวลทรายเคลื่อนที่ไปดานทิศ เหนอื ดวยปริมาณ 35,562 ลูกบาศกเ มตรตอ ป ดังรปู ที่ 2-19 • บริเวณปลายแหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนงั จงั หวดั นครศรีธรรมราช – ปากน้ำ ทะเลสาบสงขลา อำเภอสิงหนคร จังหวดั สงขลา ในป 2549 กรมเจาทา ไดมีการศึกษาการเคลื่อนตัวของตะกอนในพื้นท่ีบานหนาโกฎิ อำเภอปากพนัง ถึงบานหนา สตน อำเภอหัวไทร นครศรธี รรมราช (กรมเจา ทา, 2549) จากการศึกษาพบวาการ เคลื่อนท่ขี องตะกอนทรายในพน้ื ท่สี ุทธจิ ะเคลื่อนไปทางทิศเหนือ โดยมีปรมิ าณการเคลื่อนที่ของตะกอนตาม แนวชายฝง สุทธิเฉลย่ี 69,600 ลูกบาศกเ มตรตอป และเมื่อใชแ บบจำลอง GENESIS รว มกบั คา สัมประสิทธิ์ที่ ไดจากการปรับเทียบแบบจำลองแลวพบวา ตะกอนทรายชายฝงสุทธิเฉลี่ยคือ 71,659 ลูกบาศกเมตรตอป โดยมีทศิ ทางเคลื่อนท่ีจากใตข ึ้นเหนอื จากผลการคำนวณการเคล่ือนที่ของตะกอนชายฝง ท้งั จากแบบจำลอง ที่ผานการสอบเทียบและจากการคำนวณดวยสูตรการคำนวณที่เปนมาตรฐานการคำนวณการเคลื่อนที่ของ ตะกอนชายฝงทำใหสรุปไดวาปริมาณการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงบริเวณนี้มีปริมาณการเคลื่อนตัวสุทธิ จากทิศใตไปทิศเหนือ ประมาณ 70,000 ลูกบาศกเมตรตอป ดังรูปที่ 2-20 และตอมาในป พ.ศ. 2556 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดมีการวิเคราะหการเคลื่อนที่สุทธิของมวลทรายชายฝงในพื้นท่ี แหลม ตะลุมพุก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช – ปากน้ำทะเลสาบสงขลา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ภายใตการศึกษาโครงการจัดทำแผนหลักและออกแบบเบื้องตนในการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงอาวไทย รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-27 ตอนลางต้ังแตแหลมตะลุมพุก ถงึ ปากน้ำทะเลสาบสงขลา (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2552) ผลจาก การวิเคราะหการเคลื่อนตัวของมวลทรายชายฝงพบวาการเคลื่อนที่ของมวลทรายชายฝงจะมีทิศทางการ เคลื่อนที่ 2 ทิศทาง คือ เคลื่อนไปทางทิศเหนือและเคลื่อนไปทางทิศใต การเคลื่อนที่ปริมาณมวลทรายใน บริเวณตั้งแต อำเภอสิงหนคร มีปริมาณมากและลดลงตามลำดับจนกระทั่งถึงชายฝงอำเภอปากพนังโดยมี ปริมาณตั้งแต 168,000 – 78,727 ลูกบาศกเมตรตอป ในพื้นที่ชายฝงบริเวณนี้จะไดรับอิทธิพลของมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด ทำใหมวลทรายเคลื่อนที่ในฤดูกาลนี้มากกวาฤดูอื่น ๆ มีปริมาณสุทธิ 104,150 ลูกบาศกเมตรตอป เคลอ่ื นตวั ไปทางทิศเหนือ และในพื้นที่นี้ไดรับอิทธิพลมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตนอยท่ีสุดโดยมี ปริมาณตะกอนเคลื่อนที่สุทธิ 1,362 ลูกบาศกเมตรตอป เคลื่อนตัวไปทางทิศใต โดยรวมแลวการเคลื่อนที่ของ ตะกอนสุทธิตลอดทั้งปประมาณ 111,544 ลูกบาศกเมตรตอป โดยเคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือดังรูปที่ 2-21 จากรูปสามารถสรุปไดวาขอมูลการศึกษาและวิเคราะหการเคลื่อนที่ของตะกอนของกรมเจาทาและกรม ทรัพยากรทางทะเลทะเลและชายฝงมีความสอดคลองกัน จึงทำใหสรุปไดวา พ้ืนที่ ปลายแหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช – ปากน้ำทะเลสาบสงขลา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา มีทิศ ทางการเคล่อื นทีข่ องตะกอนสุทธิไปทางทิศเหนือ รปู ท่ี 2-20 การเคลอื่ นตวั ของตะกอนในพื้นที่บานหนาโกฎิ อำเภอปากพนัง ถงึ บานหนา สตน อำเภอหวั ไทร นครศรธี รรมราช ทม่ี า: กรมเจาทา, 2549 รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-28 รปู ที่ 2-21 ทิศทางการเคล่ือนท่ขี องตะกอนบรเิ วณแหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนงั จงั หวัดนครศรธี รรมราช ถึงปากน้ำทะเลสาบสงขลา อำเภอสิงหนคร จงั หวัดสงขลา ทม่ี า: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง , 2552 รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-29 • บรเิ วณรองน้ำปะนาเระ และรองน้ำอาวบางมะรวด จังหวดั ปตตานี ในป 2541 กรมเจา ทา ไดมีการศึกษาการเคล่ือนตัวของตะกอนในพื้นทรี่ องน้ำปะนาเระ และพื้นที่รองน้ำอาวบางมะรวด จังหวัดปตตานี ภายใตโครงการศึกษาความเหมาะสมทางดานเศรษฐกิจ วศิ วกรรม และสง่ิ แวดลอ มและสำรวจออกแบบเพ่ือกอสรา งเขื่อนกันทรายและคลนื่ รองน้ำปะนาเระและรอง น้ำอาวบางมะรวด จังหวัดปตตานี (กรมเจาทา, 2541) ผลการศึกษาพบวาปริมาณการเคลื่อนที่ของ มวลทรายสทุ ธมิ ที ิศทางจากดานทิศใตขนึ้ ทิศเหนือที่อาวบางมะรวด ปรมิ าณสทุ ธเิ ทากับ 227,572 ลูกบาศก เมตรตอป ปริมาณทิศทางการเคลื่อนที่โดยรวมเทากับ 332,338 ลูกบาศกเมตรตอป สวนที่ปะนาเระมี ปริมาณสุทธิและปริมาณรวมเทากับ 292,000 และ 379,720 ลูกบาศกเมตรตอป ตามลำดับ จากการนำ ปริมาณและทิศทางการเคลื่อนตัวของมวลทรายที่ไดคำนวณไดรวมกับขอมูลจากการศึกษาที่ผานมาใน บริเวณใกลเคียงคือ สายบุรี ตนั หยงเปาว และบางราพา มารวมกันพบวา ปรมิ าณการเคลื่อนที่สุทธิของมวล ทรายที่สายบุรี มีคาสูงมากถึงประมาณ 1 ลานลูกบาศกเมตรตอป ปริมาณจะลดลงที่อาวบางมะรวด และ ลดลงอีกที่ปะนาเระ เมื่อปริมาณการเคลื่อนที่สุทธิของทรายมีไมเทากัน ดังนั้น จึงมีทรายปริมาณหนึ่งตก สะสมตัวอยูบริเวณอาวบางมะรวดและปะนาเระ ซึ่งสอดคลองกับผลสำรวจภาคสนาม และภาพถายทาง อากาศ พบวา มีทรายจำนวนมากทับถมกันที่อาวบางมะรวดและที่ปะนาเระ สวนปริมาณทรายที่เหลือจะ เคลื่อนที่ขึ้นไปทางทิศเหนือ ปะทะกับตะกอนเคลื่อนที่ออกมาจากแมน้ำปตตานีดว ยความแรงของน้ำที่ไหล ออกสูทะเลของแมน้ำปตตานี ทำใหเกดิ สันทรายงอกยนื่ ออกไปในทะเล ดงั รปู ที่ 2-22 รูปที่ 2-22 สรุปทิศทางการเคลื่อนของตะกอนชายฝงบรเิ วณคลน่ื รอ งน้ำปะนาเระและรองน้ำอาวบางมะรวด ทมี่ า: กรมเจา ทา, 2541 รา งรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

2-30 2.3.2.3.2 ฝงทะเลอันดามนั ในป พ.ศ. 2552 กรมโยธาธิการและผังเมืองไดทำการศึกษาการเคลื่อนที่ของตะกอน ชายฝง ฝงทะเลอันดามัน ภายใตรายงานการสำรวจรวบรวมขอมูลเบื้องตนโครงการศึกษาออกแบบการ พังทลายของตลิ่งริมทะเล (กรมโยธาธิการและผังเมือง, 2552) จากการศึกษา และรวบรวมขอมูลการ เคลื่อนที่ของตะกอนชายฝงบริเวณฝงทะเลอันดามันทำใหสามารถแบงการเคลื่อนที่ของตะกอนบริเวณ ชายฝง อันดามันไดเปน 2 ทศิ ทาง ดงั ตอ ไปน้ี • จังหวัดระนอง – บรเิ วณแหลมพรหมเทพ อำเภอเมือง จงั หวดั ภเู กต็ บรเิ วณจงั หวัดระนอง – แหลมพรหมเทพ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มวลทรายมีการ เคลื่อนที่ขึ้นไปทางดานบน (ทิศเหนือ) โดยเริ่มจากบริเวณชายฝง จังหวัดภูเก็ต ขึ้นไปสูจังหวัดพังงา และ ระนอง ซ่งึ สอดคลองกับสภาพชายฝง ทสี่ ามารถพบแนวสันทรายจะงอย (Sand Spit) มปี ลายชี้ข้นึ ดา นบน (ทิศ เหนือ) เชนชายฝงบริเวณเขาหลัก จ.พังงา และชายฝงบริเวณ ต.ทายเหมือง และต.ลำแกน จ.พังงา เปนตน โดยมปี รมิ าณการเคลื่อนท่ีมวลทรายสุทธิตอป เทากบั 132,191 431,836 และ 775,343 ลูกบาศกเมตรตอป ดังรปู ท่ี 2-23 • แหลมพรหมเทพ อำเภอเมืองจังหวัดภเู กต็ – สุดขอบเขตของจังหวัดสตูล มวลทรายบริเวณชายฝง ตัง้ แตจ งั หวดั กระบี่ จนถึงจงั หวดั สตลู โดยรวมจะเคล่ือนท่ีมี ทศิ ทางลงดา นลา ง (ทิศใต) และเคล่อื นที่ออกไปสูชายฝงประเทศมาเลเซีย โดยมีปรมิ าณมวลทรายเคลื่อนตัว สุทธิ ระหวา ง 175,788 – 412,609 ลูกบาศกเ มตรตอ ป อยา งไรก็ดลี ักษณะภมู ปิ ระเทศของชายฝง ในบริเวณ นี้มีลักษณะเปน เกาะขนาดใหญและเล็กต้ังอยูบริเวณไมไกลจากชายฝง เชนเกาะลันตา เกาะตะลิบง เกาะอา ดัง เปน ตน ซง่ึ เกาะเหลา น้ไี ดบ รรเทากำลังคลน่ื ทเี่ คลื่อนทเ่ี ขา ปะทะชายฝง ไดบ างสว น ประกอบกบั มีลักษณะ ภูมิประเทศเปนปากแมนำ้ สายสั้นๆ จำนวนมากตลอดแนวชายฝง จึงไมพบลักษณะสัณฐานชายฝงที่เปน สนั ดอนจะงอยในบริเวณนี้ และการเคลื่อนที่ของมวลทรายชายฝงในบริเวณนี้จะมีคานอยกวาคาที่ไดจากการ คำนวน ดังรูปที่ 2-23 ซึ่งขอมูลของกรมโยธาธิการและผังเมืองภายใตรายงานฉบับนี้มีความสอดคลองกับ ขอมลู ของกรมเจา ทา ป พ.ศ. 2542 ซึง่ ไดทำการศึกษาการเคลื่อนท่ีของมวลทรายชายฝง บริเวณทา เรือตำมะ ลงั ซง่ึ ผลการศึกษาของกรมเจาทาสรุปไววา การเคล่ือนท่ขี องตะกอนชายฝงมีทิศทางการเคล่ือนทสี่ ุทธิไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต โดยมีปริมาตรสุทธิที่เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตคือ 8,595 ลูกบาศกเมตร โดยมีการเคลื่อนตัวในชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปริมาตรสุทธิคือ 135 ลูกบาศกเมตร ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต และมีการเคลื่อนตัวในชวงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใตปริมาตรสุทธิคือ 4,715 ลูกบาศก เมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต สวนปริมาตรสุทธิของตะกอนในชวงการเปลี่ยนฤดูมรสุมคือ 799 ลกู บาศกเ มตร ไปทางทศิ ตะวันออกเฉยี งใต สรปุ โดยรวมแลว ทิศทางการเคล่ือนท่ีของตะกอนในบริเวณพ้ืนท่ี ตั้งแตแหลมพรหมเทพ อำเภอเมอื งจังหวัดภูเก็ต ไปจนถึงสุดขอบเขตจังหวัดสตลู มีทิศทางการเคล่ือนท่ีของ ตะกอนไปทางทิศใต รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2-31 รปู ที่ 2-23 ปริมาณการเคลื่อนตัวของมวลทรายขนานชายฝง สุทธิในภาพรวมของชายฝง ประเทศไทย ท่มี า: กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง, 2552 รางรายงานระบบกลมุ หาดประเทศไทย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง